SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 46
ดร . น . พ . เทอดศักดิ์ โรจน์สุรกิตติ สถาบันวิทยาศาสตร์สุขภาพ   มหาวิทยาลัยรามคำแหง การจัดองค์ความรู้ในระบบการดูแลทางสุขภาพ   Knowledge Management in Health Care Systems
เกณฑ์การประเมินผล รายงานการศึกษาค้นคว้า 20   คะแนน การเข้าชั้นเรียน 10   คะแนน การสอบในชั้นเรียน  ( Quiz) 30  คะแนน การสอบไล่ 40  คะแนน CY 644   การจัดองค์ความรู้ในระบบการดูแลทางสุขภาพ   Knowledge Management in Health Care Systems
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Course Outline
Introduction  to  Knowledge Management Chapter 1
ความสำคัญของการจัดการความรู้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ความสำคัญของการจัดการความรู้
การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด   ความหมายการจัดการความรู้
Knowledge management is the leveraging of knowledge in an organization for purpose of capitalizing on intellectual capital. การจัดการความรู้คือการนำความรู้ขององค์กรมาจัดระดับการทำประโยชน์เพื่อเป็นต้นทุนทางปัญญา (American Society for Training and Development) What is Knowledge Management?
Systematic approaches to help information and knowledge emerge and flow to the  right people at the right time  to create value. ระบบวิธีการที่ช่วยให้สารสนเทศและความรู้เกิดขึ้น และมีการถ่ายทอดไปยัง  บุคคลต่างๆที่เหมาะสม ในเวลาที่เหมาะสม  เพื่อทำให้เกิดคุณค่า   (The American Productivity and Quantity Center) What is Knowledge Management?
ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน  ( Tacit Knowledge)   ความรู้ที่ชัดแจ้ง  ( Explicit Knowledge)  ความรู้มี  2  ประเภท คือ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การจัดการความรู้คือ เครื่องมือ เพื่อการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย  4  ประการ
กระบวนการจัดการความรู้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กระบวนการจัดการความรู้
1.  การบ่งชี้ความรู้   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2.  การสร้างความรู้   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2.  การสร้างความรู้   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2.  การสร้างความรู้   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
2.  การแสวงหาความรู้   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
3.  การจัดความรู้ให้เป็นระบบ   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เป็นลักษณะของการเข้าถึงสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ใน การปฏิบัติงานต่อไป  องค์การควรทำให้พนักงานทราบถึงช่องทาง หรือวิธีการสำหรับการค้นหาความรู้ต่างๆ   ทั้งในรูปแบบที่เป็น ทางการและไม่เป็นทางการ   การค้นคืน   (Retrieval)
4.  การประมวลและกลั่นกรองความรู้   ข้อมูลดิบ Database M-base Verification Expert Web Browser Utilization & Sharing User Administrator Knowledge-based Case-based Best-Practices Expert
5.  การเข้าถึงความรู้   Knowledge Push   เป็นการส่งมอบความรู้ไปยังผู้รับโดยผู้รับไม่ได้ร้องขอหรือมีความ ต้องการ  เป็นการส่งมอบในลักษณะ  Supply-based   Knowledge Pull   เป็นการส่งมอบความรู้ไปยังผู้รับตามความต้องการ   หรือตามความ สนใจ  เป็นการส่งมอบในลักษณะ  Demand-based
ชุมชนนักปฏิบัติ  (Community of Practice : COP)   หมายถึง กลุ่มคนที่มีการรวมตัวกัน หรือเชื่อมโยงกันอย่าง ไม่เป็นทางการ มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ต้องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ระหว่างกัน ผ่านเวทีจริงหรือเวทีเสมือนทางเทคโนโลยี โดยมีเป้าหมายร่วมกัน มีความมุ่งมั่นร่วมกันที่จะพัฒนาการทำงานให้ดีขึ้น 6.  การแบ่งปันความรู้
 
7.  การเรียนรู้   องค์ความรู้ เกิดการเรียนรู้และได้รับ ประสบการณ์ใหม่ๆ การนำความรู้ ไปใช้ การเรียนรู้และ นวัตกรรม อย่างต่อเนื่อง วงจรการเรียนรู้
กระบวนการจัดการความรู้  ( Knowledge Management Process) เราต้องมีความรู้เรื่องอะไรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ความรู้อยู่ที่ใคร  อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร จะทำให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร เรานำความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ ความรู้นั้นทำให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทำให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ หรือบรรลุเป้าหมายขององค์กรหรือไม่ 1.  การค้นหาความรู้ที่จำเป็นต้องมี  ( Knowledge Identification) 2.  การสร้างและแสวงหาความรู้  ( Knowledge Creation and Acquisition) 3.  การจัดความรู้ให้เป็นระบบ  (Knowledge Organization) 4.  การประมวลและกลั่นกรองความรู้  ( Knowledge Codification and Refinement) 5.  การเข้าถึงความรู้  (Knowledge Access) 6.  การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้  (Knowledge Sharing) 7.  การเรียนรู้  (Learning)
แรงจูงใจในการริเริ่มดำเนินการจัดการความรู้
แรงจูงใจแท้คือ เป้าหมายที่งาน คน องค์กร และความเป็นชุมชนในที่ทำงานเป็นเงื่อนไขสำคัญ ที่เป็นหัวใจสู่ความสำเร็จ แรงจูงใจเทียมที่พบบ่อยที่สุด คือ ทำเพียงเพื่อให้ได้ชื่อว่าทำ ทำเพราะถูกบังคับตามข้อกำหนด ทำตามแฟชั่นแต่ไม่เข้าใจความหมาย และวิธีการดำเนินการ จัดการความรู้อย่างแท้จริง   แรงจูงใจในการริเริ่มดำเนินการจัดการความรู้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],องค์ประกอบสำคัญของการจัดการความรู้
การจัดการความรู้กับองค์กรแห่งการเรียนรู้
จะต้องบริหารจัดการความรู้ภายในองค์กรให้เป็นระบบเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรเรียนรู้ได้จริงและต่อเนื่อง หากองค์กรใดมีการจัดการความรู้โดยไม่มีการสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นภายในองค์กร ก็นับเป็นการลงทุนที่สูญเปล่า องค์กรแห่งการเรียนรู้   ( Learning Organization)
เป็นองค์การซึ่งคนในองค์การสามารถขยายขอบเขตความสามารถของเขา เพื่อก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการได้อย่างแท้จริง  เป็นที่ๆ ส่งเสริมให้เกิดและขยายแนวความ คิดใหม่ๆ ออกไป สามารถแสดงออกทางความคิด ได้อย่างอิสระ และเป็นที่ๆ คนจะเรียนรู้ด้วยกันอย่างต่อเนื่อง Learning Organization:  Peter M. Senge (1990)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],The Fifth Discipline:  Peter M. Senge
การเรียนรู้เพื่อที่จะขยายขอบเขตความสามารถส่วนบุคคลในการสร้างสรรค์ผลงานซึ่งได้ตั้งเป้าหมายไว้สูงสุด ตลอดจนการสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมขององค์กร  ที่จะสนับสนุนส่งเสริมให้สมาชิกในองค์กรได้พัฒนาตนเองมุ่ง  สู่เป้าหมาย และจุดมุ่งหมายที่ได้เลือกไว้ การใฝ่เรียนใฝ่รู้  (Personal Mastery)
การสะท้อนความเชื่อ  การทำความเชื่อฝังใจให้ปรากฏ  และการปรับเปลี่ยนภาพที่ปรากฏภายในจิตใจเกี่ยวกับโลก  และสภาพแวดล้อมขององค์กร ตลอดจนแสวงหาวิถีทางที่จะเปลี่ยนการกระทำและการตัดสินใจของบุคคลในองค์กรให้เหมาะสมถูกต้องกับความเป็นจริง ความเชื่อฝังใจ   (Mental Models)
วิสัยทัศน์ร่วม   (Shared Vision) การสร้างสำนึกแห่งพันธะสัญญาร่วมกันในกลุ่ม  โดยการพัฒนาภาพลักษณ์แห่งอนาคตร่วมกัน   ตลอดจนพัฒนาหลักการพื้นฐานและแนวทางปฏิบัติซึ่งสมาชิกในกลุ่มหรือทีมงานยอมรับร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม   (Team Learning) การแปรเปลี่ยนทักษะในการคิด และการสนทนาในทีมงาน  ซึ่งช่วยให้สมาชิกของทีมงานเรียนรู้ที่จะพัฒนาความเฉลียวฉลาด และความสามารถอย่างสร้าง สรรค์ซึ่งได้ผลมากกว่าการนำเอาพรสวรรค์ของสมาชิกแต่ละบุคคลมารวมกัน
การคิดเชิงระบบ   (Systems Thinking) ,[object Object],[object Object],[object Object]
การคิดเชิงระบบ   (Systems Thinking) วิธีการคิด และการสร้างภาษาที่สามารถอธิบาย  และทำความเข้าใจพลังต่างๆ  และความสัมพันธ์ระหว่างกัน  ซึ่งก่อให้เกิดพฤติกรรมของระบบที่ต้องการศึกษา วินัยนี้จะช่วยให้เราได้มองเห็นวิธีที่จะเปลี่ยนแปลงระบบอย่างมีประสิทธิผลมากขึ้น  และสามารถลงมือปฏิบัติเพื่อการแก้ไขปัญหาโดยใช้กระบวนการที่มีประสิทธิภาพมากกว่า
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ปัจจัยที่เอื้อให้การจัดการความรู้ประสบความสำเร็จ   (Key Enablers)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],จุดอ่อนของการจัดการความรู้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],วงจรชีวิตของการจัดการความรู้
วงจรชีวิตของการจัดการความรู้ กระบวนการจัดการการเปลี่ยนแปลง กระบวนการ และเครื่องมือ (Process Tools) การเรียนรู้ (Learning) การสื่อสาร (Communication) การวัดผล (Measurements) การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) เป้าหมาย (Desired State) การเตรียมการและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior Management)
Nothing ventured, nothing gained ไม่กล้า  ไม่มีวันเดินหน้า วิลเลี่ยม เช็คสเปียร์
ขอบคุณครับ Thank you for your attention 本当にありがとう 謝謝
ดร . น . พ .   เทอดศักดิ์ โรจน์สุรกิตติ   การศึกษา Diploma, Associate Life Management Institute ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต  ( บริหารธุรกิจ )  ภาคภาษาอังกฤษ   บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต อนุมัติบัตรสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว   ประกาศนียบัตรหลักสูตรการบริหารงานโรงพยาบาล   วุฒิบัตรสาขาสูติศาสตร์ - นรีเวชวิทยา   ประกาศนียบัตรชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก   ปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิต   ประสบการณ์การทำงานและกิจกรรมทางสังคม รองประธานบริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนลแอสชัวรันส์ จำกัด  รองประธานคณะแพทย์ที่ปรึกษาสมาคมประกันชีวิตไทย อาจารย์ปริญญาโทสาขาวิชาสารสนเทศทางสุขภาพ สถาบันวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรามคำแหง สูติ - นรีแพทย์ ศูนย์แพทย์พัฒนา อนุกรรมการแพทยสภา พิจารณากำหนดแบบฟอร์มกลางเพื่อใช้ในการประกันต่างๆ  ที่ปรึกษาและผู้เยี่ยมสำรวจ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญาการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญาSinghar Kramer
 
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้แอ้ม แอ้ม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFramework
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFrameworkไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFramework
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFrameworkKasem S. Mcu
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย Kanyarat Sirimathep
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกarunrat bamrungchit
 
การจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยีการจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยีChiang Mai University
 

Mais procurados (20)

การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญาการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งปัญญา
 
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFramework
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFrameworkไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFramework
ไตรสิกขากับการศึกษา TriSikkhaFramework
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
 
Innovation...
Innovation...Innovation...
Innovation...
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
K M Model
K M  ModelK M  Model
K M Model
 
PPT qualitative research kriangkrai
PPT qualitative research kriangkraiPPT qualitative research kriangkrai
PPT qualitative research kriangkrai
 
ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok
 
Blended learning 2561
Blended learning 2561Blended learning 2561
Blended learning 2561
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
การจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยีการจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยี
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

Destaque

การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
Types of knowledge
Types of knowledgeTypes of knowledge
Types of knowledgeDany Velasco
 
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษางานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาWeerachat Martluplao
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11Amp Tiparat
 
เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้....รู้ได้อย่างไร
เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้....รู้ได้อย่างไรเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้....รู้ได้อย่างไร
เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้....รู้ได้อย่างไรSatapon Yosakonkun
 

Destaque (9)

การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Types of knowledge
Types of knowledgeTypes of knowledge
Types of knowledge
 
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษางานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
 
เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้....รู้ได้อย่างไร
เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้....รู้ได้อย่างไรเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้....รู้ได้อย่างไร
เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้....รู้ได้อย่างไร
 

Semelhante a Introduction to Knowledge Management

คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processesกระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processesmaruay songtanin
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..Areerat Robkob
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qdMUQD
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...นิพ พิทา
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest6a1ba26
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest6a1ba26
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest031209
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้นะนาท นะคะ
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
Tim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilityTim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilitypantapong
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 

Semelhante a Introduction to Knowledge Management (20)

คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
Km cream
Km creamKm cream
Km cream
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processesกระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
กระบวนการและระบบการจัดการความรู้ KM systems and processes
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 
Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
Word qd
Word qdWord qd
Word qd
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้รายงานเพื่อการเรียนรู้
รายงานเพื่อการเรียนรู้
 
Handout1
Handout1Handout1
Handout1
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
Tim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilityTim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capability
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 

Mais de Asst.Prof.Dr.Terdsak Rojsurakitti (20)

CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 
GERD
GERDGERD
GERD
 
DUB
DUBDUB
DUB
 
Laboratory Testing
Laboratory TestingLaboratory Testing
Laboratory Testing
 
Shock
ShockShock
Shock
 
Nephrotic Syndrome
Nephrotic SyndromeNephrotic Syndrome
Nephrotic Syndrome
 
Kidney & Urinary System
Kidney & Urinary SystemKidney & Urinary System
Kidney & Urinary System
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Osteoporosis
OsteoporosisOsteoporosis
Osteoporosis
 
Chronic Back Pain
Chronic Back PainChronic Back Pain
Chronic Back Pain
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
Brachial Plexus Injury
Brachial Plexus InjuryBrachial Plexus Injury
Brachial Plexus Injury
 
Bile Duct Tumor
Bile Duct TumorBile Duct Tumor
Bile Duct Tumor
 
Appendicitis
AppendicitisAppendicitis
Appendicitis
 
Organ Transplant
Organ TransplantOrgan Transplant
Organ Transplant
 
Thyroid Noudle
Thyroid NoudleThyroid Noudle
Thyroid Noudle
 
Deep Vein Thrombosis
Deep Vein ThrombosisDeep Vein Thrombosis
Deep Vein Thrombosis
 
Gastrointestional Stromal Tumors
Gastrointestional Stromal TumorsGastrointestional Stromal Tumors
Gastrointestional Stromal Tumors
 
Head Injury
Head InjuryHead Injury
Head Injury
 
Circumcision
CircumcisionCircumcision
Circumcision
 

Introduction to Knowledge Management