SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 12
 
 
บทนำ มนุษย์ได้ประโยชน์จากธรรมชาติเสมอมาไม่ว่ายุคไหน สมัยไหน ได้ตั้งแต่ลืมตาดูโลก จนกระทั่งตายไป จึงใช้ประโยชน์จากธรรมชาติแบบไม่คุ้มค่า มนุษย์ใช้ประโยชน์จากธรรมชาติเกินความจำเป็นที่ต้องการ จนธรรมชาติให้ไม่ทัน ทุกครั้งที่มนุษย์ทำลายธรรมชาติ ทำลายระบบนิเวศ เช่น การตัดไม้ทำลายป่าเพื่อสร้างที่อยู่อาศัยหรือแผ้วถางบุกรุกป่าเพื่อทำไร่ ทำนา หรือด้วยสาเหตุอื่นอีกมากมาย ธรรมชาติต้องมีการปรับตัวโดยการสร้างระบบนิเวศขึ้นใหม่ ถ้าระบบนิเวศเดิมเป็นระบบนิเวศที่พัฒนาเต็มที่ย่อมต้องใช้เวลานานมาก ๆ ในการปรับตัวกว่าที่ระบบนิเวศที่เกิดใหม่จะฟื้นคืนสู่สภาพเดิมได้ การทำลายระบบนิเวศเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้พืชและสัตว์สูญพันธุ์ ยิ่งถ้าเป็นพืชและสัตว์ชนิดที่มีจำนวนน้อยจะสูญพันธุ์ได้ง่ายกว่าชนิดที่มีจำนวนมาก สิ่งมีชีวิตที่สูญพันธุ์ไปแล้วย่อมไม่มีทางที่จะแก้ไขให้มีขึ้นมาได้อีก และถ้ายิ่งมีพืชและสัตว์หลายชนิดสูญพันธุ์ไป การที่ระบบนิเวศ ที่เกิดใหม่จะฟื้นคืนสู่สภาพเดิมก็ยิ่งยากขึ้นเท่านั้น
สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้สัตว์ป่าลดน้อยลง สาเหตุที่ทำให้สัตว์ป่ามีจำนวนลดลงมีหลายปัจจัย เช่น  1.  การลดจำนวนลงตามธรรมชาติ  สัตว์ป่าทุกชนิดย่อมจะดัดแปลงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในสภาพแวดล้อม สัตว์ชนิดใดปรับตัวไม่ได้ก็จะตายไปทำให้ลดจำนวนลงและอาจจะสูญพันธุ์ในที่สุด    2.  การลดจำนวนลงเนื่องจากการล่าโดยตรง 3.  การลดจำนวนลงเนื่องจากการทำลายที่อยู่อาศัย  เนื่องจากประเทศได้พัฒนาความเจริญมากขึ้นและประชากรของประเทศได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ความต้องการที่ทำมาหากินได้เพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัว ป่าไม้ซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าจึงถูกบุกรุกทำลายเสียเป็นจำนวนมาก ทำให้สัตว์ป่าไม่มีที่อยู่อาศัย และสูญพันธุ์ได้ในที่สุด  4.  การลดจำนวนลงเนื่องจากสารพิษ  ประเทศไทยใช้สารเคมีบางอย่าง เช่น ยาฆ่าหนู ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าหญ้า ฯลฯ มองเผิน ๆ ก็ไม่น่าจะเกี่ยวกับสัตว์ป่า แม้ข้อเท็จจริงสัตว์ป่าได้รับพิษเหล่านี้ตามห่วงโซ่อาหารทำให้พิษสะสมในตัวสัตว์ป่า อาจจะมีผลต่อลูกหลานของสัตว์ป่า เช่น ร่างกายไม่สมประกอบ ทำให้ประสิทธิภาพในการให้กำเนิด หลาน เหลน ต่อไปอย่างจำกัดและในที่สุดก็จะสูญพันธุ์ลง   5.  การลดลงเนื่องจากมลพิษ  อุตสาหกรรมต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น โรงงานอุตสาหกรรมได้ปล่อยของเสียออกมา และทำให้สภาพแวดล้อมเป็นพิษ ก่อให้เกิดการเสียชีวิตของสัตว์ได้
สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้สัตว์ป่าลดน้อยลง 6.  การลดจำนวนลงเนื่องจากนำสัตว์อื่นมาทดแทน  การนำสัตว์จากที่อื่นเข้าไปในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น นำสัตว์เลี้ยงเข้าไปในป่า สัตว์เลี้ยงอาจจะไปแย่งอาหาร น้ำและปัจจัยอื่นที่จำเป็นต้องการดำรงชีวิตของสัตว์ป่าอีกทั้งสัตว์เลี้ยงอาจจะนำโรคต่าง ๆ เข้าไปติดต่อให้สัตว์ป่าก็อาจจะทำให้สัตว์ป่าตายลงทำให้ลดจำนวนลงและสูญพันธุ์ต่อไปได้  7.  การลดจำนวนลงเนื่องจากการใช้ประโยชน์จากอาหารของสัตว์ป่าเองอย่างจำกัด  สัตว์ป่าส่วนใหญ่จะใช้ประโยชน์จากอาหารได้อย่างกว้างขวางซึ่งหมายความว่า กินหลายสิ่งเป็นอาหาร แต่ก็มีสัตว์ป่าบางชนิดที่จะกินอาหารเฉพาะอย่างไม่กินอย่างอื่นเลยหรือกินแต่จำนวนน้อย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด เช่น หมีแพนด้าที่กินเฉพาะใบไผ่ที่ขึ้นเฉพาะในพื้นที่เท่านั้น ดังนั้นเมื่อป่าไผ่ถูกทำลายลง หมีแพนด้าก็จะอดอาหาร ซึ่งทำให้ลดจำนวนลงได้ และอาจจะสูญพันธุ์ในที่สุด
สัตว์ป่าคุ้มครอง
26  ธันวาคม   “วันคุ้มครองสัตว์ป่า” ความเป็นมา ในอดีตประเทศไทยมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ความหลากหลายทางชีวภาพทั้งพืชและสัตว์ จากจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้มีการทำลายป่าและล่าสัตว์มากขึ้น เป็นผลให้แหล่งอาหารและที่อยู่อาศัย ของสัตว์ป่าถูกทำลาย สัตว์ป่าถูกล่าจนมีจำนวนลดลงอย่างรวดเร็ว สัตว์ป่าหลายชนิดเกือบจะสูญพันธุ์ไปจากประเทศไทย  รัฐบาลในสมัยจอมพลสฤษดิ์    ธนะรัตน์ เป็นนายกรัฐมนตรี จึงได้ตรากฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าขึ้น โดยมีสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ได้ทรงลงนามในพระปรมาภิไธยเมื่อวันที่  26  ธันวาคม  2503 ปี พ . ศ .2535  ได้ปรับปรุงพระราชบัญญัติว่าสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ . 2503  ใหม่ โดยมีเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน มาตรการต่างๆ ที่มีอยู่ในกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถทำให้การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลสมดังวัตถุประสงค์ของกฎหมาย    และต่อมาได้ถือเอาวันที่   26  ธันวาคม ของทุกปี เป็น  “ วันคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ ”   อย่างไรก็ตาม สัตว์ป่าในธรรมชาติก็ยังคงถูกไล่ล่า และลดจำนวนลงเรื่อยๆ ภารกิจ ของผู้มีหน้าที่ในการปกป้องชีวิตสัตว์ป่ามีมากขึ้น การทำงานเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ลำพังเพียงเจ้าหน้าที่ไม่สามารถจะทำให้ประสบความสำเร็จได้ จึงจำเป็นที่จะต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกส่วนฝ่าย ประสานร่วมมือกันทั้งจากภาครัฐ เอกชน ประชาชน เยาวชน และองค์กรเอกชนต่าง ๆ
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ .  2503   จากสถานการณ์ที่สัตว์ป่าต่างๆ ลดจำนวนลงมากทั้งจำนวนชนิดพันธุ์และจำนวนสัตว์แต่ละชนิด ทั้งๆ ที่รัฐบาลได้มีมาตรการในการคุ้มครองสัตว์ป่ามาเป็นเวลานานแล้ว เริ่มจากการตราพระราชบัญญัติสำหรับรักษาช้างป่า ใน ร . ศ . 119 ( พ . ศ . 2443)  ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อควบคุมการจับ การล่าและฆ่าช้าง เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรช้างป่า รัฐบาลในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จึงได้ออกกฎหมายเพื่อคุ้มครองสัตว์ป่าขึ้นอีก เรียกว่า  พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ . 2503   เมื่อวันที่  26  ธันวาคม พ . ศ . 2503   ตามความในพระราชบัญญัติฉบับนี้ ได้จำแนกสัตว์ป่าไว้เป็น  2  หมวด ได้แก่ สัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง  สัตว์ป่าสงวน  หมายถึง สัตว์ป่าที่หาได้ยาก บางชนิดมีจำนวนลดลงมากจนสูญพันธุ์ไป สัตว์ป่าสงวนได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายห้ามมิให้ผู้ใดล่า ยกเว้นเพื่อการศึกษาและวิจัยเท่านั้น  สัตว์ป่าคุ้มครอง  แบ่งออกได้เป็น  2  ประเภท  -  สัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่  1   หมายถึง สัตว์ป่าซึ่งตามปกติคนไม่กินเนื้อเป็นอาหาร ไม่ล่าเพื่อการกีฬาหรือเป็นสัตว์ป่าที่ทำลายศัตรูพืช หรือขจัดสิ่งปฏิกูล หรือเป็นสัตว์ป่าที่ควรสงวนไว้ประดับความงามตามธรรมชาติ  -  สัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่  2   หมายถึง สัตว์ป่าซึ่งตามปกติคนกินเนื้อเป็นอาหาร หรือล่าเพื่อการกีฬา  ***  ในปัจจุบันสัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครองทั้ง   2  ประเภท บางชนิดมีจำนวนลดน้อยลงมาก จนจัดได้ว่าเป็นสัตว์ป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ .  2535
การจัดการอนุรักษ์สัตว์ป่า   การจัดการสัตว์ป่า  หมายถึง  การนำเอาหลักวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของสัตว์ป่ามาประยุกต์ในการดำเนินการจัดการกับสัตว์ป่าในพื้นที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เพื่อให้สัตว์ป่าในพื้นที่นั้น ๆ สามารถอำนวยประโยชน์ให้แก่มนุษย์ทั้งในด้านเศรษฐกิจ วิชาการ และการพักผ่อนหย่อนใจให้มากที่สุด และให้เป็นไปโดยสม่ำเสมอตลอดไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด   การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าจึงควรมีหลักการในการดำเนินการดังนี้  1.  การป้องกัน  การรักษาให้สัตว์ป่าคงอยู่นับว่าเป็นสิ่งสำคัญอันดับแรกของการจัดการสัตว์ป่า การป้องกันสามารถทำได้โดยการ  1.1  จำกัดการล่า 1.2  ควบคุมสิ่งทำลาย 1.3  ควบคุมสิ่งแวดล้อม 2.  การอนุรักษ์แหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งน้ำ และแหล่งอาหาร  อนุรักษ์ ป้องกัน บำรุงรักษาและปรับปรุงแหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งน้ำและอาหารของสัตว์ป่าให้อยู่ในสภาพที่ดีและไม่ถูกทำลายให้สูญหายไป  3.  การค้นคว้าวิจัยทางวิชาการ  การค้นคว้าวิจัยถือได้ว่าเป็นพื้นฐานของการจัดการสัตว์ป่าในอนาคต ต่อไปเมื่อกิจการด้านสัตว์ป่าได้เจริญมากขึ้น จึงควรที่จะเริ่มงานค้นคว้าวิจัยทางวิชาการให้ควบคู่กับงานด้านป้องกันและปราบปรามด้วยเพื่อจะได้หาทางจัดการให้สัตว์ป่ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้นในระดับที่พอเหมาะกับปริมาณอาหาร 4.  การใช้ประโยชน์จากสัตว์ป่า  ตามหลักของการอนุรักษ์นั้นไม่ได้มุ่งแต่ที่จะเก็บรักษาทรัพยากรนั้น ๆ ให้คงอยู่ตลอดไปเท่านั้น แต่ยังต้องรู้จักนำทรัพยากรนั้น ๆ มาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุดโดยไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพยากรนั้น ๆ อีกด้วย ในเรื่องสัตว์ป่าก็เช่นกันจะต้องหาวิธีที่จะนำเอาสัตว์ป่าต่างๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคมในทางที่เหมาะสม  5.  เพิ่มปริมาณให้มากขึ้น  เช่น ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติโดยการควบคุมปัจจัยต่าง ๆ หรือโดยการใช้วิทยาการสมัยใหม่ เช่น การผสมเทียม ฯลฯ
บรรณานุกรม   http://www.forest.go.th http://www.deqp.go.th http://www.swu.ac.th/royal/book 2/ b 2 c 8 t 3. html http://www.baanjomyut.com/library/index.html http://www.baanjomyut.com/library/wild_animal1/index.html http://www.baanjomyut.com/library/wild_animal2/index.html http://coursewares.mju.ac.th/PS407/Page%2016.htm
สัตว์ป่าคุ้มครอง จัดทำโดย 1.  นายนพรัตน์  หารคำ  53010516014  ติดต่อ 2.  นายพัฒนพงษ์  วงชาดี  53010516045  ติดต่อ 3.  นางสาวกันต์กนิษฐ์  สมบัติวงค์  53010516032  ติดต่อ 4.  นางสาวสุวรรณนา  สาผุยทำ  53010520003  ติดต่อ นิสิต ชั้นปีที่  1   คณะศึกษาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Animal

สัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิดสัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิดPang Pond
 
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่าพระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่าKasetsart University
 
สรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
สรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าสรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
สรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าSireethorn Jaidee
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริNarong Jaiharn
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าKONGBENG
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 

Semelhante a Animal (11)

สัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิดสัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิด
 
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่าพระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
 
สรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
สรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าสรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
สรุป พรบ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 

Mais de NooCake Prommali

คู่มือ Power point
คู่มือ Power pointคู่มือ Power point
คู่มือ Power pointNooCake Prommali
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
งานการทำเกรด
งานการทำเกรดงานการทำเกรด
งานการทำเกรดNooCake Prommali
 
สัตว์ป่าคุ้มครอง
สัตว์ป่าคุ้มครองสัตว์ป่าคุ้มครอง
สัตว์ป่าคุ้มครองNooCake Prommali
 

Mais de NooCake Prommali (6)

คู่มือ Power point
คู่มือ Power pointคู่มือ Power point
คู่มือ Power point
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานการทำเกรด
งานการทำเกรดงานการทำเกรด
งานการทำเกรด
 
สัตว์ป่าคุ้มครอง
สัตว์ป่าคุ้มครองสัตว์ป่าคุ้มครอง
สัตว์ป่าคุ้มครอง
 
Teaching
TeachingTeaching
Teaching
 

Animal

  • 1.  
  • 2.  
  • 3. บทนำ มนุษย์ได้ประโยชน์จากธรรมชาติเสมอมาไม่ว่ายุคไหน สมัยไหน ได้ตั้งแต่ลืมตาดูโลก จนกระทั่งตายไป จึงใช้ประโยชน์จากธรรมชาติแบบไม่คุ้มค่า มนุษย์ใช้ประโยชน์จากธรรมชาติเกินความจำเป็นที่ต้องการ จนธรรมชาติให้ไม่ทัน ทุกครั้งที่มนุษย์ทำลายธรรมชาติ ทำลายระบบนิเวศ เช่น การตัดไม้ทำลายป่าเพื่อสร้างที่อยู่อาศัยหรือแผ้วถางบุกรุกป่าเพื่อทำไร่ ทำนา หรือด้วยสาเหตุอื่นอีกมากมาย ธรรมชาติต้องมีการปรับตัวโดยการสร้างระบบนิเวศขึ้นใหม่ ถ้าระบบนิเวศเดิมเป็นระบบนิเวศที่พัฒนาเต็มที่ย่อมต้องใช้เวลานานมาก ๆ ในการปรับตัวกว่าที่ระบบนิเวศที่เกิดใหม่จะฟื้นคืนสู่สภาพเดิมได้ การทำลายระบบนิเวศเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้พืชและสัตว์สูญพันธุ์ ยิ่งถ้าเป็นพืชและสัตว์ชนิดที่มีจำนวนน้อยจะสูญพันธุ์ได้ง่ายกว่าชนิดที่มีจำนวนมาก สิ่งมีชีวิตที่สูญพันธุ์ไปแล้วย่อมไม่มีทางที่จะแก้ไขให้มีขึ้นมาได้อีก และถ้ายิ่งมีพืชและสัตว์หลายชนิดสูญพันธุ์ไป การที่ระบบนิเวศ ที่เกิดใหม่จะฟื้นคืนสู่สภาพเดิมก็ยิ่งยากขึ้นเท่านั้น
  • 4. สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้สัตว์ป่าลดน้อยลง สาเหตุที่ทำให้สัตว์ป่ามีจำนวนลดลงมีหลายปัจจัย เช่น 1. การลดจำนวนลงตามธรรมชาติ สัตว์ป่าทุกชนิดย่อมจะดัดแปลงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในสภาพแวดล้อม สัตว์ชนิดใดปรับตัวไม่ได้ก็จะตายไปทำให้ลดจำนวนลงและอาจจะสูญพันธุ์ในที่สุด 2. การลดจำนวนลงเนื่องจากการล่าโดยตรง 3. การลดจำนวนลงเนื่องจากการทำลายที่อยู่อาศัย เนื่องจากประเทศได้พัฒนาความเจริญมากขึ้นและประชากรของประเทศได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ความต้องการที่ทำมาหากินได้เพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัว ป่าไม้ซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าจึงถูกบุกรุกทำลายเสียเป็นจำนวนมาก ทำให้สัตว์ป่าไม่มีที่อยู่อาศัย และสูญพันธุ์ได้ในที่สุด 4. การลดจำนวนลงเนื่องจากสารพิษ ประเทศไทยใช้สารเคมีบางอย่าง เช่น ยาฆ่าหนู ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าหญ้า ฯลฯ มองเผิน ๆ ก็ไม่น่าจะเกี่ยวกับสัตว์ป่า แม้ข้อเท็จจริงสัตว์ป่าได้รับพิษเหล่านี้ตามห่วงโซ่อาหารทำให้พิษสะสมในตัวสัตว์ป่า อาจจะมีผลต่อลูกหลานของสัตว์ป่า เช่น ร่างกายไม่สมประกอบ ทำให้ประสิทธิภาพในการให้กำเนิด หลาน เหลน ต่อไปอย่างจำกัดและในที่สุดก็จะสูญพันธุ์ลง 5. การลดลงเนื่องจากมลพิษ อุตสาหกรรมต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น โรงงานอุตสาหกรรมได้ปล่อยของเสียออกมา และทำให้สภาพแวดล้อมเป็นพิษ ก่อให้เกิดการเสียชีวิตของสัตว์ได้
  • 5. สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้สัตว์ป่าลดน้อยลง 6. การลดจำนวนลงเนื่องจากนำสัตว์อื่นมาทดแทน การนำสัตว์จากที่อื่นเข้าไปในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น นำสัตว์เลี้ยงเข้าไปในป่า สัตว์เลี้ยงอาจจะไปแย่งอาหาร น้ำและปัจจัยอื่นที่จำเป็นต้องการดำรงชีวิตของสัตว์ป่าอีกทั้งสัตว์เลี้ยงอาจจะนำโรคต่าง ๆ เข้าไปติดต่อให้สัตว์ป่าก็อาจจะทำให้สัตว์ป่าตายลงทำให้ลดจำนวนลงและสูญพันธุ์ต่อไปได้ 7. การลดจำนวนลงเนื่องจากการใช้ประโยชน์จากอาหารของสัตว์ป่าเองอย่างจำกัด สัตว์ป่าส่วนใหญ่จะใช้ประโยชน์จากอาหารได้อย่างกว้างขวางซึ่งหมายความว่า กินหลายสิ่งเป็นอาหาร แต่ก็มีสัตว์ป่าบางชนิดที่จะกินอาหารเฉพาะอย่างไม่กินอย่างอื่นเลยหรือกินแต่จำนวนน้อย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด เช่น หมีแพนด้าที่กินเฉพาะใบไผ่ที่ขึ้นเฉพาะในพื้นที่เท่านั้น ดังนั้นเมื่อป่าไผ่ถูกทำลายลง หมีแพนด้าก็จะอดอาหาร ซึ่งทำให้ลดจำนวนลงได้ และอาจจะสูญพันธุ์ในที่สุด
  • 7. 26 ธันวาคม “วันคุ้มครองสัตว์ป่า” ความเป็นมา ในอดีตประเทศไทยมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ความหลากหลายทางชีวภาพทั้งพืชและสัตว์ จากจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้มีการทำลายป่าและล่าสัตว์มากขึ้น เป็นผลให้แหล่งอาหารและที่อยู่อาศัย ของสัตว์ป่าถูกทำลาย สัตว์ป่าถูกล่าจนมีจำนวนลดลงอย่างรวดเร็ว สัตว์ป่าหลายชนิดเกือบจะสูญพันธุ์ไปจากประเทศไทย รัฐบาลในสมัยจอมพลสฤษดิ์   ธนะรัตน์ เป็นนายกรัฐมนตรี จึงได้ตรากฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าขึ้น โดยมีสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ได้ทรงลงนามในพระปรมาภิไธยเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2503 ปี พ . ศ .2535 ได้ปรับปรุงพระราชบัญญัติว่าสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ . 2503 ใหม่ โดยมีเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน มาตรการต่างๆ ที่มีอยู่ในกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถทำให้การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลสมดังวัตถุประสงค์ของกฎหมาย   และต่อมาได้ถือเอาวันที่ 26 ธันวาคม ของทุกปี เป็น “ วันคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ ” อย่างไรก็ตาม สัตว์ป่าในธรรมชาติก็ยังคงถูกไล่ล่า และลดจำนวนลงเรื่อยๆ ภารกิจ ของผู้มีหน้าที่ในการปกป้องชีวิตสัตว์ป่ามีมากขึ้น การทำงานเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ลำพังเพียงเจ้าหน้าที่ไม่สามารถจะทำให้ประสบความสำเร็จได้ จึงจำเป็นที่จะต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกส่วนฝ่าย ประสานร่วมมือกันทั้งจากภาครัฐ เอกชน ประชาชน เยาวชน และองค์กรเอกชนต่าง ๆ
  • 8. พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ . 2503 จากสถานการณ์ที่สัตว์ป่าต่างๆ ลดจำนวนลงมากทั้งจำนวนชนิดพันธุ์และจำนวนสัตว์แต่ละชนิด ทั้งๆ ที่รัฐบาลได้มีมาตรการในการคุ้มครองสัตว์ป่ามาเป็นเวลานานแล้ว เริ่มจากการตราพระราชบัญญัติสำหรับรักษาช้างป่า ใน ร . ศ . 119 ( พ . ศ . 2443) ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อควบคุมการจับ การล่าและฆ่าช้าง เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรช้างป่า รัฐบาลในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จึงได้ออกกฎหมายเพื่อคุ้มครองสัตว์ป่าขึ้นอีก เรียกว่า พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ . ศ . 2503 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ . ศ . 2503 ตามความในพระราชบัญญัติฉบับนี้ ได้จำแนกสัตว์ป่าไว้เป็น 2 หมวด ได้แก่ สัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าที่หาได้ยาก บางชนิดมีจำนวนลดลงมากจนสูญพันธุ์ไป สัตว์ป่าสงวนได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายห้ามมิให้ผู้ใดล่า ยกเว้นเพื่อการศึกษาและวิจัยเท่านั้น สัตว์ป่าคุ้มครอง แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท - สัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1 หมายถึง สัตว์ป่าซึ่งตามปกติคนไม่กินเนื้อเป็นอาหาร ไม่ล่าเพื่อการกีฬาหรือเป็นสัตว์ป่าที่ทำลายศัตรูพืช หรือขจัดสิ่งปฏิกูล หรือเป็นสัตว์ป่าที่ควรสงวนไว้ประดับความงามตามธรรมชาติ - สัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 2 หมายถึง สัตว์ป่าซึ่งตามปกติคนกินเนื้อเป็นอาหาร หรือล่าเพื่อการกีฬา *** ในปัจจุบันสัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครองทั้ง 2 ประเภท บางชนิดมีจำนวนลดน้อยลงมาก จนจัดได้ว่าเป็นสัตว์ป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์
  • 9.
  • 10. การจัดการอนุรักษ์สัตว์ป่า การจัดการสัตว์ป่า หมายถึง การนำเอาหลักวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของสัตว์ป่ามาประยุกต์ในการดำเนินการจัดการกับสัตว์ป่าในพื้นที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เพื่อให้สัตว์ป่าในพื้นที่นั้น ๆ สามารถอำนวยประโยชน์ให้แก่มนุษย์ทั้งในด้านเศรษฐกิจ วิชาการ และการพักผ่อนหย่อนใจให้มากที่สุด และให้เป็นไปโดยสม่ำเสมอตลอดไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าจึงควรมีหลักการในการดำเนินการดังนี้ 1. การป้องกัน การรักษาให้สัตว์ป่าคงอยู่นับว่าเป็นสิ่งสำคัญอันดับแรกของการจัดการสัตว์ป่า การป้องกันสามารถทำได้โดยการ 1.1 จำกัดการล่า 1.2 ควบคุมสิ่งทำลาย 1.3 ควบคุมสิ่งแวดล้อม 2. การอนุรักษ์แหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งน้ำ และแหล่งอาหาร อนุรักษ์ ป้องกัน บำรุงรักษาและปรับปรุงแหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งน้ำและอาหารของสัตว์ป่าให้อยู่ในสภาพที่ดีและไม่ถูกทำลายให้สูญหายไป 3. การค้นคว้าวิจัยทางวิชาการ การค้นคว้าวิจัยถือได้ว่าเป็นพื้นฐานของการจัดการสัตว์ป่าในอนาคต ต่อไปเมื่อกิจการด้านสัตว์ป่าได้เจริญมากขึ้น จึงควรที่จะเริ่มงานค้นคว้าวิจัยทางวิชาการให้ควบคู่กับงานด้านป้องกันและปราบปรามด้วยเพื่อจะได้หาทางจัดการให้สัตว์ป่ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้นในระดับที่พอเหมาะกับปริมาณอาหาร 4. การใช้ประโยชน์จากสัตว์ป่า ตามหลักของการอนุรักษ์นั้นไม่ได้มุ่งแต่ที่จะเก็บรักษาทรัพยากรนั้น ๆ ให้คงอยู่ตลอดไปเท่านั้น แต่ยังต้องรู้จักนำทรัพยากรนั้น ๆ มาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุดโดยไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพยากรนั้น ๆ อีกด้วย ในเรื่องสัตว์ป่าก็เช่นกันจะต้องหาวิธีที่จะนำเอาสัตว์ป่าต่างๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคมในทางที่เหมาะสม 5. เพิ่มปริมาณให้มากขึ้น เช่น ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติโดยการควบคุมปัจจัยต่าง ๆ หรือโดยการใช้วิทยาการสมัยใหม่ เช่น การผสมเทียม ฯลฯ
  • 11. บรรณานุกรม http://www.forest.go.th http://www.deqp.go.th http://www.swu.ac.th/royal/book 2/ b 2 c 8 t 3. html http://www.baanjomyut.com/library/index.html http://www.baanjomyut.com/library/wild_animal1/index.html http://www.baanjomyut.com/library/wild_animal2/index.html http://coursewares.mju.ac.th/PS407/Page%2016.htm
  • 12. สัตว์ป่าคุ้มครอง จัดทำโดย 1. นายนพรัตน์ หารคำ 53010516014 ติดต่อ 2. นายพัฒนพงษ์ วงชาดี 53010516045 ติดต่อ 3. นางสาวกันต์กนิษฐ์ สมบัติวงค์ 53010516032 ติดต่อ 4. นางสาวสุวรรณนา สาผุยทำ 53010520003 ติดต่อ นิสิต ชั้นปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา