SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
Baixar para ler offline
รู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ ผ่านดาวเทียมช่ องดีเอ็มซี
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel

                                        ดร.วีระ สุ ภะ1, ดร.ปณิ ตา วรรณพิรุณ2
                                    1
                                      คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุ งเทพ
                                           (wera.su@northbkk.ac.th)
              2
                  สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเพื่อการศึกษา คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม
                                มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
                                            (panitaw@kmutnb.ac.th)


ABSTRACT                                                     Keywords:    blended learning model, Buddhist
                                                             education, DMC satellite channel, critical thinking
                                                             skills.
     This objective the study was to develop the
blended learning model for Buddhist education
via DMC satellite channel. There were 3 steps in
the research which were: 1) develop the main
                                                             บทคัดย่ อ
concept of the blended learning model for                           การวิจยนี้มีวตถุประสงค์เพื่อพัฒนารู ปแบบการศึกษาเชิง
                                                                               ั     ั
Buddhist education via DMC satellite channel,
2) develop of the blended learning model for                 พุทธแบบผสมผสานของสถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่อง
Buddhist education via DMC satellite channel,
3) determine the results from using of the
                                                             ดีเอ็มซี ขั้นตอนการวิจยแบ่งออกเป็ น 3 ขั้นตอนคือ 1) ศึกษา
                                                                                          ั
blended learning model for Buddhist education                และสังเคราะห์กรอบแนวคิดของรู ปแบบการเรี ยนการสอน
via DMC satellite channel. The research tools
were the blended learning model, the learning                                                                ่
                                                             ทางไกลเชิงพุทธของสถานี โทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็ม
achievement test and the student satisfaction                ซี 2) พัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนทางไกลเชิ งพุทธของ
questionnaire.          The sample was            30
undergraduate students of Dhammakaya Open                    สถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเที ยมช่ องดี เอ็มซี 3) ศึ กษาผลของ
University (DOU), California, USA. who had
enrolled to study GL 203 The Law of Karma                    การใช้รูปแบบการเรี ยนการสอนทางไกลเชิงพุทธของสถานี
subject in the first semester of 2010. The                                   ่
                                                             โทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย             ั
experiment period was 10 weeks. Data was
analyzed by using average, standard deviation,               คื อ รู ปแบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบผสมผสานของ
and t-Test dependent.
     The result revealed that:                               สถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี แบบวัดผลสัมฤทธิ์
                                                                                   ่
     1. The blended learning model consists of 6             ทางการเรี ยน และแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเ้ รี ยน
components which are: 1) learning resource, 2)
technology, 3) personnel, 4) learning media, 5)              ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง เ ป็ น นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า บั ณ ฑิ ต
coordinator center and 6) environment. The
procedure of the blended learning for Buddhist
                                                             มหาวิ ท ยาลัย ธรรมกายแคลิ ฟ อร์ เ นี ย ที่ ล งทะเบี ย นเรี ยน
education via DMC satellite channel consists of 4            รายวิชา GL 203 กฎแห่ งกรรม ภาคต้น ปี การศึกษา 2553
steps which are: 1) the preparation before
studying, 2) the blended learning for Buddhist               จํานวน 30 คน ระยะเวลาในการทดลอง คื อ 10 สัปดาห์
education consists of 3 steps which are: 2.1)
Create faith 2.2) Study information and practice
                                                             วิเคราะห์ขอมูลด้วย ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-
                                                                           ้
thinking: think correctly, think in the right way,           Test Dependent
think reasonably, and think meritoriously 2.3)
Conclude the learning, 3) the studying                              ผลการวิจย พบว่า
                                                                                 ั
communication, and 4) motoring and evaluating                       1. องค์ป ระกอบของรู ป แบบการศึ กษาเชิ งพุท ธแบบ
results.
     2. The undergraduate students learned with              ผสมผสานของสถานี โ ทรทัศ น์ ผ่า นดาวเที ย มช่ อ งดี เ อ็ม ซี
the blended learning model for Buddhist
education via DMC satellite channel had a                    ประกอบด้ว ย 6 องค์ ป ระกอบ คื อ 1) แหล่ ง เรี ยนรู้ 2)
statistically significant difference of the learning         เทคโนโลยี 3) บุ ค ลากร 4) สื่ อการเรี ยนรู้ 5) ศู น ย์
achievement and critical thinking skills post-test
score over the pretest scores at .01 level.                  ประสานงาน และ 6) สภาพแวดล้อม ขั้นตอนของการศึกษา

                                                       285
เชิ ง พุ ท ธแบบผสมผสานของสถานี โทรทั ศ น์ ผ่ า น                             การจัด การเรี ยนการสอนแบบผสมผสานเป็ นระบบ
ดาวเทียมช่องดีเอ็มซี ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) ขั้น                สนับสนุนให้ผเู้ รี ยนทางไกลได้ใฝ่ หาความรู้ดวยตนเอง และ   ้
เตรี ยมการก่อนการเรี ยนการสอน 2) ขั้นการเรี ยนการ                    เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนสามารถร่ วมทํากิจกรรมต่างๆ กับผูเ้ รี ยน
สอนเชิงพุทธแบบผสมผสาน คือ 2.1) การสร้างศรัทธา                        คนอื่นๆ และกับผูสอนได้ แล้วยังส่ งเสริ มให้เกิดปฏิสัมพันธ์
                                                                                           ้
2.2) ศึกษาข้อมูลและฝึ กทักษะการคิดถูกต้อง การคิดถูก                  ระหว่า งผูเ้ รี ย นกับ ผูเ้ รี ย นคนอื่ น ๆ ผูเ้ รี ย นกับ ผูส อน และ
                                                                                                                                   ้
ทาง การคิดอย่างมีเหตุผล การคิดเร้ากุศล 2.3) สรุ ปผล                  ผูเ้ รี ยนกับเนื้ อหา โดยการเสาะแสวงหาข้อมูลจากบริ การใน
การเรี ยนรู ้ 3) การถ่ายทอดการเรี ยนการสอน และ 4) การ                อินเทอร์ เน็ตด้วยตนเองจากบริ การเวิลด์ไวด์เว็บ การโต้ตอบ
ติดตามและประเมินผล                                                   ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิ กส์ การสนทนา และกระดานเสวนา
                                                                                    ์
      2. นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญญาบั ณ ฑิ ต ที่ เ รี ยนตาม          เป็ นต้น ทําให้ผูเ้ รี ยนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
รู ปแบบฯ ที่พฒนาขึ้น มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
                 ั                                                   กิจกรรมการเรี ยนการสอนจึงเป็ นไปอย่างทัวถึง เป็ นลักษณะ ่
และคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรี ยนสู ง                    การเรี ยนที่ ต อบสนองความแตกต่ า งระหว่ า งบุ ค คลและ
กว่าก่อนการเรี ยน อย่างมีนยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01
                             ั                                       ศักยภาพทางการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน เนื่ องจากผูเ้ รี ยนสามารถ
                                                                     เข้ามาศึกษา ทบทวนเนื้อหา และฝึ กทําแบบฝึ กหัดบนเว็บได้
คําสํ าคัญ: รู ปแบบการเรี ยนแบบผสมผสาน, การศึกษา                     ทุกเวลา ทุกสถานที่ และยังเป็ นการสนับสนุ นแนวคิดที่ให้
                            ่
เชิงพุทธ, สถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี , การ                 ผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง (วิชุดา รัตนเพียร, 2548)
คิดอย่างมีวจารณญาณ
            ิ                                                                ศาสตราจารย์สุมน อมรวิวฒน์ (2542) ราชบัณฑิตและ
                                                                                                          ั
                                                                     นักการศึกษาคนสําคัญของไทย ได้ริเริ่ มนําแนวคิด จาก
1) บทนํา                                                             หนังสื อ พุทธธรรมของพระราชวรมุนี (ประยุทธิ์ ปยุตโต)
        ปั จจุบนการศึกษาของไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงไป
               ั                                                     เกี่ยวกับการสร้างศรัทธาและโยนิ โสมนสิ การ มาสร้างเป็ น
จากเดิ ม อัน เนื่ อ งมาจากการพัฒนาทางด้า นเทคโนโลยี                  หลัก การและขั้น ตอนการสอนตามแนวพุ ท ธวิ ธี ข้ ึ นให้
สารสนเทศ (Information Technology) ซึ่ งด้านการศึกษา                  เหมาะสมกับยุคสมัย และง่ายต่อการศึกษาเล่าเรี ยน และการ
ก็ไ ด้มี ก ารนํา เทคโนโลยีดัง กล่ า วมาใช้ป ระโยชน์ ท าง             นํา ไปใช้ม ากขึ้ น ทํา ให้ว งการศึ ก ษาเกิ ด ความสนใจอย่า ง
การศึกษาที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบการเรี ยนรู้               กว้างขวาง ศาสตราจารย์สุ ม น อมรวิวฒน์ ได้เ สนอว่า     ั
ของ ผูเ้ รี ยนได้อย่างมากมายมหาศาลด้วยเทคโนโลยี                      สมบัติทิพย์ที่น่าจะใช้เป็ นพื้นฐานของการจัดการศึกษาไทย
สารสนเทศใน 3 ประเด็น ดังนี้ 1) การเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยน         ได้แก่ วัฒนธรรม ปั ญญาธรรมและเมตตาธรรม รู ปแบบ
เป็ นสําคัญโดยผูเ้ รี ยนสามารถศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้               การเรี ย นการสอนนี้ พัฒ นาขึ้ น จากหลัก การที่ ว่า ครู เ ป็ น
ทุกเวลาและทุกสถานที่เมื่อต้องการ 2) การศึกษาไทยใน                    บุ ค คลสําคัญ ที่ ส ามารถจัดสภาพแวดล้อ ม แรงจู งใจและ
อนาคตที่ ใ ห้ค วามสํา คัญ กับ การศึ ก ษานอกระบบและ                   วิ ธี ก ารสอนให้ ศิ ษ ย์เ กิ ด ศรั ท ธาที่ จ ะเรี ย นรู ้ การได้ฝึ กฝน
การศึกษาตามอัธยาศัยเพิ่มมากขึ้น ทําให้เทคโนโลยีช่วย                  วิธีการคิดโดยแยบคาย และนําไปสู่ การปฏิบติโดยประจักษ์        ั
ให้ผเู้ รี ยนสามารถเข้าถึงเนื้อหา สาระและข้อมูลข่าวสารที่            จริ ง โดยครู ทาหน้าที่เป็ นกัลยาณมิตร ช่วยให้ศิษย์มีโอกาส
                                                                                        ํ
ต้องการได้ 3) การเรี ยนรู้ ตลอดชี วิต เทคโนโลยี                      คิด และแสดงออกอย่างถูกวิธีและพัฒนาทักษะกระบวนการ
สารสนเทศและการสื่ อสารเพื่อการศึกษาเป็ นเครื่ องมือที่               คิดอย่างมีวจารณญาณได้
                                                                                      ิ
ทรงประสิ ทธิ ภาพที่จะก่อให้เกิดความเสมอภาค คุณภาพ                            การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking)
ของการศึกษาหาความรู้ และสาระความรู ้ รวมทั้ง                         เป็ นจุดมุ่งหมายสําคัญของการจัดการศึกษา เป็ นเงื่อนไข
ประสิ ทธิ ภาพของการเรี ยนรู้ ได้ต่อเนื่ องตลอดชี วิตจาก              สําคัญสําหรับการจัดการศึกษา (Ennis, 1989) และเป็ น
ซอฟต์แวร์ ต่างๆ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา                         คุ ณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ ตองการให้เกิ ดแก่ ผูเ้ รี ยนตาม
                                                                                                             ้
แห่งชาติ, 2544 )                                                     จุ ด มุ่ ง หมายของการศึ ก ษาตามระราชบัญ ญัติ ก ารศึ ก ษา
                                                                     แห่ ง ชาติ พ.ศ.2542 นอกจากนี้ ยัง เป็ นกระบวนการคิ ด ที่

                                                               286
จําเป็ นและสําคัญที่สุดสําหรับผูเ้ รี ยนทุกระดับ เนื่ องจาก                       เพื่อการเรี ยนการสอนทางไกลเชิงพุทธ ที่เหมาะสมในมิติของ
                                  ่
เป็ นกระบวนการคิดที่ผานการไตร่ ตรองและพิจารณาจาก                                  รู ปแบบการเรี ยนการสอนทางไกลด้วยสถานี โทรทัศน์ผ่าน
ข้อมูล หลักฐานที่มีอยู่มาเป็ นอย่างดี ซึ่ งสามารถนําไป                            ดาวเที ย มแบบมี ป ฏิ สั ม พัน ธ์ และการปฏิ สั ม พัน ธ์ ผ่า นเว็บ
ประยุกต์ใ ช้ใ นสถานการณ์ ต่ าง ๆ ได้อ ย่า งหลากหลาย                               เพื่อให้การปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นสนับสนุ นผูเ้ รี ยนทางไกลใน
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณจึงถือเป็ นพื้นฐานของ                                 หลากหลายรู ปแบบ ทั้งนี้ การรู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบ
การคิดทั้งปวง (ทิศนา แขมมณี , 2547)และซึ่ งสอดคล้อง                                                                 ่
                                                                                  ผสมผสานของสถานี โทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี จะ
กับมาตรฐานการประเมิ นคุณภาพการจัดการศึกษาของ                                      ทําให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามหลัก
ไทยที่ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การพั ฒ นาการคิ ด อย่ า งมี                       โยนิ โ สมนสิ ก าร นั้ นจะเป็ นประโยชน์ อ ย่ า งกว้า งขวาง
วิจารณญาณตั้งแต่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน                                  สําหรับสถานศึกษา ในลักษณะเดียวกันนําไปดําเนินการและ
ที่ 4                       ํ
                   ที่ กาหนดให้ผูเ้ รี ยนมีความสามารถในการคิด                     พัฒนาต่อไป
วิ เ คราะห์ คิ ด สั ง เคราะห์ มี วิ จ ารณญาณ มี ค วามคิ ด
ส ร้ า ง ส ร ร ค์ คิ ด ไ ต ร่ ต ร อ ง แ ล ะ มี วิ สั ย ทั ศ น์                    2) วัตถุประสงค์ การวิจัย
(คณะอนุกรรมการการปฏิรูปการเรี ยนรู้, 2543)                                        2.1) เพื่อศึกษาและสังเคราะห์กรอบแนวคิดของรู ปแบบ
      มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์ เนี ย (Dhammakaya                               การศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ผาน   ่
Open University: DOU , California, USA.) เป็ น                                    ดาวเทียมช่องดีเอ็มซี
หน่ วยงานที่จดให้มีการเรี ยนการสอน หลักสู ตรพุทธ
                          ั                                                       2.2) เพื่อพัฒนารู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสาน
ศาสตรบัณฑิต(พุทธศาสตร์ ) หลักสู ตรประกาศนี ยบัตร 1                                                     ่
                                                                                  ของสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี
ปี และหลักสู ตรสัมฤทธิ บตร ซึ่ งมีศูนย์ประสานงานทัว
                                       ั                              ่           2.3) เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบ
โลก เป็ นทางเลื อ กหนึ่ ง ในการให้ผูเ้ รี ย นมุ่ ง ศึ ก ษาและ                                                   ่
                                                                                  ผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี
ฝึ กฝนศาสตร์ แห่งความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็ นผูที่มีวิถี       ้
ชี วิ ต ที่ ถู ก ต้อ งดี ง าม มี ค วามสุ ข ที่ แ ท้จ ริ ง เป็ นการเปิ ด           3) สมมติฐานการวิจัย
โอกาสทางการศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาตามปรั ช ญา                                 3.1) นักศึกษาทางไกลของมหาวิทยาลัยธรรมกายแคลิฟอร์ เนี ย
การศึกษาที่ต้ งไว้ โดยสื่ อที่ใช้ในการศึกษาที่ผ่านมาเป็ น
                        ั                                                         ที่ เ รี ย นตามรู ป แบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบผสมผสานของ
ตํา ราเรี ย นทางไกล สื่ อ โสตทัศ น์ และโทรทัศ น์ ผ่ า น                           สถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี มีผลสัมฤทธิ์ ทางการ
                                                                                                       ่
ดาวเทียม (Dhammakaya Open University, 2009) ทั้งนี้                               เรี ยนหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยสําคัญทางสถิติ
                                                                                                                               ั
ระบบการศึ ก ษาทางไกลของมหาวิ ท ยาลัย ธรรมกาย                                      3.2) นักศึกษาทางไกลของมหาวิทยาลัยธรรมกายแคลิฟอร์ เนี ย
แคลิฟอร์ เนี ย นั้นต้องการพัฒนาที่มีการเสริ มแรงในการ                             ที่ เ รี ยนรู ปแบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบผสมผสานของ
เรี ยนรู้เนื้ อหา การเข้าถึงข้อมูลทัวโลก การเข้าถึงข้อมูลที่
                                           ่                                      สถานี โ ทรทัศ น์ ผ่านดาวเที ย มช่ อ งดี เอ็ม ซี มี ค ะแนนการคิ ด
เป็ นปั จจุบนการเรี ยนรู้เนื้ อหาที่นาเสนอในลักษณะที่มีท้ ง
                 ั                           ํ                          ั         อย่างมีวิจารณญาณหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยสําคัญ
                                                                                                                                           ั
ภาพและเสี ยง เป็ นการเรี ยนทางไกลที่ไร้ระยะทาง และ                                ทางสถิติ
สามารถทําความเข้าใจได้มากขึ้นและเป็ นการเรี ยนรู ้อย่าง
มี ป ฏิ สั ม พัน ธ์ กัน และด้ว ย ความต้อ งการของผู้เ รี ยน
                                                                                  4) ขอบเขตการวิจัย
                                               ่
หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิตที่อยูในทุกมุมโลกนั้นนับวัน
                                                                                  4.1) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ยิ่ง ทวีเ พิ่ ม ขึ้ น สื บ เนื่ อ งจากเป็ นกลุ่ ม ผูส นใจการศึ ก ษา
                                                     ้
                                                                                      ประชากรที่ใช้ในการวิจย คือ นักศึกษาของมหาวิทยาลัย
                                                                                                                ั
ธรรมจากรายการธรรมผ่านดาวเทียมช่องดีเอ็มซี ตองการ                ้
                                                                                  ธรรมกายแคลิฟอร์เนีย ในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2553
ศึกษาหลักธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ ง และถือเป็ นการพัฒนา
                                                                                      กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในวิจย คือ นักศึกษาของมหาวิทยาลัย
                                                                                                              ั
ความรู้ ที่ ไ ด้ด้ว ยระบบการศึ ก ษา และการใช้สื่ อ เมื่ อ มี
                                                                                  ธรรมกายแคลิ ฟอร์ เนี ย ในภาคเรี ย นที่ 1 ปี การศึ กษา 2553
การศึกษา และได้พฒนาระบบสนับสนุ นผูเ้ รี ยนทางไกล
                              ั
                                                                                  จํานวน 30 คน ได้โดยการสุ่ มอย่างง่าย แบ่งเป็ น นักศึกษา
                                                                            287
จากศูนย์การศึกษาทางไกล ประเทศออสเตรเลีย 17 คน                               5) วิธีดําเนินการวิจัย
     ประเทศนิวซี แลนด์ 8 คน และประเทศญี่ปุ่น 5 คน                                       การวิจยครั้ งนี้ เป็ นการวิจยและพัฒนา (Research and
                                                                                                  ั                 ั
                                                                                 Development) แบ่งการวิจยเป็ น 3 ระยะ คือ
                                                                                                                 ั
     4.2) ตัวแปรในการวิจย   ั                                                    ระยะที่ 1 การศึกษาและสังเคราะห์กรอบแนวคิดของรู ปแบบ
         ตัว แปรต้น คื อ รู ป แบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบ                       การศึกษาเชิ งพุทธแบบผสมผสานของสถานี โทรทัศน์ผ่าน
                                     ่
     ผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี                              ดาวเทียมช่องดีเอ็มซี
         ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและการคิด                          1.1) การศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสารและงานวิจย              ั
     อย่างมีวจารณญาณ
               ิ                                                                 ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง องค์ ป ระกอบของรู ปแบบการเรี ยนแบบ
         เนื้ อหาที่ใช้ในการวิจย คือ เนื้ อหารายวิชา GL 203
                               ั                                                 ผสมผสาน การศึกษาเชิงพุทธของมหาวิทยาลัยธรรมกายเคลิ
     กฎแห่งกรรม                                                                  ฟอร์ เ นี ย ด้ว ยสถานี โ ทรทัศ น์ ผ่ า นดาวเที ย มช่ อ งดี เ อ็ ม ซี
                                                                                 การศึกษาเชิงพุทธ และการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ
     กรอบแนวคิดการวิจัย                                                          1.2) ศึกษาสภาพการจัดการเรี ยนการสอนในปั จจุบน ได้แก่   ั
          กรอบแนวคิ ดการวิจัย ประกอบด้วย รู ปแบบการ                              ข้อมูลด้านการจัดการเรี ยนการสอน โดยการสัมภาษณ์จาก
     เรี ยนการสอนทางไกล การศึ ก ษาเชิ งพุ ท ธของ                                 ผู ้บ ริ หาร อาจารย์ผู้ส อนเจ้ า หน้ า ที่ ประสานงาน ของ
     มหาวิทยาลัยธรรมกายเคลิ ฟอร์ เนี ยด้วยสถานี โทรทัศน์                         มหาวิทยาลัยธรรมกายแคลิฟอร์ เนี ย และข้อมูลคุณลักษณะ
     ผ่านดาวเทียมช่องดีเอ็มซี การศึกษาเชิงพุทธ และการคิด                         ของผูเ้ รี ยน เกี่ยวกับความสามารถของนักศึกษาที่เกี่ยวข้อง
     อย่างมีวจารณญาณ ดังรู ปที่ 1
             ิ                                                                   กับองค์ประกอบการสนับสนุนการศึกษาทางไกลเชิงพุทธ
                                                                                 ระยะที่ 2 การพั ฒ นารู ปแบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบ
รู ปแบบการเรียนการสอน        การศึกษาเชิงพุทธ        การศึกษาเชิงพุทธของ
        ทางไกล                                         DOU ด้ วยดีเอ็มซี                                              ่
                                                                                 ผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี
(Moore & Anderson, 2005)   (สุมน อมรวิวฒน์., 2542)
                                       ั                 (DOU, 2009)             2.1) กํา หนดกรอบแนวคิ ด ของรู ป แบบการศึ ก ษาเชิ ง พุท ธ
                                                                                 แบบผสมผสาน
                                                                                 2.2) สร้ า งต้น แบบของรู ปแบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบ
           รู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสานของสถานีโทรทัศน์
                          ผ่ านดาวเทียมช่ องดีเอ็มซี                             ผสมผสาน ดังนี้
                                                                                 2.2.1) นํา ต้น แบบรู ป แบบ ไปให้ผูเ้ ชี่ ย วชาญ ด้า นการศึ ก ษา
             ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน          การคิดอย่ างมีวจารณญาณ
                                                            ิ                    ทางไกลผ่านสถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม 5 ท่าน                     เพื่อ
                                                                                 พิจารณาในด้านการสื่ อความหมาย ความครอบคลุมเนื้ อหา
     รู ปที่ 1: กรอบแนวคิดการพัฒนารู ปแบบการศึกษา                                องค์ประกอบ ลักษณะ และขั้นตอนของรู ปแบบการเรี ยนการ
               เชิ งพุทธแบบผสมผสานของสถานีโทรทัศน์                               สอนทางไกลฯ โดยวิธี การสัมภาษณ์ ซึ่ งใช้เกณฑ์พิจารณา
               ผ่ านดาวเทียมช่ องดีเอ็มซี                                        ความถูกต้องโดยใช้ความสอดคล้องของข้อมูลที่ ได้จากการ
                                                                                 สัมภาษณ์เทียบกับแนวคิดหลักที่ได้จากการสังเคราะห์ขอมูล         ้
                                                                                 ในระยะที่ 1
                                                                                 2.2.2) นํา ต้น แบบรู ป แบบฯที ป รั บ ปรุ งตามคํา แนะนํา ของ
                                                                                 ผูเ้ ชี่ ยวชาญในรอบแรก ให้ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการออกแบบการ
                                                                                 เรี ยนการสอนเชิงพุทธ และด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 5
                                                                                 ท่ า นประเมิ น รั บ รองความสอดคล้อ ง ระหว่า งรู ป แบบกับ
                                                                                 จุดมุ่งหมาย
                                                                                 2.2.3) ออกแบบและสร้ า งรู ป แบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบ
                                                                                 ผสมผสาน ดังนี้
                                                                           288
2.2.3.1) กําหนดเนื้ อหา จุดประสงค์การเรี ยนรู้ ขั้นตอน             3.1.2) เตรี ย มความพร้ อ มของแผนการสอน              บทเรี ย น
กิจกรรมการเรี ยนการสอน และสื่ อการเรี ยนการสอน                     ปฏิ สัมพันธ์เชิ งพุทธโดยสถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเที ยม และ
2.2.3.2) พัฒนาเครื่ องมื อตามรู ปแบบการศึ กษาเชิ งพุท ธ            คู่มือแนวทางการจัดการเรี ยนการสอน และเครื่ องมือในเก็บ
แบบผสมผสาน ได้ แ ก่ เนื้ อหาของบทเรี ยนและ                         การรวบรวมข้อมูล
ส่ ว นประกอบ ระบบบริ หารจั ด การการเรี ยน การ                      3.2) ดําเนินการทดลองใช้รูปแบบฯ ที่พฒนาขึ้น ั
ติดต่อสื่ อสาร และการวัดผลและ                                      3.2.1)         วัด ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นและการคิ ด อย่า ง
2.2.3.3) สร้ า งแผนการสอน ให้ผูเ้ ชี่ ย วชาญด้า นเนื้ อ หา         วิจารณญาณของผูเ้ รี ยนก่อนการเรี ยน โดยใช้แบบวัด การคิด
จํานวน 5 ท่าน ตรวจสอบคุณภาพ และความเหมาะสม                         วิจารณญาณตามหลักโยนิ โสมนสิ การ (ผ่องลักษณ์ จิตต์
ของแผนการสอนและ รู ปแบบที่สร้างขึ้น                                การุ ญ, 2547) และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
2.2.3.4) สร้ า งคู่ มื อ แนวทางการปฏิ บ ัติ ตามรู ป แบบฯ           3.2.2) ดําเนินการวิจย โดยให้ผเู้ รี ยนดําเนินกิจกรรมการเรี ยน
                                                                                          ั
สําหรับผูเ้ รี ยนและผูสอน้                                         ตามรู ป แบบฯ ที่ พ ฒ นาขึ้ น โดยใช้เ วลาในการทดลอง 10
                                                                                        ั
2.2.4) ทดสอบคุณภาพของรู ปแบบฯ โดยมีกระบวนการ                       สัปดาห์
ทดสอบ 2 ขั้นตอน ดังนี้ (ณมน จีรังสุ วรรณ, 2549)                    3.2.3) เมื่อสิ้ นสุ ดการดําเนิ นกิจกรรมวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการ
       ขั้นตอนที่ 1 การทดสอบรู ปแบบฯ                               เรี ยนและการคิดอย่างมีวจารณญาณของผูเ้ รี ยนหลังเรี ยน
                                                                                              ิ
       1) การทดสอบแบบหนึ่งต่อหนึ่ง ใช้วธีการสังเกต
                                              ิ
และการสัมภาษณ์จากนั้นนําข้อมูลมาปรับปรุ งแก้ไข                     6) สรุปผลการวิจัย
ข้อบกพร่ องของรู ปแบบ                                              ตอนที่ 1 รู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสานของ
       2) การทดสอบกับกลุ่มเล็ก ใช้วิธีการสังเกตและการ                                 ่
                                                                   สถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี
สัมภาษณ์จากนั้นนําข้อมูลมาปรับปรุ งแก้ไขข้อบกพร่ อง                6.1) รู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสาน ประกอบด้วย
ของรู ปแบบ                                                         6 องค์ประกอบ ดังนี้
       ขั้นตอนที่ 2 การทดลองนําร่ อง                               6.1.1) แหล่งเรี ยนรู ้ 3 องค์ประกอบย่อย คือ             ศูนย์
       ทดลองนํ า ร่ อง โดยให้ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย                                          ่
                                                                   การศึกษาทางไกล โทรทัศน์ผานดาวเทียมดีเอ็มซี และระบบ
ธรรมกายแคลิ ฟ อร์ เ นี ย 30 คน เรี ยนโดยใช้รู ป แบบที่             บริ หารจัดการเรี ยนการสอน
พัฒนาขึ้น         เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสังเกตและ              6.1.2) เทคโนโลยี 3 องค์ประกอบย่อย คือ เทคโนโลยีการ
สอบถามความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การใช้ ง าน ปั ญหา               ผลิ ต เทคโนโลยีการถ่ายทอด และเทคโนโลยีการติดตาม
อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการเรี ยนตามรู ปแบบฯ                         และประเมินผล
ระยะที่ 3 การศึกษาผลของการใช้รูปแบบการศึกษาเชิ ง                   6.1.3) บุคลากร 9 องค์ประกอบย่อย คือ ผูสอน ผูสอน้      ้
พุทธแบบผสมผสานของสถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเที ยม                       เสริ ม ผูให้คาปรึ กษา ที่ปรึ กษาทางวิชาการ ผูจดการรายวิชา
                                                                            ้ ํ                                  ้ั
ช่องดีเอ็มซี                                                       ผูประสานงาน ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสื่ อ ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเนื้อหา
                                                                     ้
     การศึ กษาผลของการใช้รู ป แบบการศึ ก ษาเชิ งพุท ธ              และช่างเทคนิค
แบบผสมผสานใช้แบบแผนการวิจยแบบ One Group
                                     ั                             6.1.4) สื่ อการเรี ยนรู้ 4 องค์ประกอบย่อย คือ รายการ
Pretest – Posttest Design (William & Stephen, 2009)                            ่
                                                                   โทรทัศน์ผานดาวเทียม หนังสื อชุดวิชา วิซีดีและดีวดี ี
ดังนี้                                                             6.1.5) ศูนย์ประสานงาน 3 องค์ประกอบย่อย คือ ศูนย์
3.1) การวางแผนก่อนดําเนินการทดลอง                                  การศึกษาทางไกล ศูนย์การผลิตสื่ อดีเอ็มซี และศูนย์การแปล
3.1.1) การเตรี ยมความพร้อมของสถานที่หองเรี ยนต้นทาง
                                            ้                      6.1.6) สภาพแวดล้อม 2 องค์ประกอบย่อย คือ บรรยากาศ
ได้แก่ อุปกรณ์ผลิตรายการโทรทัศน์ การเชื่อมต่อระบบ                  ในการเรี ยน และกิจกรรมสนับสนุนการเรี ยนรู้
เครื อข่ายโทรศัพท์ การส่ ง SMS            และโปรแกรมที่
เกี่ยวข้อง

                                                             289
3.1.2 เสนอสถานการณ์ปัญหา หรื อ กรณี ตวอย่าง      ั
                                                                                   3.1.3 แนะนําหลักธรรมที่ ส ามารถนําไปใช้ในการ
                                                                       เลือกแก้ปัญหา
                                                                                 ขั้ น ที่ 3.2 ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล แ ล ะ ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด
                                                                       ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนย่อย คือ
                                                                                 แสวงหาและรวบรวมข้อมูล
                                                                                 ฝึ กความสามารถในการคิด 4 ทักษะ คือ
                                                                                 ฝึ กทักษะการคิดถูกต้ อง 4 ขั้นตอน คือ
                                                                                 1) การแนะนําหลักธรรมที่สามารถนําไปแก้ปัญหา
                                                                                 2) การตัดสิ นสภาพความจริ ง
                                                                                 3) การตัดสิ นคุณค่าของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งที่จาเป็ น
                                                                                                                                ํ
                                                                                 4) การวิเคราะห์องค์ประกอบย่อยและการจัดกลุ่ม
รู ปที่ 2: รู ปแบบการศึกษาเชิ งพุทธแบบผสมผสาน
                                                                                 ฝึ กทักษะการคิดถูกทาง 4 ขั้นตอน คือ
           ของสถานีโทรทัศน์ ผ่านดาวเทียมช่ องดีเอ็มซี
                                                                                 1) การแนะนําหลักธรรมที่สามารถนําไปแก้ปัญหา
                                                                                 2) การพิจารณาคุณค่าของการกระทําโดยมีจุดมุ่งหมาย
6.2) กระบวนการการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสานของ
                                                                                 3) การพิจารณาข้อดี ข้อเสี ยและข้อควรปฏิบติ           ั
สถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเที ยมช่องดีเอ็มซี ประกอบด้วย
                                                                                 4) การตระหนักรู้
5 ขั้นตอนย่อย ดังนี้
                                                                                 ฝึ กทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล 4 ขั้นตอน คือ
6.2.1) ขันที่ 1 การเตรี ยมการก่ อนการเรี ยนการสอน
             ้
                                                                                 1) การแนะนําหลักธรรมที่สามารถนําไปแก้ปัญหา
          การเตรี ย มการก่ อ นการเรี ย นการสอน โดย
                                                                                 2) การคิดเป็ นเหตุเป็ นผล
การศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ ค วามต้อ งการทางการศึ ก ษา
                                                                                 3) การพิจารณาแก้ปัญหา
กํา หนดวัต ถุ ป ระสงค์ท างการศึ ก ษา พัฒ นาหลัก สู ต ร
                                                                                 4) การพิจารณาความสัมพันธ์เชื่อมโยง
และพิจารณาสื่ อที่เหมาะสม
                                                                                 ฝึ กทักษะการคิดเร้ ากุศล 2 ขั้นตอน คือ
6.2.2) ขันที่ 2 การวางแผนการเรี ยนการสอน
               ้
                                                                                 1) การแนะนําหลักธรรมที่สามารถนําไปแก้ปัญหา
          การวางแผนการเรี ยนการสอน ได้แก่ การกําหนด
                                                                                 2) การส่ งเสริ มกุศลธรรม
คุ ณลักษณะของผูสอนทางไกลกําหนดคุ ณลักษณะของ
                       ้
                                                                                 3.2.1 ผูเ้ รี ยนฝึ กทักษะการตัดสิ นใจ
ผูเ้ รี ยนทางไกล การกําหนดคุ ณลักษณะผูสอน การ      ้
                                                                                 3.2.2 ลงมือปฏิบติโดยมีผสอนเป็ นกัลยาณมิตร
                                                                                                      ั         ู้
วางแผนกิจกรรมการเรี ยนการสอนทางไกล การวางแผน
                                                                                 ขั้นที่ 3.3 สรุ ปผลการเรี ยนรู้
ปั จจัยสนับสนุน และการวางแผนพัฒนาสื่ อ
                                                                       6.2.4) ขั้นที่ 4 การถ่ ายทอดการเรี ยนการสอน
6.2.3) ขั้ น ที่ 3 ขั้ น การเรี ยนการสอนเชิ ง พุ ท ธแบบ
                                                                       6.2.5) ขันที่ 5 การติดตามและประเมินผล
                                                                                    ้
ผสมผสาน การออกแบบเนื้ อหาและสื่ อการเรี ยนการ
                                                                             ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 11 ท่านประเมินความเหมาะสม
                                                                               ้
สอนในการศึกษาเชิงพุทธด้วยกระบวนการสร้างศรัทธา
                                                                       ของรู ปแบบ มีความเห็นเห็นสอดคล้องกันว่า กระบวนการ
และโยนิ โสมนสิ การ ประกอบด้วยขั้นตอนและกิจกรรม
                                                                                                                      ่
                                                                       เรี ยนการสอนทางไกลสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็ม
3 ขั้นตอน คือ
                                                                       ซี และกระบวนการเรี ยนการสอนทางไกลเชิ งพุทธ มีความ
          ขั้นที่ 3.1 การสร้างศรัทธา 3 ขั้นตอนย่อย คือ
                                                                       เหมาะสมมากที่สุด (IOC = 1.0) รองลงมาคือ องค์ประกอบ
           3.1.1 กระตุ ้น ให้ ผู้เ รี ยนเห็ น ความสํ า คัญ ของ
                                                                       ของรู ปแบบการเรี ยนการสอน รู ปแบบฯ ที่พฒนาขึ้นมีความ   ั
บทเรี ยน
                                                                       เหมาะสมต่ อ การพัฒนาการคิ ด อย่า งมี วิจ ารณญาณ และมี
                                                                       ความเป็ นไปได้ในการนําไปใช้จริ ง (IOC = 0.91)
                                                                 290
Study of content                  Online: Self-pace e-Learning                                       A
                                                via LMS

                                                 Onair: Instructional                          Practice to think reasonably             On air: Instructional television
                Create faith
                                                                                                                                        F2F: Group Discussion
                                                                                             Introduce Dharma principle which
      Stimulate the student to know the         Onair: Instructional television            students can apply to solve problems
                                                                                                                                                Think reasonably
          importance of the lesson
                                                                                                     Think reasonably
 Propose the situation problems or example      Onair: Instructional television

Introduce Dharma principle which the students                                              Determine the way to solve problems
         can apply to solve problems            Onair: Instructional television

                                                                                                Determine the connections
 Study information and practice thinking

                                                                                              Practice to think meritoriously            On air: Instructional television
           Search and collect data              Onair: Instructional television
                                                Online : Online Resources                                                                F2F: Group Discussion
                                                                                              Introduce Dharma principle which
          Practice 4 thinking skills                                                        students can apply to solve problems
                                                                                                                                              Think meritoriously
                                                                                             Promote the values of Dharma and
        Practice to think correctly                                                                        virtue
                                                Onair: Instructional television
                                                F2F: Group Discussion
      Introduce Dharma principle which                                                                                                  On air: Instructional television
    students can apply to solve problems                                                    Students practice the skills to make        F2F: Group Discussion
                                                       Think correctly
              Consider the fact                                                           Students implement the practice with the      On air: Instructional television
                                                                                               teachers as their best friends           F2F: Group Discussion
         Evaluate the essential ones
                                                                                                 Conclude the learning
      Analyze the sub–components and

                                                                                          Students and teachers conclude the            On air: Instructional television
     Practice to think in the right way                                                                                                 Online: VDO Conference,
                                                Onair: Instructional                                                                            Online Phone
                                                television                                                                              F2F: Group Discussion
      Introduce Dharma principle which
    students can apply to solve problems                                                       Test and evaluate the learning           On air: Instructional television
                                                  Think in the right way                                                                Online: Online Testing
                                                                                                                                        F2F: Group Discussion
  Evaluate the value of target–aimed action
                                                                                                                             Not pass
                                                                                                     evaluate the learning              Self-pace e-Learning via LMS
   Determine the advantage, disadvantage
               and regulation                                                                                                           Online: LMS

                                                                                                               Pass
             Have an awareness
                                                                                                  Study the next content

                     A

                                                                                        รู ปที่ 3: กระบวนการการศึกษาเชิ งพุทธแบบผสมผสานของ
                                                                                                   สถานีโทรทัศน์ ผ่านดาวเทียมช่ องดีเอ็มซี




                                                                                  291
ตอนที่ 2 ผลการทดลองใช้รูปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบ                       ผลการวิ เ คราะห์ ค วามคิ ด เห็ น ของผู้เ รี ยนต่ อ การจัด
                           ่
ผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี                  กิ จกรรมการเรี ยนการสอนตามกระบวนการการศึ กษาเชิ ง
     ผลการวิเคราะห์คะแนนทักษะการคิดอย่างมี                      พุทธแบบผสมผสานของสถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่อง
วิจารณญาณ ดังตารางที่ 1                                         ดีเอ็มซี
                                                                      นักศึ กษามี ค วามพึงพอใจต่อการจัดกิ จกรรมการเรี ย น
ตารางที่ 1: ผลการเปรี ยบเทียบคะแนนการคิด                        การสอน ขั้นที่ 1 การสร้ างศรั ทธาอยู่ในระดับมาก ( x =
            อย่างมีวจารณญาณก่อนและหลังการทดลอง
                    ิ                                           4.21, S.D. = 0.58) ขั้นที่ 2 ศึกษาข้อมูลและฝึ กทักษะการคิด
คะแนนการ       n คะแนนเต็ม     x      S.D.    t     Sig             ่
                                                                อยูในระดับมาก ( x = 4.32, S.D. = 0.67) และขั้นที่ 3
 คิดอย่ างมี                                         .                                 ่
                                                                สรุ ปผลการเรี ยนรู้ อยูในระดับมาก ( x = 4.29, S.D. = 0.72)
วิจารณญาณ
ก่อนทดลอง      30     40      25.87   2.00 21.84 .000
หลังทดลอง      30     40      34.20   2.30
                                                                7) อภิปรายผล
**p < .01                                                       7.1) ผลการพัฒนารู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสาน
                                                                                         ่
                                                                ของสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี
    จากตารางที่ 1 พบว่า นักศึกษาที่เรี ยนตามรู ปแบบ ที่                  จากการพัฒ นาระบบการเรี ย นการสอนตาม ADDIE
พัฒ นาขึ้ น มี ค ะแนนการคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณหลัง          MODEL 5 ขั้นตอน คือ ขั้นการวิเคราะห์ ขั้นการออกแบบ
ทดลอง ( x = 34.20, S.D. = 2.30) สู งกว่าก่อนทดลอง               ขั้ นการพัฒ นา ขั้ นการนํ า ไปทดลองใช้ และขั้ นการ
( x = 25.87, S.D. = 2.00) อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่
                                       ั                        ประเมิ น ผล ทํา ให้ ไ ด้รู ป แบบที่ มี ค วามเหมาะสมในด้า น
ระดับ .01                                                       องค์ ป ระกอบ กระบวนการการเรี ยนการสอน มี ค วาม
                                                                เหมาะสมต่ อ การพัฒนาการคิ ด อย่า งมี วิจ ารณญาณ และมี
     ผลการวิเคราะห์คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน                  ความเป็ นไปได้ใ นการนํา ไปใช้จ ริ ง ซึ่ งสอดคล้อ งกับ
ดังตารางที่ 2                                                   กระบวนการเรี ย นการสอนตามหลักโยนิ โ สมนสิ ก ารของ
ตารางที่ 2: ผลการเปรี ยบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์                    สุ มน อมรวิวฒน์ (2542) ซึ่ งประกอบด้วย ขั้นสร้างศรัทธา
                                                                                   ั
            ทางการเรี ยนก่อนและหลังการทดลอง                     เจตคติที่ดีต่อครู วิธีการเรี ยนและบทเรี ยน ขั้นศึกษาข้อมูล
                                                                และฝึ กทักษะการคิด และขั้นสรุ ป โดยผลที่ผเู้ รี ยนจะได้รับ
  คะแนน         n คะแนนเต็ม x         S.D.    t   Sig.
 ผลสั มฤทธิ์                                                    จากการเรี ยนตามหลักโยนิ โสมนสิ การคือ ผูเ้ รี ยนจะพัฒนา
ทางการเรียน                                                     ทัก ษะในการคิ ด การตัด สิ น ใจและการแก้ปั ญ หาอย่ า ง
ก่อนทดลอง       30     40     26.27 2.27 14.47 0.00             เหมาะสม
หลังทดลอง       30     40     33.73 1.68                        7.2) ผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและการคิดอย่างมี
**p < .01                                                       วิจารณญาณ
   จากตารางที่ 2 พบว่า นักศึกษาที่เรี ยนตามรู ปแบบที่                    การศึกษาเชิ งพุทธแบบผสมผสานของสถานี โทรทัศน์
พัฒนาขึ้น มีค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน             ผ่า นดาวเที ย มช่ อ งดี เ อ็ม ซี มี กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนที่
หลังทดลอง ( x = 33.73, S.D. = 1.68) สูงกว่าก่อน                 ผสมผสานระหว่างการศึกษาเชิงพุทธด้วยกระบวนการสร้าง
ทดลอง ( x = 26.27, S.D. = 2.27) อย่างมีนยสําคัญทาง
                                          ั                     ศรัทธาและโยนิ โสมนสิ การและกิจกรรมการเรี ยนการสอน
สถิติที่ระดับ .01                                               เพื่ อ พัฒ นาการคิ ด อย่า งมี วิ จ ารณญาณ สามารถพัฒ นาให้
                                                                ผูเ้ รี ย นมี ท ัก ษะการคิ ด อย่า งมี วิ จ ารณญาณและผลสั ม ฤทธิ์
                                                                ทางการเรี ย นสู ง ขึ้ น สอดคล้อ งกับ งานวิจัย ของ ดวงรั ต น์
                                                                สบายยิ่ง (2549) ที่พบว่า ผูเ้ รี ยนที่เรี ยนด้วยการจัดการเรี ยนรู้
                                                                ตามแนวโยนิ โสมนสิ การมี ความสามารถในการคิ ดอย่างมี
                                                          292
วิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งกว่าก่อนการ                     Dhammakaya Open University. (2009). Buddhist
                                                                           approach via DMC satellite channel. Patumthani:
จัดการเรี ยนรู้ และผูเ้ รี ยนมีทศคติที่ดีต่อการจัดการเรี ยนรู้
                                ั                                          Dhammakaya Foundation.
                                                                       Ennis, R. H. (1989). Critical Thinking and subject
ตามแนวโยนิ โสมนสิ การ โดยผูเ้ รี ยนเห็ นประโยชน์ที่                        specificity. Educational Researcher. 18(3): 4-10.
ได้รับจากกิจกรรมการเรี ยนรู้ สามารถนําไปประยุกต์ใช้                    Moore, M.G, Anderson, W.G. Handbook of distance
                                                                           education. New Jersey, Lawrence Erlbaum, 2005.
กับ ชี วิ ต ประจํา วัน ได้ กิ จ กรรมการเรี ยนรู้ บทเรี ยน              William, W. & Stephen G. J. (2009). Research methods
                                                                           in education: an introduction. (9th ed.). Boston:
กิ จ กรรม สื่ อ การสอนน่ าสนใจ และบรรยากาศในการ                            Pearson.
จัดการเรี ยนรู้ ผูสอนให้ความเป็ นกันเองกับผูเ้ รี ยนทําให้
                   ้
ผูเ้ รี ยนได้แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ขั้นตอนการจัด
กิจกรรมสนุกสนานทําให้อยากเรี ยนมากขึ้น

8) เอกสารอ้ างอิง
คณะอนุกรรมการการปฏิรูปการเรี ยนรู้. (2543). ปฏิรูป
     การเรี ยนรู้ ผู้เรี ยนสําคัญที่สุด. กรุ งเทพมหานคร:
     โรงพิมพ์ครุ สภา.
ณมน จีรังสุ วรรณ. (2549). หลักการออกแบบและ
     ประเมิน. กรุ งเทพมหานคร: ศูนย์ผลิตตําราเรี ยน
     สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ดวงรัตน์ สบายยิง. (2549). การพัฒนาความสามารถใน
                  ่
     การคิดอย่ างมีวิจารณญาณด้ วยการจัดการเรี ยนรู้ ตาม
     แนวโยนิโสมนสิ การ สําหรั บนักเรี ยนชั้น
     ประถมศึกษาปี ที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
     มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ คณะ
     ครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ทิศนา แขมมณี . (2547). ศาสตร์ การสอน: องค์ ความรู้ เพื่อ
     การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ที่มีประสิ ทธิ ภาพ.
     กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ผ่องลักษณ์ จิตต์การุ ญ. (2547). การสื บสอบลักษณะการ
     คิดวิจารณญาณตามหลักโยนิโสมนสิ การของ
     นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎ.วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
     ดุษฎีบณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา คณะครุ ศาสตร์
             ั
     จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิชุดา รัตนเพียร. (2548). Blended Learning. บรรยาย
     เรื่ อง Blended Learning ณ สาขาวิชาโสตทัศน
     ศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
     วันที่ 12 กันยายน 2548.
สุ มน อมรวิวฒน์. (2542). การพัฒนาการเรี ยนรู้ ตามแนว
               ั
     พุทธศาสตร์ ทักษะกระบวนการเผชิ ญสถานการณ์ .
     นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช.
                                                                 293

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)Prachyanun Nilsook
 
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศแบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศSirigunlaya Wongwisas
 
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
Journal 2
Journal 2 Journal 2
Journal 2 Ornrutai
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลdtschool
 
Accreditation Criteria for e-Learning in higer education : Thailand
Accreditation  Criteria for e-Learning in higer education : ThailandAccreditation  Criteria for e-Learning in higer education : Thailand
Accreditation Criteria for e-Learning in higer education : ThailandPanuwat Butriang
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารsinarack
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารAomJi Math-ed
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนKrookhuean Moonwan
 
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1m3c11n01
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...Prachoom Rangkasikorn
 
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1Areerat Sangdao
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt poonick
 
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2chatruedi
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนAtigarn Tingchart
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมNon HobBit
 

Mais procurados (20)

การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
 
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศแบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบตอบปัญหาไอที เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
 
Journal 2
Journal 2 Journal 2
Journal 2
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
Accreditation Criteria for e-Learning in higer education : Thailand
Accreditation  Criteria for e-Learning in higer education : ThailandAccreditation  Criteria for e-Learning in higer education : Thailand
Accreditation Criteria for e-Learning in higer education : Thailand
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอน
 
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural E...
 
Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
 
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
 
Theoretical foundation by math ed kku sec2
Theoretical  foundation by math ed kku sec2Theoretical  foundation by math ed kku sec2
Theoretical foundation by math ed kku sec2
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 

Destaque

ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
13 กระบวนการสอน
13 กระบวนการสอน13 กระบวนการสอน
13 กระบวนการสอนKobwit Piriyawat
 
Fulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยFulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยMayko Chan
 
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่ --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิ...
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่  --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิ...บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่  --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิ...
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่ --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิ...freelance
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 

Destaque (6)

ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
13 กระบวนการสอน
13 กระบวนการสอน13 กระบวนการสอน
13 กระบวนการสอน
 
Fulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัยFulltext#1 72590งานวิจัย
Fulltext#1 72590งานวิจัย
 
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่ --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิ...
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่  --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิ...บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่  --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิ...
บ้าน ก.เอ๋ย ก.ไก่ --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิ...
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 

Semelhante a Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC2011 Wera & Panita]

Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite ChannelWera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite ChannelWera Supa CPC
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"Wichit Chawaha
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techWichit Chawaha
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติTee Lek
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Pises Tantimala
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social mediaKrit Chanthraphrom
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5นนท์ จรุงศิรวัฒน์
 

Semelhante a Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC2011 Wera & Panita] (20)

Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite ChannelWera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
B math2
B math2B math2
B math2
 
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
คำอธาบยรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม ม5
 

Mais de Panita Wannapiroon Kmutnb

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGPanita Wannapiroon Kmutnb
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapPanita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนPanita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Mais de Panita Wannapiroon Kmutnb (20)

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
 
Interactive e learning_etech
Interactive e learning_etechInteractive e learning_etech
Interactive e learning_etech
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
 
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
 

Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC2011 Wera & Panita]

  • 1. รู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ ผ่านดาวเทียมช่ องดีเอ็มซี Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel ดร.วีระ สุ ภะ1, ดร.ปณิ ตา วรรณพิรุณ2 1 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุ งเทพ (wera.su@northbkk.ac.th) 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารเพื่อการศึกษา คณะครุ ศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (panitaw@kmutnb.ac.th) ABSTRACT Keywords: blended learning model, Buddhist education, DMC satellite channel, critical thinking skills. This objective the study was to develop the blended learning model for Buddhist education via DMC satellite channel. There were 3 steps in the research which were: 1) develop the main บทคัดย่ อ concept of the blended learning model for การวิจยนี้มีวตถุประสงค์เพื่อพัฒนารู ปแบบการศึกษาเชิง ั ั Buddhist education via DMC satellite channel, 2) develop of the blended learning model for พุทธแบบผสมผสานของสถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่อง Buddhist education via DMC satellite channel, 3) determine the results from using of the ดีเอ็มซี ขั้นตอนการวิจยแบ่งออกเป็ น 3 ขั้นตอนคือ 1) ศึกษา ั blended learning model for Buddhist education และสังเคราะห์กรอบแนวคิดของรู ปแบบการเรี ยนการสอน via DMC satellite channel. The research tools were the blended learning model, the learning ่ ทางไกลเชิงพุทธของสถานี โทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็ม achievement test and the student satisfaction ซี 2) พัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนทางไกลเชิ งพุทธของ questionnaire. The sample was 30 undergraduate students of Dhammakaya Open สถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเที ยมช่ องดี เอ็มซี 3) ศึ กษาผลของ University (DOU), California, USA. who had enrolled to study GL 203 The Law of Karma การใช้รูปแบบการเรี ยนการสอนทางไกลเชิงพุทธของสถานี subject in the first semester of 2010. The ่ โทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย ั experiment period was 10 weeks. Data was analyzed by using average, standard deviation, คื อ รู ปแบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบผสมผสานของ and t-Test dependent. The result revealed that: สถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี แบบวัดผลสัมฤทธิ์ ่ 1. The blended learning model consists of 6 ทางการเรี ยน และแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเ้ รี ยน components which are: 1) learning resource, 2) technology, 3) personnel, 4) learning media, 5) ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง เ ป็ น นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า บั ณ ฑิ ต coordinator center and 6) environment. The procedure of the blended learning for Buddhist มหาวิ ท ยาลัย ธรรมกายแคลิ ฟ อร์ เ นี ย ที่ ล งทะเบี ย นเรี ยน education via DMC satellite channel consists of 4 รายวิชา GL 203 กฎแห่ งกรรม ภาคต้น ปี การศึกษา 2553 steps which are: 1) the preparation before studying, 2) the blended learning for Buddhist จํานวน 30 คน ระยะเวลาในการทดลอง คื อ 10 สัปดาห์ education consists of 3 steps which are: 2.1) Create faith 2.2) Study information and practice วิเคราะห์ขอมูลด้วย ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t- ้ thinking: think correctly, think in the right way, Test Dependent think reasonably, and think meritoriously 2.3) Conclude the learning, 3) the studying ผลการวิจย พบว่า ั communication, and 4) motoring and evaluating 1. องค์ป ระกอบของรู ป แบบการศึ กษาเชิ งพุท ธแบบ results. 2. The undergraduate students learned with ผสมผสานของสถานี โ ทรทัศ น์ ผ่า นดาวเที ย มช่ อ งดี เ อ็ม ซี the blended learning model for Buddhist education via DMC satellite channel had a ประกอบด้ว ย 6 องค์ ป ระกอบ คื อ 1) แหล่ ง เรี ยนรู้ 2) statistically significant difference of the learning เทคโนโลยี 3) บุ ค ลากร 4) สื่ อการเรี ยนรู้ 5) ศู น ย์ achievement and critical thinking skills post-test score over the pretest scores at .01 level. ประสานงาน และ 6) สภาพแวดล้อม ขั้นตอนของการศึกษา 285
  • 2. เชิ ง พุ ท ธแบบผสมผสานของสถานี โทรทั ศ น์ ผ่ า น การจัด การเรี ยนการสอนแบบผสมผสานเป็ นระบบ ดาวเทียมช่องดีเอ็มซี ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) ขั้น สนับสนุนให้ผเู้ รี ยนทางไกลได้ใฝ่ หาความรู้ดวยตนเอง และ ้ เตรี ยมการก่อนการเรี ยนการสอน 2) ขั้นการเรี ยนการ เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนสามารถร่ วมทํากิจกรรมต่างๆ กับผูเ้ รี ยน สอนเชิงพุทธแบบผสมผสาน คือ 2.1) การสร้างศรัทธา คนอื่นๆ และกับผูสอนได้ แล้วยังส่ งเสริ มให้เกิดปฏิสัมพันธ์ ้ 2.2) ศึกษาข้อมูลและฝึ กทักษะการคิดถูกต้อง การคิดถูก ระหว่า งผูเ้ รี ย นกับ ผูเ้ รี ย นคนอื่ น ๆ ผูเ้ รี ย นกับ ผูส อน และ ้ ทาง การคิดอย่างมีเหตุผล การคิดเร้ากุศล 2.3) สรุ ปผล ผูเ้ รี ยนกับเนื้ อหา โดยการเสาะแสวงหาข้อมูลจากบริ การใน การเรี ยนรู ้ 3) การถ่ายทอดการเรี ยนการสอน และ 4) การ อินเทอร์ เน็ตด้วยตนเองจากบริ การเวิลด์ไวด์เว็บ การโต้ตอบ ติดตามและประเมินผล ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิ กส์ การสนทนา และกระดานเสวนา ์ 2. นั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญญาบั ณ ฑิ ต ที่ เ รี ยนตาม เป็ นต้น ทําให้ผูเ้ รี ยนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น รู ปแบบฯ ที่พฒนาขึ้น มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ั กิจกรรมการเรี ยนการสอนจึงเป็ นไปอย่างทัวถึง เป็ นลักษณะ ่ และคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรี ยนสู ง การเรี ยนที่ ต อบสนองความแตกต่ า งระหว่ า งบุ ค คลและ กว่าก่อนการเรี ยน อย่างมีนยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ั ศักยภาพทางการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน เนื่ องจากผูเ้ รี ยนสามารถ เข้ามาศึกษา ทบทวนเนื้อหา และฝึ กทําแบบฝึ กหัดบนเว็บได้ คําสํ าคัญ: รู ปแบบการเรี ยนแบบผสมผสาน, การศึกษา ทุกเวลา ทุกสถานที่ และยังเป็ นการสนับสนุ นแนวคิดที่ให้ ่ เชิงพุทธ, สถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี , การ ผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง (วิชุดา รัตนเพียร, 2548) คิดอย่างมีวจารณญาณ ิ ศาสตราจารย์สุมน อมรวิวฒน์ (2542) ราชบัณฑิตและ ั นักการศึกษาคนสําคัญของไทย ได้ริเริ่ มนําแนวคิด จาก 1) บทนํา หนังสื อ พุทธธรรมของพระราชวรมุนี (ประยุทธิ์ ปยุตโต) ปั จจุบนการศึกษาของไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงไป ั เกี่ยวกับการสร้างศรัทธาและโยนิ โสมนสิ การ มาสร้างเป็ น จากเดิ ม อัน เนื่ อ งมาจากการพัฒนาทางด้า นเทคโนโลยี หลัก การและขั้น ตอนการสอนตามแนวพุ ท ธวิ ธี ข้ ึ นให้ สารสนเทศ (Information Technology) ซึ่ งด้านการศึกษา เหมาะสมกับยุคสมัย และง่ายต่อการศึกษาเล่าเรี ยน และการ ก็ไ ด้มี ก ารนํา เทคโนโลยีดัง กล่ า วมาใช้ป ระโยชน์ ท าง นํา ไปใช้ม ากขึ้ น ทํา ให้ว งการศึ ก ษาเกิ ด ความสนใจอย่า ง การศึกษาที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบการเรี ยนรู้ กว้างขวาง ศาสตราจารย์สุ ม น อมรวิวฒน์ ได้เ สนอว่า ั ของ ผูเ้ รี ยนได้อย่างมากมายมหาศาลด้วยเทคโนโลยี สมบัติทิพย์ที่น่าจะใช้เป็ นพื้นฐานของการจัดการศึกษาไทย สารสนเทศใน 3 ประเด็น ดังนี้ 1) การเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยน ได้แก่ วัฒนธรรม ปั ญญาธรรมและเมตตาธรรม รู ปแบบ เป็ นสําคัญโดยผูเ้ รี ยนสามารถศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้ การเรี ย นการสอนนี้ พัฒ นาขึ้ น จากหลัก การที่ ว่า ครู เ ป็ น ทุกเวลาและทุกสถานที่เมื่อต้องการ 2) การศึกษาไทยใน บุ ค คลสําคัญ ที่ ส ามารถจัดสภาพแวดล้อ ม แรงจู งใจและ อนาคตที่ ใ ห้ค วามสํา คัญ กับ การศึ ก ษานอกระบบและ วิ ธี ก ารสอนให้ ศิ ษ ย์เ กิ ด ศรั ท ธาที่ จ ะเรี ย นรู ้ การได้ฝึ กฝน การศึกษาตามอัธยาศัยเพิ่มมากขึ้น ทําให้เทคโนโลยีช่วย วิธีการคิดโดยแยบคาย และนําไปสู่ การปฏิบติโดยประจักษ์ ั ให้ผเู้ รี ยนสามารถเข้าถึงเนื้อหา สาระและข้อมูลข่าวสารที่ จริ ง โดยครู ทาหน้าที่เป็ นกัลยาณมิตร ช่วยให้ศิษย์มีโอกาส ํ ต้องการได้ 3) การเรี ยนรู้ ตลอดชี วิต เทคโนโลยี คิด และแสดงออกอย่างถูกวิธีและพัฒนาทักษะกระบวนการ สารสนเทศและการสื่ อสารเพื่อการศึกษาเป็ นเครื่ องมือที่ คิดอย่างมีวจารณญาณได้ ิ ทรงประสิ ทธิ ภาพที่จะก่อให้เกิดความเสมอภาค คุณภาพ การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking) ของการศึกษาหาความรู้ และสาระความรู ้ รวมทั้ง เป็ นจุดมุ่งหมายสําคัญของการจัดการศึกษา เป็ นเงื่อนไข ประสิ ทธิ ภาพของการเรี ยนรู้ ได้ต่อเนื่ องตลอดชี วิตจาก สําคัญสําหรับการจัดการศึกษา (Ennis, 1989) และเป็ น ซอฟต์แวร์ ต่างๆ (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา คุ ณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ ตองการให้เกิ ดแก่ ผูเ้ รี ยนตาม ้ แห่งชาติ, 2544 ) จุ ด มุ่ ง หมายของการศึ ก ษาตามระราชบัญ ญัติ ก ารศึ ก ษา แห่ ง ชาติ พ.ศ.2542 นอกจากนี้ ยัง เป็ นกระบวนการคิ ด ที่ 286
  • 3. จําเป็ นและสําคัญที่สุดสําหรับผูเ้ รี ยนทุกระดับ เนื่ องจาก เพื่อการเรี ยนการสอนทางไกลเชิงพุทธ ที่เหมาะสมในมิติของ ่ เป็ นกระบวนการคิดที่ผานการไตร่ ตรองและพิจารณาจาก รู ปแบบการเรี ยนการสอนทางไกลด้วยสถานี โทรทัศน์ผ่าน ข้อมูล หลักฐานที่มีอยู่มาเป็ นอย่างดี ซึ่ งสามารถนําไป ดาวเที ย มแบบมี ป ฏิ สั ม พัน ธ์ และการปฏิ สั ม พัน ธ์ ผ่า นเว็บ ประยุกต์ใ ช้ใ นสถานการณ์ ต่ าง ๆ ได้อ ย่า งหลากหลาย เพื่อให้การปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นสนับสนุ นผูเ้ รี ยนทางไกลใน กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณจึงถือเป็ นพื้นฐานของ หลากหลายรู ปแบบ ทั้งนี้ การรู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบ การคิดทั้งปวง (ทิศนา แขมมณี , 2547)และซึ่ งสอดคล้อง ่ ผสมผสานของสถานี โทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี จะ กับมาตรฐานการประเมิ นคุณภาพการจัดการศึกษาของ ทําให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณตามหลัก ไทยที่ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การพั ฒ นาการคิ ด อย่ า งมี โยนิ โ สมนสิ ก าร นั้ นจะเป็ นประโยชน์ อ ย่ า งกว้า งขวาง วิจารณญาณตั้งแต่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน สําหรับสถานศึกษา ในลักษณะเดียวกันนําไปดําเนินการและ ที่ 4 ํ ที่ กาหนดให้ผูเ้ รี ยนมีความสามารถในการคิด พัฒนาต่อไป วิ เ คราะห์ คิ ด สั ง เคราะห์ มี วิ จ ารณญาณ มี ค วามคิ ด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ คิ ด ไ ต ร่ ต ร อ ง แ ล ะ มี วิ สั ย ทั ศ น์ 2) วัตถุประสงค์ การวิจัย (คณะอนุกรรมการการปฏิรูปการเรี ยนรู้, 2543) 2.1) เพื่อศึกษาและสังเคราะห์กรอบแนวคิดของรู ปแบบ มหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์ เนี ย (Dhammakaya การศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ผาน ่ Open University: DOU , California, USA.) เป็ น ดาวเทียมช่องดีเอ็มซี หน่ วยงานที่จดให้มีการเรี ยนการสอน หลักสู ตรพุทธ ั 2.2) เพื่อพัฒนารู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสาน ศาสตรบัณฑิต(พุทธศาสตร์ ) หลักสู ตรประกาศนี ยบัตร 1 ่ ของสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี ปี และหลักสู ตรสัมฤทธิ บตร ซึ่ งมีศูนย์ประสานงานทัว ั ่ 2.3) เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบ โลก เป็ นทางเลื อ กหนึ่ ง ในการให้ผูเ้ รี ย นมุ่ ง ศึ ก ษาและ ่ ผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี ฝึ กฝนศาสตร์ แห่งความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็ นผูที่มีวิถี ้ ชี วิ ต ที่ ถู ก ต้อ งดี ง าม มี ค วามสุ ข ที่ แ ท้จ ริ ง เป็ นการเปิ ด 3) สมมติฐานการวิจัย โอกาสทางการศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาตามปรั ช ญา 3.1) นักศึกษาทางไกลของมหาวิทยาลัยธรรมกายแคลิฟอร์ เนี ย การศึกษาที่ต้ งไว้ โดยสื่ อที่ใช้ในการศึกษาที่ผ่านมาเป็ น ั ที่ เ รี ย นตามรู ป แบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบผสมผสานของ ตํา ราเรี ย นทางไกล สื่ อ โสตทัศ น์ และโทรทัศ น์ ผ่ า น สถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี มีผลสัมฤทธิ์ ทางการ ่ ดาวเทียม (Dhammakaya Open University, 2009) ทั้งนี้ เรี ยนหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยสําคัญทางสถิติ ั ระบบการศึ ก ษาทางไกลของมหาวิ ท ยาลัย ธรรมกาย 3.2) นักศึกษาทางไกลของมหาวิทยาลัยธรรมกายแคลิฟอร์ เนี ย แคลิฟอร์ เนี ย นั้นต้องการพัฒนาที่มีการเสริ มแรงในการ ที่ เ รี ยนรู ปแบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบผสมผสานของ เรี ยนรู้เนื้ อหา การเข้าถึงข้อมูลทัวโลก การเข้าถึงข้อมูลที่ ่ สถานี โ ทรทัศ น์ ผ่านดาวเที ย มช่ อ งดี เอ็ม ซี มี ค ะแนนการคิ ด เป็ นปั จจุบนการเรี ยนรู้เนื้ อหาที่นาเสนอในลักษณะที่มีท้ ง ั ํ ั อย่างมีวิจารณญาณหลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยน อย่างมีนยสําคัญ ั ภาพและเสี ยง เป็ นการเรี ยนทางไกลที่ไร้ระยะทาง และ ทางสถิติ สามารถทําความเข้าใจได้มากขึ้นและเป็ นการเรี ยนรู ้อย่าง มี ป ฏิ สั ม พัน ธ์ กัน และด้ว ย ความต้อ งการของผู้เ รี ยน 4) ขอบเขตการวิจัย ่ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิตที่อยูในทุกมุมโลกนั้นนับวัน 4.1) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ยิ่ง ทวีเ พิ่ ม ขึ้ น สื บ เนื่ อ งจากเป็ นกลุ่ ม ผูส นใจการศึ ก ษา ้ ประชากรที่ใช้ในการวิจย คือ นักศึกษาของมหาวิทยาลัย ั ธรรมจากรายการธรรมผ่านดาวเทียมช่องดีเอ็มซี ตองการ ้ ธรรมกายแคลิฟอร์เนีย ในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 ศึกษาหลักธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ ง และถือเป็ นการพัฒนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในวิจย คือ นักศึกษาของมหาวิทยาลัย ั ความรู้ ที่ ไ ด้ด้ว ยระบบการศึ ก ษา และการใช้สื่ อ เมื่ อ มี ธรรมกายแคลิ ฟอร์ เนี ย ในภาคเรี ย นที่ 1 ปี การศึ กษา 2553 การศึกษา และได้พฒนาระบบสนับสนุ นผูเ้ รี ยนทางไกล ั จํานวน 30 คน ได้โดยการสุ่ มอย่างง่าย แบ่งเป็ น นักศึกษา 287
  • 4. จากศูนย์การศึกษาทางไกล ประเทศออสเตรเลีย 17 คน 5) วิธีดําเนินการวิจัย ประเทศนิวซี แลนด์ 8 คน และประเทศญี่ปุ่น 5 คน การวิจยครั้ งนี้ เป็ นการวิจยและพัฒนา (Research and ั ั Development) แบ่งการวิจยเป็ น 3 ระยะ คือ ั 4.2) ตัวแปรในการวิจย ั ระยะที่ 1 การศึกษาและสังเคราะห์กรอบแนวคิดของรู ปแบบ ตัว แปรต้น คื อ รู ป แบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบ การศึกษาเชิ งพุทธแบบผสมผสานของสถานี โทรทัศน์ผ่าน ่ ผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี ดาวเทียมช่องดีเอ็มซี ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและการคิด 1.1) การศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสารและงานวิจย ั อย่างมีวจารณญาณ ิ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง องค์ ป ระกอบของรู ปแบบการเรี ยนแบบ เนื้ อหาที่ใช้ในการวิจย คือ เนื้ อหารายวิชา GL 203 ั ผสมผสาน การศึกษาเชิงพุทธของมหาวิทยาลัยธรรมกายเคลิ กฎแห่งกรรม ฟอร์ เ นี ย ด้ว ยสถานี โ ทรทัศ น์ ผ่ า นดาวเที ย มช่ อ งดี เ อ็ ม ซี การศึกษาเชิงพุทธ และการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ กรอบแนวคิดการวิจัย 1.2) ศึกษาสภาพการจัดการเรี ยนการสอนในปั จจุบน ได้แก่ ั กรอบแนวคิ ดการวิจัย ประกอบด้วย รู ปแบบการ ข้อมูลด้านการจัดการเรี ยนการสอน โดยการสัมภาษณ์จาก เรี ยนการสอนทางไกล การศึ ก ษาเชิ งพุ ท ธของ ผู ้บ ริ หาร อาจารย์ผู้ส อนเจ้ า หน้ า ที่ ประสานงาน ของ มหาวิทยาลัยธรรมกายเคลิ ฟอร์ เนี ยด้วยสถานี โทรทัศน์ มหาวิทยาลัยธรรมกายแคลิฟอร์ เนี ย และข้อมูลคุณลักษณะ ผ่านดาวเทียมช่องดีเอ็มซี การศึกษาเชิงพุทธ และการคิด ของผูเ้ รี ยน เกี่ยวกับความสามารถของนักศึกษาที่เกี่ยวข้อง อย่างมีวจารณญาณ ดังรู ปที่ 1 ิ กับองค์ประกอบการสนับสนุนการศึกษาทางไกลเชิงพุทธ ระยะที่ 2 การพั ฒ นารู ปแบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบ รู ปแบบการเรียนการสอน การศึกษาเชิงพุทธ การศึกษาเชิงพุทธของ ทางไกล DOU ด้ วยดีเอ็มซี ่ ผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี (Moore & Anderson, 2005) (สุมน อมรวิวฒน์., 2542) ั (DOU, 2009) 2.1) กํา หนดกรอบแนวคิ ด ของรู ป แบบการศึ ก ษาเชิ ง พุท ธ แบบผสมผสาน 2.2) สร้ า งต้น แบบของรู ปแบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบ รู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ ผ่ านดาวเทียมช่ องดีเอ็มซี ผสมผสาน ดังนี้ 2.2.1) นํา ต้น แบบรู ป แบบ ไปให้ผูเ้ ชี่ ย วชาญ ด้า นการศึ ก ษา ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน การคิดอย่ างมีวจารณญาณ ิ ทางไกลผ่านสถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม 5 ท่าน เพื่อ พิจารณาในด้านการสื่ อความหมาย ความครอบคลุมเนื้ อหา รู ปที่ 1: กรอบแนวคิดการพัฒนารู ปแบบการศึกษา องค์ประกอบ ลักษณะ และขั้นตอนของรู ปแบบการเรี ยนการ เชิ งพุทธแบบผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ สอนทางไกลฯ โดยวิธี การสัมภาษณ์ ซึ่ งใช้เกณฑ์พิจารณา ผ่ านดาวเทียมช่ องดีเอ็มซี ความถูกต้องโดยใช้ความสอดคล้องของข้อมูลที่ ได้จากการ สัมภาษณ์เทียบกับแนวคิดหลักที่ได้จากการสังเคราะห์ขอมูล ้ ในระยะที่ 1 2.2.2) นํา ต้น แบบรู ป แบบฯที ป รั บ ปรุ งตามคํา แนะนํา ของ ผูเ้ ชี่ ยวชาญในรอบแรก ให้ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการออกแบบการ เรี ยนการสอนเชิงพุทธ และด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 5 ท่ า นประเมิ น รั บ รองความสอดคล้อ ง ระหว่า งรู ป แบบกับ จุดมุ่งหมาย 2.2.3) ออกแบบและสร้ า งรู ป แบบการศึ ก ษาเชิ ง พุ ท ธแบบ ผสมผสาน ดังนี้ 288
  • 5. 2.2.3.1) กําหนดเนื้ อหา จุดประสงค์การเรี ยนรู้ ขั้นตอน 3.1.2) เตรี ย มความพร้ อ มของแผนการสอน บทเรี ย น กิจกรรมการเรี ยนการสอน และสื่ อการเรี ยนการสอน ปฏิ สัมพันธ์เชิ งพุทธโดยสถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเที ยม และ 2.2.3.2) พัฒนาเครื่ องมื อตามรู ปแบบการศึ กษาเชิ งพุท ธ คู่มือแนวทางการจัดการเรี ยนการสอน และเครื่ องมือในเก็บ แบบผสมผสาน ได้ แ ก่ เนื้ อหาของบทเรี ยนและ การรวบรวมข้อมูล ส่ ว นประกอบ ระบบบริ หารจั ด การการเรี ยน การ 3.2) ดําเนินการทดลองใช้รูปแบบฯ ที่พฒนาขึ้น ั ติดต่อสื่ อสาร และการวัดผลและ 3.2.1) วัด ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นและการคิ ด อย่า ง 2.2.3.3) สร้ า งแผนการสอน ให้ผูเ้ ชี่ ย วชาญด้า นเนื้ อ หา วิจารณญาณของผูเ้ รี ยนก่อนการเรี ยน โดยใช้แบบวัด การคิด จํานวน 5 ท่าน ตรวจสอบคุณภาพ และความเหมาะสม วิจารณญาณตามหลักโยนิ โสมนสิ การ (ผ่องลักษณ์ จิตต์ ของแผนการสอนและ รู ปแบบที่สร้างขึ้น การุ ญ, 2547) และแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน 2.2.3.4) สร้ า งคู่ มื อ แนวทางการปฏิ บ ัติ ตามรู ป แบบฯ 3.2.2) ดําเนินการวิจย โดยให้ผเู้ รี ยนดําเนินกิจกรรมการเรี ยน ั สําหรับผูเ้ รี ยนและผูสอน้ ตามรู ป แบบฯ ที่ พ ฒ นาขึ้ น โดยใช้เ วลาในการทดลอง 10 ั 2.2.4) ทดสอบคุณภาพของรู ปแบบฯ โดยมีกระบวนการ สัปดาห์ ทดสอบ 2 ขั้นตอน ดังนี้ (ณมน จีรังสุ วรรณ, 2549) 3.2.3) เมื่อสิ้ นสุ ดการดําเนิ นกิจกรรมวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการ ขั้นตอนที่ 1 การทดสอบรู ปแบบฯ เรี ยนและการคิดอย่างมีวจารณญาณของผูเ้ รี ยนหลังเรี ยน ิ 1) การทดสอบแบบหนึ่งต่อหนึ่ง ใช้วธีการสังเกต ิ และการสัมภาษณ์จากนั้นนําข้อมูลมาปรับปรุ งแก้ไข 6) สรุปผลการวิจัย ข้อบกพร่ องของรู ปแบบ ตอนที่ 1 รู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสานของ 2) การทดสอบกับกลุ่มเล็ก ใช้วิธีการสังเกตและการ ่ สถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี สัมภาษณ์จากนั้นนําข้อมูลมาปรับปรุ งแก้ไขข้อบกพร่ อง 6.1) รู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสาน ประกอบด้วย ของรู ปแบบ 6 องค์ประกอบ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 2 การทดลองนําร่ อง 6.1.1) แหล่งเรี ยนรู ้ 3 องค์ประกอบย่อย คือ ศูนย์ ทดลองนํ า ร่ อง โดยให้ นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย ่ การศึกษาทางไกล โทรทัศน์ผานดาวเทียมดีเอ็มซี และระบบ ธรรมกายแคลิ ฟ อร์ เ นี ย 30 คน เรี ยนโดยใช้รู ป แบบที่ บริ หารจัดการเรี ยนการสอน พัฒนาขึ้น เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสังเกตและ 6.1.2) เทคโนโลยี 3 องค์ประกอบย่อย คือ เทคโนโลยีการ สอบถามความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การใช้ ง าน ปั ญหา ผลิ ต เทคโนโลยีการถ่ายทอด และเทคโนโลยีการติดตาม อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการเรี ยนตามรู ปแบบฯ และประเมินผล ระยะที่ 3 การศึกษาผลของการใช้รูปแบบการศึกษาเชิ ง 6.1.3) บุคลากร 9 องค์ประกอบย่อย คือ ผูสอน ผูสอน้ ้ พุทธแบบผสมผสานของสถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเที ยม เสริ ม ผูให้คาปรึ กษา ที่ปรึ กษาทางวิชาการ ผูจดการรายวิชา ้ ํ ้ั ช่องดีเอ็มซี ผูประสานงาน ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสื่ อ ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านเนื้อหา ้ การศึ กษาผลของการใช้รู ป แบบการศึ ก ษาเชิ งพุท ธ และช่างเทคนิค แบบผสมผสานใช้แบบแผนการวิจยแบบ One Group ั 6.1.4) สื่ อการเรี ยนรู้ 4 องค์ประกอบย่อย คือ รายการ Pretest – Posttest Design (William & Stephen, 2009) ่ โทรทัศน์ผานดาวเทียม หนังสื อชุดวิชา วิซีดีและดีวดี ี ดังนี้ 6.1.5) ศูนย์ประสานงาน 3 องค์ประกอบย่อย คือ ศูนย์ 3.1) การวางแผนก่อนดําเนินการทดลอง การศึกษาทางไกล ศูนย์การผลิตสื่ อดีเอ็มซี และศูนย์การแปล 3.1.1) การเตรี ยมความพร้อมของสถานที่หองเรี ยนต้นทาง ้ 6.1.6) สภาพแวดล้อม 2 องค์ประกอบย่อย คือ บรรยากาศ ได้แก่ อุปกรณ์ผลิตรายการโทรทัศน์ การเชื่อมต่อระบบ ในการเรี ยน และกิจกรรมสนับสนุนการเรี ยนรู้ เครื อข่ายโทรศัพท์ การส่ ง SMS และโปรแกรมที่ เกี่ยวข้อง 289
  • 6. 3.1.2 เสนอสถานการณ์ปัญหา หรื อ กรณี ตวอย่าง ั 3.1.3 แนะนําหลักธรรมที่ ส ามารถนําไปใช้ในการ เลือกแก้ปัญหา ขั้ น ที่ 3.2 ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล แ ล ะ ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนย่อย คือ แสวงหาและรวบรวมข้อมูล ฝึ กความสามารถในการคิด 4 ทักษะ คือ ฝึ กทักษะการคิดถูกต้ อง 4 ขั้นตอน คือ 1) การแนะนําหลักธรรมที่สามารถนําไปแก้ปัญหา 2) การตัดสิ นสภาพความจริ ง 3) การตัดสิ นคุณค่าของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งที่จาเป็ น ํ 4) การวิเคราะห์องค์ประกอบย่อยและการจัดกลุ่ม รู ปที่ 2: รู ปแบบการศึกษาเชิ งพุทธแบบผสมผสาน ฝึ กทักษะการคิดถูกทาง 4 ขั้นตอน คือ ของสถานีโทรทัศน์ ผ่านดาวเทียมช่ องดีเอ็มซี 1) การแนะนําหลักธรรมที่สามารถนําไปแก้ปัญหา 2) การพิจารณาคุณค่าของการกระทําโดยมีจุดมุ่งหมาย 6.2) กระบวนการการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสานของ 3) การพิจารณาข้อดี ข้อเสี ยและข้อควรปฏิบติ ั สถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเที ยมช่องดีเอ็มซี ประกอบด้วย 4) การตระหนักรู้ 5 ขั้นตอนย่อย ดังนี้ ฝึ กทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล 4 ขั้นตอน คือ 6.2.1) ขันที่ 1 การเตรี ยมการก่ อนการเรี ยนการสอน ้ 1) การแนะนําหลักธรรมที่สามารถนําไปแก้ปัญหา การเตรี ย มการก่ อ นการเรี ย นการสอน โดย 2) การคิดเป็ นเหตุเป็ นผล การศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ ค วามต้อ งการทางการศึ ก ษา 3) การพิจารณาแก้ปัญหา กํา หนดวัต ถุ ป ระสงค์ท างการศึ ก ษา พัฒ นาหลัก สู ต ร 4) การพิจารณาความสัมพันธ์เชื่อมโยง และพิจารณาสื่ อที่เหมาะสม ฝึ กทักษะการคิดเร้ ากุศล 2 ขั้นตอน คือ 6.2.2) ขันที่ 2 การวางแผนการเรี ยนการสอน ้ 1) การแนะนําหลักธรรมที่สามารถนําไปแก้ปัญหา การวางแผนการเรี ยนการสอน ได้แก่ การกําหนด 2) การส่ งเสริ มกุศลธรรม คุ ณลักษณะของผูสอนทางไกลกําหนดคุ ณลักษณะของ ้ 3.2.1 ผูเ้ รี ยนฝึ กทักษะการตัดสิ นใจ ผูเ้ รี ยนทางไกล การกําหนดคุ ณลักษณะผูสอน การ ้ 3.2.2 ลงมือปฏิบติโดยมีผสอนเป็ นกัลยาณมิตร ั ู้ วางแผนกิจกรรมการเรี ยนการสอนทางไกล การวางแผน ขั้นที่ 3.3 สรุ ปผลการเรี ยนรู้ ปั จจัยสนับสนุน และการวางแผนพัฒนาสื่ อ 6.2.4) ขั้นที่ 4 การถ่ ายทอดการเรี ยนการสอน 6.2.3) ขั้ น ที่ 3 ขั้ น การเรี ยนการสอนเชิ ง พุ ท ธแบบ 6.2.5) ขันที่ 5 การติดตามและประเมินผล ้ ผสมผสาน การออกแบบเนื้ อหาและสื่ อการเรี ยนการ ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 11 ท่านประเมินความเหมาะสม ้ สอนในการศึกษาเชิงพุทธด้วยกระบวนการสร้างศรัทธา ของรู ปแบบ มีความเห็นเห็นสอดคล้องกันว่า กระบวนการ และโยนิ โสมนสิ การ ประกอบด้วยขั้นตอนและกิจกรรม ่ เรี ยนการสอนทางไกลสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็ม 3 ขั้นตอน คือ ซี และกระบวนการเรี ยนการสอนทางไกลเชิ งพุทธ มีความ ขั้นที่ 3.1 การสร้างศรัทธา 3 ขั้นตอนย่อย คือ เหมาะสมมากที่สุด (IOC = 1.0) รองลงมาคือ องค์ประกอบ 3.1.1 กระตุ ้น ให้ ผู้เ รี ยนเห็ น ความสํ า คัญ ของ ของรู ปแบบการเรี ยนการสอน รู ปแบบฯ ที่พฒนาขึ้นมีความ ั บทเรี ยน เหมาะสมต่ อ การพัฒนาการคิ ด อย่า งมี วิจ ารณญาณ และมี ความเป็ นไปได้ในการนําไปใช้จริ ง (IOC = 0.91) 290
  • 7. Study of content Online: Self-pace e-Learning A via LMS Onair: Instructional Practice to think reasonably On air: Instructional television  Create faith F2F: Group Discussion Introduce Dharma principle which Stimulate the student to know the Onair: Instructional television students can apply to solve problems Think reasonably importance of the lesson Think reasonably Propose the situation problems or example Onair: Instructional television Introduce Dharma principle which the students Determine the way to solve problems can apply to solve problems Onair: Instructional television Determine the connections  Study information and practice thinking Practice to think meritoriously On air: Instructional television Search and collect data Onair: Instructional television Online : Online Resources F2F: Group Discussion Introduce Dharma principle which Practice 4 thinking skills students can apply to solve problems Think meritoriously Promote the values of Dharma and Practice to think correctly virtue Onair: Instructional television F2F: Group Discussion Introduce Dharma principle which On air: Instructional television students can apply to solve problems Students practice the skills to make F2F: Group Discussion Think correctly Consider the fact Students implement the practice with the On air: Instructional television teachers as their best friends F2F: Group Discussion Evaluate the essential ones  Conclude the learning Analyze the sub–components and Students and teachers conclude the On air: Instructional television Practice to think in the right way Online: VDO Conference, Onair: Instructional Online Phone television F2F: Group Discussion Introduce Dharma principle which students can apply to solve problems Test and evaluate the learning On air: Instructional television Think in the right way Online: Online Testing F2F: Group Discussion Evaluate the value of target–aimed action Not pass evaluate the learning Self-pace e-Learning via LMS Determine the advantage, disadvantage and regulation Online: LMS Pass Have an awareness Study the next content A รู ปที่ 3: กระบวนการการศึกษาเชิ งพุทธแบบผสมผสานของ สถานีโทรทัศน์ ผ่านดาวเทียมช่ องดีเอ็มซี 291
  • 8. ตอนที่ 2 ผลการทดลองใช้รูปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบ ผลการวิ เ คราะห์ ค วามคิ ด เห็ น ของผู้เ รี ยนต่ อ การจัด ่ ผสมผสานของสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี กิ จกรรมการเรี ยนการสอนตามกระบวนการการศึ กษาเชิ ง ผลการวิเคราะห์คะแนนทักษะการคิดอย่างมี พุทธแบบผสมผสานของสถานี โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่อง วิจารณญาณ ดังตารางที่ 1 ดีเอ็มซี นักศึ กษามี ค วามพึงพอใจต่อการจัดกิ จกรรมการเรี ย น ตารางที่ 1: ผลการเปรี ยบเทียบคะแนนการคิด การสอน ขั้นที่ 1 การสร้ างศรั ทธาอยู่ในระดับมาก ( x = อย่างมีวจารณญาณก่อนและหลังการทดลอง ิ 4.21, S.D. = 0.58) ขั้นที่ 2 ศึกษาข้อมูลและฝึ กทักษะการคิด คะแนนการ n คะแนนเต็ม x S.D. t Sig ่ อยูในระดับมาก ( x = 4.32, S.D. = 0.67) และขั้นที่ 3 คิดอย่ างมี . ่ สรุ ปผลการเรี ยนรู้ อยูในระดับมาก ( x = 4.29, S.D. = 0.72) วิจารณญาณ ก่อนทดลอง 30 40 25.87 2.00 21.84 .000 หลังทดลอง 30 40 34.20 2.30 7) อภิปรายผล **p < .01 7.1) ผลการพัฒนารู ปแบบการศึกษาเชิงพุทธแบบผสมผสาน ่ ของสถานีโทรทัศน์ผานดาวเทียมช่องดีเอ็มซี จากตารางที่ 1 พบว่า นักศึกษาที่เรี ยนตามรู ปแบบ ที่ จากการพัฒ นาระบบการเรี ย นการสอนตาม ADDIE พัฒ นาขึ้ น มี ค ะแนนการคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณหลัง MODEL 5 ขั้นตอน คือ ขั้นการวิเคราะห์ ขั้นการออกแบบ ทดลอง ( x = 34.20, S.D. = 2.30) สู งกว่าก่อนทดลอง ขั้ นการพัฒ นา ขั้ นการนํ า ไปทดลองใช้ และขั้ นการ ( x = 25.87, S.D. = 2.00) อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ ั ประเมิ น ผล ทํา ให้ ไ ด้รู ป แบบที่ มี ค วามเหมาะสมในด้า น ระดับ .01 องค์ ป ระกอบ กระบวนการการเรี ยนการสอน มี ค วาม เหมาะสมต่ อ การพัฒนาการคิ ด อย่า งมี วิจ ารณญาณ และมี ผลการวิเคราะห์คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ความเป็ นไปได้ใ นการนํา ไปใช้จ ริ ง ซึ่ งสอดคล้อ งกับ ดังตารางที่ 2 กระบวนการเรี ย นการสอนตามหลักโยนิ โ สมนสิ ก ารของ ตารางที่ 2: ผลการเปรี ยบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ สุ มน อมรวิวฒน์ (2542) ซึ่ งประกอบด้วย ขั้นสร้างศรัทธา ั ทางการเรี ยนก่อนและหลังการทดลอง เจตคติที่ดีต่อครู วิธีการเรี ยนและบทเรี ยน ขั้นศึกษาข้อมูล และฝึ กทักษะการคิด และขั้นสรุ ป โดยผลที่ผเู้ รี ยนจะได้รับ คะแนน n คะแนนเต็ม x S.D. t Sig. ผลสั มฤทธิ์ จากการเรี ยนตามหลักโยนิ โสมนสิ การคือ ผูเ้ รี ยนจะพัฒนา ทางการเรียน ทัก ษะในการคิ ด การตัด สิ น ใจและการแก้ปั ญ หาอย่ า ง ก่อนทดลอง 30 40 26.27 2.27 14.47 0.00 เหมาะสม หลังทดลอง 30 40 33.73 1.68 7.2) ผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและการคิดอย่างมี **p < .01 วิจารณญาณ จากตารางที่ 2 พบว่า นักศึกษาที่เรี ยนตามรู ปแบบที่ การศึกษาเชิ งพุทธแบบผสมผสานของสถานี โทรทัศน์ พัฒนาขึ้น มีค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ผ่า นดาวเที ย มช่ อ งดี เ อ็ม ซี มี กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนที่ หลังทดลอง ( x = 33.73, S.D. = 1.68) สูงกว่าก่อน ผสมผสานระหว่างการศึกษาเชิงพุทธด้วยกระบวนการสร้าง ทดลอง ( x = 26.27, S.D. = 2.27) อย่างมีนยสําคัญทาง ั ศรัทธาและโยนิ โสมนสิ การและกิจกรรมการเรี ยนการสอน สถิติที่ระดับ .01 เพื่ อ พัฒ นาการคิ ด อย่า งมี วิ จ ารณญาณ สามารถพัฒ นาให้ ผูเ้ รี ย นมี ท ัก ษะการคิ ด อย่า งมี วิ จ ารณญาณและผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นสู ง ขึ้ น สอดคล้อ งกับ งานวิจัย ของ ดวงรั ต น์ สบายยิ่ง (2549) ที่พบว่า ผูเ้ รี ยนที่เรี ยนด้วยการจัดการเรี ยนรู้ ตามแนวโยนิ โสมนสิ การมี ความสามารถในการคิ ดอย่างมี 292
  • 9. วิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งกว่าก่อนการ Dhammakaya Open University. (2009). Buddhist approach via DMC satellite channel. Patumthani: จัดการเรี ยนรู้ และผูเ้ รี ยนมีทศคติที่ดีต่อการจัดการเรี ยนรู้ ั Dhammakaya Foundation. Ennis, R. H. (1989). Critical Thinking and subject ตามแนวโยนิ โสมนสิ การ โดยผูเ้ รี ยนเห็ นประโยชน์ที่ specificity. Educational Researcher. 18(3): 4-10. ได้รับจากกิจกรรมการเรี ยนรู้ สามารถนําไปประยุกต์ใช้ Moore, M.G, Anderson, W.G. Handbook of distance education. New Jersey, Lawrence Erlbaum, 2005. กับ ชี วิ ต ประจํา วัน ได้ กิ จ กรรมการเรี ยนรู้ บทเรี ยน William, W. & Stephen G. J. (2009). Research methods in education: an introduction. (9th ed.). Boston: กิ จ กรรม สื่ อ การสอนน่ าสนใจ และบรรยากาศในการ Pearson. จัดการเรี ยนรู้ ผูสอนให้ความเป็ นกันเองกับผูเ้ รี ยนทําให้ ้ ผูเ้ รี ยนได้แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ขั้นตอนการจัด กิจกรรมสนุกสนานทําให้อยากเรี ยนมากขึ้น 8) เอกสารอ้ างอิง คณะอนุกรรมการการปฏิรูปการเรี ยนรู้. (2543). ปฏิรูป การเรี ยนรู้ ผู้เรี ยนสําคัญที่สุด. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ครุ สภา. ณมน จีรังสุ วรรณ. (2549). หลักการออกแบบและ ประเมิน. กรุ งเทพมหานคร: ศูนย์ผลิตตําราเรี ยน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ดวงรัตน์ สบายยิง. (2549). การพัฒนาความสามารถใน ่ การคิดอย่ างมีวิจารณญาณด้ วยการจัดการเรี ยนรู้ ตาม แนวโยนิโสมนสิ การ สําหรั บนักเรี ยนชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ คณะ ครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ทิศนา แขมมณี . (2547). ศาสตร์ การสอน: องค์ ความรู้ เพื่อ การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ที่มีประสิ ทธิ ภาพ. กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ผ่องลักษณ์ จิตต์การุ ญ. (2547). การสื บสอบลักษณะการ คิดวิจารณญาณตามหลักโยนิโสมนสิ การของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎ.วิทยานิพนธ์ปริ ญญา ดุษฎีบณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา คณะครุ ศาสตร์ ั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิชุดา รัตนเพียร. (2548). Blended Learning. บรรยาย เรื่ อง Blended Learning ณ สาขาวิชาโสตทัศน ศึกษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 12 กันยายน 2548. สุ มน อมรวิวฒน์. (2542). การพัฒนาการเรี ยนรู้ ตามแนว ั พุทธศาสตร์ ทักษะกระบวนการเผชิ ญสถานการณ์ . นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช. 293