SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 76
Baixar para ler offline
2
3
4




                                              บทที่1

                                              บทนํา
1.1 สภาพทั่วไปของธุรกิจ
       การรักษาภาพลักษณของ Brand ของ Coca - Cola และสรางความมั่นใจใหเกิดขึ้นในใจผูบริโภค
เพื่อสรางฐานลูกคาประจําที่แนนอนเปนสิ่งสําคัญ ไมจํากัดวาจะตองเปนธุรกิจเครื่องดื่ม แตสามารถ
นําไปใชไดกับทุกธุรกิจทุกผูประกอบการ การสรางความยึดมั่นแข็งแรงและพึ่งพาไดของตนเองไวได
ยอมหมายถึงการไดมาซึ่งความไววางใจของทุกคนรอบขางไมจํากัดอยูเพียงลูกคาผูบริโภค แตพนักงาน
หรือผูประกอบการที่เกี่ยวของตางก็เปนปจจัยที่มีผลโดยตรงตอความสําเร็จขององคกร ปจจัยที่สําคัญ
อื่นๆที่ไมควรใหเสียหายและดูแลควบคูกันไปอยางชองทางการเขาถึงผูบริโภค การสื่อสารถึงผูบริโภคที่
มีประสิทธิภาพและคุมคา การพัฒนาที่ไมหยุดนิ่ง การปรับเปลี่ยนตัวเองใหเขากับยุคสมัย ทั้งหมดลวน
เปนปจจัยสําคัญที่จะชวยตอกย้ําใน Brand ใหแข็งแกรงและจะกลายเปนสวนหนึ่งของชีวิตผูบริโภคไป
ไดการกาวขึ้นมาเปน Brand อันดับตนๆ ที่อยูในใจของผูบริโภคไดมายาวนานกวา 100 ป นั้น ไมไดเกิด
จากการถือตนวาดังแลวคอยๆ ขายไปเรื่อย แต Coca - Cola ตองฝาฟนวิกฤต มาอยางยากลําบาก Coca -
Cola มีการเปลี่ยนรูปแบบตัวเอง ตางๆนาๆ แตก็พยายามรักษาภาพลักษณของ Brand ตัวเองไวเปน
สําคัญ ซึ่งมีทั้งการลองผิดลองถูก ไมวาจะเปนการออกรสชาติใหมๆ อยูตลอด แตก็พยายามรักษาความ
ใกลเคียงรสชาติดั้งเดิมไวใหมากที่สุด หรือไมวาเศรษฐกิจจะทรุดโทรมแคไหน Coca - Cola ก็ยังคงทุม
งบกับการโฆษณาโดยไมทิ้งภาพลักษณของตนเอง ซึ่งการรักษา Brand ของตนไมใหเสียมาตรฐานหรือ
ไขวเขว สามารถตั้งมั่นเปนที่พึ่งพาที่แข็งแกรงใหกับคนทั่วไปที่พบเห็น ไมเกิดความคิดกังวลหรือไม
มั่นใจกับตนเองไดนั้นเปนบทเรียนที่สําคัญที่สุดที่ Coca - Cola ใชเวลากวา 100 ปเรียนรูมา

ประวัติความเปนมา

         Coca - Cola ถูกคิดคนโดย ดร.จอหน เพ็มเบอรตันที่เมืองแอตแลนตาในมลรัฐจอรเจีย เมื่อวันที่
8 พฤษภาคม ค.ศ.1886 เภสัชกรทองถิ่นทานนี้เปนผูผลิตหัวเชื้อน้ําหวานมีเรื่องเลากันตอมาวาเมื่อ ดร.
เพมเบอรตัน ปรุงหัวเชื้อน้ําหวาน ขึ้นมา ไดสําเร็จในหมอทองเหลืองสามขาซึ่งตั้งอยูในสนามหญา
หลังบานของเขา ชายผูนี้ก็รีบถือเหยือกที่บรรจุน้ําหวานรสชาติใหม มุงตรงไปยังรานขายยาจาค็อป ณ ที่
นั่น หลายตอหลายคนไดลิ้มลองน้ําหวานของ ดร.เพ็มเบอรตัน ตางก็ชมเปนเสียง เดียวกันวา "รสชาติ
เยี่ยม" หลังจากนั้นไมนานดร.เพ็มเบอรตันก็เริ่มปรุงเครื่องดื่มชนิดนี้ขายที่รานจาค็อปสโดยคิดราคาแกว
ละ5 เซ็นตตอมาไมวาจะเปนความตั้งใจหรือไมไดมีผูนําน้ําอัดกาซคารบอนมาผสมกับหัวน้ําหวานที่ดร.
5


เพ็มเบอรตันปรุงขึ้นจนกลายเปนเครื่องดื่มที่ "สดชื่น ดับกระหาย ไดรสชาติ" แมจนกระทั่งในปจจุบัน
ไมวาใครก็ตามที่ไดดื่ม Coca - Cola ก็ตองรูสึกเชนนั้น




                                          ดร.จอหน เพมเบอรตัน
          มร.แฟรงค เอ็มโรบินสันหุนสวนและสมุหบัญชีของดร.เพ็มเบอรตันออกความ เห็นวา "ถาใช
ตัวอักษร C สองตัวในโฆษณาเครื่องดื่มชนิดนี้ก็นาจะเขาทาดี" ดังนั้นเขาจึงแนะใหตั้งชื่อเครื่องดื่มนี้วา
"Coca - Cola”เมื่อตกลงใจดังนั้นมร.โรบินสันก็เขียน คําวา Coca - Cola ดวยลายมือของเขาเอง ซึ่ง
ตอมาไดกลายเปนเครื่องหมายการคาที่รูจักกันอยางกวางขวางทั่วโลก โฆษณาชิ้นแรกของ Coca - Cola
ปรากฏในหนังสือพิมพแอตแลนตา เจอรนัล มีขอความเชิญชวนให ผูกระหายน้ําทั้งหลายหันมาลอง
"เครื่องดื่มชนิดใหมที่กําลังไดรับความนิยม” นอกจากนั้นยังแขวนปายโฆษณาที่ทําจากผาอาบน้ํามันไว
ที่กันสาด หนารานจาค็อปสโดยมีการระบุคําวา "Coca - Cola" อยูและเหนือคําวา Coca - Cola ก็เติมคํา
วา "ดื่ม" เพื่อใหคนอานทราบวามีเครื่องดื่มชนิดใหมวางขายอยูในชวงปแรก Coca - Cola มียอดขาย
ประมาณ 9 แกวตอวันดร.เพ็มเบอรตันไมคิดเลยวาเครื่องดื่มที่เขาคิดคนขึ้นจะทํากําไรมากมาย เขาจึง
จัดแจงขายหุนกิจการ Coca - Cola ในสวนของเขาใหผูถือหุนคนอื่นๆ จนเกือบหมดหลังจากดําเนินการ
มาไดไมนาน และกอนหนาที่ดร.เพ็มเบอรตันจะถึงแกกรรมเพียงไมกี่ป เขาก็ขายหุนที่เหลืออยูทั้งหมด
ใหกับอาซา จี. แคนเลอรนักธุรกิจ ชาวเมืองแอตแลนตาผูมีพรสวรรคทางการคาตอมามร.แคนเลอรคนนี้
เองก็กวานซื้อหุนทั้งหมด จนกลายเปนเจาของกิจการ Coca - Cola เพียงผูเดียว จากการที่เปนนักการ
ตลาดที่เกงกาจคนหนึ่งในไมกี่ปตอมายอดขายของ Coca - Cola ไดพงขึ้นมาถึง 10 เทา โดยบอกวา Coca
                                                                        ุ
- Cola เปนเครื่องดื่มรสชาติเยี่ยม ดับกระหาย ใหความสดชื่น และมีชีวิตชีวาและไดกอตั้ง บริษัท Coca -
Cola วันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1893 ไดจดทะเบียนลิขสิทธิ์เครื่องหมายการคาอยางเปนทางการมร.แคนด
เลอร ไ ด เ ชื่ อ ว า การโฆษณา สามารถส ง เสริ ม ยอดขายได เ ป น อย า งดี เ ขาจึ ง เริ่ ม ทํ า การโฆษณาและ
โปรโมชั่น เริ่มจากการแจกคูปอง สําหรับลูกคามาแลกแกว Coca - Cola และการแจกของชํารวยที่มีตรา
Coca - Cola ในป 1894 โรงงานแหงแรกที่อยู นอกเมืองแอตแลนตาก็ไดถูกสรางขึ้น ในเมืองดัลลัสใน
6


รัฐเท็กซัส และไดเริ่มขยายไปตามเมืองใหญๆ เชน ชิคาโก ลอสแองเจลลิส ในป1898 ไดมีการสราง
อาคารเพื่อใชเปนสํานักงานใหญ ที่เมือง แอตแลนตา ในป 1894 ซิปป โจเซฟไดการริเริ่มบรรจุ Coca -
Cola ลงขวด และสงไปขายตามไรใหญๆ หรือตามโรงงานผลิตไมแปรรูป ถือไดวาเปนคนแรกที่นํา
Coca - Cola บรรจุลงขวดเปนคนแรก โรงงานบรรจุเครื่องเครื่องดื่ม Coca - Cola ลงขวดถูกตั้งเปนแหง
แรกที่เมืองชัตตานูกา รัฐเทนเนสซีในปถัดมาโรงงานแหงที่ 2 ก็ไดถูกตั้งขึ้นที่เมืองแอตแลนตา ใน
อีก 20 ปถัดมาจํานวนโรงงานบรรจุขวดเพิ่มขึ้นเปนมากกวา 1,000 แหงทั่วสหรัฐอเมริกา

VISION (วิสัยทัศน)

        Coca - Cola เปนแบรนดเครื่องดื่มที่อยูในใจของผูบริโภคมาตลอดกวา 100 ป และกาวขึ้นมา
เปน แบรนดอันดับ 1 ของโลกใหได และ Coca - Cola ไดกําหนดวิสัยทัศนในป 2020 ไววา
            - เติมความสดชื่นใหโลก
            - บันดาลใจใหเกิดชวงเวลาแหงความสุขและสิ่งดีๆ
            - เพิ่มคุณคาและสรางความแตกตาง




MISSION (พันธกิจ)

          Coca - Cola จะเปนสวนหนึ่งของชีวิตเปนหลักในการทําการสื่อสารกับผูบริโภคมาโดยตลอด
Coca - Cola พยายามทําใหตัวเองดูเปนสินคาที่มีรสนิยม หรูหรา แตใกลชิดกับผูบริโภคมาโดยตลอด
ตั้งแตตน การสรางสารที่มีเนื้อหาในเหตุการณตางๆแตทุกที่ก็มีโคกนั้นถูกซึมทราบ เขาไปยังความคิด
ของผูบริโภค "ยามกระหายนึกถึงโคก", "ยามทานอาหารใหนึกถึงโคก"
7


VALUES (คุณคาองคกร)

        Coca - Cola มีการถีบตัวเองอยูอยางสม่ําเสมอเพื่อเปนการย้ําเตือนและเสริมภาพลักษณของ
ตนเองที่วา Coca - Cola หรูหรา ทันสมัย การพัฒนา Package ใหมีรูปรางแปลกตาและเนนการ Design ก็
ดี การพัฒนาจากแบบฝาจีบ เปนแบบกระปอง หรือฝาเกลียวก็ดี การสรางรสชาติใหมๆอยูเสมอก็ดี
ทั้งหมดลวนเปนการแสดงใหเห็นถึงการไมจมปลักอยูกับที่ของ Coca - Cola

พัฒนาการของ Coca - Cola

1886 Coca - Cola ขายไดแค 9 แกวตอวัน
1887 มีการแจกคูปองฟรีเพื่อชักชวนใหคนดื่ม Coca - Cola
1891 Coca - Cola ใชปฏิทินและโปสเตอรในการโฆษณาสินคา
1893 เครื่องหมายการคาของ Coca - Cola ไดจดสิทธิบัตรในอเมริกา
1894 Coca - Cola เรื่มบรรจุในขวด ที่เมืองวิกซเบอรก รัฐมิสซิสซิปป
1899 ขยายการผลิต Coca - Cola แบบขวด
1906 สามประเทศแรกที่แบงบรรจุ Coca - Cola คือ คิวบา แคนาดา และปานามา
1912 เริ่มมีเครื่องดื่มเจาอื่นมาเลียนแบบ โดยใชชื่อวา King - Cola
1916 ผลิตขวด Coca - Cola ทรงคอดและสามารถเติมไดขึ้น เพื่อจะไดแตกตางจากเครื่องดื่มคูแขง
1919 เริ่มแบงบรรจุขวดที่แรกในยุโรปที่เมืองปารีสและบอรโดส ประเทศฝรั่งเศส
1923 โรเบิรต ดับเบิลยู.วูดรัฟ ไดรับการแตงตั้งใหเปนประธานของ The Coca - Cola Company
1941 เริ่มใชคําวา "โคก" ในการโฆษณาในนิตยสาร
1950 Coca - Cola เปนผลิตภัณฑชนิดแรกที่ไดขึ้นหนาปกนิตยสาร TIME
1955 เริ่มผลิต Coca - Cola ขวดใหญและขนาดครอบครัวขึ้น
1960 เริ่มผลิต Coca - Cola แบบกระปองออกจําหนาย
1978 Coca - Cola บุกจีน! เปนเครืองดื่มแบบเย็นเพียงอยางเดียวที่ไดรับอนุญาตใหขายในประเทศจีน
                                      ่
1982 เริ่มผลิตไดเอท โคก
1985 Coca - Cola เปนเครื่องดื่มชนิดแรกที่ถูกดื่มในอวกาศ บนยาน Space Shuttle Challenger
1986 ครบรอบ 100 ปของ Coca - Cola
1996 Coca - Cola เปนสปอนเซอรของการแขงขันโอลิมปกที่แอตแลนตา
2005 Coca - Cola ขยายการเปนสปอนเซอรของโอลิมปก ถึงป 2020 เริ่มผลิตโคก ซีโร
ออกจําหนาย2006            Coca - Cola อายุครบ 120 ป
2011 ยอดการขายของโคกอยูที่ 1.4 ลานลานแกวตอวัน
8




ผลิตภัณฑของ Coca - Cola

        ปจจุบัน บริษัท Coca - Colaไดผลิตเครื่องดื่มมากกวา 3,500 ชนิด ในกวา 200 ประเทศทั่วโลก
ไมวาจะเปนเครื่องดื่มประเภทไดเอท, เครื่องดื่มประเภทอัดแกสและไมอัดแกส, น้ําผลไม, น้ําเปลา,
เครื่องดื่มใหพลังงาน, เครื่องดื่มประเภท ชา กาแฟ และเครื่องดื่มประเภทนมและมีสวนผสมของนม
สําหรับเครื่องดื่มที่ครองตลาดและไดรับความนิยมมากที่สุดก็หนีไมพนเครื่องดื่มน้ําอัดลมน้ําดําที่รูจัก
กันเปนอยางดีในชื่อของ “Coke” นั่นเอง และถาหากหากแบงน้ําอัดลมออกเปนสายการผลิต จะแบงออก
ไดเปน 3 ประเภท คือ
                1. น้ําดํา หมายถึง น้ําอัดลมชนิดโคลา
                2. น้ําสี หมายถึง น้ําอัดลมที่มีการผสมน้ําหวาน และแตงสีเปนหลาย ๆแบบ เชน น้ําแดง
น้ําเขียว น้ําสม ซึ่งน้ําอัดลมประเภทน้ําสียังแบงออกอีกเปน ชนิดอัดแกส กับชนิดที่ไมอัดแกส
                3. เลมอน – ไลม หมายถึง น้ําอัดลมที่มีสีขาว ไดแก สไปรท
        Coca-cola รสชาติตางๆ
                โคก
                ไดเอทโคก
                 o ไดเอทโคก คาเฟอีนฟรี

                 o ไดเอทเชอรี่โคก

                 o ไดเอท วานิลลาโคก

                 o ไดเอทโคก พลัส

                เชอรี่โคก - โคกแตงกลิ่นเชอรี่ (เคยนํามาจําหนายในประเทศไทย ปจจุบันยกเลิกการ
ผลิต)
9


           วานิลลาโคก - โคกแตงกลิ่นวานิลลา (เคยนํามาจําหนายในประเทศไทย ปจจุบันยกเลิกการ
ผลิต)
           โคก ไลม - โคกแตงกลิ่นมะนาว
           โคก C2 - โคกที่ลดปริมาณน้ําตาลครึ่งหนึ่ง
           โคก ซีโร - โคกที่ใชสารใหความหวานแทนน้ําตาล พื้นของฉลากจะใชสดําแทนสีแดง
                                                                             ี
           โคก แบล็ก - โคกผสมกาแฟ
           โคก สม - โคกแตงกลิ่นสม
10


ผลิตภัณฑแบบกระปอง
11


ผลิตภัณฑตางๆ ของ Coca - Cola ในปจจุบัน
                                      บั
12
                           2


ผลิ
ผ ตภัณฑตางๆ ในปจจุบน
                      ั
13


เหตุผลการเปนผลิตภัณฑอนดับ 1 ของโคก
                       ั




       จุดที่นาสังเกต ก็คือ 5 อันดับแรกแมลําดับไมเปลี่ยนแปลง แตมีแคแบรนดอันดับ 1 และ 2 เทานั้น
ที่มูลคาแบรนดเพิ่มสูงขึ้น อันดับ 1 คือโคก มีมูลคาแบรนด 68,734 ลานเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้น 3
เปอรเซ็นต และอันดับ 2 ไอบีเอ็ม มีมูลคาแบรนด 60,211 ลานเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้น 2 เปอรเซ็นต
14


ซึ่งสาเหตุที่ทั้งสองแบรนดนี้มีมูลคาแบรนดสูงขึ้นนาจะเกิดจากการเปนแบรนดระดับโลกที่ใครๆ ก็รูจัก
โดยเฉพาะโค ก ไม ว า ผ า นมากี่ ป ๆ ก็ มี ก ารปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลงตั ว เองเพื่ อ ให แ บรนด ดู ทั น สมั ย
ตลอดเวลา ไมวาจะเปนการปรับเปลี่ยนโลโกในแตละชวงอายุใหดูอินเทรนด ปรับเปลี่ยนวิธีการทํา
โฆษณาประชาสัมพันธ ตลอดจนเสริมกิจกรรมการตลาดที่สามารถเจาะเขาถึงกลุมลูกคาเปาหมาย
       จะเห็นวารุนพอรุนแมดื่มโคกยังไง เด็กสมัยนี้ก็ยังดื่มโคกอยางนั้นโดยไมมีอาการเคอะเขิน ดังนั้น
การที่โคกยืนหยัดอยูที่อันดับ 1 ไมเปลี่ยนแปลงและมีมูลคาแบรนดเพิ่มสูงขึ้น แสดงวาเขาสามารถรักษา
ฐานลูกคาเกาไวไดและหาลูกคาใหมมาเติมไดอยางไมหยุดหยอน




จริยธรรมองคกรของ Coca-Cola

         การบริหารจัดการจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของบริษัท
            จุดมุงหมายของจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของบริษัท Coca - Cola คือเพื่อใหพนักงาน
ของบริษัทปฏิบัติตนไปในทิศทางเดียวกันในการปฏิบัติงานภายในบริษัทและในการติดตอกับผูอื่น
ภายนอกบริษัทตลอดจนมีการสรางกระบวนการสําหรับควบคุมและตรวจสอบการฝาฝนจรรยาบรรณ
เพื่ อ ให ส ามารถปฏิ บั ติ ง านได อ ย า งสอดคล อ งกั น ทั้ ง องค ก รไม มี ก ฎกติ ก าใดที่ จ ะครอบคลุ ม ได ทุ ก
สถานการณแนวทางในการปฏิบัติงานเหลานี้อาจจะแตกตางกันไปบางตามความจําเปนที่จะตองปรับให
สอดคลองกับกฎหมายภายในประเทศหรือขอกําหนดในสัญญาที่บริษัทตองปฏิบัติตาม
15


          การดําเนินธุรกิจดวยความซื่อสัตย
            การดําเนินธุรกิจดวยความซื่อสัตยสุจริตทุกหนแหงทั่วโลกการดําเนินธุรกิจของบริษัท Coca -
Cola ตั้งอยูบนพื้นฐานของความซื่อสัตยสุจริตควบคูไปกับคานิยมอันทรงคุณคาอื่นๆ ซึ่งไดแกการเปน
ผูนําความมุงมั่นความรับผิดชอบตอหนาที่ความรวมมือความหลากหลายและคุณภาพความซื่อสัตย
สุจริตจัดเปนแกนหลักของแนวทางการเติบโตของบริษัทความซื่อสัตยสุจริตไดแกการปฏิบัติตนเฉพาะ
ในสิ่ ง ที่ ถู ก ต อ งเท า นั้ น การยึ ด มั่ น ในหลั ก การข อ นี้ จ ะช ว ยส ง เสริ ม ภาพลั ก ษณ แ ละชื่ อ เสี ย งที่ ดี แ ละ
นาเชื่อถือของบริษัทตลอดจนชวยสงเสริมชื่อเสียงสินคาของบริษัทในประเทศตางๆกวา 200 ประเทศ
ทั่วโลกเราทุกคนตองการทําในสิ่งที่ถูกตองเพื่อตัวเราเองและเพื่อบริษัท Coca - Cola จรรยาบรรณใน
การดําเนินธุรกิจกําหนดแนวทางที่ถูกตองในการปฏิบัติตนในฐานะตัวแทนของบริษัท Coca - Cola
ตลอดจนระบุถึงความรับผิดชอบที่ทุกคนพึงมีตอบริษัทตอพนักงานดวยกันรวมทั้งความรับผิดชอบตอ
ลูกคาซัพพลายเออรผูบริโภคและรัฐบาลของประเทศตางๆเราทุกคนตองปฏิบัติตามกฎหมายดวยความ
ซื่อสัตยสุจริตในทุกเรื่องและจะตองรับผิดชอบตอการกระทําทุกๆอยางดวยสิ่งที่คาดหวังจากพนักงาน
ทุกทานการปฏิบัติตามจรรยาบรรณและกฎหมายตรวจสอบการกระทําของทานและสอบถามถึงแนว
ปฏิบัติที่ถกตองหากมีขอสงสัยไมแนใจเกี่ยวกับการกระทําหรือการดําเนินการใดๆใหถามตัวเองวา :
               ู                  
            • การกระทํานั้นเปนไปตามขอกําหนดของจรรยาบรรณของบริษัทหรือไม
            • การกระทํานั้นถูกตองตามหลักจริยธรรมหรือไม
            • การกระทํานั้นถูกตองตามกฎหมายหรือไม
            • การกระทํานั้นจะสะทอนภาพลักษณที่ดีของทานและของบริษัทหรือไม
            • ตองการจะไดเห็นขาวที่เกี่ยวของกับการกระทํานั้นในหนาหนังสือพิมพหรือไมหากได
คําตอบวา “ไม” ในขอใดก็พงละเวนการกระทําในขอนั้นเสีย
                          ึ


          ความซื่อสัตยสุจริตภายในบริษัท
        1. บันทึกทางธุรกิจและการเงินการจัดทําบันทึกทางธุรกิจและการเงินของบริษัทตองทําอยาง
ถูกตองบันทึกทางธุรกิจและการเงินนี้ไมไดจํากัดอยูเฉพาะบันทึกดานการเงินแตยังรวมไปถึงบันทึก
ประเภทอื่นๆเชนรายงานคุณภาพรายงานคาใชจายและเอกสารการยื่นขออนุมัติตางๆเชนแบบฟอรมคํา
ขอรับสวัสดิการและเอกสารประวัติยอของพนักงานการจัดทําบันทึกทางธุรกิจและการเงินที่ครบถวน
ถูกตองไมใชความรับผิดชอบเฉพาะของพนักงานฝายบัญชีและการเงินเทานั้นแตเปนความรับผิดชอบ
ของทุกคนในบริษัทการจัดเก็บบันทึกและจัดทํารายงานที่ถูกตองจะเปนภาพสะทอนของชื่อเสียงทีดและ
                                                                                        ่ี
ความนาเชื่อของบริษัทตลอดจนชวยใหบริษัทสามารถปฏิบัตตามกฎหมายและกฎระเบียบตางๆได
                                                        ิ
16


      2. ทรัพยสินของบริษัท การปกปองรักษาทรัพยสินของบริษัทและใชทรัพยสินเหลานั้นตาม
แนวทางที่กําหนดอยาใชทรัพยสินของบริษัทเพื่อประโยชนสวนตนหรือของผูอื่นใดนอกเหนือจากเพื่อ
ประโยชนของบริษัท
             • ใชสามัญสํานึกในการใชทรัพยสินของบริษัทตัวอยางเชนการใชโทรศัพทของบริษัทเพื่อ
ติดตอธุระสวนตัวหรือการสงอีเมลจากที่ทํางานเปนครั้งคราวเปนการกระทําที่ยอมรับไดแตหากทํามาก
หรือบอยเกินควรจะถือเปนการใชทรัพยสินของบริษัทในทางที่ผิด
              • นโยบายของบริษัทอาจจะอนุญาตใหใชทรัพยสินบางอยางเพื่อประโยชนสวนบุคคลได
ในบางกรณี เ ช น การใช ร ถยนต ห รื อ เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารไร ส ายของบริ ษั ท พนั ก งานจะต อ งตรวจสอบ
นโยบายที่เกี่ยวของในหนวยงานเพื่อใหแนใจวาทานใชทรัพยสินของบริษัทอยางถูกตองตามแนวทางที่
กําหนดไวหรือไม
         3. การใชขอมูล ไดแกการคุมครองขอมูลที่ไมเปดเผยตอสาธารณชนของบริษัทซึ่งหมายรวมถึง
ทุกสิ่งทุกอยางจากขอมูลเกี่ยว กับสัญญาและการตั้งราคาสินคาไปจนถึงแผนการตลาดขอกําหนดดาน
เทคนิคและขอมูลของพนักงาน
        4. ผลประโยชน ทั บ ซ อ น เป น กฎเกณฑ ที่ พ นั ก งานสามารถนํ า มาใช ไ ด กั บ สถานการณ ที่ มี
ผลประโยชนทับซอนเกิดขึ้นพิจารณาวาควรดําเนินการเชนไรในกรณีผลประโยชนทับซอนหากไม
แนใจใหติดตอขอทราบแนวทางที่เหมาะสมเพิ่มเติมในการปฏิบัติงานใหบริษัททานตองดําเนินการเพื่อ
ประโยชนสูงสุดของบริษัท Coca-Cola เทานั้นผลประโยชนทับซอนจะเกิดขึ้นเมื่อกิจกรรมและ
ความสัมพันธสวนตัวของพนักงานขัดแยงหรือมีทีทาวาจะขัดแยงตอการตัดสินใจของพนักงานเพื่อ
ประโยชนสูงสุดของบริษัทหากพนักงานเปนผูรับผิดชอบในการคัดเลือกหรือติดตอกับซัพพลายเออรให
บริษัทผลประโยชนและความสัมพันธสวนตัวของพนักงานจะตองไมขัดแยงหรือมีทีทาวาจะขัดแยงตอ
การตัดสินใจของพนักงานเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทเมื่อพนักงานตองคัดเลือกซัพพลายเออรให
ยึดถือตามแนวทางในการจัดหาพัสดุของบริษัทเสมอ
        5. การลงทุนภายนอก หลีกเลี่ยงการลงทุนที่อาจจะมีผลกระทบหรือมีทีทาวาจะมีผลกระทบตอ
การตัดสินใจในฐานตัวแทนของบริษัทใหนําแนวทางการปฏิบัติตัวในเรื่องนี้มาใชเมื่อไปถือหุนของ
ธุรกิจของลูกคาของซัพลายเออรหรือของคูแขงทางการคาของบริษัท Coca - Cola
        6. การทํางานอื่นนอกบริษัทการรับเชิญไปเปนวิทยากรโดยทั่วไปแลวพนักงานอาจจะรับทํางาน
ภายนอกบริษัท Coca - Cola ไดตราบเทาที่งานภายนอกนี้ไมขัดขวางความสามารถในการปฏิบัติงาน
ใหกับบริษัทพนักงานควรตรวจสอบสัญญาจางและแนวทางปฏิบัติในการทํางานในหนวยงานที่สังกัด
อยูเพราะอาจมีการขอจํากัดอยางอื่นเพิ่มเติมอีกก็ได จะตองไมทํางานหรือจัดหาบริการใหหรือไดรับ
17


คาจางจากลูกคาซัพพลายเออรหรือคูแขงทางการคาของบริษัทโดยไมมีหนังสืออนุมัติเปนลายลักษณ
อักษรลวงหนาจากผูควบคุมดูแลการปฏิบัติตามจริยธรรมในหนวยธุรกิจที่พนักงานสังกัดและจะตองทํา
เรื่องขอขยายหนังสืออนุมัตินี้ทุกป ตองไดรับใบอนุมัติเปนลายลักษณอักษรลวงหนาจากผูควบคุมดูแล
การปฏิบัติตามจริยธรรมในหนวยธุรกิจที่สังกัดกอนจะรับเงินคาตอบแทนหรือรับเงินคืนจากคาใชจายที่
สํารองออกไปจากการที่ตอบรับคําเชิญไปเปนวิทยากรนอกบริษัท Coca - Cola
        7.การรับของขวัญรับเลี้ยงอาหารและเลี้ยงรับรอง อยารับของขวัญ รับเลี้ยงอาหารหรือเลี้ยง
รับรอง หรือรับความชวยเหลืออยางอื่นจากลูกคาหรือซัพพลายเออรหากการกระทําเชนนั้นอาจจะทําให
ความสามารถในการตัดสินใจอยางเปนกลางเพื่อรักษาผลประโยชนสูงสุดแกบริษัทลดลงหรือมีทีทาวา
จะลดลง
        การปฏิบตตอผูอื่นดวยความซื่อสัตยสุจริต
               ั ิ
       การมีความสัมพันธกับบุคคลภายนอกบริษัท Coca - Cola เปนสิ่งสําคัญยิ่งสําหรับความสําเร็จ
ของบริษัททั้งนี้พนักงานตองปฏิบัติตอทุกคนอยางเสมอภาคและถูกตองตามกฎหมาย
          1. การปฏิบัติตอเจาหนาที่ของรัฐบาลของประเทศตางๆ เนื่องจากบริษัท Coca - Cola ดําเนิน
ธุรกิจในระดับโลกจึงจําเปนตองมีการติดตอกับเจาหนาที่ของรัฐในประเทศตางๆทั่วโลกการติดตอกับ
เจา หน าที่ ของรั ฐเหล านี้ไ มเ หมือนกับการติด ต อธุรกิจ กับเอกชนจึงตองมีก ฎเกณฑพิเ ศษที่ว างแนว
ทางการปฏิบัติตนของพนักงานตอบุคคลเหลานี้ในการดําเนินงานเพื่อใหแนใจวาพนักงานทราบวามี
กฎหมายเหลานี้ตลอดจนเขาใจและปฏิบัติตามไดอยางถูกตองควรขอคําแนะนําจากที่ปรึกษากฎหมาย
ของบริษัทเพื่อใหแนใจวาพนักงานเขาใจเพื่อที่จะปฏิบัติตามไดถูกตองโดยทั่วไปแลวอยาเสนอใหสิ่งใด
แกเจาหนาที่ของรัฐไมวาจะโดยตรงหรือโดยออมเพื่อแลกกับการใหเจาหนาที่ปฏิบัติตอทานดีเปนพิเศษ
ตองมีหนังสืออนุมัติลวงหนาจากที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทกอนจะจัดหาสิ่งของที่มีมูลคาใหแก
เจาหนาที่ของรัฐและจะตองใหแนใจวาไดบันทึกการใชจายนั้นไวในบัญชีของบริษัทอยางเหมาะสม
          2. การปฏิบัติตอลูกคาซัพพลายเออรและผูบริโภค บริษัทใหความสําคัญตอการเปนหุนสวนกับ
ลูกคาซัพพลายเออรและผูบริโภคและปฏิบัติตอกลุมคนเหลานี้ในแนวทางเดียวกันกับที่เราคาดหวังให
ผูอื่นปฏิบัติตอเรา
        3. การปฏิบัติตอคูแขงทางการคา ความสัมพันธกับคูแขงทางการคาเปนเรื่องที่ละเอียดออนมาก
ใหใชความระมัดระวังในการปฏิบัติตอคูแขงและการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับคูแขงทางการคาตองทํา
อยางรอบคอบกฎหมายแขงขันทางการคา บริษัท Coca - Cola ดําเนินการแขงขันทางการคาอยาง
ยุติธรรมและปฏิบัติตามกฎหมายแขงขันทางการคาที่ใชบังคับทั่วโลกกฎหมายเหลานี้มักเปนกฎหมายที่
ซับซอนและแตกตางกันไปในแตละประเทศทั้งในดานเนื้อหาและขอบเขตทางภูมิศาสตรที่กฎหมาย
18


ครอบคลุม ไปถึ ง วิ ธี ก ารดํ า เนิ น ธุ รกิ จ ที่ส ามารถทํ า ได ใ นประเทศหนึ่ ง อาจถู ก จั ด วา เปน วิ ธีก ารที่ ผิ ด
กฎหมายในอีกประเทศหนึ่งก็ไดการฝาฝนในเรื่องนี้มักมีกฎหมาบทลงโทษที่รายแรงดวยเหตุนี้บริษัทจึง
ไดนําแนวปฏิบัติเกี่ยวกับกฎหมายการแขงขันทางการคามาใชในหลายพื้นที่ทั่วโลก

ลักษณะการดําเนินธุรกิจ

         การดําเนินธุรกิจของ Coca - Cola เปนลักษณะการควบคุมธุรกิจจากบนลงลาง ก็เพื่อ
ผลประโยชนสูงสุดของบริษัท จากยุคเริ่มแรกที่จัดจําหนายเพียงหัวเชื้อของผลิตภัณฑอยางเดียว สวน
การบรรจุขวดและจัดจําหนายจะเปนของผูประกอบการรายยอยอื่นๆ ดังนั้น ตอมาโคกจึงไดเปลี่ยน
รู ป แบบธุ ร กิ จ ใหม เ ป น โค ก แบบชนิ ด พกพา นั่ น คื อ การควบรวมทั้ ง การผลิ ต หั ว เชื้ อ และการบรรจุ
ผลิตภัณฑเพื่อจัดจําหนาย ซึ่งสงผลตอยอดขายที่มากขึ้นกวายอดขายจากการจัดจําหนายหัวเชื้อเพียง
อยางเดียว แตนั่นกลับทําใหบริษัทยุงยากมากขึ้น เมื่อมีผูประกอบการแตละรายก็ตางตองการที่จะแยงชิง
ตลาดโคกขวด ดังนั้นบริษัทจึงจําเปนตองกําจัดอํานาจของผูประกอบการเหลานี้ โดยใชกลยุทธใหม
         ในบรรดาตลาดเครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอลในสหรัฐอเมริกา ชวงทศวรรษที่ 1990 ตลาด Coca -
Cola ยังครองสวนแบงการตลาดเปนอันดับที่ 1 คือ 60% - 70% นอกเหนือจาก น้ํามะนาว รูทเบียร
น้ําสม และอื่น ๆ บริษัทประสบความสําเร็จเปนอยางมากจากกลุมผูบริหารภายใตการนําของโรแบรโต
กอยซูเอตา และ ดั๊ก ไอเวสเตอรที่มีวิสัยทัศนในการวางรากฐานกลยุทธใหม โดยเพื่อผลประโยชนของ
นักลงทุนซึ่งทําใหโคก มีอํานาจผูกขาดในธุรกิจการบรรจุและจัดจําหนายแตเพียงผูเดียวทําให Coca -
Colaไดชื่อวาเปนแบรนดเครื่องดื่มที่อยูในใจของผูบริโภคมาตลอดกวา 125 ป จนกระทั่งกาวขึ้นมาเปน
แบรนดอันดับ 1 ของโลกได ซึ่งผูประกอบการที่เกี่ยวเนื่องในอุตสาหกรรมเหลานี้ประกอบดวย 4
สวนหลักไดแก
         1. ผูผลิตหัวเชื้อน้ําหวาน เปนผูทําหนาที่นําวัตถุดิบมาผสมกัน (ยกเวนสารใหความหวาน) และ
สงไปยังผูบรรจุขวด การลงทุนในสินทรัพยของผูผลิตไมมากนัก แตจะตองลงทุนสูงในเรื่องของการ
โฆษณาประชาสั มพัน ธ การวางแผนการผลิต การทําวิจัยทางการตลาด กิจกรรมทางการตลาดกับ
ผูบริโภค การทําเครื่องหมายการคา รวมถึงการพัฒนาความสามารถของผูบรรจุขวด
       2. ผูบรรจุขวด จะมีสัญญากับทางผูผลิตหัวเชื้อน้ําหวานในการทําการเติมสารใหความหวาน
และบรรจุ ข วด พร อมทั้ งส งไปยัง รา นจํา หน าย เช น ซุ ปเปอรมาร เ ก็ต รวมถึงดูแ ลการจั ด วางสิน ค า
การโฆษณา ณ จุดขาย การจัด Layout ในการลงทุนของผูบรรจุขวด สวนใหญตองลงทุนในสินทรัพย
ประเภทเครื่องจักรมากที่สุด ในเริ่มแรกการทําสัญญากันระหวางผูผลิตหัวเชื้อน้ําหวานและผูบรรจุขวด
จะทําในลักษณะเฟรนไชน
19


        3. รานคา ในป 2000 ชองทางการจัดจําหนายของน้ําอัดลมในสหรัฐอเมริกาจะผานทาง
รานอาหาร 35% ผาน ทางที่จําหนายน้ําอัดลมแบบกด (Fountain Outlet) 23% ตูจําหนายเครื่องดื่ม
อัตโนมัติ 14% รานสะดวกซื้อ 9% และอื่นๆ อีก 20% ไดแก รานที่เปนแบบคลังสินคาแบบสมาชิกราน
ขายยา ตนทุนมีผลมากจากวิธีการและความถี่ในการสง
          4. ผูจัดจําหนายวัตถุดิบใหกับหัวเชื้อน้ําหวานและผูบรรจุขวด วัตถุดิบที่จําหนายใหแกผูผลิตหัว
เชื้อน้ําหวาน ไดแก สี คาราเมล กรดฟอสฟอริก กรดผลไม สารปรุงรสจากธรรมชาติ และคาเฟอี น
สวนวัตถุดิบที่จําหนายใหแกผูบรรจุขวด ไดแก บรรจุภัณฑ ประเภท กระปอง ขวดพลาสติก ขวดแกว
และสารใหความหวาน ประเภทน้ําตาล และฟรุคโตส


การแขงขัน

        การแขงขันในตลาดโลก
        ในปจจุบันวิกฤตเศรษฐกิจสงผลตอธุรกิจทั่วทั้งโลก ซึ่งในตลาดน้ําอัดลมก็จําเปนตองปรับตัว
เขากับสภาพเศรษฐกิจในปจจุบันเชนกัน Coca - Colaก็ไดตระหนักถึงจุดนี้เปนอยางดี โดยเพื่อ
ตอบสนองความตองการของผูบริโภค ที่ตองการความสะดวกสบาย และความคุมคาคุมราคา จึงได
ปรับปรุงพัฒนา "Packaging Size" ซึ่งนับเปนนวัตกรรม Packaging ในรูปแบบหลากหลายขนาดออกสู
ตลาด เพื่อตอบโจทยของผูบริโภค ขณะเดียวกันแนวโนมการแขงขันของตลาดน้ําอัดลม ณ เวลานี้ กําลัง
มุงไปในทิศทางการพัฒนา Packaging เนื่องดวย Packaging มีสวนสําคัญอยางมากในการบงบอกถึง
ความแตกตางใหแก แบรนด และผลิตภัณฑ
         การแขงขันในตลาดน้ําอัดลมนิยมนําเสนอผานการสรางรสชาติใหมๆ อยางตอเนื่อง แตสุดทาย
ยอดขายหลักก็ยังคงตายตัวอยูที่รสชาติดั้งเดิมที่ผูบริโภคคุนเคยทั้ง Coke และ Pepsi (บริษัทคูแขง) เอง
ตางพยายามดึงเอาดีไซนใหมๆ มาสรางความแปลกใหม โดยเลนลวดลายบนกระปองเครื่องดื่ม แตใน
ปจจุบันนอกจากดีไซนลวดลายบน Packaging แลว Coke ยังสงกลยุทธใหม "Pack Size" ขนาดตางๆ ทั้ง
ในรูปแบบกระปอง และขวด PET เขาสูชองทางการจําหนายตางๆ และบาง Pack Size ใชเพื่อเจาะ
ชองทางการตลาดโดยเฉพาะ เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคในแตละโอกาส และพฤติกรรม
การบริโภคโดยเฉพาะอยางยิ่งการจําหนายในชองทางเฉพาะเปนขนาดพกพาสะดวก ปริมาณกําลังดี
"Sleek Can" นับเปนโอกาสในการขยายตลาดดวยการพัฒนา Packaging ก็เขามามีบทบาทในตลาด
น้ําอัดลมเปนอยางมาก
20


        การแขงขันในประเทศไทย
           โครงสรางของตลาดอุตสาหกรรมน้ําอัดลมในประเทศไทยแบงออกเปนคายใหญๆ ได 2 คาย
คือ “โคก” และ เปปซี่” โดยมีบริษัทไทยน้ําทิพย จํากัด เปนผูผลิตและจําหนายผลิตภัณฑ Coca - Cola
และมีบริษัท เสริมสุข จํากัด (มหาชน) เปนผูผลิตและจําหนายผลิตภัณฑ “เปปซี่” นอกจากนี้ ยังมีบริษัท
กรีนสปอต (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไบเลย จํากัด และบริษัทยอยๆ อีก 2-3 รายที่อยูในอุตสาหกรรม
นี้ซึ่งแบงตามดานตางๆ ดังนี้
              1. ดานผลิตภัณฑ (Products)Coca - Colaไมไดเนนในธุรกิจกลุมน้ําอัดลม (Carbonate)
อยางจริงจัง ซึ่งอาจจะเปนเพราะตลาดน้ําอัดลมมีอัตราการขยายตัวเพียงเล็กนอย คือประมาณ 1 - 3%
หากสินคาตัวไหน ที่มีโอกาสเติบโตในตลาด ทางบริษัท Coca - Cola ก็จะลงไปทําตลาดทันที โคกจึง
ยังคงอยูบนปรัชญาที่มีการพัฒนาสินคาอยางตอเนื่อง เพิ่ม Product Line ทําใหเกิด รสชาติใหมขึ้นเพื่อ
สรางฐานลูกคาใหมๆ และพัฒนา Package แบบตางๆ มากขึ้น เพื่อสรางความแปลกใหม สะดวกตอการ
ขนสงและเก็บรักษาเนนทําการตลาดที่เปนที่รูจักและรูใจผูบริโภค ทําใหคูแขงสําคัญอยางเปปซี่ครอง
ตําแหนงผูนําตลาดน้ําอัดลมยาวนานกวา 5 ป มีเพียงไมกี่ประเทศในโลกที่เปปซี่ชนะโคก และยังเปน
ประเทศเดียวที่ผูบรรจุขวดไดรับรางวัล Bottler of the year สองปซอนจากบริษัท เปปซี่ - โคลา อินเตอร
เนชั่นแนล ในฐานะที่เปนผูผลิตและจัดจําหนายเครื่องดื่ม เปปซี่ยอดเยี่ยมประจําภูมิภาคเอเชียแปซิฟก
เปปซี่มีการพัฒนาสินคาและเพิ่ม Product Line มีรสชาติใหมๆออกมาอยางตอเนื่อง เพื่อขยายฐานกลุม
ลูกคา และเพื่อรักษาภาพลักษณความทันสมัยตอคนรุนใหมเปปซี่ไดเปลี่ยนโลโกและ Package ของ
สินคาอยางตอเนื่อง ดานกระแสสุขภาพเปบซี่สง เปปซี่ แมกซ เขามาตีตลาดตั้งแตป 2545 แตกระแส
ตอบรับเวลานั้นนอยมาก เพราะผูบริโภคชาวไทยสมัยนั้นยังไมสนใจกับเรื่องสุขภาพแตปจจุบันเปปซี่
แมกซ ไดกลับมาอีกครั้งจากนั้นอีกไมถึงป โคกก็สง “โคก ซีโร” เขามาประชันในตลาดนี้ดวย ดานหนึ่ง
ดูเหมือนจะฟาดฟนกัน แตอีกดานหนึ่งคือการรวมมือกันผลักดัน ผลิตภัณฑ เพื่อรับกับกระแสสุขภาพ
ที่มาแรงและชัดเจนขึ้นทุกขณะในปจจุบัน
            2. ดานราคา (Price)การกําหนดราคาในอุตสาหกรรมน้ําอัดลม จะกําหนดโดยผูนําตลาด ที่
มีอํานาจตลาดจากการครองสวนแบงตลาดรวมกันสูงสุด (Dominant Firm)และเพื่อหลีกเลี่ยงปญหาดาน
ราคา ผูผลิตขนาดกลางและรายยอยจึงยอมใหผูผลิตขนาดใหญเปนผูนําราคา การตั้งราคาน้ําอัดลมจึง
เปนแบบ Uniform pricing โดยตั้งราคาเดียวกันในปริมาณเดียวกันทุกรายเนื่องจากน้ําอัดลมเปนสินคา
ที่สามารถใชทดแทนกันได (Substitute) หากมีการเปลี่ยนแปลงราคาแมเพียงนิดเดียวก็จะสงผลให
ปริมาณการบริโภคเปลี่ยนแปลงไปอยางมากทําใหน้ําอัดลมทุกยี่หอมีราคาจําหนายปลีกที่เทากัน ดังนี้
21


                             ตารางจําแนกราคาจําหนายปลีกของน้าอัดลม
                                                             ํ
              ขนาด                                          ราคา
               6 oz.                                    ขวดละ 6 บาท
              6.5 oz.                                  ขวดละ 6.50 บาท
              10 oz.                                    ขวดละ 8 บาท
              15 oz.                                    ขวดละ 9 บาท
              21 oz.                                    ขวดละ 12 บาท
              35 oz.                                    ขวดละ 17 บาท
         250 ซีซี คูลแฮนด                              ขวดละ 10 บาท
             500 ซีซี                                   ขวดละ 17 บาท
             325 ซีซี                                 กระปองละ 14 บาท
            1.25 ลิตร                                   ขวดละ 26 บาท
              2 ลิตร                                    ขวดละ 38 บาท

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา
        1.2.1 ศึกษาและสังเคราะห การปรับเปลี่ยนหรือแปลงองคกร (Corporate Transformation) ตั้งแต
เริ่มกิจการจนถึงปจจุบัน
        1.2.2 ศึกษาประเด็นของการเปลี่ยนแปลงในการดําเนินธุรกิจของ บริษัท Coca - Cola
        1.2.3ศึกษาธุรกิจของบริษัทขามชาติที่ประสบความสําเร็จและยั่งยืน

1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
       1.3.1 เพื่อทําใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงในการดําเนินธุรกิจของ บริษัท Coca - Cola
       1.3.2 เพื่ อใช เ ปนแผนปฏิ บัติการในการนํามาปรั บ ใช กับธุรกิ จ ใหมีประสิทธิภาพและบรรลุ
ประสิทธิผล
       1.3.3 เพื่อไดเห็นรูปแบบการดําเนินธุรกิจโดยเนนวัฒนธรรมองคกร ที่มความรับผิดชอบตอสังคม
                                                                              ี
และสิ่งแวดลอมและมีจริยธรรมองคกรที่ชัดเจน
       1.3.4 เพื่อใหทราบถึงการตอยอดธุรกิจในดานการพัฒนาผลิตภัณฑที่หลากหลาย
       1.3.5 เพื่อใหทราบถึงกลยุทธทางการบริหาร การตลาด ของ Coca – Cola ที่นํามาใชกับธุรกิจ
บทที่ 2

                                การทบทวนวรรณกรรม


2.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ
          ทฤษฎีสนทนาโนมนาว(the persuasive-discussion theory) ซึ่งพัฒนามาจากประสบการณ
ของ Kurt Lewin ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ทําการทดลองวาคนเปลี่ยนแปลงตัวเองสาเร็จได
อยางไรโดยเฉพาะการละลายทัศนคติการกินเนื้อสัตวในรูปแบบเดิมในระหวางสงครามเขาทําการ
เปรียบเทียบกลุมแมบาน 2 กลุมกลุมที่หนึ่งรับฟงการบรรยายจากผูเชี่ยวชาญดานอาหารสวนอีกกลุม
                        
หนึ่ งเขารวมในการสนทนาที่ ไดรับการแนะนาโดยผูเชี่ ยวชาญจากการศึกษาทดลองพบว ากลุม
แมบานที่เขารวมกลุมสนทนาแสดงใหเห็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอยางเดนชัด Lewin จึงโตแยง
วามีปจจัยสําคัญ 2 ประการที่เปนสาเหตุหรือสามารถอธิบายเกี่ยวกับความแตกตางของพฤติกรรม
ดังกลาวประการแรกคือการสนทนานําไปสูการมีสวนรวมสวนบุคคล (personal involvement) สวน
อีกประการหนึ่งคือการสนทนาเปดโอกาสใหผูนําทราบวาผูเปนเปาหมายของการเปลี่ยนแปลงมี
จุดยืน (stance) อยางไรและตองเอาชนะอุปสรรค(obstacles) อะไรเพื่อที่จะผลักดันใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลง
          ทฤษฎีไฟกําลังไหมบาน(the burning platform theory) นักวิชาการระดับชั้นครูหลายคนดาน
การเปลี่ยนแปลงองคการมักอางถึงและใชทฤษฎีนี้เปนสวนประกอบของรูปแบบการเปลี่ยนแปลง
ของตนโดยทฤษฎีนี้มีขอโตแยงวาการเปลี่ยนแปลงเปนเปนสิ่งที่มีความยากลําบากแตความลมเหลว
ที่จะเปลี่ยนเปนสิ่งที่ยากลําบากมากกวาที่ปรึกษาดานการจัดการมักใชทฤษฎีและหลักการดังกลาว
โดยอางวาการกระตุนใหคนเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนยายคนจําเปนตองบอกใหเขารูวาบานกําลังไหม
คนสวนใหญมักจะทําอะไรตามแบบเดิมที่ตัวเองเคยชินจนกวาจะเกิดความรูสึกวาบานหรือองคการ
กําลังไหม ไฟอยูแล ว จึง จะริเ ริ่มปรับตัวและเปลี่ยนแปลงดังนั้นทฤษฎีไฟกาลังไหมบานนี้จึงถูก
นําไปใชกันมากในวงการและบริบททางธุรกิจโดยเฉพาะในรูปของภัยคุกคาม (threats) ที่กําลังเขามา
สั่นคลอนองคการธุรกิจ Kotter (1996) เสนอหลักการวาบทบาทของผูนําคือการทําใหเกิดความ
ตระหนักและความรูสึกของความรีบเรง (sense of urgency) ในองคการความเจริญกาวหนาหรือ
แมแตความอยูรอดขององคการกาลังอยูในสภาวะอันตรายปรากฏการณที่สะทอนถึงไฟกําลังไหม
บานอาจครอบคลุมตั้งแตการที่ลูกคาไมพอใจผูปอนสินคาไมสบายใจและกลุมรวมไดเสียประโยชน
กาลังโกรธขึ้งเปนตน
23


        ทฤษฎีกดดันจากผูนํา(the leader-pressure theory) ซึ่งเนนความสําคัญของการมีพันธะสวน
บุคคล (personal commitment) ของผูบริหารระดับสูงสุดขององคการตอการเปลี่ยนแปลงเมื่อผูนํา
สนับสนุนและเอาจริงเอาจังกับการเปลี่ยนแปลงผูปฏิบัติงานในระดับลางไมอาจอยูเฉยหรือทําตัว
ตามความเคยชิ น เช น เดิ ม แต ต อ งตื่น ตั ว และปรั บตัว ให ส อดคลอ งกับ แรงกดดั น ที่ม าจากขา งบน
นักวิชาการหลายคนใหความสนใจในทฤษฎีนี้ตัวอยางเชน Kotter (1992) กลาววาการเอาชนะการ
ตอตานการเปลี่ยนแปลงไมสามารถทําไดถาปราศจากแรงกดดันอยางตอเนื่องจากผูนําที่กระทําตอ
คนระดับลางขององคการที่อยูในภาวะความลังเลวาจะเดินทางไปทางใดในขณะเดียวกัน Hammer
and Stanton (1995) ใหขอสรุปวาการเปลี่ยนแปลงจะสําเร็จไดก็ตอเมื่อไดรับการขับเคลื่อนโดยผูนํา
ระดับสูงขององคการอยางไรก็ตามเปนที่นาสังเกตวาทฤษฎีริเริ่มการเปลี่ยนแปลงที่ผูกติดอยูกับ
กรอบคิดดั้งเดิมดังกลาวขางตนเนนขอสมมติพฤติกรรมมีเหตุผล(rational behavior) ทั้งในระดับ
บุคคลและองคการแตมองขามมิติสําคัญที่เปนจริงขององคการอีกดานหนึ่งคือการเมืองในองคการซึ่ง
ตัวแบบของ Kanter, et.al (1992) ไดกลาวถึงไวอยางชัดเจนเกี่ยวกับความจําเปนของการระดมการ
สนับสนุนดานการเมืองตัวแบบของ Kotter (1996) เนนการกระจายอํานาจและใหอํานาจในระดับ
ฐานรากเพื่อกระตุนใหเกิดการเคลื่อนไหวในขอบเขตกวางและตัวแบบของCumming and Worley
(1993) ไดระบุใหเห็นความสําคัญของการพัฒนาการสนับสนุนดานการเมืองดังนั้นการอธิบาย
แนวทางทางการเมืองเกี่ยวกับการิเริ่มการเปลี่ยนแปลงองคการจึงมีความจําเปน
        ทฤษฎีความไมพอใจระดับปฏิบัติการ(the front-line discontent theory) ความไมพอใจระดับ
ปฏิบัติการในองคการอาจจะมีสาเหตุหรือเงื่อนไขหลายประการอาทิความตองการความเปนอิสระใน
การปฏิบัติงานไมชอบกฎระเบียบการปฏิบัติที่ไมสะดวกกับการทางานปริมาณงานมากเกินไปลูกคา
ไมพอใจกับการใหบริการและผลงานไมไดตามเปาหมายที่ตองการเปนตน Kelman (2005) ศึกษา
ความไมพอใจกับสภาพการปฏิบัติงานในดานตางๆดังกลาวนี้เปนจุดริเริ่มการเปลี่ยนแปลงองคการที่
สําคัญ

         1. ทฤษฎีสวนประสมทางการตลาด
            ส ว นประสมทางการตลาด(Marketing                    Mix) ของสิ น ค า นั้ น โดยพื้ น ฐาน
จะมีอยู4 ตัวไดแก ผลิตภัณฑ ราคา ชองทางการจัดจําหนาย และการสงเสริมการตลาด (Kotler,
1997) แต ส ว นประสมทางการตลาดของตลาดบริ ก ารจะมี ค วามแตกต า งจากส วนประสมทาง
การตลาดของสิ นค าทั่ วไป กล าวคื อ จะต องมี การเน นถึ งพนั กงาน กระบวนการให บริ การ และ
สิ่งแวดลอมทางกายภาพซึ่งทั้งสามสวนประสมเปนปจจัยหลักในการสงมอบบริการ ดังนั้น สวน
ประสมทางการตลาดของการบริการจึงประกอบดวย 8Ps ไดแก ผลิตภัณฑ ราคา ชองทางการจัด
24


จําหนาย การสงเสริมการตลาดพนักงาน กระบวนการใหบริการ สิ่งแวดลอมทางกายภาพ การบรรจุ
ภัณฑ ดังนี้ (Payne, 1993)
              1.1 สวนประสมทางการตลาดของการบริการจึงประกอบดวย 8Ps
                  1.1.1 ผลิตภัณฑ (ProductP;1)
                         บริ ก ารจะเป น ผลิ ต ภั ณ ฑ อ ย า งหนึ่ ง แต เ ป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ม มี ตั ว ตน
(Intangible            Product) ไม ส ามารถจั บ ต อ งได มี ลั ก ษณะเป น อาการนามไม ว า จะเป น
ความสะดวก ความรวดเร็ว ความสบายตัว ความสบายใจ การใหความเห็น การใหคาปรึกษา เปนตน         ํ
                          บริ การจะต องมี คุ ณภาพเช นเดี ยวกั บสิ นค าแต คุ ณภาพของบริ การจะต อง
ประกอบมาจากหลายปจจัยที่ประกอบกันทั้งความรู ความสามารถ และประสบการณของพนักงาน
ความทันสมัยของอุปกรณ ความรวดเร็วและตอเนื่องของขั้นตอนการสงมอบบริการ ความสวยงาม
ของอาคารสถานที่รวมถึงอัธยาศัยไมตรี
ของพนักงานทุกคน
         ประเภทของการบริการสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ
         1)บริการจําเปน เปนบริการที่เกิดขึ้นเปนครั้งคราว ลูกคามีความจําเปนตองมาใชบริการอาจจะ
เนื่องจากสภาพรางกาย เวลา การปองกันความเสี่ยงและปจจัยอื่น ๆ หากไมมาใชบริการอาจจะทําให
รางกายไมแข็งแรงไมกลับสูสภาวะปกติ และเสียเวลา เชน บริการทางดานการขนสงรักษาพยาบาล
ตัดผม ทันตกรรม ประกันชีวิต ประกันภัย
         2)บริการฟุมเฟอย เปนบริการที่เกิดเปนครั้งคราวเชนกัน แตลูกคาไมจําเปนตองมาใชบริการ
สาเหตุของการใชบริการประเภทนี้ คือ ความตองการดานความสวยความงาม ความทันสมัย เชน
บริการทําศัลยกรรมความงาม บริการทําสีผม ทําเล็บ บริการทองเที่ยว
                  1.1.2ราคา ( Price ; P2)
                  ราคาเปนสิ่งที่กําหนดรายไดของกิจการ กลาวคือ การตั้งราคาสูงก็จะทําใหธุรกิจมี
รายไดสูงขึ้น การตั้งราคาต่ําก็จะทําใหรายไดของธุรกิจนั้นต่ํา ซึ่งอาจจะนําไปสูภาวะขาดทุนได
อยางไรก็ตามก็มิไดหมายความวาธุรกิจหนึ่งจะตั้งราคาไดตามใจชอบ ธุรกิจจะตองอยูในสภาวะของ
การมีคูแขงขันหากตั้งราคาสูงกวาคูแขงขัน แตบริการของธุรกิจนั้นไมไดมีคุณภาพสูงกวาคูแขงขัน
มากเทากับราคาที่เพิ่ม ยอมทําใหลูกคาไมใชบริการกับธุรกิจนั้นตอไป หากธุรกิจตั้งราคาต่ํากวาก็จะ
นํามาสูสงครามราคา เนื่องจากคูแขงขันรายอื่นสามารถลดราคาตามไดในเวลาอันรวดเร็ว
                  ในมุมมองของลูกคา การตั้งราคามีผลเปนอยางมากตอการตัดสินใจซื้อบริการของ
ลูกคาและราคาของการบริการเปนปจจัยสําคัญในการบอกถึงคุณภาพที่จะไดรับ กลาวคือ ราคาสูง
คุณภาพสูง ในการบริการนาจะสูงดวย ทําใหมโนภาพหรือความคาดหวังของลูกคาตอบริการที่
ไดรับจะสูงดวยแตผลที่ ตามมาคือ บริการตองมี คุณ ภาพตอบสนองความคาดหวังของลูกค าได
25


ในขณะที่การตั้งราคาต่ํา ลูกคามักคิดวาจะไดรับบริการที่มีคุณภาพดอยตามไปดวย ซึ่งถาหากต่ํา
มากๆ ลูกคาอาจจะไมใชบริการได เนื่องจากไมกลาเสี่ยงตอบริการที่จะไดรับ
                  1.1.3ชองทางการจัดจําหนาย ( Place ; P3)
                         ในการใหบริการนั้น สามารถใหบริการผานชองทางการจัดจําหนายได 4
วิธี คือ (ประยุกตจาก Zeithaml and Bitner,1996)
                          1)การใหบริการผานราน (Outlet) การใหบริการแบบนี้เปนแบบที่ทํากันมา
นาน เชน รานตัดผม รานซักรีด รานใหบริการอินเตอรเน็ต ใหบริการดวยการเปดรานคาตาม
ตึกแถวในชุมชนหรือในหางสรรพสินคา แลวขยายสาขาออกไปเพื่อใหบริการลูกคาไดสูงสุด โดย
รานประเภทนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทําใหผูรับบริการและผูใหบริการมาพบกัน ณ สถานที่แหงหนึ่ง
โดยการเปดรานคาขึ้นมา
                          2)การใหบริการถึงที่บานลูกคาหรือสถานที่ที่ลูกคาตองการ การใหบริการ
แบบนี้เปนการสงพนักงานไปใหบริการถึงที่บานลูกคาหรือสถานที่อื่นตามความสะดวกของลูกคา
เชน การบริการจัดสงอาหารตามสั่ง การใหบริการสงพยาบาลไปดูแลผูปวย การสงพนักงานทํา
ความสะอาดไปทําความสะอาดอาคาร การบริการปรึกษาคดีถึงที่ทํางานลูกคา การจางวิทยากรมา
ฝกอบรมที่โรงแรมแหงหนึ่ง การใหบริการแบบนี้ธุรกิจไมตองมีการจัดตั้งสํานักงานที่หรูหราหรือ
การเปดเปนรานคาใหบริการ สํานักงานอาจจะเปนบานเจาของ หรืออาจจะมีสํานักงานแยกตางหาก
แตลูกคาติดตอธุรกิจดวยการใชโทรศัพทหรือโทรสาร เปนตน
                           3)การใหบริการผานตัวแทน การใหบริการแบบนี้เปนการขยายธุรกิจดวยการ
ขายแฟรนไชส หรือการจัดตั้งตัวแทนในการใหบริการ เชน แมคโดนัลดหรือเคเอฟซีที่ขยายไปทั่วโลก
บริษัทการบินไทยขายตั๋วเครื่องบินผานบริษัททองเที่ยว และโรงแรมตางๆ ไมวาจะเปนเชอราตัน
แมริออตต เปนตน
                           4)การให บ ริ ก ารผ า นทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส การให บ ริ ก ารประเภทนี้
เปนการใหบริการที่คอนขางใหม โดยอาศัยเทคโนโลยีมาชวยลดตนทุนจากการจางพนักงาน เพื่อ
ทําใหการบริการเปนไปไดอยางสะดวกและทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง เชน การใหบริการผานเครื่อง
เอทีเอ็ม เครื่องแลกเงินตราตางประเทศ เกาอี้นวดอัตโนมัติ เครื่องชั่งน้ําหนักหยอดเหรียญตาม
ศูนยการคา การใหบริการดาวนโหลด (Download) ขอมูลจากสื่ออินเทอรเน็ต

                1.1.4การสงเสริมการตลาด (Promotion ; P4)
                      การส งเสริ มการตลาดของธุ รกิจบริ การจะมี ความคลายกั บธุ รกิ จขายสิ นค า
กลาวคือ การสงเสริมการตลาดของธุรกิจบริการทําไดในทุกรูปแบบ ไมวาจะเปนการโฆษณา การ
ประชาสัมพันธ การใหขาว การลดแลกแจกแถม การตลาดทางตรงผานสื่อตางๆ ซึ่งการบริการที่
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development
Term paper   mgt 623  wu  organizational change and development

Mais conteúdo relacionado

Mais de DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

Mais de DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

Term paper mgt 623 wu organizational change and development

  • 1.
  • 2. 2
  • 3. 3
  • 4. 4 บทที่1 บทนํา 1.1 สภาพทั่วไปของธุรกิจ การรักษาภาพลักษณของ Brand ของ Coca - Cola และสรางความมั่นใจใหเกิดขึ้นในใจผูบริโภค เพื่อสรางฐานลูกคาประจําที่แนนอนเปนสิ่งสําคัญ ไมจํากัดวาจะตองเปนธุรกิจเครื่องดื่ม แตสามารถ นําไปใชไดกับทุกธุรกิจทุกผูประกอบการ การสรางความยึดมั่นแข็งแรงและพึ่งพาไดของตนเองไวได ยอมหมายถึงการไดมาซึ่งความไววางใจของทุกคนรอบขางไมจํากัดอยูเพียงลูกคาผูบริโภค แตพนักงาน หรือผูประกอบการที่เกี่ยวของตางก็เปนปจจัยที่มีผลโดยตรงตอความสําเร็จขององคกร ปจจัยที่สําคัญ อื่นๆที่ไมควรใหเสียหายและดูแลควบคูกันไปอยางชองทางการเขาถึงผูบริโภค การสื่อสารถึงผูบริโภคที่ มีประสิทธิภาพและคุมคา การพัฒนาที่ไมหยุดนิ่ง การปรับเปลี่ยนตัวเองใหเขากับยุคสมัย ทั้งหมดลวน เปนปจจัยสําคัญที่จะชวยตอกย้ําใน Brand ใหแข็งแกรงและจะกลายเปนสวนหนึ่งของชีวิตผูบริโภคไป ไดการกาวขึ้นมาเปน Brand อันดับตนๆ ที่อยูในใจของผูบริโภคไดมายาวนานกวา 100 ป นั้น ไมไดเกิด จากการถือตนวาดังแลวคอยๆ ขายไปเรื่อย แต Coca - Cola ตองฝาฟนวิกฤต มาอยางยากลําบาก Coca - Cola มีการเปลี่ยนรูปแบบตัวเอง ตางๆนาๆ แตก็พยายามรักษาภาพลักษณของ Brand ตัวเองไวเปน สําคัญ ซึ่งมีทั้งการลองผิดลองถูก ไมวาจะเปนการออกรสชาติใหมๆ อยูตลอด แตก็พยายามรักษาความ ใกลเคียงรสชาติดั้งเดิมไวใหมากที่สุด หรือไมวาเศรษฐกิจจะทรุดโทรมแคไหน Coca - Cola ก็ยังคงทุม งบกับการโฆษณาโดยไมทิ้งภาพลักษณของตนเอง ซึ่งการรักษา Brand ของตนไมใหเสียมาตรฐานหรือ ไขวเขว สามารถตั้งมั่นเปนที่พึ่งพาที่แข็งแกรงใหกับคนทั่วไปที่พบเห็น ไมเกิดความคิดกังวลหรือไม มั่นใจกับตนเองไดนั้นเปนบทเรียนที่สําคัญที่สุดที่ Coca - Cola ใชเวลากวา 100 ปเรียนรูมา ประวัติความเปนมา Coca - Cola ถูกคิดคนโดย ดร.จอหน เพ็มเบอรตันที่เมืองแอตแลนตาในมลรัฐจอรเจีย เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ.1886 เภสัชกรทองถิ่นทานนี้เปนผูผลิตหัวเชื้อน้ําหวานมีเรื่องเลากันตอมาวาเมื่อ ดร. เพมเบอรตัน ปรุงหัวเชื้อน้ําหวาน ขึ้นมา ไดสําเร็จในหมอทองเหลืองสามขาซึ่งตั้งอยูในสนามหญา หลังบานของเขา ชายผูนี้ก็รีบถือเหยือกที่บรรจุน้ําหวานรสชาติใหม มุงตรงไปยังรานขายยาจาค็อป ณ ที่ นั่น หลายตอหลายคนไดลิ้มลองน้ําหวานของ ดร.เพ็มเบอรตัน ตางก็ชมเปนเสียง เดียวกันวา "รสชาติ เยี่ยม" หลังจากนั้นไมนานดร.เพ็มเบอรตันก็เริ่มปรุงเครื่องดื่มชนิดนี้ขายที่รานจาค็อปสโดยคิดราคาแกว ละ5 เซ็นตตอมาไมวาจะเปนความตั้งใจหรือไมไดมีผูนําน้ําอัดกาซคารบอนมาผสมกับหัวน้ําหวานที่ดร.
  • 5. 5 เพ็มเบอรตันปรุงขึ้นจนกลายเปนเครื่องดื่มที่ "สดชื่น ดับกระหาย ไดรสชาติ" แมจนกระทั่งในปจจุบัน ไมวาใครก็ตามที่ไดดื่ม Coca - Cola ก็ตองรูสึกเชนนั้น ดร.จอหน เพมเบอรตัน มร.แฟรงค เอ็มโรบินสันหุนสวนและสมุหบัญชีของดร.เพ็มเบอรตันออกความ เห็นวา "ถาใช ตัวอักษร C สองตัวในโฆษณาเครื่องดื่มชนิดนี้ก็นาจะเขาทาดี" ดังนั้นเขาจึงแนะใหตั้งชื่อเครื่องดื่มนี้วา "Coca - Cola”เมื่อตกลงใจดังนั้นมร.โรบินสันก็เขียน คําวา Coca - Cola ดวยลายมือของเขาเอง ซึ่ง ตอมาไดกลายเปนเครื่องหมายการคาที่รูจักกันอยางกวางขวางทั่วโลก โฆษณาชิ้นแรกของ Coca - Cola ปรากฏในหนังสือพิมพแอตแลนตา เจอรนัล มีขอความเชิญชวนให ผูกระหายน้ําทั้งหลายหันมาลอง "เครื่องดื่มชนิดใหมที่กําลังไดรับความนิยม” นอกจากนั้นยังแขวนปายโฆษณาที่ทําจากผาอาบน้ํามันไว ที่กันสาด หนารานจาค็อปสโดยมีการระบุคําวา "Coca - Cola" อยูและเหนือคําวา Coca - Cola ก็เติมคํา วา "ดื่ม" เพื่อใหคนอานทราบวามีเครื่องดื่มชนิดใหมวางขายอยูในชวงปแรก Coca - Cola มียอดขาย ประมาณ 9 แกวตอวันดร.เพ็มเบอรตันไมคิดเลยวาเครื่องดื่มที่เขาคิดคนขึ้นจะทํากําไรมากมาย เขาจึง จัดแจงขายหุนกิจการ Coca - Cola ในสวนของเขาใหผูถือหุนคนอื่นๆ จนเกือบหมดหลังจากดําเนินการ มาไดไมนาน และกอนหนาที่ดร.เพ็มเบอรตันจะถึงแกกรรมเพียงไมกี่ป เขาก็ขายหุนที่เหลืออยูทั้งหมด ใหกับอาซา จี. แคนเลอรนักธุรกิจ ชาวเมืองแอตแลนตาผูมีพรสวรรคทางการคาตอมามร.แคนเลอรคนนี้ เองก็กวานซื้อหุนทั้งหมด จนกลายเปนเจาของกิจการ Coca - Cola เพียงผูเดียว จากการที่เปนนักการ ตลาดที่เกงกาจคนหนึ่งในไมกี่ปตอมายอดขายของ Coca - Cola ไดพงขึ้นมาถึง 10 เทา โดยบอกวา Coca ุ - Cola เปนเครื่องดื่มรสชาติเยี่ยม ดับกระหาย ใหความสดชื่น และมีชีวิตชีวาและไดกอตั้ง บริษัท Coca - Cola วันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1893 ไดจดทะเบียนลิขสิทธิ์เครื่องหมายการคาอยางเปนทางการมร.แคนด เลอร ไ ด เ ชื่ อ ว า การโฆษณา สามารถส ง เสริ ม ยอดขายได เ ป น อย า งดี เ ขาจึ ง เริ่ ม ทํ า การโฆษณาและ โปรโมชั่น เริ่มจากการแจกคูปอง สําหรับลูกคามาแลกแกว Coca - Cola และการแจกของชํารวยที่มีตรา Coca - Cola ในป 1894 โรงงานแหงแรกที่อยู นอกเมืองแอตแลนตาก็ไดถูกสรางขึ้น ในเมืองดัลลัสใน
  • 6. 6 รัฐเท็กซัส และไดเริ่มขยายไปตามเมืองใหญๆ เชน ชิคาโก ลอสแองเจลลิส ในป1898 ไดมีการสราง อาคารเพื่อใชเปนสํานักงานใหญ ที่เมือง แอตแลนตา ในป 1894 ซิปป โจเซฟไดการริเริ่มบรรจุ Coca - Cola ลงขวด และสงไปขายตามไรใหญๆ หรือตามโรงงานผลิตไมแปรรูป ถือไดวาเปนคนแรกที่นํา Coca - Cola บรรจุลงขวดเปนคนแรก โรงงานบรรจุเครื่องเครื่องดื่ม Coca - Cola ลงขวดถูกตั้งเปนแหง แรกที่เมืองชัตตานูกา รัฐเทนเนสซีในปถัดมาโรงงานแหงที่ 2 ก็ไดถูกตั้งขึ้นที่เมืองแอตแลนตา ใน อีก 20 ปถัดมาจํานวนโรงงานบรรจุขวดเพิ่มขึ้นเปนมากกวา 1,000 แหงทั่วสหรัฐอเมริกา VISION (วิสัยทัศน) Coca - Cola เปนแบรนดเครื่องดื่มที่อยูในใจของผูบริโภคมาตลอดกวา 100 ป และกาวขึ้นมา เปน แบรนดอันดับ 1 ของโลกใหได และ Coca - Cola ไดกําหนดวิสัยทัศนในป 2020 ไววา - เติมความสดชื่นใหโลก - บันดาลใจใหเกิดชวงเวลาแหงความสุขและสิ่งดีๆ - เพิ่มคุณคาและสรางความแตกตาง MISSION (พันธกิจ) Coca - Cola จะเปนสวนหนึ่งของชีวิตเปนหลักในการทําการสื่อสารกับผูบริโภคมาโดยตลอด Coca - Cola พยายามทําใหตัวเองดูเปนสินคาที่มีรสนิยม หรูหรา แตใกลชิดกับผูบริโภคมาโดยตลอด ตั้งแตตน การสรางสารที่มีเนื้อหาในเหตุการณตางๆแตทุกที่ก็มีโคกนั้นถูกซึมทราบ เขาไปยังความคิด ของผูบริโภค "ยามกระหายนึกถึงโคก", "ยามทานอาหารใหนึกถึงโคก"
  • 7. 7 VALUES (คุณคาองคกร) Coca - Cola มีการถีบตัวเองอยูอยางสม่ําเสมอเพื่อเปนการย้ําเตือนและเสริมภาพลักษณของ ตนเองที่วา Coca - Cola หรูหรา ทันสมัย การพัฒนา Package ใหมีรูปรางแปลกตาและเนนการ Design ก็ ดี การพัฒนาจากแบบฝาจีบ เปนแบบกระปอง หรือฝาเกลียวก็ดี การสรางรสชาติใหมๆอยูเสมอก็ดี ทั้งหมดลวนเปนการแสดงใหเห็นถึงการไมจมปลักอยูกับที่ของ Coca - Cola พัฒนาการของ Coca - Cola 1886 Coca - Cola ขายไดแค 9 แกวตอวัน 1887 มีการแจกคูปองฟรีเพื่อชักชวนใหคนดื่ม Coca - Cola 1891 Coca - Cola ใชปฏิทินและโปสเตอรในการโฆษณาสินคา 1893 เครื่องหมายการคาของ Coca - Cola ไดจดสิทธิบัตรในอเมริกา 1894 Coca - Cola เรื่มบรรจุในขวด ที่เมืองวิกซเบอรก รัฐมิสซิสซิปป 1899 ขยายการผลิต Coca - Cola แบบขวด 1906 สามประเทศแรกที่แบงบรรจุ Coca - Cola คือ คิวบา แคนาดา และปานามา 1912 เริ่มมีเครื่องดื่มเจาอื่นมาเลียนแบบ โดยใชชื่อวา King - Cola 1916 ผลิตขวด Coca - Cola ทรงคอดและสามารถเติมไดขึ้น เพื่อจะไดแตกตางจากเครื่องดื่มคูแขง 1919 เริ่มแบงบรรจุขวดที่แรกในยุโรปที่เมืองปารีสและบอรโดส ประเทศฝรั่งเศส 1923 โรเบิรต ดับเบิลยู.วูดรัฟ ไดรับการแตงตั้งใหเปนประธานของ The Coca - Cola Company 1941 เริ่มใชคําวา "โคก" ในการโฆษณาในนิตยสาร 1950 Coca - Cola เปนผลิตภัณฑชนิดแรกที่ไดขึ้นหนาปกนิตยสาร TIME 1955 เริ่มผลิต Coca - Cola ขวดใหญและขนาดครอบครัวขึ้น 1960 เริ่มผลิต Coca - Cola แบบกระปองออกจําหนาย 1978 Coca - Cola บุกจีน! เปนเครืองดื่มแบบเย็นเพียงอยางเดียวที่ไดรับอนุญาตใหขายในประเทศจีน ่ 1982 เริ่มผลิตไดเอท โคก 1985 Coca - Cola เปนเครื่องดื่มชนิดแรกที่ถูกดื่มในอวกาศ บนยาน Space Shuttle Challenger 1986 ครบรอบ 100 ปของ Coca - Cola 1996 Coca - Cola เปนสปอนเซอรของการแขงขันโอลิมปกที่แอตแลนตา 2005 Coca - Cola ขยายการเปนสปอนเซอรของโอลิมปก ถึงป 2020 เริ่มผลิตโคก ซีโร ออกจําหนาย2006 Coca - Cola อายุครบ 120 ป 2011 ยอดการขายของโคกอยูที่ 1.4 ลานลานแกวตอวัน
  • 8. 8 ผลิตภัณฑของ Coca - Cola ปจจุบัน บริษัท Coca - Colaไดผลิตเครื่องดื่มมากกวา 3,500 ชนิด ในกวา 200 ประเทศทั่วโลก ไมวาจะเปนเครื่องดื่มประเภทไดเอท, เครื่องดื่มประเภทอัดแกสและไมอัดแกส, น้ําผลไม, น้ําเปลา, เครื่องดื่มใหพลังงาน, เครื่องดื่มประเภท ชา กาแฟ และเครื่องดื่มประเภทนมและมีสวนผสมของนม สําหรับเครื่องดื่มที่ครองตลาดและไดรับความนิยมมากที่สุดก็หนีไมพนเครื่องดื่มน้ําอัดลมน้ําดําที่รูจัก กันเปนอยางดีในชื่อของ “Coke” นั่นเอง และถาหากหากแบงน้ําอัดลมออกเปนสายการผลิต จะแบงออก ไดเปน 3 ประเภท คือ 1. น้ําดํา หมายถึง น้ําอัดลมชนิดโคลา 2. น้ําสี หมายถึง น้ําอัดลมที่มีการผสมน้ําหวาน และแตงสีเปนหลาย ๆแบบ เชน น้ําแดง น้ําเขียว น้ําสม ซึ่งน้ําอัดลมประเภทน้ําสียังแบงออกอีกเปน ชนิดอัดแกส กับชนิดที่ไมอัดแกส 3. เลมอน – ไลม หมายถึง น้ําอัดลมที่มีสีขาว ไดแก สไปรท Coca-cola รสชาติตางๆ  โคก  ไดเอทโคก o ไดเอทโคก คาเฟอีนฟรี o ไดเอทเชอรี่โคก o ไดเอท วานิลลาโคก o ไดเอทโคก พลัส  เชอรี่โคก - โคกแตงกลิ่นเชอรี่ (เคยนํามาจําหนายในประเทศไทย ปจจุบันยกเลิกการ ผลิต)
  • 9. 9  วานิลลาโคก - โคกแตงกลิ่นวานิลลา (เคยนํามาจําหนายในประเทศไทย ปจจุบันยกเลิกการ ผลิต)  โคก ไลม - โคกแตงกลิ่นมะนาว  โคก C2 - โคกที่ลดปริมาณน้ําตาลครึ่งหนึ่ง  โคก ซีโร - โคกที่ใชสารใหความหวานแทนน้ําตาล พื้นของฉลากจะใชสดําแทนสีแดง ี  โคก แบล็ก - โคกผสมกาแฟ  โคก สม - โคกแตงกลิ่นสม
  • 11. 11 ผลิตภัณฑตางๆ ของ Coca - Cola ในปจจุบัน บั
  • 12. 12 2 ผลิ ผ ตภัณฑตางๆ ในปจจุบน ั
  • 13. 13 เหตุผลการเปนผลิตภัณฑอนดับ 1 ของโคก ั จุดที่นาสังเกต ก็คือ 5 อันดับแรกแมลําดับไมเปลี่ยนแปลง แตมีแคแบรนดอันดับ 1 และ 2 เทานั้น ที่มูลคาแบรนดเพิ่มสูงขึ้น อันดับ 1 คือโคก มีมูลคาแบรนด 68,734 ลานเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้น 3 เปอรเซ็นต และอันดับ 2 ไอบีเอ็ม มีมูลคาแบรนด 60,211 ลานเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้น 2 เปอรเซ็นต
  • 14. 14 ซึ่งสาเหตุที่ทั้งสองแบรนดนี้มีมูลคาแบรนดสูงขึ้นนาจะเกิดจากการเปนแบรนดระดับโลกที่ใครๆ ก็รูจัก โดยเฉพาะโค ก ไม ว า ผ า นมากี่ ป ๆ ก็ มี ก ารปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลงตั ว เองเพื่ อ ให แ บรนด ดู ทั น สมั ย ตลอดเวลา ไมวาจะเปนการปรับเปลี่ยนโลโกในแตละชวงอายุใหดูอินเทรนด ปรับเปลี่ยนวิธีการทํา โฆษณาประชาสัมพันธ ตลอดจนเสริมกิจกรรมการตลาดที่สามารถเจาะเขาถึงกลุมลูกคาเปาหมาย จะเห็นวารุนพอรุนแมดื่มโคกยังไง เด็กสมัยนี้ก็ยังดื่มโคกอยางนั้นโดยไมมีอาการเคอะเขิน ดังนั้น การที่โคกยืนหยัดอยูที่อันดับ 1 ไมเปลี่ยนแปลงและมีมูลคาแบรนดเพิ่มสูงขึ้น แสดงวาเขาสามารถรักษา ฐานลูกคาเกาไวไดและหาลูกคาใหมมาเติมไดอยางไมหยุดหยอน จริยธรรมองคกรของ Coca-Cola การบริหารจัดการจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของบริษัท จุดมุงหมายของจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจของบริษัท Coca - Cola คือเพื่อใหพนักงาน ของบริษัทปฏิบัติตนไปในทิศทางเดียวกันในการปฏิบัติงานภายในบริษัทและในการติดตอกับผูอื่น ภายนอกบริษัทตลอดจนมีการสรางกระบวนการสําหรับควบคุมและตรวจสอบการฝาฝนจรรยาบรรณ เพื่ อ ให ส ามารถปฏิ บั ติ ง านได อ ย า งสอดคล อ งกั น ทั้ ง องค ก รไม มี ก ฎกติ ก าใดที่ จ ะครอบคลุ ม ได ทุ ก สถานการณแนวทางในการปฏิบัติงานเหลานี้อาจจะแตกตางกันไปบางตามความจําเปนที่จะตองปรับให สอดคลองกับกฎหมายภายในประเทศหรือขอกําหนดในสัญญาที่บริษัทตองปฏิบัติตาม
  • 15. 15 การดําเนินธุรกิจดวยความซื่อสัตย การดําเนินธุรกิจดวยความซื่อสัตยสุจริตทุกหนแหงทั่วโลกการดําเนินธุรกิจของบริษัท Coca - Cola ตั้งอยูบนพื้นฐานของความซื่อสัตยสุจริตควบคูไปกับคานิยมอันทรงคุณคาอื่นๆ ซึ่งไดแกการเปน ผูนําความมุงมั่นความรับผิดชอบตอหนาที่ความรวมมือความหลากหลายและคุณภาพความซื่อสัตย สุจริตจัดเปนแกนหลักของแนวทางการเติบโตของบริษัทความซื่อสัตยสุจริตไดแกการปฏิบัติตนเฉพาะ ในสิ่ ง ที่ ถู ก ต อ งเท า นั้ น การยึ ด มั่ น ในหลั ก การข อ นี้ จ ะช ว ยส ง เสริ ม ภาพลั ก ษณ แ ละชื่ อ เสี ย งที่ ดี แ ละ นาเชื่อถือของบริษัทตลอดจนชวยสงเสริมชื่อเสียงสินคาของบริษัทในประเทศตางๆกวา 200 ประเทศ ทั่วโลกเราทุกคนตองการทําในสิ่งที่ถูกตองเพื่อตัวเราเองและเพื่อบริษัท Coca - Cola จรรยาบรรณใน การดําเนินธุรกิจกําหนดแนวทางที่ถูกตองในการปฏิบัติตนในฐานะตัวแทนของบริษัท Coca - Cola ตลอดจนระบุถึงความรับผิดชอบที่ทุกคนพึงมีตอบริษัทตอพนักงานดวยกันรวมทั้งความรับผิดชอบตอ ลูกคาซัพพลายเออรผูบริโภคและรัฐบาลของประเทศตางๆเราทุกคนตองปฏิบัติตามกฎหมายดวยความ ซื่อสัตยสุจริตในทุกเรื่องและจะตองรับผิดชอบตอการกระทําทุกๆอยางดวยสิ่งที่คาดหวังจากพนักงาน ทุกทานการปฏิบัติตามจรรยาบรรณและกฎหมายตรวจสอบการกระทําของทานและสอบถามถึงแนว ปฏิบัติที่ถกตองหากมีขอสงสัยไมแนใจเกี่ยวกับการกระทําหรือการดําเนินการใดๆใหถามตัวเองวา : ู  • การกระทํานั้นเปนไปตามขอกําหนดของจรรยาบรรณของบริษัทหรือไม • การกระทํานั้นถูกตองตามหลักจริยธรรมหรือไม • การกระทํานั้นถูกตองตามกฎหมายหรือไม • การกระทํานั้นจะสะทอนภาพลักษณที่ดีของทานและของบริษัทหรือไม • ตองการจะไดเห็นขาวที่เกี่ยวของกับการกระทํานั้นในหนาหนังสือพิมพหรือไมหากได คําตอบวา “ไม” ในขอใดก็พงละเวนการกระทําในขอนั้นเสีย ึ ความซื่อสัตยสุจริตภายในบริษัท 1. บันทึกทางธุรกิจและการเงินการจัดทําบันทึกทางธุรกิจและการเงินของบริษัทตองทําอยาง ถูกตองบันทึกทางธุรกิจและการเงินนี้ไมไดจํากัดอยูเฉพาะบันทึกดานการเงินแตยังรวมไปถึงบันทึก ประเภทอื่นๆเชนรายงานคุณภาพรายงานคาใชจายและเอกสารการยื่นขออนุมัติตางๆเชนแบบฟอรมคํา ขอรับสวัสดิการและเอกสารประวัติยอของพนักงานการจัดทําบันทึกทางธุรกิจและการเงินที่ครบถวน ถูกตองไมใชความรับผิดชอบเฉพาะของพนักงานฝายบัญชีและการเงินเทานั้นแตเปนความรับผิดชอบ ของทุกคนในบริษัทการจัดเก็บบันทึกและจัดทํารายงานที่ถูกตองจะเปนภาพสะทอนของชื่อเสียงทีดและ ่ี ความนาเชื่อของบริษัทตลอดจนชวยใหบริษัทสามารถปฏิบัตตามกฎหมายและกฎระเบียบตางๆได ิ
  • 16. 16 2. ทรัพยสินของบริษัท การปกปองรักษาทรัพยสินของบริษัทและใชทรัพยสินเหลานั้นตาม แนวทางที่กําหนดอยาใชทรัพยสินของบริษัทเพื่อประโยชนสวนตนหรือของผูอื่นใดนอกเหนือจากเพื่อ ประโยชนของบริษัท • ใชสามัญสํานึกในการใชทรัพยสินของบริษัทตัวอยางเชนการใชโทรศัพทของบริษัทเพื่อ ติดตอธุระสวนตัวหรือการสงอีเมลจากที่ทํางานเปนครั้งคราวเปนการกระทําที่ยอมรับไดแตหากทํามาก หรือบอยเกินควรจะถือเปนการใชทรัพยสินของบริษัทในทางที่ผิด • นโยบายของบริษัทอาจจะอนุญาตใหใชทรัพยสินบางอยางเพื่อประโยชนสวนบุคคลได ในบางกรณี เ ช น การใช ร ถยนต ห รื อ เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารไร ส ายของบริ ษั ท พนั ก งานจะต อ งตรวจสอบ นโยบายที่เกี่ยวของในหนวยงานเพื่อใหแนใจวาทานใชทรัพยสินของบริษัทอยางถูกตองตามแนวทางที่ กําหนดไวหรือไม 3. การใชขอมูล ไดแกการคุมครองขอมูลที่ไมเปดเผยตอสาธารณชนของบริษัทซึ่งหมายรวมถึง ทุกสิ่งทุกอยางจากขอมูลเกี่ยว กับสัญญาและการตั้งราคาสินคาไปจนถึงแผนการตลาดขอกําหนดดาน เทคนิคและขอมูลของพนักงาน 4. ผลประโยชน ทั บ ซ อ น เป น กฎเกณฑ ที่ พ นั ก งานสามารถนํ า มาใช ไ ด กั บ สถานการณ ที่ มี ผลประโยชนทับซอนเกิดขึ้นพิจารณาวาควรดําเนินการเชนไรในกรณีผลประโยชนทับซอนหากไม แนใจใหติดตอขอทราบแนวทางที่เหมาะสมเพิ่มเติมในการปฏิบัติงานใหบริษัททานตองดําเนินการเพื่อ ประโยชนสูงสุดของบริษัท Coca-Cola เทานั้นผลประโยชนทับซอนจะเกิดขึ้นเมื่อกิจกรรมและ ความสัมพันธสวนตัวของพนักงานขัดแยงหรือมีทีทาวาจะขัดแยงตอการตัดสินใจของพนักงานเพื่อ ประโยชนสูงสุดของบริษัทหากพนักงานเปนผูรับผิดชอบในการคัดเลือกหรือติดตอกับซัพพลายเออรให บริษัทผลประโยชนและความสัมพันธสวนตัวของพนักงานจะตองไมขัดแยงหรือมีทีทาวาจะขัดแยงตอ การตัดสินใจของพนักงานเพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทเมื่อพนักงานตองคัดเลือกซัพพลายเออรให ยึดถือตามแนวทางในการจัดหาพัสดุของบริษัทเสมอ 5. การลงทุนภายนอก หลีกเลี่ยงการลงทุนที่อาจจะมีผลกระทบหรือมีทีทาวาจะมีผลกระทบตอ การตัดสินใจในฐานตัวแทนของบริษัทใหนําแนวทางการปฏิบัติตัวในเรื่องนี้มาใชเมื่อไปถือหุนของ ธุรกิจของลูกคาของซัพลายเออรหรือของคูแขงทางการคาของบริษัท Coca - Cola 6. การทํางานอื่นนอกบริษัทการรับเชิญไปเปนวิทยากรโดยทั่วไปแลวพนักงานอาจจะรับทํางาน ภายนอกบริษัท Coca - Cola ไดตราบเทาที่งานภายนอกนี้ไมขัดขวางความสามารถในการปฏิบัติงาน ใหกับบริษัทพนักงานควรตรวจสอบสัญญาจางและแนวทางปฏิบัติในการทํางานในหนวยงานที่สังกัด อยูเพราะอาจมีการขอจํากัดอยางอื่นเพิ่มเติมอีกก็ได จะตองไมทํางานหรือจัดหาบริการใหหรือไดรับ
  • 17. 17 คาจางจากลูกคาซัพพลายเออรหรือคูแขงทางการคาของบริษัทโดยไมมีหนังสืออนุมัติเปนลายลักษณ อักษรลวงหนาจากผูควบคุมดูแลการปฏิบัติตามจริยธรรมในหนวยธุรกิจที่พนักงานสังกัดและจะตองทํา เรื่องขอขยายหนังสืออนุมัตินี้ทุกป ตองไดรับใบอนุมัติเปนลายลักษณอักษรลวงหนาจากผูควบคุมดูแล การปฏิบัติตามจริยธรรมในหนวยธุรกิจที่สังกัดกอนจะรับเงินคาตอบแทนหรือรับเงินคืนจากคาใชจายที่ สํารองออกไปจากการที่ตอบรับคําเชิญไปเปนวิทยากรนอกบริษัท Coca - Cola 7.การรับของขวัญรับเลี้ยงอาหารและเลี้ยงรับรอง อยารับของขวัญ รับเลี้ยงอาหารหรือเลี้ยง รับรอง หรือรับความชวยเหลืออยางอื่นจากลูกคาหรือซัพพลายเออรหากการกระทําเชนนั้นอาจจะทําให ความสามารถในการตัดสินใจอยางเปนกลางเพื่อรักษาผลประโยชนสูงสุดแกบริษัทลดลงหรือมีทีทาวา จะลดลง การปฏิบตตอผูอื่นดวยความซื่อสัตยสุจริต ั ิ การมีความสัมพันธกับบุคคลภายนอกบริษัท Coca - Cola เปนสิ่งสําคัญยิ่งสําหรับความสําเร็จ ของบริษัททั้งนี้พนักงานตองปฏิบัติตอทุกคนอยางเสมอภาคและถูกตองตามกฎหมาย 1. การปฏิบัติตอเจาหนาที่ของรัฐบาลของประเทศตางๆ เนื่องจากบริษัท Coca - Cola ดําเนิน ธุรกิจในระดับโลกจึงจําเปนตองมีการติดตอกับเจาหนาที่ของรัฐในประเทศตางๆทั่วโลกการติดตอกับ เจา หน าที่ ของรั ฐเหล านี้ไ มเ หมือนกับการติด ต อธุรกิจ กับเอกชนจึงตองมีก ฎเกณฑพิเ ศษที่ว างแนว ทางการปฏิบัติตนของพนักงานตอบุคคลเหลานี้ในการดําเนินงานเพื่อใหแนใจวาพนักงานทราบวามี กฎหมายเหลานี้ตลอดจนเขาใจและปฏิบัติตามไดอยางถูกตองควรขอคําแนะนําจากที่ปรึกษากฎหมาย ของบริษัทเพื่อใหแนใจวาพนักงานเขาใจเพื่อที่จะปฏิบัติตามไดถูกตองโดยทั่วไปแลวอยาเสนอใหสิ่งใด แกเจาหนาที่ของรัฐไมวาจะโดยตรงหรือโดยออมเพื่อแลกกับการใหเจาหนาที่ปฏิบัติตอทานดีเปนพิเศษ ตองมีหนังสืออนุมัติลวงหนาจากที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทกอนจะจัดหาสิ่งของที่มีมูลคาใหแก เจาหนาที่ของรัฐและจะตองใหแนใจวาไดบันทึกการใชจายนั้นไวในบัญชีของบริษัทอยางเหมาะสม 2. การปฏิบัติตอลูกคาซัพพลายเออรและผูบริโภค บริษัทใหความสําคัญตอการเปนหุนสวนกับ ลูกคาซัพพลายเออรและผูบริโภคและปฏิบัติตอกลุมคนเหลานี้ในแนวทางเดียวกันกับที่เราคาดหวังให ผูอื่นปฏิบัติตอเรา 3. การปฏิบัติตอคูแขงทางการคา ความสัมพันธกับคูแขงทางการคาเปนเรื่องที่ละเอียดออนมาก ใหใชความระมัดระวังในการปฏิบัติตอคูแขงและการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับคูแขงทางการคาตองทํา อยางรอบคอบกฎหมายแขงขันทางการคา บริษัท Coca - Cola ดําเนินการแขงขันทางการคาอยาง ยุติธรรมและปฏิบัติตามกฎหมายแขงขันทางการคาที่ใชบังคับทั่วโลกกฎหมายเหลานี้มักเปนกฎหมายที่ ซับซอนและแตกตางกันไปในแตละประเทศทั้งในดานเนื้อหาและขอบเขตทางภูมิศาสตรที่กฎหมาย
  • 18. 18 ครอบคลุม ไปถึ ง วิ ธี ก ารดํ า เนิ น ธุ รกิ จ ที่ส ามารถทํ า ได ใ นประเทศหนึ่ ง อาจถู ก จั ด วา เปน วิ ธีก ารที่ ผิ ด กฎหมายในอีกประเทศหนึ่งก็ไดการฝาฝนในเรื่องนี้มักมีกฎหมาบทลงโทษที่รายแรงดวยเหตุนี้บริษัทจึง ไดนําแนวปฏิบัติเกี่ยวกับกฎหมายการแขงขันทางการคามาใชในหลายพื้นที่ทั่วโลก ลักษณะการดําเนินธุรกิจ การดําเนินธุรกิจของ Coca - Cola เปนลักษณะการควบคุมธุรกิจจากบนลงลาง ก็เพื่อ ผลประโยชนสูงสุดของบริษัท จากยุคเริ่มแรกที่จัดจําหนายเพียงหัวเชื้อของผลิตภัณฑอยางเดียว สวน การบรรจุขวดและจัดจําหนายจะเปนของผูประกอบการรายยอยอื่นๆ ดังนั้น ตอมาโคกจึงไดเปลี่ยน รู ป แบบธุ ร กิ จ ใหม เ ป น โค ก แบบชนิ ด พกพา นั่ น คื อ การควบรวมทั้ ง การผลิ ต หั ว เชื้ อ และการบรรจุ ผลิตภัณฑเพื่อจัดจําหนาย ซึ่งสงผลตอยอดขายที่มากขึ้นกวายอดขายจากการจัดจําหนายหัวเชื้อเพียง อยางเดียว แตนั่นกลับทําใหบริษัทยุงยากมากขึ้น เมื่อมีผูประกอบการแตละรายก็ตางตองการที่จะแยงชิง ตลาดโคกขวด ดังนั้นบริษัทจึงจําเปนตองกําจัดอํานาจของผูประกอบการเหลานี้ โดยใชกลยุทธใหม ในบรรดาตลาดเครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอลในสหรัฐอเมริกา ชวงทศวรรษที่ 1990 ตลาด Coca - Cola ยังครองสวนแบงการตลาดเปนอันดับที่ 1 คือ 60% - 70% นอกเหนือจาก น้ํามะนาว รูทเบียร น้ําสม และอื่น ๆ บริษัทประสบความสําเร็จเปนอยางมากจากกลุมผูบริหารภายใตการนําของโรแบรโต กอยซูเอตา และ ดั๊ก ไอเวสเตอรที่มีวิสัยทัศนในการวางรากฐานกลยุทธใหม โดยเพื่อผลประโยชนของ นักลงทุนซึ่งทําใหโคก มีอํานาจผูกขาดในธุรกิจการบรรจุและจัดจําหนายแตเพียงผูเดียวทําให Coca - Colaไดชื่อวาเปนแบรนดเครื่องดื่มที่อยูในใจของผูบริโภคมาตลอดกวา 125 ป จนกระทั่งกาวขึ้นมาเปน แบรนดอันดับ 1 ของโลกได ซึ่งผูประกอบการที่เกี่ยวเนื่องในอุตสาหกรรมเหลานี้ประกอบดวย 4 สวนหลักไดแก 1. ผูผลิตหัวเชื้อน้ําหวาน เปนผูทําหนาที่นําวัตถุดิบมาผสมกัน (ยกเวนสารใหความหวาน) และ สงไปยังผูบรรจุขวด การลงทุนในสินทรัพยของผูผลิตไมมากนัก แตจะตองลงทุนสูงในเรื่องของการ โฆษณาประชาสั มพัน ธ การวางแผนการผลิต การทําวิจัยทางการตลาด กิจกรรมทางการตลาดกับ ผูบริโภค การทําเครื่องหมายการคา รวมถึงการพัฒนาความสามารถของผูบรรจุขวด 2. ผูบรรจุขวด จะมีสัญญากับทางผูผลิตหัวเชื้อน้ําหวานในการทําการเติมสารใหความหวาน และบรรจุ ข วด พร อมทั้ งส งไปยัง รา นจํา หน าย เช น ซุ ปเปอรมาร เ ก็ต รวมถึงดูแ ลการจั ด วางสิน ค า การโฆษณา ณ จุดขาย การจัด Layout ในการลงทุนของผูบรรจุขวด สวนใหญตองลงทุนในสินทรัพย ประเภทเครื่องจักรมากที่สุด ในเริ่มแรกการทําสัญญากันระหวางผูผลิตหัวเชื้อน้ําหวานและผูบรรจุขวด จะทําในลักษณะเฟรนไชน
  • 19. 19 3. รานคา ในป 2000 ชองทางการจัดจําหนายของน้ําอัดลมในสหรัฐอเมริกาจะผานทาง รานอาหาร 35% ผาน ทางที่จําหนายน้ําอัดลมแบบกด (Fountain Outlet) 23% ตูจําหนายเครื่องดื่ม อัตโนมัติ 14% รานสะดวกซื้อ 9% และอื่นๆ อีก 20% ไดแก รานที่เปนแบบคลังสินคาแบบสมาชิกราน ขายยา ตนทุนมีผลมากจากวิธีการและความถี่ในการสง 4. ผูจัดจําหนายวัตถุดิบใหกับหัวเชื้อน้ําหวานและผูบรรจุขวด วัตถุดิบที่จําหนายใหแกผูผลิตหัว เชื้อน้ําหวาน ไดแก สี คาราเมล กรดฟอสฟอริก กรดผลไม สารปรุงรสจากธรรมชาติ และคาเฟอี น สวนวัตถุดิบที่จําหนายใหแกผูบรรจุขวด ไดแก บรรจุภัณฑ ประเภท กระปอง ขวดพลาสติก ขวดแกว และสารใหความหวาน ประเภทน้ําตาล และฟรุคโตส การแขงขัน การแขงขันในตลาดโลก ในปจจุบันวิกฤตเศรษฐกิจสงผลตอธุรกิจทั่วทั้งโลก ซึ่งในตลาดน้ําอัดลมก็จําเปนตองปรับตัว เขากับสภาพเศรษฐกิจในปจจุบันเชนกัน Coca - Colaก็ไดตระหนักถึงจุดนี้เปนอยางดี โดยเพื่อ ตอบสนองความตองการของผูบริโภค ที่ตองการความสะดวกสบาย และความคุมคาคุมราคา จึงได ปรับปรุงพัฒนา "Packaging Size" ซึ่งนับเปนนวัตกรรม Packaging ในรูปแบบหลากหลายขนาดออกสู ตลาด เพื่อตอบโจทยของผูบริโภค ขณะเดียวกันแนวโนมการแขงขันของตลาดน้ําอัดลม ณ เวลานี้ กําลัง มุงไปในทิศทางการพัฒนา Packaging เนื่องดวย Packaging มีสวนสําคัญอยางมากในการบงบอกถึง ความแตกตางใหแก แบรนด และผลิตภัณฑ การแขงขันในตลาดน้ําอัดลมนิยมนําเสนอผานการสรางรสชาติใหมๆ อยางตอเนื่อง แตสุดทาย ยอดขายหลักก็ยังคงตายตัวอยูที่รสชาติดั้งเดิมที่ผูบริโภคคุนเคยทั้ง Coke และ Pepsi (บริษัทคูแขง) เอง ตางพยายามดึงเอาดีไซนใหมๆ มาสรางความแปลกใหม โดยเลนลวดลายบนกระปองเครื่องดื่ม แตใน ปจจุบันนอกจากดีไซนลวดลายบน Packaging แลว Coke ยังสงกลยุทธใหม "Pack Size" ขนาดตางๆ ทั้ง ในรูปแบบกระปอง และขวด PET เขาสูชองทางการจําหนายตางๆ และบาง Pack Size ใชเพื่อเจาะ ชองทางการตลาดโดยเฉพาะ เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคในแตละโอกาส และพฤติกรรม การบริโภคโดยเฉพาะอยางยิ่งการจําหนายในชองทางเฉพาะเปนขนาดพกพาสะดวก ปริมาณกําลังดี "Sleek Can" นับเปนโอกาสในการขยายตลาดดวยการพัฒนา Packaging ก็เขามามีบทบาทในตลาด น้ําอัดลมเปนอยางมาก
  • 20. 20 การแขงขันในประเทศไทย โครงสรางของตลาดอุตสาหกรรมน้ําอัดลมในประเทศไทยแบงออกเปนคายใหญๆ ได 2 คาย คือ “โคก” และ เปปซี่” โดยมีบริษัทไทยน้ําทิพย จํากัด เปนผูผลิตและจําหนายผลิตภัณฑ Coca - Cola และมีบริษัท เสริมสุข จํากัด (มหาชน) เปนผูผลิตและจําหนายผลิตภัณฑ “เปปซี่” นอกจากนี้ ยังมีบริษัท กรีนสปอต (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไบเลย จํากัด และบริษัทยอยๆ อีก 2-3 รายที่อยูในอุตสาหกรรม นี้ซึ่งแบงตามดานตางๆ ดังนี้ 1. ดานผลิตภัณฑ (Products)Coca - Colaไมไดเนนในธุรกิจกลุมน้ําอัดลม (Carbonate) อยางจริงจัง ซึ่งอาจจะเปนเพราะตลาดน้ําอัดลมมีอัตราการขยายตัวเพียงเล็กนอย คือประมาณ 1 - 3% หากสินคาตัวไหน ที่มีโอกาสเติบโตในตลาด ทางบริษัท Coca - Cola ก็จะลงไปทําตลาดทันที โคกจึง ยังคงอยูบนปรัชญาที่มีการพัฒนาสินคาอยางตอเนื่อง เพิ่ม Product Line ทําใหเกิด รสชาติใหมขึ้นเพื่อ สรางฐานลูกคาใหมๆ และพัฒนา Package แบบตางๆ มากขึ้น เพื่อสรางความแปลกใหม สะดวกตอการ ขนสงและเก็บรักษาเนนทําการตลาดที่เปนที่รูจักและรูใจผูบริโภค ทําใหคูแขงสําคัญอยางเปปซี่ครอง ตําแหนงผูนําตลาดน้ําอัดลมยาวนานกวา 5 ป มีเพียงไมกี่ประเทศในโลกที่เปปซี่ชนะโคก และยังเปน ประเทศเดียวที่ผูบรรจุขวดไดรับรางวัล Bottler of the year สองปซอนจากบริษัท เปปซี่ - โคลา อินเตอร เนชั่นแนล ในฐานะที่เปนผูผลิตและจัดจําหนายเครื่องดื่ม เปปซี่ยอดเยี่ยมประจําภูมิภาคเอเชียแปซิฟก เปปซี่มีการพัฒนาสินคาและเพิ่ม Product Line มีรสชาติใหมๆออกมาอยางตอเนื่อง เพื่อขยายฐานกลุม ลูกคา และเพื่อรักษาภาพลักษณความทันสมัยตอคนรุนใหมเปปซี่ไดเปลี่ยนโลโกและ Package ของ สินคาอยางตอเนื่อง ดานกระแสสุขภาพเปบซี่สง เปปซี่ แมกซ เขามาตีตลาดตั้งแตป 2545 แตกระแส ตอบรับเวลานั้นนอยมาก เพราะผูบริโภคชาวไทยสมัยนั้นยังไมสนใจกับเรื่องสุขภาพแตปจจุบันเปปซี่ แมกซ ไดกลับมาอีกครั้งจากนั้นอีกไมถึงป โคกก็สง “โคก ซีโร” เขามาประชันในตลาดนี้ดวย ดานหนึ่ง ดูเหมือนจะฟาดฟนกัน แตอีกดานหนึ่งคือการรวมมือกันผลักดัน ผลิตภัณฑ เพื่อรับกับกระแสสุขภาพ ที่มาแรงและชัดเจนขึ้นทุกขณะในปจจุบัน 2. ดานราคา (Price)การกําหนดราคาในอุตสาหกรรมน้ําอัดลม จะกําหนดโดยผูนําตลาด ที่ มีอํานาจตลาดจากการครองสวนแบงตลาดรวมกันสูงสุด (Dominant Firm)และเพื่อหลีกเลี่ยงปญหาดาน ราคา ผูผลิตขนาดกลางและรายยอยจึงยอมใหผูผลิตขนาดใหญเปนผูนําราคา การตั้งราคาน้ําอัดลมจึง เปนแบบ Uniform pricing โดยตั้งราคาเดียวกันในปริมาณเดียวกันทุกรายเนื่องจากน้ําอัดลมเปนสินคา ที่สามารถใชทดแทนกันได (Substitute) หากมีการเปลี่ยนแปลงราคาแมเพียงนิดเดียวก็จะสงผลให ปริมาณการบริโภคเปลี่ยนแปลงไปอยางมากทําใหน้ําอัดลมทุกยี่หอมีราคาจําหนายปลีกที่เทากัน ดังนี้
  • 21. 21 ตารางจําแนกราคาจําหนายปลีกของน้าอัดลม ํ ขนาด ราคา 6 oz. ขวดละ 6 บาท 6.5 oz. ขวดละ 6.50 บาท 10 oz. ขวดละ 8 บาท 15 oz. ขวดละ 9 บาท 21 oz. ขวดละ 12 บาท 35 oz. ขวดละ 17 บาท 250 ซีซี คูลแฮนด ขวดละ 10 บาท 500 ซีซี ขวดละ 17 บาท 325 ซีซี กระปองละ 14 บาท 1.25 ลิตร ขวดละ 26 บาท 2 ลิตร ขวดละ 38 บาท 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 1.2.1 ศึกษาและสังเคราะห การปรับเปลี่ยนหรือแปลงองคกร (Corporate Transformation) ตั้งแต เริ่มกิจการจนถึงปจจุบัน 1.2.2 ศึกษาประเด็นของการเปลี่ยนแปลงในการดําเนินธุรกิจของ บริษัท Coca - Cola 1.2.3ศึกษาธุรกิจของบริษัทขามชาติที่ประสบความสําเร็จและยั่งยืน 1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1.3.1 เพื่อทําใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงในการดําเนินธุรกิจของ บริษัท Coca - Cola 1.3.2 เพื่ อใช เ ปนแผนปฏิ บัติการในการนํามาปรั บ ใช กับธุรกิ จ ใหมีประสิทธิภาพและบรรลุ ประสิทธิผล 1.3.3 เพื่อไดเห็นรูปแบบการดําเนินธุรกิจโดยเนนวัฒนธรรมองคกร ที่มความรับผิดชอบตอสังคม ี และสิ่งแวดลอมและมีจริยธรรมองคกรที่ชัดเจน 1.3.4 เพื่อใหทราบถึงการตอยอดธุรกิจในดานการพัฒนาผลิตภัณฑที่หลากหลาย 1.3.5 เพื่อใหทราบถึงกลยุทธทางการบริหาร การตลาด ของ Coca – Cola ที่นํามาใชกับธุรกิจ
  • 22. บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม 2.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ ทฤษฎีสนทนาโนมนาว(the persuasive-discussion theory) ซึ่งพัฒนามาจากประสบการณ ของ Kurt Lewin ในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ทําการทดลองวาคนเปลี่ยนแปลงตัวเองสาเร็จได อยางไรโดยเฉพาะการละลายทัศนคติการกินเนื้อสัตวในรูปแบบเดิมในระหวางสงครามเขาทําการ เปรียบเทียบกลุมแมบาน 2 กลุมกลุมที่หนึ่งรับฟงการบรรยายจากผูเชี่ยวชาญดานอาหารสวนอีกกลุม  หนึ่ งเขารวมในการสนทนาที่ ไดรับการแนะนาโดยผูเชี่ ยวชาญจากการศึกษาทดลองพบว ากลุม แมบานที่เขารวมกลุมสนทนาแสดงใหเห็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอยางเดนชัด Lewin จึงโตแยง วามีปจจัยสําคัญ 2 ประการที่เปนสาเหตุหรือสามารถอธิบายเกี่ยวกับความแตกตางของพฤติกรรม ดังกลาวประการแรกคือการสนทนานําไปสูการมีสวนรวมสวนบุคคล (personal involvement) สวน อีกประการหนึ่งคือการสนทนาเปดโอกาสใหผูนําทราบวาผูเปนเปาหมายของการเปลี่ยนแปลงมี จุดยืน (stance) อยางไรและตองเอาชนะอุปสรรค(obstacles) อะไรเพื่อที่จะผลักดันใหเกิดการ เปลี่ยนแปลง ทฤษฎีไฟกําลังไหมบาน(the burning platform theory) นักวิชาการระดับชั้นครูหลายคนดาน การเปลี่ยนแปลงองคการมักอางถึงและใชทฤษฎีนี้เปนสวนประกอบของรูปแบบการเปลี่ยนแปลง ของตนโดยทฤษฎีนี้มีขอโตแยงวาการเปลี่ยนแปลงเปนเปนสิ่งที่มีความยากลําบากแตความลมเหลว ที่จะเปลี่ยนเปนสิ่งที่ยากลําบากมากกวาที่ปรึกษาดานการจัดการมักใชทฤษฎีและหลักการดังกลาว โดยอางวาการกระตุนใหคนเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนยายคนจําเปนตองบอกใหเขารูวาบานกําลังไหม คนสวนใหญมักจะทําอะไรตามแบบเดิมที่ตัวเองเคยชินจนกวาจะเกิดความรูสึกวาบานหรือองคการ กําลังไหม ไฟอยูแล ว จึง จะริเ ริ่มปรับตัวและเปลี่ยนแปลงดังนั้นทฤษฎีไฟกาลังไหมบานนี้จึงถูก นําไปใชกันมากในวงการและบริบททางธุรกิจโดยเฉพาะในรูปของภัยคุกคาม (threats) ที่กําลังเขามา สั่นคลอนองคการธุรกิจ Kotter (1996) เสนอหลักการวาบทบาทของผูนําคือการทําใหเกิดความ ตระหนักและความรูสึกของความรีบเรง (sense of urgency) ในองคการความเจริญกาวหนาหรือ แมแตความอยูรอดขององคการกาลังอยูในสภาวะอันตรายปรากฏการณที่สะทอนถึงไฟกําลังไหม บานอาจครอบคลุมตั้งแตการที่ลูกคาไมพอใจผูปอนสินคาไมสบายใจและกลุมรวมไดเสียประโยชน กาลังโกรธขึ้งเปนตน
  • 23. 23 ทฤษฎีกดดันจากผูนํา(the leader-pressure theory) ซึ่งเนนความสําคัญของการมีพันธะสวน บุคคล (personal commitment) ของผูบริหารระดับสูงสุดขององคการตอการเปลี่ยนแปลงเมื่อผูนํา สนับสนุนและเอาจริงเอาจังกับการเปลี่ยนแปลงผูปฏิบัติงานในระดับลางไมอาจอยูเฉยหรือทําตัว ตามความเคยชิ น เช น เดิ ม แต ต อ งตื่น ตั ว และปรั บตัว ให ส อดคลอ งกับ แรงกดดั น ที่ม าจากขา งบน นักวิชาการหลายคนใหความสนใจในทฤษฎีนี้ตัวอยางเชน Kotter (1992) กลาววาการเอาชนะการ ตอตานการเปลี่ยนแปลงไมสามารถทําไดถาปราศจากแรงกดดันอยางตอเนื่องจากผูนําที่กระทําตอ คนระดับลางขององคการที่อยูในภาวะความลังเลวาจะเดินทางไปทางใดในขณะเดียวกัน Hammer and Stanton (1995) ใหขอสรุปวาการเปลี่ยนแปลงจะสําเร็จไดก็ตอเมื่อไดรับการขับเคลื่อนโดยผูนํา ระดับสูงขององคการอยางไรก็ตามเปนที่นาสังเกตวาทฤษฎีริเริ่มการเปลี่ยนแปลงที่ผูกติดอยูกับ กรอบคิดดั้งเดิมดังกลาวขางตนเนนขอสมมติพฤติกรรมมีเหตุผล(rational behavior) ทั้งในระดับ บุคคลและองคการแตมองขามมิติสําคัญที่เปนจริงขององคการอีกดานหนึ่งคือการเมืองในองคการซึ่ง ตัวแบบของ Kanter, et.al (1992) ไดกลาวถึงไวอยางชัดเจนเกี่ยวกับความจําเปนของการระดมการ สนับสนุนดานการเมืองตัวแบบของ Kotter (1996) เนนการกระจายอํานาจและใหอํานาจในระดับ ฐานรากเพื่อกระตุนใหเกิดการเคลื่อนไหวในขอบเขตกวางและตัวแบบของCumming and Worley (1993) ไดระบุใหเห็นความสําคัญของการพัฒนาการสนับสนุนดานการเมืองดังนั้นการอธิบาย แนวทางทางการเมืองเกี่ยวกับการิเริ่มการเปลี่ยนแปลงองคการจึงมีความจําเปน ทฤษฎีความไมพอใจระดับปฏิบัติการ(the front-line discontent theory) ความไมพอใจระดับ ปฏิบัติการในองคการอาจจะมีสาเหตุหรือเงื่อนไขหลายประการอาทิความตองการความเปนอิสระใน การปฏิบัติงานไมชอบกฎระเบียบการปฏิบัติที่ไมสะดวกกับการทางานปริมาณงานมากเกินไปลูกคา ไมพอใจกับการใหบริการและผลงานไมไดตามเปาหมายที่ตองการเปนตน Kelman (2005) ศึกษา ความไมพอใจกับสภาพการปฏิบัติงานในดานตางๆดังกลาวนี้เปนจุดริเริ่มการเปลี่ยนแปลงองคการที่ สําคัญ 1. ทฤษฎีสวนประสมทางการตลาด ส ว นประสมทางการตลาด(Marketing Mix) ของสิ น ค า นั้ น โดยพื้ น ฐาน จะมีอยู4 ตัวไดแก ผลิตภัณฑ ราคา ชองทางการจัดจําหนาย และการสงเสริมการตลาด (Kotler, 1997) แต ส ว นประสมทางการตลาดของตลาดบริ ก ารจะมี ค วามแตกต า งจากส วนประสมทาง การตลาดของสิ นค าทั่ วไป กล าวคื อ จะต องมี การเน นถึ งพนั กงาน กระบวนการให บริ การ และ สิ่งแวดลอมทางกายภาพซึ่งทั้งสามสวนประสมเปนปจจัยหลักในการสงมอบบริการ ดังนั้น สวน ประสมทางการตลาดของการบริการจึงประกอบดวย 8Ps ไดแก ผลิตภัณฑ ราคา ชองทางการจัด
  • 24. 24 จําหนาย การสงเสริมการตลาดพนักงาน กระบวนการใหบริการ สิ่งแวดลอมทางกายภาพ การบรรจุ ภัณฑ ดังนี้ (Payne, 1993) 1.1 สวนประสมทางการตลาดของการบริการจึงประกอบดวย 8Ps 1.1.1 ผลิตภัณฑ (ProductP;1) บริ ก ารจะเป น ผลิ ต ภั ณ ฑ อ ย า งหนึ่ ง แต เ ป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ม มี ตั ว ตน (Intangible Product) ไม ส ามารถจั บ ต อ งได มี ลั ก ษณะเป น อาการนามไม ว า จะเป น ความสะดวก ความรวดเร็ว ความสบายตัว ความสบายใจ การใหความเห็น การใหคาปรึกษา เปนตน ํ บริ การจะต องมี คุ ณภาพเช นเดี ยวกั บสิ นค าแต คุ ณภาพของบริ การจะต อง ประกอบมาจากหลายปจจัยที่ประกอบกันทั้งความรู ความสามารถ และประสบการณของพนักงาน ความทันสมัยของอุปกรณ ความรวดเร็วและตอเนื่องของขั้นตอนการสงมอบบริการ ความสวยงาม ของอาคารสถานที่รวมถึงอัธยาศัยไมตรี ของพนักงานทุกคน ประเภทของการบริการสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ 1)บริการจําเปน เปนบริการที่เกิดขึ้นเปนครั้งคราว ลูกคามีความจําเปนตองมาใชบริการอาจจะ เนื่องจากสภาพรางกาย เวลา การปองกันความเสี่ยงและปจจัยอื่น ๆ หากไมมาใชบริการอาจจะทําให รางกายไมแข็งแรงไมกลับสูสภาวะปกติ และเสียเวลา เชน บริการทางดานการขนสงรักษาพยาบาล ตัดผม ทันตกรรม ประกันชีวิต ประกันภัย 2)บริการฟุมเฟอย เปนบริการที่เกิดเปนครั้งคราวเชนกัน แตลูกคาไมจําเปนตองมาใชบริการ สาเหตุของการใชบริการประเภทนี้ คือ ความตองการดานความสวยความงาม ความทันสมัย เชน บริการทําศัลยกรรมความงาม บริการทําสีผม ทําเล็บ บริการทองเที่ยว 1.1.2ราคา ( Price ; P2) ราคาเปนสิ่งที่กําหนดรายไดของกิจการ กลาวคือ การตั้งราคาสูงก็จะทําใหธุรกิจมี รายไดสูงขึ้น การตั้งราคาต่ําก็จะทําใหรายไดของธุรกิจนั้นต่ํา ซึ่งอาจจะนําไปสูภาวะขาดทุนได อยางไรก็ตามก็มิไดหมายความวาธุรกิจหนึ่งจะตั้งราคาไดตามใจชอบ ธุรกิจจะตองอยูในสภาวะของ การมีคูแขงขันหากตั้งราคาสูงกวาคูแขงขัน แตบริการของธุรกิจนั้นไมไดมีคุณภาพสูงกวาคูแขงขัน มากเทากับราคาที่เพิ่ม ยอมทําใหลูกคาไมใชบริการกับธุรกิจนั้นตอไป หากธุรกิจตั้งราคาต่ํากวาก็จะ นํามาสูสงครามราคา เนื่องจากคูแขงขันรายอื่นสามารถลดราคาตามไดในเวลาอันรวดเร็ว ในมุมมองของลูกคา การตั้งราคามีผลเปนอยางมากตอการตัดสินใจซื้อบริการของ ลูกคาและราคาของการบริการเปนปจจัยสําคัญในการบอกถึงคุณภาพที่จะไดรับ กลาวคือ ราคาสูง คุณภาพสูง ในการบริการนาจะสูงดวย ทําใหมโนภาพหรือความคาดหวังของลูกคาตอบริการที่ ไดรับจะสูงดวยแตผลที่ ตามมาคือ บริการตองมี คุณ ภาพตอบสนองความคาดหวังของลูกค าได
  • 25. 25 ในขณะที่การตั้งราคาต่ํา ลูกคามักคิดวาจะไดรับบริการที่มีคุณภาพดอยตามไปดวย ซึ่งถาหากต่ํา มากๆ ลูกคาอาจจะไมใชบริการได เนื่องจากไมกลาเสี่ยงตอบริการที่จะไดรับ 1.1.3ชองทางการจัดจําหนาย ( Place ; P3) ในการใหบริการนั้น สามารถใหบริการผานชองทางการจัดจําหนายได 4 วิธี คือ (ประยุกตจาก Zeithaml and Bitner,1996) 1)การใหบริการผานราน (Outlet) การใหบริการแบบนี้เปนแบบที่ทํากันมา นาน เชน รานตัดผม รานซักรีด รานใหบริการอินเตอรเน็ต ใหบริการดวยการเปดรานคาตาม ตึกแถวในชุมชนหรือในหางสรรพสินคา แลวขยายสาขาออกไปเพื่อใหบริการลูกคาไดสูงสุด โดย รานประเภทนี้มีวัตถุประสงคเพื่อทําใหผูรับบริการและผูใหบริการมาพบกัน ณ สถานที่แหงหนึ่ง โดยการเปดรานคาขึ้นมา 2)การใหบริการถึงที่บานลูกคาหรือสถานที่ที่ลูกคาตองการ การใหบริการ แบบนี้เปนการสงพนักงานไปใหบริการถึงที่บานลูกคาหรือสถานที่อื่นตามความสะดวกของลูกคา เชน การบริการจัดสงอาหารตามสั่ง การใหบริการสงพยาบาลไปดูแลผูปวย การสงพนักงานทํา ความสะอาดไปทําความสะอาดอาคาร การบริการปรึกษาคดีถึงที่ทํางานลูกคา การจางวิทยากรมา ฝกอบรมที่โรงแรมแหงหนึ่ง การใหบริการแบบนี้ธุรกิจไมตองมีการจัดตั้งสํานักงานที่หรูหราหรือ การเปดเปนรานคาใหบริการ สํานักงานอาจจะเปนบานเจาของ หรืออาจจะมีสํานักงานแยกตางหาก แตลูกคาติดตอธุรกิจดวยการใชโทรศัพทหรือโทรสาร เปนตน 3)การใหบริการผานตัวแทน การใหบริการแบบนี้เปนการขยายธุรกิจดวยการ ขายแฟรนไชส หรือการจัดตั้งตัวแทนในการใหบริการ เชน แมคโดนัลดหรือเคเอฟซีที่ขยายไปทั่วโลก บริษัทการบินไทยขายตั๋วเครื่องบินผานบริษัททองเที่ยว และโรงแรมตางๆ ไมวาจะเปนเชอราตัน แมริออตต เปนตน 4)การให บ ริ ก ารผ า นทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส การให บ ริ ก ารประเภทนี้ เปนการใหบริการที่คอนขางใหม โดยอาศัยเทคโนโลยีมาชวยลดตนทุนจากการจางพนักงาน เพื่อ ทําใหการบริการเปนไปไดอยางสะดวกและทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง เชน การใหบริการผานเครื่อง เอทีเอ็ม เครื่องแลกเงินตราตางประเทศ เกาอี้นวดอัตโนมัติ เครื่องชั่งน้ําหนักหยอดเหรียญตาม ศูนยการคา การใหบริการดาวนโหลด (Download) ขอมูลจากสื่ออินเทอรเน็ต 1.1.4การสงเสริมการตลาด (Promotion ; P4) การส งเสริ มการตลาดของธุ รกิจบริ การจะมี ความคลายกั บธุ รกิ จขายสิ นค า กลาวคือ การสงเสริมการตลาดของธุรกิจบริการทําไดในทุกรูปแบบ ไมวาจะเปนการโฆษณา การ ประชาสัมพันธ การใหขาว การลดแลกแจกแถม การตลาดทางตรงผานสื่อตางๆ ซึ่งการบริการที่