SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
นศ.ทพ. สุรจฉรา ชัยราช
                                                                                                                            ั                                     1
                                                                                                                      4813590108
                                         Review literature: Vital pulp therapy
           การรักษาเนื้อเยื่อโพรงประสาทแบบคงความมีชวต เป็ นกระบวนการรักษาทีทาเพื่อลดการเกิดภยัน
                                                                               ีิ                                               ่
อันตรายต่อเนื้อเยื่อโพรงประสาท ซึงอาจมาจากการลุกลามของฟนผุ จากอุบตเหตุ หรือจากสาเหตุอ่นๆ และ
                                                   ่                                           ั                  ั ิ                                   ื
เพื่อรักษาความมีชวตของเนื้อเยื่อโพรงประสาทที่เหลืออยู่ไว้ ด้วยการปิ ดด้วยวัสดุทสามารถป้องกันเนื้อเยื่อ
                           ีิ                                                                                                ่ี
โพรงประสาทได้ และหวังผลให้เกิดการหายและการซ่อมแซมเกิดขึน โดยเฉพาะในฟนแท้ท่ยงมีการสร้าง             ้ [1]                              ั       ี ั
รากไม่สมบูรณ์ ก็หวังผลให้เกิดการสร้างรากต่อไปจนสมบูรณ์ในทีสด                                 ุ่
                                                                    ั
           เทคนิคในการรักษาเนื้อเยื่อในโพรงฟนแบบคงความมีชวต ได้แก่ การทา indirect pulp capping,
                                                                                             ีิ
direct pulp capping, partial pulpotomy และ full pulpotomy ซึงแต่ละวิธจะมีขอบ่งใช้และวิธการทีแตกต่าง
                                                                                             ่                ี         ้                   ี         ่
กัน และมีป    ัจจัยหลายอย่างที่ส่งผลต่อความสาเร็จของการรักษา ซึ่งในทบทวนวรรณกรรมฉบับนี้จะขอกล่าว
เทคนิคการทา pulpotomy รวมถึงรายละเอียดข้อดี ข้อเสียต่างๆ ของวัสดุทใช้ในการทา                             ่ี
                                                                          [2, 3]
ปัจจัยที่มีผลต่อความสาเร็จของ vital pulp therapy
           1. โพรงประสาททีปราศจากการอักเสบ
                                         ่
           เนื่องจากเนื้อเยือโพรงประสาททีมสภาพดีจะมีเป็ นส่วนสาคัญทีจะทาให้การรักษาประสบความสาเร็จ
                                   ่                       ่ ี                                         ่
ได้ และหากบริเวณที่มการทะลุโพรงประสาทไม่มความสมบูรณ์ แล้ว ทางเลือกในการรักษาด้วยวิธี partial
                               ี                                      ี
pulpotomy ก็เป็ นเทคนิคทีสามารถนามาใช้ในการรักษาได้
                                     ่
           2. การควบคุมการมีเลือดออก
           มีการศึกษาเกี่ยวกับความล้มเหลวของการรักษากับการมีเลือดออกพบว่า มีความล้มเหลวสูงสุดใน
กลุ่มที่มเลือดออกมากเทียบกับกลุ่มที่มเลือดออกปานกลางและออกน้อย ดังนันลักษณะอย่างหนึ่งที่สามาถ
         ี                                               ี                                                            ้
ช่วยคาดการณ์ถึงการประสบความสาเร็จในการรักษาคือ ควรมีเลือดออกน้ อยและสามารถห้ามเลือดได้ใน
ระยะเวลาไม่นาน ซึงการห้ามเลือดจากเนื้อเยือโพรงประสาทนันมีหลายวิธี ได้แก่ การใช้กอนสาลีแห้งกด หรือ
                           ่                                    ่                   ้                                                   ้
การใช้สาลีชุบน้ าเกลือ ไฮโดรเจน เปอร์ออกไซด์ (hydrogen peroxide) หรือสารอื่นๆ นอกจากนี้ยงมี                                                                 ั
การศึกษาทีแนะนาให้ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (sodium hypochlorite) ความเข้มข้นร้อยละ 2.53 หรือ 5.25
               ่
โดยในระยะแรกมีการศึกษาถึงการใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์เป็ นสารห้ามเลือด Senia และคณะ แสดงถึงการใช้
โซเดียมไฮโปคลอไรท์ซ่ึงมีประสิทธิภาพมากกว่าน้ าเกลือ และโซเดียมไฮโปคลอไรท์จะออกฤทธิ ์เฉพาะผิว
เซลล์ด้านบนเท่านัน ไม่ส่งผลต่อต่อเนื้อเยื่อโพรงประสาทที่อยู่ลึกลงไป นอกจากนี้ยงมีรายงานถึงการใช้
                             ้                                                                                                      ั
คลอเฮกซิดน (chlorhexidine) มาช่วยในการห้ามเลือดในระหว่างการทา pulp capping ได้อย่างมี
                 ี
ประสิทธิภาพ โดยคลอเฮกซิดนมีคุณสมบัตฆาเชือแบคทีเรียและไม่เป็ นพิษต่อเนื้อเยือ
                                           ี                 ิ ่ ้                                                        ่
                                                     [2-4]
           3. Pulp capping material
                                 ั
การเลือกวัสดุทใช้เป็ นปจจัยหนึ่งทีสงผลต่อความสาเร็จในการทา vital pulp therapy ซึงคุณสมบัตของวัสดุท่ี
                   ่ี                         ่่                                                                                  ่                 ิ
เหมาะสมคือ ไม่มพษ สามารถกาจัดเชื้อแบคทีเรียได้ และสามารถต้านการอักเสบได้ จากการศึกษาของ
                          ี ิ
Kakehashi และคณะในปี 1966 พบว่าในสภาวะทีปราศจากเชือจุลชีพ เนื้อเยื่อในสามารถเกิดการหายและ
                                                                        ่                  ้
สร้างเนื้อฟ ้ันขึนมาทดแทนได้ ดังนันหลักการพื้นฐานที่จะทาให้การรักษาความมีชวตของโพรงประสาทฟน
                                                 ้                                                                          ีิ                                ั
ประสบความสาเร็จได้ แบ่งได้เป็ นสองช่วง คือ ช่วงแรกควรกาจัดเนื้อเยื่อทีเป็ นโรคออกให้หมดและช่วงทีสอง         ่                                             ่
ควรสร้างสภาพแวดล้อมเพือไม่ให้เกิดการติดเชือแบคทีเรียซ้าอีกครัง
                                       ่                          ้                              ้
           วัส ดุ ท่ีน ามาใช้ใ นการรัก ษาความมีชีวิต ของโพรงประสาท ควรมีคุ ณ สมบัติ ดัง นี้ คือ ต้า นเชื้อ
แบคทีเรีย กระตุนการกลับคืนของแร่ธาตุ มีความแนบสนิททีดี สามารถกระตุนเนื้อเยื่อในทีเหลืออยูให้กลับคืน
                      ้                                                           ่                             ้                         ่       ่
  ่                     ่                    ั ั
สูสภาวะปกติได้ ซึงในข้อมูลในปจจุบนพบว่า MTA เป็ นวัสดุทมความเหมาะสมเมื่อต้องการคงสภาพความมี
                                                                                      ่ี ี
ชีวตของโพรงประสาทไว้
    ิ
นศ.ทพ. สุรจฉรา ชัยราช
                                                                                                 ั                           2
                                                                                           4813590108
               Calcium hydroxide
               มีคุณสมบัตกระตุนการสร้าง dentin bridge และมีฤทธิ ์ต้านแบคทีเรียและทาให้โพรงประสาทส่วนบน
                                     ิ ้
ปราศจากเชือ (superficial disinfect) โดยมีการปล่อย hydroxyl ion ซึ่งมีผลในการฆ่าเชือแบคทีเรีย ทังนี้
                     ้                                                                                         ้         ้
คุณสมบัตในการฆ่าแบคทีเรียอาจมาจากความเป็ นด่างทีค่อนข้างสูงของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (pH ~ 12.5)
                ิ                                                             ่
ทาให้เกิดการตายของพืนผิวที่สมผัส (superficial pulp) เมื่อเกิดชันที่มการตายนี้แบบซ้าๆ ก่อให้เกิดการ
                                         ้       ั                                              ้ ี
ระคายเคืองเพียงเล็กน้อยต่อเนื้อเยื่อโพรงประสาทที่ยงสมบูรณ์ ซึ่งไปกระตุน กระบวนการอักเสบในบริเวณที่
                                                                          ั                            ้
ปลอดเชือและกระตุนให้เกิดการสร้างเนื้อฟ
            ้              ้                               ันทดแทนขึนมา ้
               ข้อเสียของแคลเซียมไฮดรอกไซด์คอไม่สามารถป้องกันการรัวซึมของแบคทีเรียได้ บางการศึกษา
                                                              ื                                   ่
พบว่าเนื้อเยือแข็งทีได้จากแคลเซียมไฮดรอกไซด์ม ี tunnel defect ทีทาให้เกิดการรัวซึมของเชือแบคทีเรียเข้า
                   ่         ่                                                              ่                ่     ้
มาสู่โพรงประสาทและเกิดการติดเชื้อซ้าได้ นอกจากนี้ยงมีบางรายงานที่กล่าวว่าแคลเซียมไฮดรอกไซด์ม ี
                                                                                ั
ความอ่อน (soften), เกิดการสลาย (disintegrate) และเกิดการละลายเมื่อเวลาผ่านไป ก่อให้เกิดช่องว่าง
(void) ทีเอือต่อการรัวซึมของเชือแบคทีเรียให้เข้ามาได้
              ่ ้                  ่           ้
               Mineral trioxide aggregate (MTA)
               เป็ นวัสดุทสามารถป้องกันการรัวซึมของแบคทีเรีย กระตุนการสร้าง dentin bridge และมีความเข้า
                               ่ี                        ่                                ้
กันได้ดกบเนื้อเยื่อสูง นอกจากนี้ MTA จะมีการแข็งตัวช้า จึงป้องกันการหดตัวขณะแข็งตัวทีจะทาให้เกิดการ
          ี ั                                                                                                    ่
รัวซึมได้
  ่
                คุณสมบัตทางกายภาพและทางเคมีของ MTA
                                       ิ
               MTA ประกอบด้วย tricalcium silicate, bismuth oxide, dicalcium silicate, tricalcium aluminate
และ calcium sulfate dihydrate เมื่อผสม MTA แล้วจะมีลกษณะเป็ น finely crystalline gel จากนันจะค่อยๆ
                                                                                  ั                                  ้
แข็งตัวมากขึนในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชัวโมง คุณสมบัตของ MTA มี compressive strength เท่าๆกับ IRM แต่
                         ้                         ่                        ิ
น้อยกว่า Super EBA, และ amalgam และยังมีคุณสมบัตต้านแบคทีเรียจาพวก facultative bacteria ิ
นอกจากนี้ยงมีคุณสมบัติสามารถยับยังการรัวซึมของเชื้อในระดับสูง และจากการศึกษาในห้องปฏิบติการ
                       ั                             ้          ่                                                      ั
พบว่าความสามารถในการต่อต้านการรัวซึมของแบคทีเรียดีกว่า amalgam, IRM และ Super EBA แต่เมื่อ
                                                       ่
เทียบกับเรซินคอมโพสิทแล้วพบว่าลักษณะการรัวซึมของ MTA จะคล้ายคลึงกัน   ่
               หากเปรียบเทียบความสามารถในการทาลายเชื้อแบคทีเรียระหว่าง MTA กับ Ca(OH)2 พบว่า
ใกล้เคียงกัน แต่ MTA จะเหนือกว่าในเรื่องการป้องกันการรัวซึมของแบคทีเรีย MTA ในระยะยาวมีความแนบ
                                                                                    ่
สนิททีดี และสามารถกระตุนการสร้าง reparative dentin ได้ดกว่า นอกจากนี้การติดตามผลทางคลินิก พบว่า
        ่                                  ้                                          ี
มี success rate ทีสงกว่า ในเรื่องการกระตุนการคืนกลับของแร่ธาตุนน (mineralization) MTA สามารถ
                                  ่ ู                             ้                                 ั้
กระตุนการสร้างเนื้อเยื่อแข็งในโพรงประสาทเมื่อใช้ในการทา direct pulp capping หรือ pulpotomy โดย
      ้
MTA สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์ได้อย่างรวดเร็ว จากการศึกษาในสัตว์ทดลองเปรียบเทียบกับ
                                                                    ั
calcium hydroxide พบว่าอัตราการสร้างเนื้อฟน และความสามารถในการคงสภาพของเนื้อเยื่อโพรงประสาท
จะเหนือกว่า calcium hydroxide และจาการศึกษาลักษณะทางจุลชีววิทยาทังในสัตว์ทดลองและในมนุ ษย์                 ้
แสดงลักษณะการสร้าง reparative dentin และ dentinal bridge ทีถูกสร้างขึนมีความหนา เกิดกระบวนการ ่          ้
อักเสบน้อย และพบภาวะ hyperemia ในระดับปกติ ผลจากการักษาด้วย MTA พบว่าเกิดการตายของโพรง
ประสาทเพียงเล็กน้อยเท่านัน                   ้
นศ.ทพ. สุรจฉรา ชัยราช
                                                                                                                ั                                 3
                                                                                                          4813590108
                 ผลทางคลินิก มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
                 Direct pulp capping
                ข้อมูลทางคลินิกเกียวกับผลของการใช้ MTA ในการทา direct pulp capping ในฟนแท้มจากัดเพียง
                                          ่                                                                                        ั      ี
สองการศึกษาเท่านัน ซึ่งพบว่าทังสองการศึกษารายงานว่า success rate ของการรักษาอยู่ในระดับสูงถึง
                              ้                     ้
                                                                 ั
93%-98% ในการศึกษาแรก ศึกษาในฟนจานวน 53 ซี่ ให้การวินิจฉัยเป็ น irreversible pulpitis with normal
periradicular tissue ซึงการรักษาทีให้ คือ กาจัดรอยผุ ห้ามเลือดด้วย 5.25%-6% NaOCl เป็ นเวลา 10 นาที
                                    ่                      ่
เมื่อเลือดหยุดแล้ว ใช้ MTA ในการทา capping และบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิท จากนันติดตามผลการรักษา                                  ้
        ั
ในฟนจานวน 49 ซีในทุกๆหนึ่งปี (ระยะเวลาเฉลีย= 3.94 ปี ) ซึงช่วงเวลาทีมากทีสดคือ 9 ปี ผลปรากฏว่า
                                ่                                         ่           ่                       ่          ุ่
98% มีผลทีน่าพึงพอใจ โดยมีลกษณะทางภาพถ่ายรังสีทปกติ ผูป
                    ่                             ั                         ่ี      ้   ่วยไม่มอาการ และมีการตอบสนองปกติต่อ
                                                                                                     ี
                                      ั
ความเย็น นอกจากนี้ในฟน 15 ซี่ของผูป่วยเด็กพบว่ามีการสร้างรากจนสมบูรณ์ในทีสด ส่วนในการศึกษาที่
                                                                      ้                                                     ุ่
                                  ั
สอง ทาการศึกษาในฟน 30 ซี่ โดยทาการรักษาคล้ายคลึงกับการศึกษาแรก จากการติดตามผล 1 ปี ให้หลัง
ปรากฏว่าพบ 93% success rate ทังลักษณะทางคลินิกและทางภาพถ่ายรังสีเช่นกัน
                                                             ้
                Pulpotomy
                ข้อมูลจากการศึกษาในมนุ ษย์ทใช้ MTA ในการทา pulpotomy มี success rate สูงถึง 93%-100%
                                                                   ่ี
และเมื่อศึกษาเปรียบเทียบกับการใช้ calcium hydroxide พบว่าไม่มความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ             ี
ระหว่าง success rate ของทังสองกลุ่ม (Ca(OH)2=91% และ MTA=93%)
                                            ้
                                                                               ั
                เมื่อใช้ MTA ในการทา partial pulpotomy ในฟนกรามแท้ซทหนึ่งทีให้การวินิจฉัยเป็ น irreversible
                                                                                               ่ี ่ี            ่
pulpitis with normal periradicular tissue พบว่ามี success rate อยูในระดับทีสงมาก ซึงกระบวนการรักษา
                                                                                             ่                    ่ ู          ่
เริมจากการกาจัดรอยผุ ห้ามเลือด และใส่ MTA ทับลงบนเนื้อเยื่อโพรงประสาท จากนันปิ ดทับด้วย glass
   ่                                                                                                                             ้
ionomer cement และบูรณะด้วย amalgam หรือ stainless steel crown หลังการติดตามผลในระยะเวลา 1 ปี
พบว่าผูป่วยไม่มอาการทางคลินิก และตอบสนองต่อการทดสอบความมีชวต รวมทังมีลกษณะทางภาพรังสีท่ี
            ้            ี                                                                             ีิ               ้ ั
ปกติดวยเช่นกัน แม้จะมีฟ
          ้                             ันบางซีทไม่ตอบสนองต่อความมีชวต แต่ยงคงมีลกษณะทางภาพรังสีทปกติและฟน
                                                      ่ ่ี                       ีิ        ั                ั                          ่ี     ั
ไม่มอาการใดๆ โดยอายุของผูปวยโดยเฉลียคือ 10 ปี
      ี                                       ้ ่                       ่
                4. Bacteria-tight seal
                หากมีการปนเปื้ อนเชื้อแบคทีเรีย อาจทาให้ ช่วงของการหายเกิดความล้มเหลวได้ ในทางกลับกัน
หากไม่มการปนเปื้อนและมีการ seal ทีดมกมีการหาย โดยมีการสร้างเนื้อเยือแข็งขึนมาได้ ซึงควรควบคุมการ
              ี                                                ่ ี ั                                      ่           ้              ่
ปนเปื้ อนตังแต่ขนตอนการกาจัดรอยผุ การกาจัดเนื้ อเยื่อโพรงประสาท และการบูรณะบริเวณผิวฟนเพื่อ
                  ้        ั้                                                                                                               ั
ป้องกันการรัวซึมตามขอบ่
นศ.ทพ. สุรจฉรา ชัยราช
                                                                                                  ั                           4
                                                                                            4813590108
เทคนิ คการรักษา[3]
         Partial pulpotomy
         เป็ นวิธการกาจัดเนื้อเยื่อในเฉพาะส่วนบนบริเวณที่มการอักเสบไปจนถึง เนื้อเยื่อในที่มสุขภาพดี
                 ี                                        ี                                ี
(healthy coronal pulp)




                                    ภาพที่ 1 ขันตอนการทา partial pulpotomy
                                               ้

                                 ั
           ข้อบ่งใช้: โพรงฟนทะลุจากอุบตเหตุภายในเวลาไม่เกิน 24 ชัวโมง หรือใช้ในฟนที่เกิดการทะลุ
                                                  ั ิ                                    ่                  ั
                             ั
ระหว่างการเตรียมโพรงฟน แต่สามารถเลือกการรักษาวิธีน้ีได้ในกรณีท่ีขอบเขตการอักเสบของโพรงฟน                                 ั
                           ั
มากกว่าปกติ เช่น โพรงฟนทะลุจากอุบตเหตุภายในเวลามากกว่า 24 ชัวโมง หรือเกิดจาก mechanical
                                              ั ิ                                          ่
exposure ขณะการกาจัดรอยผุทมความลึก ่ี ี
           เทคนิค: ฉีดยาชาและใส่แผ่นยางกันน้ าลาย ทาความสะอาดด้วยน้ ายา chlorhexidine หรือ normal
                                                                  ั
saline เมื่อพบจุดทะลุจะทาการกาจัดเนื้อเยื่อในโพรงฟนด้านบน โดยใช้หวกรอกากเพชรทีคมและสะอาดกรอ
                                                                                    ั                     ่
กาจัดเนื้อเยื่อในออก 1-2 มม. หากพบว่ามีเลือดไหลอออกมากให้กรอลงไปอีก ล้างด้วยน้ าเกลือสะอาด
จากนันซับด้วยก้อนสาลีสะอาด
       ้
           วิธทา: ใช้หวกรอกากเพชรทีมความเร็วสูงร่วมกับใช้น้าเพือกาจัดเนื้อเยือโพรงประสาททีมการอักเสบ
              ี       ั                   ่ ี                                  ่             ่                   ่ ี
ออก การกาจัดเนื้อเยื่อในออกอย่างเพียงพอหรือไม่นนพิจารณาจากเลือดทีออกมาจะมีระยะเวลาอยู่เพียงไม่
                                                               ั้                      ่
นาน ซึงการรักษาด้วยวิธน้ีจะยังคงมีเนื้อเยื่อในส่วนทีดเหลืออยู่ และสามารถทาให้เกิดการปิ ด (seal) รอยทะลุ
         ่               ี                                   ่ ี
โพรงประสาทด้วยเนื้อเยื่อแข็ง โดยความสาเร็จของการรักษาด้วยวิธน้ีขนอยู่กบ การห้ามเลือด การปิ ดเพื่อ
                                                                                  ี ้ึ         ั
                                                                        ี ั   ั ั                  ั
ป้องกันแบคทีเรีย (bacterial-tight seal) การรักษาด้วยวิธน้ีมกใช้กบฟนน้ านมและฟนแท้ทยงเจริญไม่เต็มทีซง   ่ี ั            ่ ่ึ
เกิดการทะลุโพรงประสาทจากอุบตเหตุ แต่กมแนวคิดทีสามารถนามาใช้ในการรักษาฟนแท้ทเจริญเต็มทีแล้ว
                                      ั ิ             ็ ี           ่                                ั        ่ี     ่
เช่นกัน
                                                          ีิ          ั
           การติดตามผล: ควรประเมินความมีชวตของฟนด้วยเครือง EPT ความร้อน ความเย็น การคลา การ
                                                                            ่
เคาะ ภายหลังการรักษา 3-4 สัปดาห์ 3 เดือน 6 เดือน 12 เดือนและทุกๆปี และควรถ่ายภาพรังสีเป็ นระยะ
                                                              ั ่
เพื่อดูความผิดปกติบริเวณปลายราก นอกจากนี้ในฟนทีปลายรากยังเจริญไม่เต็มทีควรถ่ายภาพรังสีเพื่อช่วย  ่
                               ั
ติดตามการพัฒนาของรากฟน และยังช่วยในการตรวจการสร้างเนื้อเยื่อแข็ง (hard tissue barrier) บริเวณที่
เกิดการทะลุหลังการรักษา 6 สัปดาห์
นศ.ทพ. สุรจฉรา ชัยราช
                                                                                     ั                5
                                                                               4813590108
          การพยากรณ์โรค: การรักษาวิธน้ีมขอดีเหนือกว่า direct pulp capping คือ ในระหว่างการเตรียม
                                         ี ี ้
โพรงฟ  ัน เนื้อเยื่อในโพรงฟนส่วนบนทีมการอักเสบจะถูกกาจัดออกและการใส่แคลเซียมไฮดรอกไซด์จะช่วย
                           ั         ่ ี
     ้              ั        ั ้
ฆ่าเชือในโพรงฟนและเนื้อฟน ทังยังช่วยกาจัดเนื้อเยื่อในทีมการอักเสบได้ดวย นอกจากนี้การรักษาด้วยวิธน้ี
                                                          ่ ี            ้                         ี
            ้ื ่              ่                                                                  ั
จะช่วยให้พนทีสาหรับวัสดุเพือให้เกิด bacterial-tight seal ความสาเร็จของการทา partial pulpotomy ในฟนที่
    ั ั ิ             ่             ั ี                                 ั ่
ได้รบอุบตเหตุจะอยูในช่วง 95% แต่ยงไม่มการศึกษาถึง success rate ในฟนทีผุทะลุโพรงฟน      ั
          Full pulpotomy
                                ั          ั ้
          เป็ นการกาจัดโพรงฟนในส่วนตัวฟนทังหมดจนถึงระดับรูเปิ ดเข้าสูคลองรากฟน
                                                                      ่          ั




                                   ภาพที่ 2 ขันตอนการทา full pulpotomy
                                              ้
          ข้อบ่งใช้: เหมือนกับ partial pulpotomy แต่วธน้ีจะใช้ในกรณีทเนื้อเยื่อโพรงประสาทมีการอักเสบ
                                                     ิี              ่ี
มากกว่า
         เทคนิค: การทาจะเหมือน partial pulpotomy แต่จะมีการกรอตัดเนื้อเยื่อโพรงประสาททีอยูในโพรง
                                                                                      ่ ่
  ั                                                 ั
ฟนส่วนต้นออกให้หมด จนถึงทางเปิ ดเข้าสู่คลองรากฟนและปิ ดทับด้วย Ca(OH)2 เช่นเดียวกับ partial
pulpotomy
         การติดตามผล: เช่นเดียวกับ partial pulpotomy
                                                       ั ่ ี
         การพยากรณ์โรค: มีการศึกษาทางคลินิกทีศกษาในฟนทีมการอักเสบของเนื้อเยื่อโพรงประสาทชนิด
                                                ่ ึ
ผันกลับได้ พบความสาเร็จถึง 90% ภายหลังการรักษา 6 เดือน และมีความสาเร็จ 78% ภายหลังการรักษา
12 เดือน


เอกสารอ้างอิ ง

[1] Tziafas D et al. Designing new treatment strategies in vita pulp tgerapy. Journal od dentistry.
2000; 28:77-92

             ี                         ่      ั             ีิ      ั     ่ี     ั
[2] พัชรี ชูวระ และคณะ. การรักษาเนื้อเยือโพรงฟนแบบคงความมีชวต ในฟนแท้ทผุทะลุโพรงฟน (Vital pulp
therapy in cariously exposed permanent teeth) ชม.ทันตสาร. 2547; 25: 15-27

[3] Swift EJ et al. Vital pulp therapy for the mature tooth-can it work. Endodontic topics.2003;5:49-56

[4] Witherspoon DE. Vital pulp therapy with New materials: New directions and treatment
Perspectives-Permanent teeth. J Endod. 2008; 34:25-28

More Related Content

What's hot

Endodontic sealers a summary and a quick review
Endodontic sealers a summary and a quick review Endodontic sealers a summary and a quick review
Endodontic sealers a summary and a quick review Rami Al-Saedi
 
Impression techniques and materials partial dentures yr 3
Impression techniques and materials partial dentures yr 3Impression techniques and materials partial dentures yr 3
Impression techniques and materials partial dentures yr 3Yousra Wadhah
 
Porcelain jacket crown
Porcelain jacket crownPorcelain jacket crown
Porcelain jacket crownHazim Elbasha
 
6. final impression techniques for removable partial dentures
6. final impression techniques for removable partial dentures6. final impression techniques for removable partial dentures
6. final impression techniques for removable partial denturesAmal Kaddah
 
Journal club presentation on muscle stabilisation splints
Journal club presentation on muscle stabilisation splintsJournal club presentation on muscle stabilisation splints
Journal club presentation on muscle stabilisation splintsNAMITHA ANAND
 
Nanotechnology in Prosthodontics
Nanotechnology in ProsthodonticsNanotechnology in Prosthodontics
Nanotechnology in ProsthodonticsMeghaSabharwal5
 
Biocompatibility of restorative materials
Biocompatibility of restorative materialsBiocompatibility of restorative materials
Biocompatibility of restorative materialsIndian dental academy
 
Implant failures/ dental implant courses
Implant failures/ dental implant coursesImplant failures/ dental implant courses
Implant failures/ dental implant coursesIndian dental academy
 
Bioactive materials in endodontics
Bioactive materials in endodonticsBioactive materials in endodontics
Bioactive materials in endodonticsMotaz Elsadat
 
Journal club presentation on tooth supported overdentures
Journal club presentation on tooth supported overdentures Journal club presentation on tooth supported overdentures
Journal club presentation on tooth supported overdentures NAMITHA ANAND
 
TEMPORIZATION IN PROSTHODONTICS
TEMPORIZATION IN PROSTHODONTICSTEMPORIZATION IN PROSTHODONTICS
TEMPORIZATION IN PROSTHODONTICSDrPrakashNidawani
 
Fabrication tech. all ceramic restorations
Fabrication tech. all ceramic restorationsFabrication tech. all ceramic restorations
Fabrication tech. all ceramic restorationsSherif Sultan
 
PS of Composite Materials
PS of Composite MaterialsPS of Composite Materials
PS of Composite Materialsnabulsi
 
Principles of tooth preparation
Principles of tooth preparationPrinciples of tooth preparation
Principles of tooth preparationpragy mallik
 
Implant failure , complications and treatment, management- Partha Sarathi Adhya
Implant failure , complications and treatment, management- Partha Sarathi AdhyaImplant failure , complications and treatment, management- Partha Sarathi Adhya
Implant failure , complications and treatment, management- Partha Sarathi AdhyaPartha Sarathi Adhya
 
Perforation in Endodontics
Perforation in EndodonticsPerforation in Endodontics
Perforation in EndodonticsGurmeen Kaur
 
Methods to improve com[lete denture foundation 2
Methods to improve com[lete denture foundation 2Methods to improve com[lete denture foundation 2
Methods to improve com[lete denture foundation 2Anish Amin
 

What's hot (20)

Endodontic sealers a summary and a quick review
Endodontic sealers a summary and a quick review Endodontic sealers a summary and a quick review
Endodontic sealers a summary and a quick review
 
Impression techniques and materials partial dentures yr 3
Impression techniques and materials partial dentures yr 3Impression techniques and materials partial dentures yr 3
Impression techniques and materials partial dentures yr 3
 
Porcelain jacket crown
Porcelain jacket crownPorcelain jacket crown
Porcelain jacket crown
 
6. final impression techniques for removable partial dentures
6. final impression techniques for removable partial dentures6. final impression techniques for removable partial dentures
6. final impression techniques for removable partial dentures
 
Journal club presentation on muscle stabilisation splints
Journal club presentation on muscle stabilisation splintsJournal club presentation on muscle stabilisation splints
Journal club presentation on muscle stabilisation splints
 
Nanotechnology in Prosthodontics
Nanotechnology in ProsthodonticsNanotechnology in Prosthodontics
Nanotechnology in Prosthodontics
 
Biocompatibility of restorative materials
Biocompatibility of restorative materialsBiocompatibility of restorative materials
Biocompatibility of restorative materials
 
Implant failures/ dental implant courses
Implant failures/ dental implant coursesImplant failures/ dental implant courses
Implant failures/ dental implant courses
 
Bioactive materials in endodontics
Bioactive materials in endodonticsBioactive materials in endodontics
Bioactive materials in endodontics
 
Journal club presentation on tooth supported overdentures
Journal club presentation on tooth supported overdentures Journal club presentation on tooth supported overdentures
Journal club presentation on tooth supported overdentures
 
TEMPORIZATION IN PROSTHODONTICS
TEMPORIZATION IN PROSTHODONTICSTEMPORIZATION IN PROSTHODONTICS
TEMPORIZATION IN PROSTHODONTICS
 
Fabrication tech. all ceramic restorations
Fabrication tech. all ceramic restorationsFabrication tech. all ceramic restorations
Fabrication tech. all ceramic restorations
 
PS of Composite Materials
PS of Composite MaterialsPS of Composite Materials
PS of Composite Materials
 
Principles of tooth preparation
Principles of tooth preparationPrinciples of tooth preparation
Principles of tooth preparation
 
Implant failure , complications and treatment, management- Partha Sarathi Adhya
Implant failure , complications and treatment, management- Partha Sarathi AdhyaImplant failure , complications and treatment, management- Partha Sarathi Adhya
Implant failure , complications and treatment, management- Partha Sarathi Adhya
 
Perforation in Endodontics
Perforation in EndodonticsPerforation in Endodontics
Perforation in Endodontics
 
4. midline diastema
4. midline diastema4. midline diastema
4. midline diastema
 
Endo crown
Endo crownEndo crown
Endo crown
 
Ferrule 3
Ferrule 3Ferrule 3
Ferrule 3
 
Methods to improve com[lete denture foundation 2
Methods to improve com[lete denture foundation 2Methods to improve com[lete denture foundation 2
Methods to improve com[lete denture foundation 2
 

Viewers also liked

Calcium hydroxide final /prosthodontic courses
Calcium hydroxide final /prosthodontic coursesCalcium hydroxide final /prosthodontic courses
Calcium hydroxide final /prosthodontic coursesIndian dental academy
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54dentyomaraj
 
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ดระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ดNithimar Or
 
หลวงตาบัว
หลวงตาบัวหลวงตาบัว
หลวงตาบัวdentyomaraj
 
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubEndodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubdentyomaraj
 
ใบงาน ตาราง
ใบงาน ตารางใบงาน ตาราง
ใบงาน ตารางdkinbenzza
 
Chaipattana tsunami
Chaipattana tsunamiChaipattana tsunami
Chaipattana tsunamidentyomaraj
 
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pdentyomaraj
 
Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011dentyomaraj
 
01 loads
01 loads01 loads
01 loadsELIMENG
 

Viewers also liked (20)

Ch17
Ch17Ch17
Ch17
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Glass ionomer
Glass ionomer Glass ionomer
Glass ionomer
 
Continuation of root canal sealers
Continuation of root canal sealersContinuation of root canal sealers
Continuation of root canal sealers
 
Proposal 11-12-57
Proposal 11-12-57Proposal 11-12-57
Proposal 11-12-57
 
Calcium hydroxide final /prosthodontic courses
Calcium hydroxide final /prosthodontic coursesCalcium hydroxide final /prosthodontic courses
Calcium hydroxide final /prosthodontic courses
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
 
Ummoua1
Ummoua1Ummoua1
Ummoua1
 
Complete case
Complete caseComplete case
Complete case
 
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ดระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
ระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ โรงพยาบาลโพนทอง จ.ร้อยเอ็ด
 
หลวงตาบัว
หลวงตาบัวหลวงตาบัว
หลวงตาบัว
 
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpubEndodontic or root canal treatment knowledge, panpub
Endodontic or root canal treatment knowledge, panpub
 
ใบงาน ตาราง
ใบงาน ตารางใบงาน ตาราง
ใบงาน ตาราง
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Bolivia
BoliviaBolivia
Bolivia
 
Chaipattana tsunami
Chaipattana tsunamiChaipattana tsunami
Chaipattana tsunami
 
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 Pค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
ค่าตอบแทนภาระงาน™P 4 P
 
Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011
 
01 loads
01 loads01 loads
01 loads
 
Generealized cervical resorption case present
Generealized cervical resorption case presentGenerealized cervical resorption case present
Generealized cervical resorption case present
 

Similar to Review literature vital pulp therapy

Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5taem
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่ คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่ Kat Suksrikong
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอางนาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอางNaw Fatt
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวานเอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to Review literature vital pulp therapy (20)

Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่ คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554Cpg osteoarthritis of knee 2554
Cpg osteoarthritis of knee 2554
 
Cpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritisCpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritis
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
 
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาบทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
บทที่ 2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
155344bayer329
155344bayer329155344bayer329
155344bayer329
 
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอางนาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
นาโนเทคโนโลยีด้านเครื่องสำอาง
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
Tf plus
Tf plus Tf plus
Tf plus
 
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวานเอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
 

More from dentyomaraj

Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55dentyomaraj
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languagedentyomaraj
 
Ortho price list 2012
Ortho price list 2012Ortho price list 2012
Ortho price list 2012dentyomaraj
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547dentyomaraj
 
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284dentyomaraj
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น dentyomaraj
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailanddentyomaraj
 
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาสามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาdentyomaraj
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักdentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑dentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓dentyomaraj
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัวdentyomaraj
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 
โยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะโยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะdentyomaraj
 
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechการพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechdentyomaraj
 
Poster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgeryPoster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgerydentyomaraj
 
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้  roojPoster ฟันเทียมถอดได้  rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้ roojdentyomaraj
 

More from dentyomaraj (20)

Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55Competition brochure snake game 55
Competition brochure snake game 55
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai language
 
Ortho price list 2012
Ortho price list 2012Ortho price list 2012
Ortho price list 2012
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
Danzenตอบโดย ภญ. ศยามล สุขขา 2284
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
 
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมาสามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
สามสิ่งดีๆ ในอาทิตย์ที่ผ่านมา
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๑
 
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
จุลสารชมรมจริยธรรม ฉบับที่ ๓
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
โยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะโยคะหัวเราะ
โยคะหัวเราะ
 
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speechการพูดที่อบอุ่น Warm Speech
การพูดที่อบอุ่น Warm Speech
 
Poster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgeryPoster preprosthetic surgery
Poster preprosthetic surgery
 
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้  roojPoster ฟันเทียมถอดได้  rooj
Poster ฟันเทียมถอดได้ rooj
 

Review literature vital pulp therapy

  • 1. นศ.ทพ. สุรจฉรา ชัยราช ั 1 4813590108 Review literature: Vital pulp therapy การรักษาเนื้อเยื่อโพรงประสาทแบบคงความมีชวต เป็ นกระบวนการรักษาทีทาเพื่อลดการเกิดภยัน ีิ ่ อันตรายต่อเนื้อเยื่อโพรงประสาท ซึงอาจมาจากการลุกลามของฟนผุ จากอุบตเหตุ หรือจากสาเหตุอ่นๆ และ ่ ั ั ิ ื เพื่อรักษาความมีชวตของเนื้อเยื่อโพรงประสาทที่เหลืออยู่ไว้ ด้วยการปิ ดด้วยวัสดุทสามารถป้องกันเนื้อเยื่อ ีิ ่ี โพรงประสาทได้ และหวังผลให้เกิดการหายและการซ่อมแซมเกิดขึน โดยเฉพาะในฟนแท้ท่ยงมีการสร้าง ้ [1] ั ี ั รากไม่สมบูรณ์ ก็หวังผลให้เกิดการสร้างรากต่อไปจนสมบูรณ์ในทีสด ุ่ ั เทคนิคในการรักษาเนื้อเยื่อในโพรงฟนแบบคงความมีชวต ได้แก่ การทา indirect pulp capping, ีิ direct pulp capping, partial pulpotomy และ full pulpotomy ซึงแต่ละวิธจะมีขอบ่งใช้และวิธการทีแตกต่าง ่ ี ้ ี ่ กัน และมีป ัจจัยหลายอย่างที่ส่งผลต่อความสาเร็จของการรักษา ซึ่งในทบทวนวรรณกรรมฉบับนี้จะขอกล่าว เทคนิคการทา pulpotomy รวมถึงรายละเอียดข้อดี ข้อเสียต่างๆ ของวัสดุทใช้ในการทา ่ี [2, 3] ปัจจัยที่มีผลต่อความสาเร็จของ vital pulp therapy 1. โพรงประสาททีปราศจากการอักเสบ ่ เนื่องจากเนื้อเยือโพรงประสาททีมสภาพดีจะมีเป็ นส่วนสาคัญทีจะทาให้การรักษาประสบความสาเร็จ ่ ่ ี ่ ได้ และหากบริเวณที่มการทะลุโพรงประสาทไม่มความสมบูรณ์ แล้ว ทางเลือกในการรักษาด้วยวิธี partial ี ี pulpotomy ก็เป็ นเทคนิคทีสามารถนามาใช้ในการรักษาได้ ่ 2. การควบคุมการมีเลือดออก มีการศึกษาเกี่ยวกับความล้มเหลวของการรักษากับการมีเลือดออกพบว่า มีความล้มเหลวสูงสุดใน กลุ่มที่มเลือดออกมากเทียบกับกลุ่มที่มเลือดออกปานกลางและออกน้อย ดังนันลักษณะอย่างหนึ่งที่สามาถ ี ี ้ ช่วยคาดการณ์ถึงการประสบความสาเร็จในการรักษาคือ ควรมีเลือดออกน้ อยและสามารถห้ามเลือดได้ใน ระยะเวลาไม่นาน ซึงการห้ามเลือดจากเนื้อเยือโพรงประสาทนันมีหลายวิธี ได้แก่ การใช้กอนสาลีแห้งกด หรือ ่ ่ ้ ้ การใช้สาลีชุบน้ าเกลือ ไฮโดรเจน เปอร์ออกไซด์ (hydrogen peroxide) หรือสารอื่นๆ นอกจากนี้ยงมี ั การศึกษาทีแนะนาให้ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (sodium hypochlorite) ความเข้มข้นร้อยละ 2.53 หรือ 5.25 ่ โดยในระยะแรกมีการศึกษาถึงการใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์เป็ นสารห้ามเลือด Senia และคณะ แสดงถึงการใช้ โซเดียมไฮโปคลอไรท์ซ่ึงมีประสิทธิภาพมากกว่าน้ าเกลือ และโซเดียมไฮโปคลอไรท์จะออกฤทธิ ์เฉพาะผิว เซลล์ด้านบนเท่านัน ไม่ส่งผลต่อต่อเนื้อเยื่อโพรงประสาทที่อยู่ลึกลงไป นอกจากนี้ยงมีรายงานถึงการใช้ ้ ั คลอเฮกซิดน (chlorhexidine) มาช่วยในการห้ามเลือดในระหว่างการทา pulp capping ได้อย่างมี ี ประสิทธิภาพ โดยคลอเฮกซิดนมีคุณสมบัตฆาเชือแบคทีเรียและไม่เป็ นพิษต่อเนื้อเยือ ี ิ ่ ้ ่ [2-4] 3. Pulp capping material ั การเลือกวัสดุทใช้เป็ นปจจัยหนึ่งทีสงผลต่อความสาเร็จในการทา vital pulp therapy ซึงคุณสมบัตของวัสดุท่ี ่ี ่่ ่ ิ เหมาะสมคือ ไม่มพษ สามารถกาจัดเชื้อแบคทีเรียได้ และสามารถต้านการอักเสบได้ จากการศึกษาของ ี ิ Kakehashi และคณะในปี 1966 พบว่าในสภาวะทีปราศจากเชือจุลชีพ เนื้อเยื่อในสามารถเกิดการหายและ ่ ้ สร้างเนื้อฟ ้ันขึนมาทดแทนได้ ดังนันหลักการพื้นฐานที่จะทาให้การรักษาความมีชวตของโพรงประสาทฟน ้ ีิ ั ประสบความสาเร็จได้ แบ่งได้เป็ นสองช่วง คือ ช่วงแรกควรกาจัดเนื้อเยื่อทีเป็ นโรคออกให้หมดและช่วงทีสอง ่ ่ ควรสร้างสภาพแวดล้อมเพือไม่ให้เกิดการติดเชือแบคทีเรียซ้าอีกครัง ่ ้ ้ วัส ดุ ท่ีน ามาใช้ใ นการรัก ษาความมีชีวิต ของโพรงประสาท ควรมีคุ ณ สมบัติ ดัง นี้ คือ ต้า นเชื้อ แบคทีเรีย กระตุนการกลับคืนของแร่ธาตุ มีความแนบสนิททีดี สามารถกระตุนเนื้อเยื่อในทีเหลืออยูให้กลับคืน ้ ่ ้ ่ ่ ่ ่ ั ั สูสภาวะปกติได้ ซึงในข้อมูลในปจจุบนพบว่า MTA เป็ นวัสดุทมความเหมาะสมเมื่อต้องการคงสภาพความมี ่ี ี ชีวตของโพรงประสาทไว้ ิ
  • 2. นศ.ทพ. สุรจฉรา ชัยราช ั 2 4813590108 Calcium hydroxide มีคุณสมบัตกระตุนการสร้าง dentin bridge และมีฤทธิ ์ต้านแบคทีเรียและทาให้โพรงประสาทส่วนบน ิ ้ ปราศจากเชือ (superficial disinfect) โดยมีการปล่อย hydroxyl ion ซึ่งมีผลในการฆ่าเชือแบคทีเรีย ทังนี้ ้ ้ ้ คุณสมบัตในการฆ่าแบคทีเรียอาจมาจากความเป็ นด่างทีค่อนข้างสูงของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (pH ~ 12.5) ิ ่ ทาให้เกิดการตายของพืนผิวที่สมผัส (superficial pulp) เมื่อเกิดชันที่มการตายนี้แบบซ้าๆ ก่อให้เกิดการ ้ ั ้ ี ระคายเคืองเพียงเล็กน้อยต่อเนื้อเยื่อโพรงประสาทที่ยงสมบูรณ์ ซึ่งไปกระตุน กระบวนการอักเสบในบริเวณที่ ั ้ ปลอดเชือและกระตุนให้เกิดการสร้างเนื้อฟ ้ ้ ันทดแทนขึนมา ้ ข้อเสียของแคลเซียมไฮดรอกไซด์คอไม่สามารถป้องกันการรัวซึมของแบคทีเรียได้ บางการศึกษา ื ่ พบว่าเนื้อเยือแข็งทีได้จากแคลเซียมไฮดรอกไซด์ม ี tunnel defect ทีทาให้เกิดการรัวซึมของเชือแบคทีเรียเข้า ่ ่ ่ ่ ้ มาสู่โพรงประสาทและเกิดการติดเชื้อซ้าได้ นอกจากนี้ยงมีบางรายงานที่กล่าวว่าแคลเซียมไฮดรอกไซด์ม ี ั ความอ่อน (soften), เกิดการสลาย (disintegrate) และเกิดการละลายเมื่อเวลาผ่านไป ก่อให้เกิดช่องว่าง (void) ทีเอือต่อการรัวซึมของเชือแบคทีเรียให้เข้ามาได้ ่ ้ ่ ้ Mineral trioxide aggregate (MTA) เป็ นวัสดุทสามารถป้องกันการรัวซึมของแบคทีเรีย กระตุนการสร้าง dentin bridge และมีความเข้า ่ี ่ ้ กันได้ดกบเนื้อเยื่อสูง นอกจากนี้ MTA จะมีการแข็งตัวช้า จึงป้องกันการหดตัวขณะแข็งตัวทีจะทาให้เกิดการ ี ั ่ รัวซึมได้ ่  คุณสมบัตทางกายภาพและทางเคมีของ MTA ิ MTA ประกอบด้วย tricalcium silicate, bismuth oxide, dicalcium silicate, tricalcium aluminate และ calcium sulfate dihydrate เมื่อผสม MTA แล้วจะมีลกษณะเป็ น finely crystalline gel จากนันจะค่อยๆ ั ้ แข็งตัวมากขึนในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชัวโมง คุณสมบัตของ MTA มี compressive strength เท่าๆกับ IRM แต่ ้ ่ ิ น้อยกว่า Super EBA, และ amalgam และยังมีคุณสมบัตต้านแบคทีเรียจาพวก facultative bacteria ิ นอกจากนี้ยงมีคุณสมบัติสามารถยับยังการรัวซึมของเชื้อในระดับสูง และจากการศึกษาในห้องปฏิบติการ ั ้ ่ ั พบว่าความสามารถในการต่อต้านการรัวซึมของแบคทีเรียดีกว่า amalgam, IRM และ Super EBA แต่เมื่อ ่ เทียบกับเรซินคอมโพสิทแล้วพบว่าลักษณะการรัวซึมของ MTA จะคล้ายคลึงกัน ่ หากเปรียบเทียบความสามารถในการทาลายเชื้อแบคทีเรียระหว่าง MTA กับ Ca(OH)2 พบว่า ใกล้เคียงกัน แต่ MTA จะเหนือกว่าในเรื่องการป้องกันการรัวซึมของแบคทีเรีย MTA ในระยะยาวมีความแนบ ่ สนิททีดี และสามารถกระตุนการสร้าง reparative dentin ได้ดกว่า นอกจากนี้การติดตามผลทางคลินิก พบว่า ่ ้ ี มี success rate ทีสงกว่า ในเรื่องการกระตุนการคืนกลับของแร่ธาตุนน (mineralization) MTA สามารถ ่ ู ้ ั้ กระตุนการสร้างเนื้อเยื่อแข็งในโพรงประสาทเมื่อใช้ในการทา direct pulp capping หรือ pulpotomy โดย ้ MTA สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์ได้อย่างรวดเร็ว จากการศึกษาในสัตว์ทดลองเปรียบเทียบกับ ั calcium hydroxide พบว่าอัตราการสร้างเนื้อฟน และความสามารถในการคงสภาพของเนื้อเยื่อโพรงประสาท จะเหนือกว่า calcium hydroxide และจาการศึกษาลักษณะทางจุลชีววิทยาทังในสัตว์ทดลองและในมนุ ษย์ ้ แสดงลักษณะการสร้าง reparative dentin และ dentinal bridge ทีถูกสร้างขึนมีความหนา เกิดกระบวนการ ่ ้ อักเสบน้อย และพบภาวะ hyperemia ในระดับปกติ ผลจากการักษาด้วย MTA พบว่าเกิดการตายของโพรง ประสาทเพียงเล็กน้อยเท่านัน ้
  • 3. นศ.ทพ. สุรจฉรา ชัยราช ั 3 4813590108  ผลทางคลินิก มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ Direct pulp capping ข้อมูลทางคลินิกเกียวกับผลของการใช้ MTA ในการทา direct pulp capping ในฟนแท้มจากัดเพียง ่ ั ี สองการศึกษาเท่านัน ซึ่งพบว่าทังสองการศึกษารายงานว่า success rate ของการรักษาอยู่ในระดับสูงถึง ้ ้ ั 93%-98% ในการศึกษาแรก ศึกษาในฟนจานวน 53 ซี่ ให้การวินิจฉัยเป็ น irreversible pulpitis with normal periradicular tissue ซึงการรักษาทีให้ คือ กาจัดรอยผุ ห้ามเลือดด้วย 5.25%-6% NaOCl เป็ นเวลา 10 นาที ่ ่ เมื่อเลือดหยุดแล้ว ใช้ MTA ในการทา capping และบูรณะด้วยเรซินคอมโพสิท จากนันติดตามผลการรักษา ้ ั ในฟนจานวน 49 ซีในทุกๆหนึ่งปี (ระยะเวลาเฉลีย= 3.94 ปี ) ซึงช่วงเวลาทีมากทีสดคือ 9 ปี ผลปรากฏว่า ่ ่ ่ ่ ุ่ 98% มีผลทีน่าพึงพอใจ โดยมีลกษณะทางภาพถ่ายรังสีทปกติ ผูป ่ ั ่ี ้ ่วยไม่มอาการ และมีการตอบสนองปกติต่อ ี ั ความเย็น นอกจากนี้ในฟน 15 ซี่ของผูป่วยเด็กพบว่ามีการสร้างรากจนสมบูรณ์ในทีสด ส่วนในการศึกษาที่ ้ ุ่ ั สอง ทาการศึกษาในฟน 30 ซี่ โดยทาการรักษาคล้ายคลึงกับการศึกษาแรก จากการติดตามผล 1 ปี ให้หลัง ปรากฏว่าพบ 93% success rate ทังลักษณะทางคลินิกและทางภาพถ่ายรังสีเช่นกัน ้ Pulpotomy ข้อมูลจากการศึกษาในมนุ ษย์ทใช้ MTA ในการทา pulpotomy มี success rate สูงถึง 93%-100% ่ี และเมื่อศึกษาเปรียบเทียบกับการใช้ calcium hydroxide พบว่าไม่มความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ี ระหว่าง success rate ของทังสองกลุ่ม (Ca(OH)2=91% และ MTA=93%) ้ ั เมื่อใช้ MTA ในการทา partial pulpotomy ในฟนกรามแท้ซทหนึ่งทีให้การวินิจฉัยเป็ น irreversible ่ี ่ี ่ pulpitis with normal periradicular tissue พบว่ามี success rate อยูในระดับทีสงมาก ซึงกระบวนการรักษา ่ ่ ู ่ เริมจากการกาจัดรอยผุ ห้ามเลือด และใส่ MTA ทับลงบนเนื้อเยื่อโพรงประสาท จากนันปิ ดทับด้วย glass ่ ้ ionomer cement และบูรณะด้วย amalgam หรือ stainless steel crown หลังการติดตามผลในระยะเวลา 1 ปี พบว่าผูป่วยไม่มอาการทางคลินิก และตอบสนองต่อการทดสอบความมีชวต รวมทังมีลกษณะทางภาพรังสีท่ี ้ ี ีิ ้ ั ปกติดวยเช่นกัน แม้จะมีฟ ้ ันบางซีทไม่ตอบสนองต่อความมีชวต แต่ยงคงมีลกษณะทางภาพรังสีทปกติและฟน ่ ่ี ีิ ั ั ่ี ั ไม่มอาการใดๆ โดยอายุของผูปวยโดยเฉลียคือ 10 ปี ี ้ ่ ่ 4. Bacteria-tight seal หากมีการปนเปื้ อนเชื้อแบคทีเรีย อาจทาให้ ช่วงของการหายเกิดความล้มเหลวได้ ในทางกลับกัน หากไม่มการปนเปื้อนและมีการ seal ทีดมกมีการหาย โดยมีการสร้างเนื้อเยือแข็งขึนมาได้ ซึงควรควบคุมการ ี ่ ี ั ่ ้ ่ ปนเปื้ อนตังแต่ขนตอนการกาจัดรอยผุ การกาจัดเนื้ อเยื่อโพรงประสาท และการบูรณะบริเวณผิวฟนเพื่อ ้ ั้ ั ป้องกันการรัวซึมตามขอบ่
  • 4. นศ.ทพ. สุรจฉรา ชัยราช ั 4 4813590108 เทคนิ คการรักษา[3] Partial pulpotomy เป็ นวิธการกาจัดเนื้อเยื่อในเฉพาะส่วนบนบริเวณที่มการอักเสบไปจนถึง เนื้อเยื่อในที่มสุขภาพดี ี ี ี (healthy coronal pulp) ภาพที่ 1 ขันตอนการทา partial pulpotomy ้ ั ข้อบ่งใช้: โพรงฟนทะลุจากอุบตเหตุภายในเวลาไม่เกิน 24 ชัวโมง หรือใช้ในฟนที่เกิดการทะลุ ั ิ ่ ั ั ระหว่างการเตรียมโพรงฟน แต่สามารถเลือกการรักษาวิธีน้ีได้ในกรณีท่ีขอบเขตการอักเสบของโพรงฟน ั ั มากกว่าปกติ เช่น โพรงฟนทะลุจากอุบตเหตุภายในเวลามากกว่า 24 ชัวโมง หรือเกิดจาก mechanical ั ิ ่ exposure ขณะการกาจัดรอยผุทมความลึก ่ี ี เทคนิค: ฉีดยาชาและใส่แผ่นยางกันน้ าลาย ทาความสะอาดด้วยน้ ายา chlorhexidine หรือ normal ั saline เมื่อพบจุดทะลุจะทาการกาจัดเนื้อเยื่อในโพรงฟนด้านบน โดยใช้หวกรอกากเพชรทีคมและสะอาดกรอ ั ่ กาจัดเนื้อเยื่อในออก 1-2 มม. หากพบว่ามีเลือดไหลอออกมากให้กรอลงไปอีก ล้างด้วยน้ าเกลือสะอาด จากนันซับด้วยก้อนสาลีสะอาด ้ วิธทา: ใช้หวกรอกากเพชรทีมความเร็วสูงร่วมกับใช้น้าเพือกาจัดเนื้อเยือโพรงประสาททีมการอักเสบ ี ั ่ ี ่ ่ ่ ี ออก การกาจัดเนื้อเยื่อในออกอย่างเพียงพอหรือไม่นนพิจารณาจากเลือดทีออกมาจะมีระยะเวลาอยู่เพียงไม่ ั้ ่ นาน ซึงการรักษาด้วยวิธน้ีจะยังคงมีเนื้อเยื่อในส่วนทีดเหลืออยู่ และสามารถทาให้เกิดการปิ ด (seal) รอยทะลุ ่ ี ่ ี โพรงประสาทด้วยเนื้อเยื่อแข็ง โดยความสาเร็จของการรักษาด้วยวิธน้ีขนอยู่กบ การห้ามเลือด การปิ ดเพื่อ ี ้ึ ั ี ั ั ั ั ป้องกันแบคทีเรีย (bacterial-tight seal) การรักษาด้วยวิธน้ีมกใช้กบฟนน้ านมและฟนแท้ทยงเจริญไม่เต็มทีซง ่ี ั ่ ่ึ เกิดการทะลุโพรงประสาทจากอุบตเหตุ แต่กมแนวคิดทีสามารถนามาใช้ในการรักษาฟนแท้ทเจริญเต็มทีแล้ว ั ิ ็ ี ่ ั ่ี ่ เช่นกัน ีิ ั การติดตามผล: ควรประเมินความมีชวตของฟนด้วยเครือง EPT ความร้อน ความเย็น การคลา การ ่ เคาะ ภายหลังการรักษา 3-4 สัปดาห์ 3 เดือน 6 เดือน 12 เดือนและทุกๆปี และควรถ่ายภาพรังสีเป็ นระยะ ั ่ เพื่อดูความผิดปกติบริเวณปลายราก นอกจากนี้ในฟนทีปลายรากยังเจริญไม่เต็มทีควรถ่ายภาพรังสีเพื่อช่วย ่ ั ติดตามการพัฒนาของรากฟน และยังช่วยในการตรวจการสร้างเนื้อเยื่อแข็ง (hard tissue barrier) บริเวณที่ เกิดการทะลุหลังการรักษา 6 สัปดาห์
  • 5. นศ.ทพ. สุรจฉรา ชัยราช ั 5 4813590108 การพยากรณ์โรค: การรักษาวิธน้ีมขอดีเหนือกว่า direct pulp capping คือ ในระหว่างการเตรียม ี ี ้ โพรงฟ ัน เนื้อเยื่อในโพรงฟนส่วนบนทีมการอักเสบจะถูกกาจัดออกและการใส่แคลเซียมไฮดรอกไซด์จะช่วย ั ่ ี ้ ั ั ้ ฆ่าเชือในโพรงฟนและเนื้อฟน ทังยังช่วยกาจัดเนื้อเยื่อในทีมการอักเสบได้ดวย นอกจากนี้การรักษาด้วยวิธน้ี ่ ี ้ ี ้ื ่ ่ ั จะช่วยให้พนทีสาหรับวัสดุเพือให้เกิด bacterial-tight seal ความสาเร็จของการทา partial pulpotomy ในฟนที่ ั ั ิ ่ ั ี ั ่ ได้รบอุบตเหตุจะอยูในช่วง 95% แต่ยงไม่มการศึกษาถึง success rate ในฟนทีผุทะลุโพรงฟน ั Full pulpotomy ั ั ้ เป็ นการกาจัดโพรงฟนในส่วนตัวฟนทังหมดจนถึงระดับรูเปิ ดเข้าสูคลองรากฟน ่ ั ภาพที่ 2 ขันตอนการทา full pulpotomy ้ ข้อบ่งใช้: เหมือนกับ partial pulpotomy แต่วธน้ีจะใช้ในกรณีทเนื้อเยื่อโพรงประสาทมีการอักเสบ ิี ่ี มากกว่า เทคนิค: การทาจะเหมือน partial pulpotomy แต่จะมีการกรอตัดเนื้อเยื่อโพรงประสาททีอยูในโพรง ่ ่ ั ั ฟนส่วนต้นออกให้หมด จนถึงทางเปิ ดเข้าสู่คลองรากฟนและปิ ดทับด้วย Ca(OH)2 เช่นเดียวกับ partial pulpotomy การติดตามผล: เช่นเดียวกับ partial pulpotomy ั ่ ี การพยากรณ์โรค: มีการศึกษาทางคลินิกทีศกษาในฟนทีมการอักเสบของเนื้อเยื่อโพรงประสาทชนิด ่ ึ ผันกลับได้ พบความสาเร็จถึง 90% ภายหลังการรักษา 6 เดือน และมีความสาเร็จ 78% ภายหลังการรักษา 12 เดือน เอกสารอ้างอิ ง [1] Tziafas D et al. Designing new treatment strategies in vita pulp tgerapy. Journal od dentistry. 2000; 28:77-92 ี ่ ั ีิ ั ่ี ั [2] พัชรี ชูวระ และคณะ. การรักษาเนื้อเยือโพรงฟนแบบคงความมีชวต ในฟนแท้ทผุทะลุโพรงฟน (Vital pulp therapy in cariously exposed permanent teeth) ชม.ทันตสาร. 2547; 25: 15-27 [3] Swift EJ et al. Vital pulp therapy for the mature tooth-can it work. Endodontic topics.2003;5:49-56 [4] Witherspoon DE. Vital pulp therapy with New materials: New directions and treatment Perspectives-Permanent teeth. J Endod. 2008; 34:25-28