SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ 1.1.1.1.5555
รายวิชา งรายวิชา งรายวิชา งรายวิชา ง 32221322213222132221 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5555
หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่ 1111 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซี เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมได้
การวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรม
การวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหา เป็นขั้นตอนที่ 1 ของการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม นั่นคือการ
วิเคราะห์ความต้องการ หรือที่เรียกว่า การวิเคราะห์ปัญหาหรือวิเคราะห์งานนั่นเอง ในขั้นตอนนี้นับว่า
สําคัญที่สุดสําหรับการเตรียมเพื่อเขียนโปรแกรม เพราะการวิเคราะห์งานหรือการพิจารณาถึงผลลัพธ์ที่
ต้องการได้จากโปรแกรม รูปแบบ ผลลัพธ์ ข้อมูลที่ต้องจัดเตรียม วิธีการและขั้นตอนการเรียงลําดับ
ภายในโปรแกรม
ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่าง ต้องการเขียนโปรแกรมเพื่อคํานวณหาปริมาตรของทรงกระบอก ผู้เขียนโปรแกรม
จะต้องทราบว่า การหาปริมาตรคํานวณได้จากสูตร
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งาน
1.1.1.1. สิ่งที่ต้องการสิ่งที่ต้องการสิ่งที่ต้องการสิ่งที่ต้องการ เป็นการพิจารณาเกี่ยวกับงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทําและผลลัพธ์ที่ต้องการสําหรับ
งานที่ต้องการผลลัพธ์มากกว่าหนึ่งอย่าง ควรเขียนแยกเป็นข้อๆ ชัดเจน
ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างเบื้องต้นเบื้องต้นเบื้องต้นเบื้องต้น
1. ต้องการคํานวณพื้นที่รูปสามเหลี่ยม
2. เงินเดือนพนักงานแต่ละคน (เงินเดือนรวมค่าจ้างล่วงเวลา)
ปริมาตรทรงกระบอกปริมาตรทรงกระบอกปริมาตรทรงกระบอกปริมาตรทรงกระบอก ==== พื้นที่ฐานพื้นที่ฐานพื้นที่ฐานพื้นที่ฐาน xxxx ความสูงความสูงความสูงความสูง
2.2.2.2. รูปแบบของผลลัพธ์รูปแบบของผลลัพธ์รูปแบบของผลลัพธ์รูปแบบของผลลัพธ์ เป็นการศึกษาถึงลักษณะผลลัพธ์ที่ต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์แสดงออกมา
เช่น แสดงออกทางจอภาพ หรือพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ และอาจต้องกําหนดรายละเอียดอย่างชัดเจน
เช่น การพิมพ์เอกสารออกมา ต้องมีรายการอะไรบ้าง เช่น ส่วนหัว – ท้ายเอกสาร รูปแบบ
ตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้น
ผลลัพธ์ที่ต้องการ : แสดงค่าพื้นที่รูปสามเหลี่ยามหรือรูปสี่เหลี่ยม
ลักษณะการแสดงผลลัพธ์ : จอภาพ
รูปแบบที่แสดง พื้นที่ : xxxxxxxx
3.3.3.3. ข้อมูลที่นําเข้าข้อมูลที่นําเข้าข้อมูลที่นําเข้าข้อมูลที่นําเข้า หลังจากทราบรูปแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการแล้ว ต่อไปจะต้องพิจารณาข้อมูลที่จะหลังจากทราบรูปแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการแล้ว ต่อไปจะต้องพิจารณาข้อมูลที่จะหลังจากทราบรูปแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการแล้ว ต่อไปจะต้องพิจารณาข้อมูลที่จะหลังจากทราบรูปแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการแล้ว ต่อไปจะต้องพิจารณาข้อมูลที่จะ
นํามาเป็นข้อมูลเข้านํามาเป็นข้อมูลเข้านํามาเป็นข้อมูลเข้านํามาเป็นข้อมูลเข้า (Input(Input(Input(Input Data)Data)Data)Data) ว่าครบถ้วนสําหรับการประมวลผลหรือไม่ว่าครบถ้วนสําหรับการประมวลผลหรือไม่ว่าครบถ้วนสําหรับการประมวลผลหรือไม่ว่าครบถ้วนสําหรับการประมวลผลหรือไม่
ตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้น
ข้อมูลนําเข้า ได้แก่ ความกว้าง และความยาวของรูปสามเหลี่ยม
หรือรูปสี่เหลี่ยม
4.4.4.4. กําหนดตัวแปรที่ใช้กําหนดตัวแปรที่ใช้กําหนดตัวแปรที่ใช้กําหนดตัวแปรที่ใช้ เป็นการกําหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลนําเข้า เพื่อความสะดวกต่อการ
นําเอาข้อมูลไปวิเคราะห์หาขั้นตอนการประมวลผล เช่น
Id แทน รหัสประจําตัวนักเรียน
Name แทน ชื่อนักเรียน
การตั้งชื่อตัวแปรมีกฏกว้าง ๆการตั้งชื่อตัวแปรมีกฏกว้าง ๆการตั้งชื่อตัวแปรมีกฏกว้าง ๆการตั้งชื่อตัวแปรมีกฏกว้าง ๆ ดังนี้
1. ตั้งชื่อให้ตรงกับการกฏตั้งชื่อตัวแปรของภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม
2. ไม่ซ้ํากับคําศัพท์เฉพาะของภาษาที่เขียน เช่น คําสั่งต่างๆ ของโปรแกรม
3. ตั้งให้สื่อความหมายกับค่าที่แทน เช่น Name หมายถึง ชื่อ
ตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้น
Area = พื้นที่
Width = ความกว้างหรือฐาน
Height = ความสูง
5555.... วิธีการประมวลผลวิธีการประมวลผลวิธีการประมวลผลวิธีการประมวลผล เป็นขั้นตอนการประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามรูปแบบที่ต้องการโดยใช้ข้อมูล
นําเข้าและตัวแปรต่างๆ ตามที่ได้กําหนดไว้แล้ว
ตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้น
การประมวลผลพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
1. รับค่า width, height
2. คํานวณ area = 0.5 x width x height
3. พิมพ์ค่า area
4. จบการทํางาน

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a ใบความรู้ที่ 5 การวิเคราะห์เพื่อออกแบบโปรแกรม

ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4 krurutsamee
 
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นdechathon
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์prang00
 
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดโจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดnattapon Arsapanom
 
วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนNDuangkaew
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศณัฐพล บัวพันธ์
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์Nattapon
 

Semelhante a ใบความรู้ที่ 5 การวิเคราะห์เพื่อออกแบบโปรแกรม (8)

ชุดที่4
ชุดที่4 ชุดที่4
ชุดที่4
 
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ การเขียโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดโจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
 
วิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียนวิจัยชั้นเรียน
วิจัยชั้นเรียน
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Lesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-programLesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-program
 

Mais de dechathon

บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1dechathon
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1dechathon
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5dechathon
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีdechathon
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นdechathon
 

Mais de dechathon (20)

บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1บทเรียนที่ 1
บทเรียนที่ 1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4ใบกิจรรมที่ 1.4
ใบกิจรรมที่ 1.4
 
ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3ใบกิจรรมที่ 1.3
ใบกิจรรมที่ 1.3
 
ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2ใบกิจรรมที่ 1.2
ใบกิจรรมที่ 1.2
 
ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1ใบกิจรรมที่ 1.1
ใบกิจรรมที่ 1.1
 
ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5ใบกิจรรมที่ 1.5
ใบกิจรรมที่ 1.5
 
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซีวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
วิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมภาษาซี
 
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นสาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
สาระการเรียนรู็ วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
 
Unit 4 13
Unit 4 13Unit 4 13
Unit 4 13
 
Unit 4 11
Unit 4 11Unit 4 11
Unit 4 11
 
Unit 4 12
Unit 4  12Unit 4  12
Unit 4 12
 
Unit5 16
Unit5 16Unit5 16
Unit5 16
 
Unit5 14
Unit5 14Unit5 14
Unit5 14
 
Unit3 10
Unit3 10Unit3 10
Unit3 10
 
Unit3 9
Unit3 9Unit3 9
Unit3 9
 
Unit3 8
Unit3 8Unit3 8
Unit3 8
 
Unit2 7
Unit2 7Unit2 7
Unit2 7
 
Unit2 6
Unit2 6Unit2 6
Unit2 6
 

ใบความรู้ที่ 5 การวิเคราะห์เพื่อออกแบบโปรแกรม

  • 1. ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ใบความรู้ที่ 1.1.1.1.5555 รายวิชา งรายวิชา งรายวิชา งรายวิชา ง 32221322213222132221 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซีการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5555 หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่หน่วยการเรียนรู้ที่ 1111 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาซี เรื่องเรื่องเรื่องเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรม ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวังผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมได้ การวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรมการวิเคราะห์ปัญหาการออกแบบโปรแกรม การวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหาการวิเคราะห์ปัญหา เป็นขั้นตอนที่ 1 ของการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม นั่นคือการ วิเคราะห์ความต้องการ หรือที่เรียกว่า การวิเคราะห์ปัญหาหรือวิเคราะห์งานนั่นเอง ในขั้นตอนนี้นับว่า สําคัญที่สุดสําหรับการเตรียมเพื่อเขียนโปรแกรม เพราะการวิเคราะห์งานหรือการพิจารณาถึงผลลัพธ์ที่ ต้องการได้จากโปรแกรม รูปแบบ ผลลัพธ์ ข้อมูลที่ต้องจัดเตรียม วิธีการและขั้นตอนการเรียงลําดับ ภายในโปรแกรม ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่าง ต้องการเขียนโปรแกรมเพื่อคํานวณหาปริมาตรของทรงกระบอก ผู้เขียนโปรแกรม จะต้องทราบว่า การหาปริมาตรคํานวณได้จากสูตร หลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งาน 1.1.1.1. สิ่งที่ต้องการสิ่งที่ต้องการสิ่งที่ต้องการสิ่งที่ต้องการ เป็นการพิจารณาเกี่ยวกับงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทําและผลลัพธ์ที่ต้องการสําหรับ งานที่ต้องการผลลัพธ์มากกว่าหนึ่งอย่าง ควรเขียนแยกเป็นข้อๆ ชัดเจน ตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างตัวอย่างเบื้องต้นเบื้องต้นเบื้องต้นเบื้องต้น 1. ต้องการคํานวณพื้นที่รูปสามเหลี่ยม 2. เงินเดือนพนักงานแต่ละคน (เงินเดือนรวมค่าจ้างล่วงเวลา) ปริมาตรทรงกระบอกปริมาตรทรงกระบอกปริมาตรทรงกระบอกปริมาตรทรงกระบอก ==== พื้นที่ฐานพื้นที่ฐานพื้นที่ฐานพื้นที่ฐาน xxxx ความสูงความสูงความสูงความสูง
  • 2. 2.2.2.2. รูปแบบของผลลัพธ์รูปแบบของผลลัพธ์รูปแบบของผลลัพธ์รูปแบบของผลลัพธ์ เป็นการศึกษาถึงลักษณะผลลัพธ์ที่ต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์แสดงออกมา เช่น แสดงออกทางจอภาพ หรือพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ และอาจต้องกําหนดรายละเอียดอย่างชัดเจน เช่น การพิมพ์เอกสารออกมา ต้องมีรายการอะไรบ้าง เช่น ส่วนหัว – ท้ายเอกสาร รูปแบบ ตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้น ผลลัพธ์ที่ต้องการ : แสดงค่าพื้นที่รูปสามเหลี่ยามหรือรูปสี่เหลี่ยม ลักษณะการแสดงผลลัพธ์ : จอภาพ รูปแบบที่แสดง พื้นที่ : xxxxxxxx 3.3.3.3. ข้อมูลที่นําเข้าข้อมูลที่นําเข้าข้อมูลที่นําเข้าข้อมูลที่นําเข้า หลังจากทราบรูปแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการแล้ว ต่อไปจะต้องพิจารณาข้อมูลที่จะหลังจากทราบรูปแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการแล้ว ต่อไปจะต้องพิจารณาข้อมูลที่จะหลังจากทราบรูปแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการแล้ว ต่อไปจะต้องพิจารณาข้อมูลที่จะหลังจากทราบรูปแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการแล้ว ต่อไปจะต้องพิจารณาข้อมูลที่จะ นํามาเป็นข้อมูลเข้านํามาเป็นข้อมูลเข้านํามาเป็นข้อมูลเข้านํามาเป็นข้อมูลเข้า (Input(Input(Input(Input Data)Data)Data)Data) ว่าครบถ้วนสําหรับการประมวลผลหรือไม่ว่าครบถ้วนสําหรับการประมวลผลหรือไม่ว่าครบถ้วนสําหรับการประมวลผลหรือไม่ว่าครบถ้วนสําหรับการประมวลผลหรือไม่ ตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้น ข้อมูลนําเข้า ได้แก่ ความกว้าง และความยาวของรูปสามเหลี่ยม หรือรูปสี่เหลี่ยม 4.4.4.4. กําหนดตัวแปรที่ใช้กําหนดตัวแปรที่ใช้กําหนดตัวแปรที่ใช้กําหนดตัวแปรที่ใช้ เป็นการกําหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลนําเข้า เพื่อความสะดวกต่อการ นําเอาข้อมูลไปวิเคราะห์หาขั้นตอนการประมวลผล เช่น Id แทน รหัสประจําตัวนักเรียน Name แทน ชื่อนักเรียน การตั้งชื่อตัวแปรมีกฏกว้าง ๆการตั้งชื่อตัวแปรมีกฏกว้าง ๆการตั้งชื่อตัวแปรมีกฏกว้าง ๆการตั้งชื่อตัวแปรมีกฏกว้าง ๆ ดังนี้ 1. ตั้งชื่อให้ตรงกับการกฏตั้งชื่อตัวแปรของภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม 2. ไม่ซ้ํากับคําศัพท์เฉพาะของภาษาที่เขียน เช่น คําสั่งต่างๆ ของโปรแกรม 3. ตั้งให้สื่อความหมายกับค่าที่แทน เช่น Name หมายถึง ชื่อ
  • 3. ตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้น Area = พื้นที่ Width = ความกว้างหรือฐาน Height = ความสูง 5555.... วิธีการประมวลผลวิธีการประมวลผลวิธีการประมวลผลวิธีการประมวลผล เป็นขั้นตอนการประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามรูปแบบที่ต้องการโดยใช้ข้อมูล นําเข้าและตัวแปรต่างๆ ตามที่ได้กําหนดไว้แล้ว ตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้นตัวอย่างเบื้องต้น การประมวลผลพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม 1. รับค่า width, height 2. คํานวณ area = 0.5 x width x height 3. พิมพ์ค่า area 4. จบการทํางาน