SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 1
Baixar para ler offline
คาแนะนาในการทาอาหารสาหรับผู้ประสบอุทกภัยในศูนย์พักพิง/ศูนย์อพยพ
                               (สาหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข)

          เนื่องจากในขณะนี้ พบผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษในศูนย์อพยพ/ศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกกัยหลายแห่ง
โดยมีสาเหตุมาจากการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ หรือบูดเน่า ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยในด้านอาหาร
ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่ อาจจะเกิดขึ้น ขอให้คาแนะนาในการประกอบอาหารและจัดทาอาหาร
สาหรับผู้ประสบอุทกภัยในศูนย์อพยพ/ศูนย์พักพิง ดังนี้
1. ให้ความรู้ผู้ปรุงอาหาร ให้มีสุขอนามัยส่วนบุคคลที่ถูกต้อง เช่น ไม่ใช้มือสัมผัสอาหาร ควรใช้อุปกรณ์หยิบ-
   ตักอาหาร รวมทั้ง ไม่ไอ จาม ลงสู่อาหาร และอุปกรณ์การทาอาหาร
2. รักษาความสะอาด และสุขลักษณะบริเวณสถานที่ปรุง/ประกอบอาหารอย่างสม่าเสมอ
3. เลือกวัตถุดิบที่ดีมีคุณภาพ หากเป็นของบริจาคต้องดูคุณภาพของอาหาร เช่น อาหารสด ต้องสด ใหม่ ถ้า
   เป็นอาหารกระป๋องต้องอยู่ในสภาพดี กระป๋องไม่บุบ แตก รั่ว และยังไม่หมดอายุ ไม่นาอาหารที่มีอายุการ
   เก็บสั้น หรือหมดอายุแล้ว เสี่ยงต่อการเกิดโรค บรรจุกล่องไปแจกผู้ประสบภัย
4. ล้างผัก เนื้อสัตว์ ให้สะอาดก่อนปรุง
5. ชนิดของอาหารที่ทา ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีส่วนประกอบจาพวกกะทิ และอาหารที่บูดเสียง่าย เช่น แกง
   เผ็ด ผัดผัก แกงจืด หากทาอาหารเหล่านี้ ต้องแน่ใจว่ าถึง มือผู้บริโภคภายใน 2 ชั่วโมงเท่านั้น และควร
   จัดแยกใส่ถุงต่างหาก ไม่ราดโปะบนข้าว จะได้ไม่บูดเร็ว และหากกับข้าวบูด ข้าวสวยอาจยังใช้ได้ กับข้าวที่
   อยู่ได้หลายชั่วโมงเช่นไข่ดาว ไข่เจียว หมูทอดกระเทียม แต่ไม่ควรเก็บไว้ข้ามวัน (หากไม่เก็บในตู้แช่เย็น)
6. ควรเลือกเป็นกับข้าวแห้งๆ เช่น ไข่เค็มทั้ง เปลือก ไข่ต้มทั้งเปลือก (ให้ผู้รับแกะเอง จะเก็บข้ามวันได้ ) ไก่
   ทอดเค็ม หมูทอดเค็ม เนื้อทอดเค็ม หมูหยอง ไก่หยอง ปลาเค็มทอด หรือปิ้ง ข้าวเหนียวนึ่ง หรือใช้แบบ
   ข้าวหลามที่ไม่ใส่กะทิ น้าพริกแบบแห้ง หรือกับข้าวแบบเดียวกับจะเตรียมเดินป่า ซึ่งจะอยู่ได้ข้ามวัน และ
   ควรมีผัก ผลไม้บ้าง
7. ในกรณีของอาหารชนิดที่มักต้องใช้มือสัมผัสอาหารอีกหลังจากที่ทาสุกแล้ว เช่น ข้าวมันไก่ ข้าวหมูแดง
   ข้าวหมกไก่ ซึ่งมักจะมีการใช้มือเปล่าจับชิ้นไก่ หรือหมูเหล่านั้นในขั้นตอนการหั่น รวมทั้งการที่ผู้เสิร์ฟใช้มือ
   เปล่าหยิบอาหารเหล่านี้วางโปะลงบนข้าว ควรจัดการให้ผู้หั่นและผู้เสิร์ฟสวมถุง มือขณะที่สัมผัสอาหาร
   เหล่านี้ หรือ ไม่ทาอาหารเหล่านี้แจกผู้ประสบภัย โดยเฉพาะกรณีที่ต้องใช้เวลานานในการเดินทางกว่าจะ
   ถึงมือผู้รับบริจาค
8. ผู้ประกอบอาหารต้องมีความรู้ปรุงอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และนาไปส่งทันทีที่ปรุงเสร็จในเวลาอันสั้น
9. ผู้นาอาหารไปแจก ต้องเขียนที่กล่อง ระบุว่าซื้อจากที่ใด หรือปรุงโดยใคร และลงวันที่ เวลาที่ปรุงเสร็จ เพื่อ
   คนรับประทานจะได้ทราบและประเมินได้ และง่ายต่อการติดตามแก้ปัญหาหากเกิดโรคระบาด
10.ไม่ควรรับบริจาคของประเภท นมเปรี้ยว นมถุง (ชนิดพาสเจอไรซ์) ซึ่งเป็นของที่ต้องแช่เย็นจนกว่าจะถึงตัว
   ผู้รับ เนื่องจากโดยส่วนใหญ่การขนส่งของบริจาคในภาวะน้าท่วมมักจะขนส่ง ในอุณหภูมิปกติ ทาให้ของ
   เหล่านี้เสียได้ง่าย และผู้บริโภคเกิดอาการอาหารเป็นพิษ
11.เจ้าหน้าที่หน่วยงานที่รับบริจาค หรือศูนย์พักพิงผู้อพยพต้องจัดให้มีระบบการลงทะเบียน อาหารที่มีผู้มา
   บริจาค มีชื่อ และเบอร์โทรศัพท์ที่จะติดต่อได้ หากเกิดโรค
12.มีระบบการจัดการอาหารที่เข้ามาในศูนย์พักพิง /ศูนย์อพยพอย่างเป็นระบบ เช่น การประเมิน คุณภาพ
   อาหารที่รับมา หรือทาการคัดอาหารที่เสียทิ้ง ในกรณีอาหารที่ ไม่พบความผิด ปกติ ควรแจกจ่ายออกไป
   ก่อนโดยเร็ว หากแจกไม่ทันให้ทาลายทิ้ง เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากการรับประทานแล้วป่วย

                                                          ที่มา: สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 19 ตุลาคม 2554

Mais conteúdo relacionado

Mais de nhs0

โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานnhs0
 
คู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมคู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมnhs0
 
ขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภค
ขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภคขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภค
ขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภคnhs0
 
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปทแนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปทnhs0
 
หลังน้ำลด
หลังน้ำลดหลังน้ำลด
หลังน้ำลดnhs0
 
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปทแนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปทnhs0
 
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิง
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิงข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิง
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิงnhs0
 
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วมการจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วมnhs0
 
การจมน้ำ
การจมน้ำการจมน้ำ
การจมน้ำnhs0
 
หลังน้ำลด
หลังน้ำลดหลังน้ำลด
หลังน้ำลดnhs0
 
คำแนะนำในการทำอาหาร
คำแนะนำในการทำอาหารคำแนะนำในการทำอาหาร
คำแนะนำในการทำอาหารnhs0
 

Mais de nhs0 (12)

โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
 
คู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมคู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วม
 
ขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภค
ขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภคขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภค
ขั้นตอนในการผลิตน้ำสะอาดสำหรับอุปโภค
 
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปทแนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
 
หลังน้ำลด
หลังน้ำลดหลังน้ำลด
หลังน้ำลด
 
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปทแนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
แนวทางรับมืออุทภัยในบทบาท อปท
 
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิง
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิงข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิง
ข้อปฏิบัติสำหรับผู้อาศัยในศูนย์พักพิง
 
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วมการจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
 
การจมน้ำ
การจมน้ำการจมน้ำ
การจมน้ำ
 
หลังน้ำลด
หลังน้ำลดหลังน้ำลด
หลังน้ำลด
 
คำแนะนำในการทำอาหาร
คำแนะนำในการทำอาหารคำแนะนำในการทำอาหาร
คำแนะนำในการทำอาหาร
 

คำแนะนำในการทำอาหาร

  • 1. คาแนะนาในการทาอาหารสาหรับผู้ประสบอุทกภัยในศูนย์พักพิง/ศูนย์อพยพ (สาหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข) เนื่องจากในขณะนี้ พบผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษในศูนย์อพยพ/ศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกกัยหลายแห่ง โดยมีสาเหตุมาจากการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ หรือบูดเน่า ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยในด้านอาหาร ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่ อาจจะเกิดขึ้น ขอให้คาแนะนาในการประกอบอาหารและจัดทาอาหาร สาหรับผู้ประสบอุทกภัยในศูนย์อพยพ/ศูนย์พักพิง ดังนี้ 1. ให้ความรู้ผู้ปรุงอาหาร ให้มีสุขอนามัยส่วนบุคคลที่ถูกต้อง เช่น ไม่ใช้มือสัมผัสอาหาร ควรใช้อุปกรณ์หยิบ- ตักอาหาร รวมทั้ง ไม่ไอ จาม ลงสู่อาหาร และอุปกรณ์การทาอาหาร 2. รักษาความสะอาด และสุขลักษณะบริเวณสถานที่ปรุง/ประกอบอาหารอย่างสม่าเสมอ 3. เลือกวัตถุดิบที่ดีมีคุณภาพ หากเป็นของบริจาคต้องดูคุณภาพของอาหาร เช่น อาหารสด ต้องสด ใหม่ ถ้า เป็นอาหารกระป๋องต้องอยู่ในสภาพดี กระป๋องไม่บุบ แตก รั่ว และยังไม่หมดอายุ ไม่นาอาหารที่มีอายุการ เก็บสั้น หรือหมดอายุแล้ว เสี่ยงต่อการเกิดโรค บรรจุกล่องไปแจกผู้ประสบภัย 4. ล้างผัก เนื้อสัตว์ ให้สะอาดก่อนปรุง 5. ชนิดของอาหารที่ทา ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีส่วนประกอบจาพวกกะทิ และอาหารที่บูดเสียง่าย เช่น แกง เผ็ด ผัดผัก แกงจืด หากทาอาหารเหล่านี้ ต้องแน่ใจว่ าถึง มือผู้บริโภคภายใน 2 ชั่วโมงเท่านั้น และควร จัดแยกใส่ถุงต่างหาก ไม่ราดโปะบนข้าว จะได้ไม่บูดเร็ว และหากกับข้าวบูด ข้าวสวยอาจยังใช้ได้ กับข้าวที่ อยู่ได้หลายชั่วโมงเช่นไข่ดาว ไข่เจียว หมูทอดกระเทียม แต่ไม่ควรเก็บไว้ข้ามวัน (หากไม่เก็บในตู้แช่เย็น) 6. ควรเลือกเป็นกับข้าวแห้งๆ เช่น ไข่เค็มทั้ง เปลือก ไข่ต้มทั้งเปลือก (ให้ผู้รับแกะเอง จะเก็บข้ามวันได้ ) ไก่ ทอดเค็ม หมูทอดเค็ม เนื้อทอดเค็ม หมูหยอง ไก่หยอง ปลาเค็มทอด หรือปิ้ง ข้าวเหนียวนึ่ง หรือใช้แบบ ข้าวหลามที่ไม่ใส่กะทิ น้าพริกแบบแห้ง หรือกับข้าวแบบเดียวกับจะเตรียมเดินป่า ซึ่งจะอยู่ได้ข้ามวัน และ ควรมีผัก ผลไม้บ้าง 7. ในกรณีของอาหารชนิดที่มักต้องใช้มือสัมผัสอาหารอีกหลังจากที่ทาสุกแล้ว เช่น ข้าวมันไก่ ข้าวหมูแดง ข้าวหมกไก่ ซึ่งมักจะมีการใช้มือเปล่าจับชิ้นไก่ หรือหมูเหล่านั้นในขั้นตอนการหั่น รวมทั้งการที่ผู้เสิร์ฟใช้มือ เปล่าหยิบอาหารเหล่านี้วางโปะลงบนข้าว ควรจัดการให้ผู้หั่นและผู้เสิร์ฟสวมถุง มือขณะที่สัมผัสอาหาร เหล่านี้ หรือ ไม่ทาอาหารเหล่านี้แจกผู้ประสบภัย โดยเฉพาะกรณีที่ต้องใช้เวลานานในการเดินทางกว่าจะ ถึงมือผู้รับบริจาค 8. ผู้ประกอบอาหารต้องมีความรู้ปรุงอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และนาไปส่งทันทีที่ปรุงเสร็จในเวลาอันสั้น 9. ผู้นาอาหารไปแจก ต้องเขียนที่กล่อง ระบุว่าซื้อจากที่ใด หรือปรุงโดยใคร และลงวันที่ เวลาที่ปรุงเสร็จ เพื่อ คนรับประทานจะได้ทราบและประเมินได้ และง่ายต่อการติดตามแก้ปัญหาหากเกิดโรคระบาด 10.ไม่ควรรับบริจาคของประเภท นมเปรี้ยว นมถุง (ชนิดพาสเจอไรซ์) ซึ่งเป็นของที่ต้องแช่เย็นจนกว่าจะถึงตัว ผู้รับ เนื่องจากโดยส่วนใหญ่การขนส่งของบริจาคในภาวะน้าท่วมมักจะขนส่ง ในอุณหภูมิปกติ ทาให้ของ เหล่านี้เสียได้ง่าย และผู้บริโภคเกิดอาการอาหารเป็นพิษ 11.เจ้าหน้าที่หน่วยงานที่รับบริจาค หรือศูนย์พักพิงผู้อพยพต้องจัดให้มีระบบการลงทะเบียน อาหารที่มีผู้มา บริจาค มีชื่อ และเบอร์โทรศัพท์ที่จะติดต่อได้ หากเกิดโรค 12.มีระบบการจัดการอาหารที่เข้ามาในศูนย์พักพิง /ศูนย์อพยพอย่างเป็นระบบ เช่น การประเมิน คุณภาพ อาหารที่รับมา หรือทาการคัดอาหารที่เสียทิ้ง ในกรณีอาหารที่ ไม่พบความผิด ปกติ ควรแจกจ่ายออกไป ก่อนโดยเร็ว หากแจกไม่ทันให้ทาลายทิ้ง เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากการรับประทานแล้วป่วย ที่มา: สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค 19 ตุลาคม 2554