SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 26
Baixar para ler offline
ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesic)
                                                                                          โดย   Makorn M.F. Rx68 # 96

Outline:
  ¤      ความเจ็บปวด และกลไกที่เกี่ยวของกับความรูสึกเจ็บปวด
  ¤      กลไกการระงับความเจ็บปวด
  ¤      การแบงประเภทของตัวรับกลุม opioids
  ¤      ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของ opioids
  ¤      ยาระงับปวดที่เกี่ยวของ


ความเจ็บปวด และกลไกที่เกี่ยวของ
             ความเจ็บปวด (Pain) หมายถึง การรับรูความปวดที่เปน protective mechanism ของรางกายซึ่งใชปกปองจาก
สิ่งเราที่ทําใหเกิดการบาดเจ็บ เปนความรูสึกที่ไมสบายที่อาจเกิดขึ้นไดจากทั้งรางกายและจิตใจ เกิดขึ้นจากการที่ ตัวรับ
nociceptor (nocere = to injure; Latin) ถูกกระตุนโดยตัวกระตุนที่ทําใหเกิดความรูสึกเจ็บปวดตออันตรายหรือความ
เสียหายที่เกิดขึ้น (noxious stimuli) ซึ่งประกอบไปดวย electrical, mechanical, thermal และ chemical สงความรูสึกนี้
ผ า น nociceptive pathway เข า สู ร ะบบประสาทส ว นกลางต อ ไป จึ ง จํ า เป น ต อ งได รั บ การรั ก ษาด ว ยยาระงั บ ปวด
(analgesics) สําหรับความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นจากรางกายเทานั้นนะ ไมใชจิตใจ (คนละเรื่องกัน)
             ความปวดในทางคลินิค หมายถึง ความไมสบายและความรูสึกที่ไวผิดปกติของผูปวย ซึ่งมักจะมีลักษณะที่สําคัญ
3 อยาง คือ
      1. เกิดขึ้นไดเอง (spontaneous) โดยที่ปวดอาจเปนลักษณะใดก็ได
      2. ลักษณะของความปวดที่ตอบสนอง noxious stimuli มักจะมากกวาความเปนจริง (exaggerated)
      3. ความปวดเกิดขึ้นไดแมจะเปนการกระตุนที่ไมทําใหมีการบาดเจ็บ (innocuous stimuli )


กลไกความรูสึกเจ็บปวด (Neural Mechanism of Pain Sensation)
         เริ่มการตัวกระตุนที่ทําใหเกิดความเจ็บปวด สงสัญญาณผาน peripheral nerve fiber ซึ่งเปนตัวนําความเจ็บปวด
สูสมอง โดยสามารถแบงออกเปน fiber ตางๆ ดังตารางตอไปนี้
                                                                  Mean diameter         Mean conduct velocity
     Fiber                       Innervations
                                                                       (mm)                        (m/s)
      Ab       Cutaneous touch and pressure afferents                 8 (5-15)                  50 (30-70)
               (myelinated)
      Ad       Mechanoreceptors, Nociceptors (myelinated)            <3 (1-4)                   15 (12-30)
       C       Mechanoreceptors, Nociceptors,                       1 (0.5-1.5)                  1 (0.5-2)
               Sympathetic postgangloinic (unmyelinated)
         ความเจ็บปวดที่มากระตุนผาน afferent fiber แตละชนิดนั้น จะกอใหเกิดความรูสึกเจ็บตางกัน โดย Ad fiber จะ
นําความเจ็บปวดแบบ Sharp pain (เจ็บแปลบ) สวน C fiber จะนําความเจ็บปวดแบบ Dull pain (เจ็บตื้อๆ) และ Ab จะ
เปน hyperalgesia (ความเจ็บปวดมากกวาปกติ ถานึกไมออกวาเปนยังไง ลองนึกถึงเวลาที่เอาอะไรไปแตะๆ ที่แผลดู)


q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics)                                                                        1 | ห น า
หลังจากผาน afferent fiber แลว จะเขาสู dorsal horn ของ spinal cord ซึ่งประกอบดวย 6 laminar ดว ยกัน
(รูปที่ 1)
             -   เมื่อกระตุนผาน mechanoreceptor ของ Ab fiber จะสิ้นสุดที่ laminar III, IV, V และ VI
             -   สําหรับการกระตุนผาน nociceptor ของ Ad fiber จะมาสิ้นสุดที่ laminar I และ V ซึ่งจะมี neuron ขนาดเล็ก
                 (interneuron) เชื่อมตอระหวาง neuron I และ V อยูในชั้น laminar II ที่เรียกวา Substantia gelatinosa
             -   ถาเปนการกระตุนผาน mechanoreceptor ของ Ad fiber จะสิ้นสุดที่ laminar II และ III
             -   C fiber จะนําความรูสึกมาสิ้นสุดที่ laminar I และ II




                     รูปที่ 1 The termination of afferent fibers in six laminae of the dorsal horn of the spinal cord
จากนั้นสัญญาณประสาทจะถูกสงตอไปสูสมองดวยกัน 2 pathway สู thalamus ได 3 ระดับคือ Ventral posterior lateral
thalamus (VPL), Posterior lateral thalamus (PO) และ Medial and intralaminar thalamus (MT) ดังนี้
     1. Ventrolateral spinothalamic pathway (Somatic discriminative function) เมื่อสัญญาณประสาทถูกสงขึ้นไป
         จะแยกออกเปน 2 tract คือ
            i. Lateral spinothalamic tract ขึ้นไปทางดานขาง ไปยัง somatosensory cortex
           ii. Medial spinothalamic tract ขึ้นไปตรงๆ สูสวนกลาง โดยเลี้ยวที่ Reticular formation (RF)




                                                      รูปที่ 2 Spinothalamic tract
     2. Dorsal column pathway (Motivation affective function) โดย synapse ที่ผานมาทางนี้จะไมมี synaptic delay
        บริเวณ spinal cord แตจะไป synapse ในระดับ lower brain stem เลย แลว impulse ขึ้นสูระดับสมองสวนบน
        ซึ่งจะมีความเร็วในการสงมากกวา ventrolateral spinothalamic pathway


2 | ห น า                                                                                                       by Mark Rx68 # 96   ©
ยังงงอยูใชมะ ตอไปเราจะมาลงรายละเอียดกัน... เริ่มจาก ventral posterior lateral thalamus (VPL) จะรั บ
impulse มาจาก 2 ทาง คือ ventrolateral spinothalamic pathway และ dorsal column pathway แตจะไปทาง dorsal
column pathway ไดเร็วกวา ซึ่งจากจุด VPL นี้เอง ทําใหเรารับรูความเจ็บปวดไดอยางหยาบๆ แตการที่เรารับรูวาเจ็บปวด
มากนอยแคไหน เกิดจากการสงสัญญาณไปแปลผลตอ ที่ somatosensory cortex (s.s. cortex) สวน impulse ที่ไปสู
posterior lateral thalamus (PO) ทาง lateral spinothalamic tract จะเปนตัวบอกวาความเจ็บปวดเกิดขึ้นที่ตําแหนงใดของ
รางกาย ซึ่งจะถูกสงสัญญาณตอไปแปลผลที่ s.s. cortex เชนกัน เพื่อใหรูวาความเจ็บปวดมาจากตําแหนงแหงหนใด ดังนั้น
impulse ที่สงไปยัง thalamus ใน 2 ระดับนี้จึงถูกเรียกวา somatic discriminative function นั่นเอง




                                     VPL                              VPL



                                  PO                                     PO




                                                                          Modulation in the Nociceptive pathway




         สวน impulse ที่สงไปทาง medial spinothalamic tract เมื่อผานเขาสู reticular formation (RF) ก็จะมี neuron สง
ตอไปยัง medial and intralaminar thalamus (MT) และ cortex ตามลําดับ ซึ่ง impulse ที่มาทาง tract นี้จะเปนตัวกระตุน
ใหเราเคลื่อนไหวเพื่อหลบหลีกสิ่งที่มาทําใหเกิดความรูสึกเจ็บปวด สวนอีกทางหนึ่ง เมื่อ impulse ผานเขาสู RF แลว จะมี
impulse ที่ถูกสงตอไปทาง Hypothalamus (HYP) และ Medial forebrain (MF) ตามลําดับ พบวาเกี่ยวของกับอารมณและ
การโตต อบสิ่ งที่ มากระตุน ใหเ กิด ความเจ็บ ปวด เชน รูสึ กวิ ตกกั งวล หวาดกลัว ดั ง นั้น impulse ที่ส ง มายัง reticular
formation จึงทํา หนาที่เปน Motivation effective function คือทําใหเ กิดความเคลื่อนไหว และการสนองตอบตอความ
เจ็บปวดนั่นเอง




                รูปที่ 3 แผนภาพสรุป Motivation effective function ซึ่งเปน impulse ที่ผาน medial spinothalamic tract


q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics)                                                                            3 | ห น า
กลไกการระงับความเจ็บปวด
       รางกายสามารถปรับลดระดับความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นจาก pain impulse โดยมีอาศัยกลไกจาก 3 ระบบทั้งจาก
ระบบประสาทรอบนอกและระบบประสาทสวนกลางที่เกี่ยวของกับความเจ็บปวด ดังนี้
        1. Inhibit การถูกกระตุนของ nociceptor (pain receptor) ยาที่ออกฤทธิ์ระงับปวดระดับนี้เรียกวา “Peripheral
            analgesia” (รูปที่ 4-A)
        2. Inhibit ในระดับ spinal cord ซึ่งจะมี gate control system อยูบริเวณ substantia gelatinosa (laminar II)
            ซึ่งจะเปนตัวควบคุม impulse ที่นํามาจาก peripheral fiber เพื่อไมใหผาน spinal neuron ที่จะขึ้นสูสมอง
            สวนบน ยาที่ออกฤทธิ์ระงับปวดระดับไขสันหลังนี้เรียกวา “Spinal analgesia” (รูปที่ 4-B)
        3. Descending inhibitory control system เป นการส ง impulse จากสว นบน (สมอง) มาควบคุ ม การส ง
            สัญญาณประสาทที่ gate control system อีกทีหนึ่ง และยับยั้งการสงสัญญาณประสาทเขาสูระดับสมอง ซึ่ง
            ยาที่ออกฤทธิ์ระงับปวดระดับเหนือไขสันหลังนี้ เรียกวา “Supraspinal analgesia” (รูปที่ 4-C)




             รูปที่ 4 แสดงกลไลการสงสัญญาณความเจ็บปวดจากตัวรับความรูสึกเจ็บสูระบบประสาทสวนกลางที่สูงขึ้นไป




4 | ห น า                                                                                           by Mark Rx68 # 96   ©
Analgesic          =         Pain lessness
                  Anesthetic         =         Loss of sensation
¤ Strong analgesic เชน opioid จะออกฤทธิ์ระงับปวดทั้งในระดับไขสันหลัง และเหนือไขสันหลัง ซึ่งยาในกลุมนี้เปน
  ยาควบคุมพิเศษ ไมพบตามรานขายยาทั่วไป
¤ Weak analgesic เชน NSAIDs (e.g. Aspirin) จะออกฤทธิ์ระงับปวดในระดับ peripheral ซึ่งก็คือ nociceptor
¤ Local anesthetic (ยาชา) จะ block การนํา impulse ใน sensory fiber ทุกชนิด ไมได block การสงสัญญาณ
  ประสาทเฉพาะ pain เทานั้น ถาใหในขนาดต่ําๆ nerve fiber ที่มีขนาดเล็กสุดจะถูก block กอน ดังนั้นความรูสึกแรก
  ที่หมดไปก็คือ ความเจ็บปวด (เพราะมันใช C fiber ไง)

Narcotic และ Strong Analgesic
         เนื่องจากยาระงับปวดหลายชนิดมีฤทธิ์ทําใหเสพติด จึงอาจถูกเรียกวา narcotic analgesic อยางไรก็ตาม ยา
ระงับปวดชนิดใหมๆ ในปจจุบันไมเปนยาเสพติด แตสามารถระงับปวดรุนแรงได จึงมีศัพทที่ใชเรียกขึ้นมาอีกคําหนึ่งวา
strong analgesic ซึ่งคํานี้จะรวมยาระงับปวดทั้งที่เปนยาเสพติด และไมเสพติดเขาไวดวยกัน
         คําวา Opiates หมายถึง ยา (สารเคมี) ที่ได จาก Opium (Papaver somniferum) หรือ ฝน (เชน morphine,
codeine, thebaine และ alkaloid อื่นๆ เปนตน) และรวมไปถึงสารกึ่งสังเคราะหจากฝน (อนุพันธของฝน) เชน heroin
         สวนคําวา Opioids เปนคําที่ครอบคลุมกวางกวา กลาวคือ ยาทุกชนิดที่ไดจากธรรมชาติ หรือสังเคราะหขึ้นมา
และมี ฤ ทธิ์ ร ะงั บ ปวดเหมื อ นกั บ morphine (morphine-like actions) (สารสั ง เคราะห เช น กลุ ม Methadone หรื อ
Meperidine ซึ่งจะออกฤทธิ์ระงับปวดเหมือนกับ morphine สารเหลานี้จะเรียกรวมวา “Synthetic opiate-like drugs”)
         ในรางกายของเราจะมีการสังเคราะหสารพวก peptide ที่มีฤทธิ์เหมือนกับ opioid เรียกวา Endogenous opioid
peptides หรือ Opiopeptins ไดแ ก enkephalin, endorphin และ dynorphin พบได ในสมอง (CNS) ทําหนาที่ เป น
neurotransmitter นอกจากนี้ยังพบไดนอก CNS คือที่ nerve plexuses, exocrine gland และ adrenal medulla


q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics)                                                              5 | ห น า
การแบงประเภทของตัวรับกลุม opioid
             ในการแบงประเภทของตัวรับ (receptor) กลุม opioid นั้น สามารถแบงออกไดเปน
                 Ø m (Mu)                                                         Ø e (Epsilon)
                 Ø k (Kappa)                                                      Ø s (Sigma)
                 Ø d (Delta)
             ซึ่งตัวรับที่เกี่ยวของกับ analgesic effect (ฤทธิ์ระงับปวด) คือ m, k และ d receptor
                         Functional effects associated with the main types of opioid receptor
                                             Effects                              m        k        d
                     Analgesia
                           Supraspinal                                           +++        -        -
                           Spinal                                                 ++       ++        +
                           Peripheral                                             ++        -       ++
                     Respiratory depression                                      +++       ++        -
                     Pupil constriction / Miosis (มานตาหรี่)                     ++        -       +
                     Euphoria (ภาวะเคลิบเคลิ้ม)                                  +++        -        -
                     Dysphoria (ภาวะรูสึกเปนทุกข, ละเหี่ย)                      -        -      +++
                     Sedation (ภาวะสงบระงับ, ซึม)                                 ++        -       ++
                     Physical dependence (การเสพติดทางกาย)                       +++        -        +
        นอกจากนี้ตัวรับทั้ง 3 ชนิดนี้ ยังสามารถแบงออกเปน subtype ตางๆ โดยอาศัยการถูกปดกั้นดวย antagonist ที่
แตกตา งกั นดั งแสดงบนตารางขา งต น และตัว รับ ยอ ยๆ เหลา นี้ จะกระจายอยูใ นส วนตางๆ ของร างกายที่แ ตกตา งกั น
ออกไป ดังนี้
         m1, k3, d2 : พบในระดับ supraspinal (เหนือไขสันหลัง) เชน บริเวณ periaqueductal grey (PAG) / midbrain
         m2, k1, d1 : พบอยูในระดับ spinal cord เปน spinal receptor พบใน substantia gelatinosa ของ dorsal horn
สวน k2 มี activity ไมชัดเจน
             เมื่อพิจารณาผลที่เกิดจากการกระตุน opioid receptor ในแตละ subtype จะไดดังตอไปนี้ (ตัวเอนคือ adverse effect)
             m1 (mu-1) : Supraspinal analgesia, Euphoria, Miosis
             m2 (mu-2) : Sedation, Respiratory depression, Physical dependence, Constipation (ทองผูก)
                           ดังนั้นการกระตุนที่ m2 – receptor นี้จึงมักจะเปน adverse effect ของการใช opioids อยางไรก็ตาม
                           ในปจจุบันยังไมมียาที่เลือกจับกับ m1 ไดอยางเจาะจง จึงยังคงไมมียา opioids ใดที่ไมมี adverse
                           effect เพียงแตวายาแตละตัวอาจมี affinity ที่ตางกันบาง
             k1 (keppa-1) : Spinal analgesia, Dysphoria, Miosis, Sedation
             k3 (keppa-3) : Supraspinal analgesia
             d1 (delta-1) : Spinal analgesia, Dysphoria, Hallucinations
             d2 (delta-2) : Supraspinal analgesia
             m และ d-agonist ใชแลวจะมีแนวโนมทําใหเกิดการเสพติด แตจะไมเกิดกับ k-agonist
Ideal opioid agents ลักษณะของยาในอุดมคติ (ที่ยังไมมีจริงในปจจุบัน) ของกลุมนี้ คือ ตองกระตุนเฉพาะ m1 , k และ
d receptor ทั้งในระดับ supraspinal และ spinal analgesia แตตองไมกระตุน m2 เพื่อไมใหเกิด adverse effect



6 | ห น า                                                                                           by Mark Rx68 # 96   ©
สรุป Opioid receptors
Ø m    - receptor
     ¤ Most of the analgesic effects + some major unwanted effects
     ¤ Most of the analgesic opioids are m-receptor agonists.
Ø    k - receptor
     ¤ Spinal / Peripheral analgesia
     ¤ Sedation / Dysphoria but NOT physical dependence
Ø    d - receptor
     ¤ More important in the periphery
     ¤ May also contribute to analgesia
Ø    s - receptor (not true opioid receptor เนื่องจากจับกับตัวรับ opioid อยางไมจําเพาะ และยังสามารถจับกับพวก
        antipsychotic drugs (ดังจะกลาวตอไป) รวมถึงไมสามารถหักลางฤทธิ์ดวย Naloxone ซึ่งเปน pure opioid
        antagonist ได)
     ¤ Only BENZOMORPHANS [Pentazocine] ® Psychotomimetic properties & NO analgesic effect
     ¤ Interact with psychotropic drugs [Haloperidal; Chloropromazine]




                                                                                                      Transmembrane-
                                                                                                      spanning region




รูปที่ 5 molecular cloning ของ opioid receptor ในหนู จะมี amino acid sequence ของแตละ subtype (m, k, d) เหมือนกันประมาณ 65%
 ซึ่งบริเวณวงกลมสีขาวจะเปนสวนที่แตกตางกัน โดยเฉพาะบริเวณ amino และ carboxy terminal รวมไปถึง extracellular loops II & III และ
     transmembrane-spanning region IV ซึ่งทําใหมีการจับกับ opioid compounds ไดแตกตางกัน สวนบริเวณวงกลมสีเขมจะเปนสวนที่มี
 sequence เหมือนๆ กันในแตละ subtype ซึ่งจะพบในบริเวณ intracellular loop และ transmembrane-spanning region I, II, III, V และ VII




q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics)                                                                           7 | ห น า
ความจําเพาะของยากลุม Opioids (Selectivity of Opioid drugs)
             ความจําเพาะของ Opioid drugs แบงออกไดเปน
     1.      Agonists (Full agonists) : ยาที่มี affinity ที่จะจับกับตัวรับ opioid ได และทําใหเกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่สําคัญ
             คือ ฤทธิ์ระงับปวด ทั้งนี้เปนเพราะเรายึด m receptor เปนหลัก ซึ่งทําใหเกิดฤทธิ์ระงับปวดไดมากที่สุด
     2.      Partial agonists : เปนยาที่มี “self limit effect” ที่ตัวรับ opioid เนื่องจากยามี low intrinsic efficacy กลาวคือ ยา
             ในกลุมนี้สามารถจับกับตัวรับไดดี แตมี intrinsic efficacy ต่ํา และเมื่อเพิ่มขนาดยา พบวา efficacy สูงสุดก็ยังต่ํา
             กวา full agonist แตถาหากใหทั้ง full agonist และ partial agonist ไปพรอมๆ กัน partial agonist จะแสดง
             ลักษณะเปน competitive antagonist แยง full agonist จับกับตัวรับ
     3.      Antagonists : ยาที่ไมมี intrinsic efficacy หรือไมแสดงฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาเมื่อยาจับกับตัวรับ แตมี affinity กับ
             ตัวรับ โดยจะเปน competitive inhibitor กับพวก agonist ตัวอยางยาที่สําคัญ ไดแก Naloxone ใชแกฤทธิ์ของ
             morphine ซึ่งเมื่อทดลองในกระตาย พบวายาออกฤทธิ์ไดรวดเร็วมาก และหมดฤทธิ์เร็วเชนเดียวกัน ดังนั้นการใช
             ยาชนิดนี้เพื่อตานฤทธิ์บางอยางของ opioids เชนฤทธิ์กดการหายใจ จะตองใหตอเนื่อง (IV drips) เพื่อใหออก-
             ฤทธิ์ตานการกดการหายใจไดนาน
     4.      Mixed agonists – antagonists : ยาในกลุมนี้มีฤทธิ์เปน agonist มากกวา จึงมีลักษณะคลายกับกลุม partial
             agonist ทําใหอาจเรียกยาในกลุมนี้ไดวา “mixed agonists” มี 2 ชนิด ไดแก
               i. Morphine type : มักออกฤทธิ์เปน m–receptor partial agonist เชน Buprenorphine ซึ่งจะมี affinity กับ
                   ตัวรับสูง แตมี intrinsic efficacy ต่ํา ทําใหมี tissue response ต่ําเชนกัน
              ii. Nalorphine type : ออกฤทธิ์เปน m–receptor antagonist และเปน k,d–receptor (partial) agonist


                                       Selectivity of Opioid drugs and Peptides
                                       Compound                              m             d           k
                      Opioid peptides
                         b-endorphin                                        +++          +++          +++
                         Leu-enkephalin                                      +           +++           -
                         Met-enkephalin                                     ++           +++           -
                         Dynorphin                                          ++            +           +++
                      Opioid drugs
                      Pure agonists
                         Morphine, Codeine                                  +++           +            +
                         Methadone                                          +++           -            -
                         Meperidine                                         ++            +            +
                         Etorphine, Bremazocine                             +++          +++          +++
                         Fentanyl, Sufentanil                               +++           +            -
                      Partial / Mixed agonists
                         Pentazocine, Ketocyclaz                            (+)            +           ++
                         Nalbuphine                                         (+)            +          ++*
                         Nalorphine                                        (+++)           -          ++*
                         Buprenorphine                                     +++*            -          (++)
                      Antagonists
                         Naloxone                                          (+++)          (+)         (++)
                         Naltrexone                                        (+++)          (+)        (+++)

                                        + Agonist; (+) Antagonist; – Weak/No activity; * Partial agonist



8 | ห น า                                                                                                 by Mark Rx68 # 96   ©
ความสัมพันธของ Dose-response curve ของยากลุมตางๆ
                                                                                     MAXIMUM EFFICACY
                           100 % -
                                               EFFICACY         Pure agonists
                                                          POTENCY




                                                                                Partial agonists
                Response


                                                                                CEILING LIMIT TO RESPONSE
                            50 % -

                                                                           Mixed agonist - antagonists
                                                                           SELF ANTAGONISM TO RESPONSE




                                             Agonist + Antagonist
                                                                                     Antagonists
                                                                                                Dose

        จากแผนภาพ dose-response curve ความสู ง ของกราฟจะแสดง efficacy สว นความชั นของกราฟจะแสดง
potency กลาวคือ ถาความชันนอยกวา จะมี potency นอยกวา
    1. Pure agonist จะมี response ที่สูงขึ้นตาม dose ที่เพิ่มขึ้น และเพิ่มขึ้นจนถึง maximum efficacy และถากราฟมี
        ความชันมากๆ แสดงวามี potency สูงมาก
    2. Partial agonist เมื่อเพิ่ม dose ถึงจุดหนึ่ง response จะไมสูงขึ้นตาม และมี maximum response ต่ํากวา pure
        agonist (ซึ่งมี maximum efficacy) เรียกวา “ceiling limit”
    3. Antagonist เมื่อใหเดี่ยวๆ กราฟจะมีลักษณะเปนเสนตรงขนานกับแกน X (dose) เนื่องจากไมเกิด response เลย
        แตเมื่อใหรวมกับ agonist กราฟจะเขยิบไปทางขวาในลักษณะขนาน จากผลของ competitive antagonist
    4. Mixed agonist – antagonist จะมีลักษณะคลายกับ partial agonist ในชวงตนๆ ของกราฟ เมื่อเพิ่ม dose จนถึง
        ceiling limit อาจเกิด self antagonist ทําใหฤทธิ์ลดลง เนื่องจากความสามารถในการกระตุน และยับยั้งที่ตัวรับ
        ตาง subtype กัน ทําใหออกฤทธิ์ตรงขาม ยกตัวอยางเชน เมื่อยาจับกับ m,k–receptor และจะเกิด miosis แต
        เมื่อจับกับ d–receptor จะเกิด mydriasis ถาให ยาในขนาดต่ําๆ จะเกิด miosis แตถาเพิ่มขนาดใหสูงจะเกิ ด
        mydriasis ผลที่ไดคือ มานตาจะหรี่นอยลง เรียกวาเกิด “Biphasic effect”

                                             Opioid Potency and Durations of Action




          หมายเหตุ : Equigesic หรือ Equianalgesic dose หมายถึงขนาดที่ยาสามารถออกฤทธิ์ไดเทียบเทากัน เมื่อบริหารยาคนละทางกัน



q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics)                                                                       9 | ห น า
Common opioid analgesics
                                                                                                     Duration of
                                                       Approximately              Oral:Parenteral                      Maximum
     Generic Name               Trade Name                                                            Analgesia
                                                    Equivalent Dose (mg)          Potency Ratio                         Efficacy
                                                                                                       (hours)
             1
Morphine                                            10                        Low                   4-5             High
Hydromorphone              Dilaudid®                1.5                       Low                   4-5             High
Oxymorphone                Numorphan®               1.5                       Low                   3-4             High
Methadone                  Dolophine®               10                        High                  4-6             High
Meperidine                 Demerol®                 60-100                    Medium                2-4             High
Fentanyl                   Sublimaze®               0.1                       Low                   1-1.5           High
Sufentanyl                 Sufenta®                 0.02                      Parenteral only       1-1.5           High
Alfentanil                 Alfenta®                 Titrated                  Parenteral only       0.25-0.75       High
                                                                     2                                    3
Remifentanyl               Ultiva®                  Titrated                  Parenteral only       0.05            High
Levorphanol                Levo-Dromoran®           2-3                       High                  4-5             High
                                                             4
Codeine                                             30-60                     High                  3-4             Low
                       4
Hydrocodone                                         5-10                      Medium                4-6             Moderate
                 1,5                                     6
Oxycodone                  Percodan®                4.5                       Medium                3-4             Moderate
                                                                 6
Propoxyphene               Darvon®                  60-120                    Oral only             4-5             Very low
                                                             6
Pentazocine                Talwin®                  30-50                     Medium                3-4             Moderate
Nalbuphine                 Nubain®                  10                        Parenteral only       3-6             High
Buprenorphine              Buprenex®                0.3                       Low                   4-8             High
Butorphanol                Stadol®                  2                         Parenteral only       3-4             High
1
  Available in sustained-release forms, morphine (MSContin); oxycodone (OxyContin).
2
  Administered as an infusion at 0.025-0.2 mcg/kg/min.
3
  Duration is dependent on a context-sensitive half-time of 3-4 minutes.
4
  Available in tablets containing acetaminophen (Norco, Vicodin, Lortab, others).
5
  Available in tablets containing acetaminophen (Percocet); aspirin (Percodan).
6
  Analgesic efficacy at this dose not equivalent to 10 mg of morphine.




ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของ Opioids
         ยาจําพวก Opioids นั้น มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาตางๆ โดยผลของการกระตุน opioid receptor ที่มีอยูหลายชนิ ด
ดังนั้นผลของการกระตุนตัวรับแตละชนิดนั้น ยอมสงผลใหเกิดฤทธิ์ที่แตกตางกันออกไป จึงอาจแบงประเภทใหญๆ ไดดังนี้

              1. Acute effects
                  Ø Central agonist actions : Analgesic, Respiratory depression,
                     Vomiting, Cough suppression, Miosis, CNS actions
                  Ø Peripheral agonist actions : Smooth muscle contraction,
                     Histamine releasing
              2. Chronic effects : Tolerance & Dependence


Analgesic
        ยา Opioids มีฤทธิ์ระงับปวด ผานกลไกที่เกี่ยวของกับ opioid receptor โดยเฉพาะอยางยิ่ง m-receptor ซึ่งการ
ระงับปวดเกิดขึ้นไดทั้ง supraspinal, spinal และ peripheral



10 | ห น า                                                                                                   by Mark Rx68 # 96   ©
Supraspinal analgesia opioids สามารถจับกับ opioid receptor ณ เซลลประสาทบริเวณ Periaqueductal Gray
matter (PAG) และ Nucleus reticularis paragigantocellularis (NRPG) ซึ่งเปนการกระตุนเซลลนั้นใหสงกระแสประสาท
ไปกระตุนเซลลประสาทในบริเวณ Nucleus raphe magnus (NRM) ตอ ใหสราง 5-HT และ Enkephalin
          5-HT และ Enkephalin ไปจับกับ opioid receptor ของเซลลประสาทที่เกี่ยวของกับ Nociceptive pathway สวน
Locus ceruleus (LC) จะสงสัญญาณมายับยั้งการนํากระแสประสาทในระดับ spinal cord โดยอาศัย noradrenaline เปน
neurotransmitter จึ งเรีย กวา “noradrenaline pathway” ซึ่ งทั้งหมดนี้เป นผลใหเกิด การยับ ยั้งการสงสัญ ญาณการปวด
(noxious) ในระดับ dorsal horn บริเวณ substantia gelatinosa (laminar II) ถึงแมวาจะเปน supraspinal analgesia ก็
ตาม ทั้งนี้เปนเพราะ opioids จะยับยั้งความเจ็บปวดจากการกระตุนที่ PAG ใน cortex ซึ่งอยูในระดับ supraspinal cord
ตั้งแตตนนั่นเอง




                                รูปที่ 6 แสดงกลไกในการระงับปวดแบบ Supraspinal analgesia

         Spinal analgesia เมื่อมี pain impulse ส งมาที่ afferent fiber พอมาถึง dorsal horn บริ เวณ substantia
gelatinosa ซึ่งมี opioid receptor อยู opioid จะมีผลยับยั้งทั้ง pre- และ post-synaptic terminal

กลไกทางชีวเคมีระดับโมเลกุลของ opioids ตอ opioid receptor
            Primary afferent fiber เชน Ad fiber, C fiber ซึ่งนํา noxious impulse เขามา เมื่อมาถึง pre-synaptic terminal
ซึ่งมีตัวรับอยู 3 ชนิด คือ m, d, k (¡, ¨ และr ในรูปที่ 7 ตามลําดับ) opioid จะสามารถออกฤทธิ์ไดโดยจับกับตัวรับ
เหลานี้ จะทําให Ca2+ channel เปดนอยลง intracellular Ca2+ [ (Ca)i ] ลดลง แลวจะสงสัญญาณทาง G proteins ใหเกิด
การยับยั้งเอนไซม Adenelyl cyclase ทําใหระดับ cAMP ภายในเซลลต่ําลง มีผลทําให Voltage-gated Ca2+ channel เปด
นอยลง (¯ gCa2+) ทําให Ca2+ เขาสูเซลลไดนอยลง จึงเกิดการสงผานกระแสประสาทไดยากขึ้น เพราะตองใช Ca2+ ใน
การปลดปลอ ยสารสื่อ ประสาท substance P ที่เ ปน ตัว นํา ความรูสึ กเจ็บ ปวดไปสู post-synaptic neuron ลดลงดว ย
เรียกวา “pre-synaptic inhibition”


q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics)                                                                   11 | ห น า
A


                                                          B




                                    รูปที่ 7 กลไกการสงสัญญาณประสาท (synapsis)




                               รูปที่ 8 กลไกทางชีวเคมีในระดับโมเลกุลของ opioid ตอตัวรับ
          ที่ post-synaptic neuron มี m receptor (¡) เมื่อ opioid มากระตุน จะทําใหมีการปลอย K+ ออกนอกเซลลมาก
ขึ้น ทําใหเกิด Inhibitory post-synaptic potential (IPSP) เพราะเปน hyperpolarization ทําให กระแสประสาทที่จะถู ก
กระตุนตอไปเกิด action potential ยากขึ้น เรียกวา “post-synaptic inhibition”


Respiratory depression
Respiratory center แบงออกเปน 2 สวนเพื่อควบคุมสรีรวิทยาการหายใจใหมีความเหมาะสม




     1. Pneumotaxic area กับ Apneustic area : พบใน Pons เปนสวนที่ควบคุมจังหวะการหายใจ
     2. Inspiratory area กับ Expiratory area : พบใน Medulla เปนสวนควบคุมการหายใจเขา-ออก

12 | ห น า                                                                                 by Mark Rx68 # 96   ©
ถามีการหายใจชาหรือกลั้นหายใจระดับ pCO2 ในเลือดจะสูงขึ้น มีผลไปกระตุน chemoreceptor ที่ carotid และ
aortic bodies และกระตุน chemosensitive area ใน medulla ซึ่งทั้งสองสวนนี้จะสงกระแสประสาทไปตาม vagus nerve
ไปกระตุน inspiratory area ใน medulla ทําใหเกิด hyperventilation เพื่อที่เรงการนํา CO2 ออกจากเลือด ทําให pCO2
กลับสูระดับปกติ เมื่อไดรับ opioids (เชน morphine) เขาไป จะไปจับที่ chemosensitive area ใน medulla ใหเกิดการ
ยับยั้งกระแสประสาท ดังนั้น ไมวา pCO2 จะเพิ่มสูงแคไหน pathway ในชวงถัดขึ้นไปก็จะไมเกิด
          ขณะที่ระดับ pCO2 ในเลือดสูงขึ้นนั้น pO2 จะต่ําลง และเมื่อต่ําลงจนถึงระดับที่เกิดภาวะ anoxia จะไปกระตุ น
chemoreceptor ที่ carotid และ aortic bodies ได และเนื่อ งดวยบริเ วณนี้ไมถูก ยับยั้งดวย opioids (ตาม pathway ที่
ปรากฏ) จึงสามารถสงกระแสประสาทไปกระตุน inspiratory area ใน medulla ทําใหเกิด hyperventilation ระดับ pO2 ใน
เลือดจึงสูงขึ้น เขาสูปกติ หมดภาวะ anoxia
          ดังนั้นถาผูปวยไดรับ morphine สงผลใหการหายใจถูกกด หามให O2 กับผูปวย เพราะจะทําใหการหายใจหยุด
ทันที (pO2 สูง ไมเกิดการกระตุน chemoreceptor) แตควรจะให opioid antagonists โดยทันที
Respiratory depression ที่อันตรายตอผูปวย มาจาก
  - การให morphine แบบ overdose (จะเกิดการหายใจถี่ๆ ที่เรียกวา Cheyne-Stokes respiration ดังรูปที่ 9)
  - การให morphine ในขนาดปกติ คูกับ CNS depressant (เสริมฤทธิ์กดการหายใจใหเพิ่มมากขึ้น)
  - การให morphine ในขนาดปกติ ในผูที่มีความผิดปกติของปอด (pulmonary dysfunction)
  - การให morphine ในผูปวยที่มีบาดแผลที่ศีรษะ (head injury) ทําใหหลอดเลือดในสมองเกิดการขยายตัวจากผล
      ของ pCO2 ที่สูงขึ้น เกิดการบวม เมื่อบวมแลวความดันภายในสมองจะสูงขึ้น และกดเนื้อเยื่อสมองสวนอื่นๆ ถามี
      บาดแผลอยูก็จะทําใหเกิด bleeding ได




q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics)                                                             13 | ห น า
รูปที่ 9 การเกิดภาวะ Chyne - Stokes respiration ซึ่งจะเกิดการหายใจถี่ๆ สลับกับการหยุดหายใจ ซึ่งจะขึ้นกับ pO2 ในเลือด
                        กลาวคือ เมื่อเกิดภาวะ anoxia สมองจะกระตุนใหเกิด hyperventilation จนหมดภาวะ anoxia

การกดการหายใจใน Opioids
  - morphine มีการกดการหายใจแปรตามปริมาณขนาดที่ใหไป กลาวคือ ขนาดยิ่งสูงยิ่งกดการหายใจ
  - partial agonist และ mixed agonist-antagonist มี ceiling effect ของการกดการหายใจ เชน Buprenorphrine มี
     ceiling effect อยูที่ขนาด 0.15 – 1.2 มิลลิกรัม Nalbuphine มี ceiling effect อยูที่ขนาด 30 มิลลิกรัม ขณะที่
     Pentazocine มี ceiling effect ของการกดการหายใจเชนเดียวกัน แตจากการศึกษาพบวาเมื่อใหไปถึงขนาดหนึ่งจะ
     เกิด psychotomimetic effect กอน ทําใหไมทราบปริมาณที่ชัดเจนของ ceiling effect ในการกดการหายใจ
  - สามารถใช naloxone ซึ่งเปน opioid antagonist ในการถอนพิษการกดการหายใจของ Opioids ได




Cough suppression
                                                                               การไอ เปนกระบวนการตอบสนองของรางกายตอ
                                                                   สิ่งเราที่มากระตุนบริเวณลําคอ สิ่งแปลกปลอม สารระคาย-
                                                                   เคือง (irritant) เชื้อโรค สารกอแพ (histamine) หรือการบีบ
                                                                   ตั ว ของหลอดลมคอ (bronchoconstriction) มากระทบ
                                                                   cough receptor ที่อยูบริเวณ pharynx ถึง bronchiole จาก
                                                                   การกระทบจะเกิดการสงสัญญาณทาง vagus nerve เขาสู
                                                                   cough center ที่ medulla ซึ่ง จะสงสัญญาณออกมาใหเกิ ด
                                                                   cough reflex ซึ่ งก็คือเกิดการไอ เพื่ อกําจัดสิ่งระคายเคือ ง
                                                                   ออกไปนั่นเอง
                                                                               ยา Opioids รวมทั้ ง อนุ พั น ธ ข องมั น เช น
                                                                   Dextromethophan (Romilarâ) สามารถกดการทํางานของ
                                                                   cough center ที่ ส มองโดยตรง แต ไ ม ไ ด ผา นการจั บ กั บ
                                                                   Opioid receptor ดังนั้นแมจะมีสิ่งเรากอการไอ แตมีการปด
                                                                   กั้นสองสวนนั้นแลว จึ งเกิด ฤทธิ์ ในการกดการไอได หรื อ
                                                                   เรียกวา antitussive
                                                                               สา มา รถ ต า นฤ ทธิ์ กา รก ดก าร ไอได โด ยใ ช
                                                                   Phenothiazine แตตานฤทธิ์โดย Naloxone ไมได เพราะไม
                                                                   เกี่ยวกับ opioid receptor



14 | ห น า                                                                                                 by Mark Rx68 # 96   ©
ยาที่ใชกดการไอที่มาจากสาเหตุตางๆ
  - การไอแหง ไมมีเสมหะ ที่มี สาเหตุ จากสารระคายเคือ ง ใชยาพวก opioids หรืออนุพันธข องมัน ไปกดการเกิ ด
        cough reflex แตหากใหยาไปแลวยังไมหยุดไอ อาจเปนเพราะสารระคายเคืองยังคงคางอยูในลําคอ
  - การไอที่มีเสมหะหรือสารคัดหลั่งในลําคอ อาจใช Antihistamine เพื่อลดการหลั่งสารเหลานี้ จากการกอแพ เพื่อลด
        สิ่งเราที่จะไปกอกระบวนการไอ
  - การไอที่เกิดจาก bronchoconstriction ใช antiasthmatic drug เพื่อขยายหลอดลม




Vomiting
         การอาเจียนมีสาเหตุมากจากหลายอยาง เชน การกระตุนตัวรับในทางเดินอาหาร หรือจาก labyrinths ที่อยูใน
semicircular tubule ในหู ชั้น ในเกิ ด การส ง สั ญญาณตอ ผ า น vestibular apparatus ซึ่ ง ทั้ง หมดจะส งสั ญ ญาณต อ ให
chemoreceptor trigger zone เขาสู vomiting center ที่อยูใน reticular formation ภายใน medulla ไปมีผลทําใหเกิดการ
อาเจียน
         Opioids มีผลตอการอาเจียน ขึ้นกับขนาดที่ให ดังนี้
           ¤ การให morphine ในขนาดต่ํ า จะไปกระตุน chemoreceptor trigger zone ซึ่ ง จะส งสั ญ ญาณเข า สู
               vomiting center ใหเกิดการอาเจียน
           ¤ การให morphine ในขนาดสูง จะไปกด vomiting center โดยตรง แตไมจับกับ chemoreceptor trigger
               zone ทําใหไมเกิดการอาเจียน
          ดังนั้น ผูปวยที่ไดรับ morphine ตอนแรกๆ ที่ระดับยายังนอย จะเกิดการอาเจียน แตเมื่อระดับยาสูงขึ้น อาการ
อาเจียนจะถูกกด นอกจากนี้ผูปวยที่ไดรับ morphine แลวเดินไปเดินมา จะเกิดการอาเจียนมากกวาคนที่อยูเฉย เพราะการ
เดินไปมาทําให labyrinths เกิดการเคลื่อนไปมาและกระตุนการอาเจียนไดงายขึ้น
          Apomorphine (สูตรโครงสรางทางขวา) เปน opioid ที่เปลี่ยนแปลงโครงสรางใหไมมี
ฤทธิ์ระงับปวด ใชทําใหเกิดการอาเจียนเพียงอยางเดียว (จึงเหมาะจะนํามาใชเปนยาถอนพิษ)
โดยกอนใชตองใหผูปวยดื่มน้ําจนเต็มทองกอน จากนั้นจึงใหยาเพียงครั้งเดียว หามใหซ้ํา เพราะ
จะทําใหระดับยาสูงจนไมเกิดการอาเจียน
          การที่ morphine ทําใหอาเจียน สามารถตานฤทธิ์อาเจียน โดยใช Phenothiazine (ยาตานโรคจิต) แตตานฤทธิ์
โดย Naloxone ไมได

Miosis
         Opioids มีผลตอการเกิ ดการมานตาหรี่ เรียกวา Pinpoint pupil โดย opioids จะไปจับกับ opioid receptor ที่
nuclei of oculomotor nerve หรือ Edinger-Westphal nucleus ทําใหเกิดการสงสัญญาณผานทาง oculomoter nerve
(CN III) ไปยัง ciliary ganglion และไปยัง postganglionic parasympathetic fiber ทําใหมีการหลั่ง Acetylcholine (ACh)
ออกจากเซลลมากขึ้น ไปจับกับ M3 receptor ของมานตา กระตุนให sphincter muscle หดตัวและเกิดมานตาหรี่
         ในผูปวยที่ให morphine หรือในผูติดยา จะพบอาการมานตาหรี่ การแกฤทธิ์ทําไดโดย
           ¤ การใช Anticholinergic drug เชน atropine ซึ่งเปน antagonist ของ M3 receptor จึงตาน ACh ที่หลั่ง
                 ออกมามากขึ้น
           ¤ การให naloxone ซึ่งเปน opioid antagonist ปดกั้นการกระตุน nuclei of oculomoter nerve
         ในกรณีผูที่มานตาหรี่ทั้ง 2 ขาง แลวให naloxone ตอตาขางหนึ่ง พบวาเฉพาะขางนั้นที่รูมานตากลับมาปกติ จึง
เกิด Anisocoria คือ ภาวะที่รูมานตาสองขางไมเทากัน

q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics)                                                                   15 | ห น า
ฤทธิ์ในการทําใหมานตาหรี่ของ Opioids ตางๆ
  - Opioids โดยทั่วไปมีฤทธิ์ทําใหมานตาหรี่ หรือ miotic effect โดยแปรตามขนาดยาที่ให เชน Morphine, Nalor-
       phine, Levallorphan, Pentazocine, Cyclazocine
  - Opioids บางตัว มี biphasic effect คือที่ขนาดต่ํามี miotic effect และขนาดสูงมี mydriatic effect เชน Butorphanol
       ซึ่งเปน mixed agonist-antagonist ที่จัดเปน self antagonist ดวย
  - Opioids บางตัว มี ceiling effect ของฤทธิ์การหรี่ของมานตา เชน Nalbuphine ซึ่งเปน mixed agonist-antagonist
  - k-agonist เชน Ketocyclazocine มี miotic effect
  - s-agonist เชน N-allylnormetazocine มี mydriasic effect


Other CNS effects
1) Sedation
            Opioids ที่สามารถดูดซึมผาน blood brain barrier (BBB) จะเขาไปออกฤทธิ์กดระบบประสาทสวนกลางได ทํา
ใหผูไดรับยามีอาการงวงซึม
            สําหรับฤทธิ์ตอระบบประสาทสวนกลางของ opioids มีความแตกตางกันในแตละ species คือ ในคน สุนัข จะกด
ประสาท สวนในแมว หมู วัว มา แพะ แกะ จะกระตุนประสาท ดังคํากลา ว “While Narcotic analgesics make man
drowsy and want to sleep, the right dose makes horse want to run.”
2) Muscle rigidity
        Opioids บางชนิด เชน Fentanyl, Alfentanyl, Sufentanyl มีผลตอระบบประสาทสวนกลาง โดยทําใหสมองสั่ง
การไปยังกลามเนื้อหนาอกใหเกิดการเกร็ง หรือ Chest wall rigidity จึงสงผลใหเกิดการหายใจเขาและออกไดยากลําบาก
เพราะกลามเนื้ออกแข็ง
        ปจจุบัน จึงมีการเปลี่ยนรูปแบบยาเตรียมของ Fentanyl จากยาน้ําใชฉีด เปน transdermal system เพื่อใหมีฤทธิ์
แกปวดเฉพาะที่ จากตัวยาที่ดูดซึมชาๆ และกระจายแคบริเวณนั้นไมมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง
3) Catalepsy
           Opioids บางชนิ ด เช น Etorphine มี ผลต อ ประสาทส ว นกลาง ทํ า ให เ กิ ด การผิ ด ปกติ ข องการเคลื่ อ นไหว
(โดยเฉพาะในสัตว) แบบที่เรียกวา catalepsy คือ สูญเสียการเคลื่อนไหวแขน และขา การไมสามารถควบคุมกลามเนื้อ
ลายได (ดั งนั้นจึงมีลั กษณะคลายกับ rigidity) และมีอาการคลายพารกิ นสัน (Parkinsonism) (ยานาจะไปมี ผลตอเซลล
ประสาทใน nigrostriatal dopaminergic tract ทําใหหลั่งสารสื่อประสาท Dopamine ไดนอยลง)
           มีการนํามาใชประโยชนโดยฉีดใหแกสัตวใหญ เชน ชาง ใหสูญเสียการเคลื่อนไหว และอยูนิ่งเนื่องจากระยางค
แข็งทื่อ จึงเคลื่อนยายไดงาย และเมื่อหมดฤทธิ์สัตวก็กลับมาเคลื่อนไหวไดเหมือนเดิม
4) Convulsion
          Opioids บางชนิด เชน Morphine, Codeine, Meperidine, Propoxypine หากใหในปริมาณมากมีผลตอระบบ
ประสาทสว นกลาง โดยไปกระตุน hippocampal pyramidal cell ใหล ดการหลั่ง GABA ซึ่ง มีผลให เกิ ด IPSP ที่เ ซลล
epileptic neuron นอยลง เซลลประสาทนี้จึงถูกกระตุนงาย และกอสัญญาณการชัก ทําใหเกิดการชักของรางกายตอไป
          สําหรับขนาดของ Codeine ที่ใชระงับอาการไอจะต่ํากวาขนาดที่ใชระงับปวดมาก
ซึ่งในการระงับปวด (ใชระงับอาการปวดอันเนื่องมาจากมะเร็ง เนื่องจาก Codeine ถูก
metabolized โดยเอนไซม CYP 2D6 เกิดเปน Morphine) ตองใชขนาดสูงจนใกลกับ
ขนาดที่ทําใหเกิดการชัก ดังนั้นจึงไมนิยมนํามาใชระงับปวด แตใชกดอาการไอแทน



16 | ห น า                                                                                      by Mark Rx68 # 96   ©
5) Endocrine gland
        Opioids มีผลตอระบบตอมไรทอ ดังนี้
          ¤ ทําให hypothalamus สราง ADH มากขึ้น และนําไปเก็บที่ posterior pituitary gland มากขึ้น จึงมีการ
              หลั่งฮอรโมนนี้ออกมามากขึ้น และเกิดผลใหปสสาวะนอยลง (oliguria) จากการที่ ADH มากไปทําใหเกิด
              การดูดกลับน้ําที่ nephron มากขึ้น
          ¤ ทําให anterior pituitary gland สราง ACTH (Corticotropin) และ Gonadotropin นอยลง มีผลให sexual
              activity นอยลง จากการที่ ACTH นอยไปกระตุนตอมหมวกไตสวนนอกใหสราง sex hormone ไดนอย
              และ Gonadotropin นอยลง ไปกระตุนรังไขหรืออัณฑะไดนอย

Peripheral agonist action
1) Smooth muscle contration
    i. Gastrointestinal tract (GIT) : Constipation
                    Opioids บางชนิดมีผลตอสรีรวิทยาของระบบทางเดินอาหารโดยสงผลใหเกิดอาการทองผูก โดยมีสาเหตุ
        ดังนี้
         - ทําใหเกิด smooth muscle contraction ของ pyrolic spinctor (หูรูดกระเพาะอาหาร-ลําไส) และ anal
               sphinctor (หูรูดทวารหนัก) การบีบตัวของหูรูดเหลานี้ ทําใหการเคลื่อนของอาหาร หรือกากอาหารในทอ
               ทางเดินอาหารเปนไปในอัตราที่ชาลง จึงลดการขับถาย
         - ทําให propulsive contraction ของ smooth muscle ใน GIT ลดลง จากการที่ไปมีผลทางเภสัชวิทยาทําให
               เซลลป ระสาท (intramural nerve plexus) ใน GIT หลั่ง ACh นอยลง จึ งมีผลใหการบี บตัว ของ smooth
               muscle ลดลงดวย จากการที่การจับของ ACh กับ M3 receptor ที่เซลล smooth muscle นอยลง เมื่อบีบตัว
               ไดนอยลง ทําใหการเคลื่อนของอาหารหรือกากอาหารเปนไปชา และเกิดทองผูกได
         - การกักกากอาหารไวนาน จึงไมมีกากอาหารเคลื่อนไปที่ rectum เทาไรนัก จึงเกิด defecation reflex ไดยาก
               (ไมเกิดอาการอยากเขาหองน้ํา) ทั้งนี้ reflex นี้เกิดจากอุจจาระมากระทบ receptor ที่ rectum แลวเกิดความ
               อยากถายอุจจาระขึ้น
        ยาที่มีผลใหเกิดอาการทองผูก มีในลักษณะดังนี้
         - เปนผลขางเคียงจากการใชยา เชน การใช morphine แกปวด แตผลขางเคียงใหเกิดอาการทองผูกขึ้น ดังนั้น
               ในทางปฏิบัติจึงใหยาระบาย เชน Lactulose, Milk of magnesia ฯลฯ ควบคูกันไปดวย
         - เปนผลในการรักษา (therapeutic) เชน Diphenoxylate (Lomotyl), Loperamide, Camphorate tincture of
               opium ซึ่งใชในการแกทองเสียแบบไมติดเชื้อ จากการลดการเคลื่อนตัวของอาหาร และกากอาหารใน GIT
    ii. Biliary tract : Colic
                    Opioids บางชนิดมีผลใหเกิดการบีบตัวของ Sphincter of Oddi ซึ่งเปนหูรูดที่อยูชองเปดใหน้ําดีจากทอ
        น้ําดี (bile duct) (ที่มาจาก gall bladder ที่ตับ) เขาสูลําไสเล็ก การบีบตัวนั้นสงผลใหการระบายน้ําดียากขึ้น น้ําดี
        จึงสะสมใน ทอน้ําดีมากขึ้น และทําใหความดันในทอน้ําดีและถุงน้ําดีสูงขึ้น อาจทําใหเกิดนิ่วในถุงน้ําดี และเกิด
        อาการปวดถุงน้ําดี หรือ Colic
        ยาที่มีผลใหเกิดอาการ Colic เชน Morphine, Meperidine, Pentazocine, Butorphanol
2) Histamine releaser
        ใน mast cell จะมี granule ที่ภายในบรรจุสารหลายอยาง สารชนิดหนึ่งในนั้น คือ Histamine หากให Opioids
บางชนิด จะมีผลตอ mast cell ใหเกิดการไลที่ และปลดปลอย Histamine ออกมา จึงเกิดผลจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของ
Histamine เชน


q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics)                                                                       17 | ห น า
i. Peripheral vasodilation
                   เมื่อ Histamine จับกับ H1 receptor ที่ผนังหลอดเลือด หากให morphine ในขนาดต่ําจะมีผลใหเกิดผล
         เฉพาะที่เทานัน เชน erythema, ลมพิษ (urticaria), คัน (itching) แตหากใชในขนาดสูงจากฤทธิ์ของ morphine เอง
                         ้
         ที่ไปกด vasomotor center ที่ medulla จะไปเสริมฤทธิ์กับ peripheral vasodilation จาก histamine และนําไปสู
         ความดันโลหิตต่ําได เพราะไมสามารถปรับสมดุลความดันเลือดได เกิดอาการ เชน ความดันต่ําเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ
         (orthostatic hypotension), hypotension, bradycardia
     ii. Bronchospasm
                   เมื่อ Histamine จับกับ H1 receptor ที่หลอดลมจะทําใหเกิดการหดตัว จึงพึงระวังการใช opioids บางชนิด
         โดยเฉพาะในผูปวยหอบหืด


Chronic effect : Tolerance & Dependence
         เมื่อใหยาในขนาดหนึ่งๆ ไปหลายๆ ครั้งจะทําใหเกิด “Tolerance” หรือ “การทนยา” ซึ่งจะมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ลดลง (ลดการตอบสนองตอยา) เชน ฤทธิ์ analgesic และ respiratory depression ดังนั้นถาตองการใหมีฤทธิ์เทาเดิม
จะต องเพิ่ม ขนาดยาใหสู งขึ้ น อยา งไรก็ต าม มีฤ ทธิ์ ของ opioids บางอยางที่ไ มกอ ให เกิ ดการทนยา ไดแ ก convulsion,
constipation, miosis และ inhibit gonadotrophins secretion นอกจากนี้ยั งสง ผลใหเกิ ด “การเสพติด” หรื อ “Drug
dependent” เปนสิ่งที่ตามมาหลังจากการเกิด tolerance จากการไดรับ opioid agonist โดยสามารถแบงประเภทออกเปน
2 ประเภทคือ
           - Physical dependent (การเสพติดทางกาย) คือ เมื่อหยุดเสพมีการแสดงออกทางกาย เชน ทุรนทุราย
           - Psychological dependent (การเสพติดทางใจ) คือ พยายามหายา และหาทางเสพยา
          ถาไมไดรับยาจะทําใหเกิดอาการถอนยา (Withdrawal syndrome) โดยเฉพาะเมื่อให morphine antagonists
หรือ ติดยาแต ไมมี ยาเสพ (Abstinence syndrome) ซึ่งอาการนี้จ ะแตกตา งกัน ไปในยาแตล ะชนิ ด
เนื่องจากสามารถในการจับกับตัวรับหลายชนิด โดย Morphine, Heroin, Propanol จะมีความรุนแรง
คลายกัน แตตางกับ Cyclazocine, Nalorphine, Pentazocine และตางกับ Nalbuphine ดวย
          ในผูปวยที่เสพ morphine จะมีอาการ abstinence syndrome คือ หาว น้ํามูกน้ําตา
ไหล เหงื่อไหล หายใจเร็วและลึก อาเจียน ปสสาวะราด มานตาขยาย ปวดตามกลามเนื้อ
ทองรวง โดยอาการเหลานี้จะคอยเปนคอยไป และจะหนักขึ้นเรื่อยๆ (รุนแรงที่สุดในชวงวันที่
2-3 หลังจากขาดยา) และจะหายไปภายใน 7 วัน หลังจากนั้น 1-2 เดือน จะเกิด “Secondary
syndrome” อีกประมาณ 4-6 เดือน โดยจะแสดงอาการตรงขามกับในครั้งแรก คือ ความดันโลหิตต่ํา ชีพจรต่ํา อุณหภูมิ
รางกายต่ําลง การหายใจถูกกด และมานตาหรี่ แตไมรุนแรง และมีระยะเวลานาน ซึ่งในชวงนี้เองที่จะมีโอกาสกลับไปติด
ยาซ้ําไดอีก จึงอาจตองทําจิตบําบัด (Psychotherapy) รวมดวย
ยาที่ใชในการบําบัดผูติดยาเสพติด
 1. Methadone maintenance therapy VS Levo-alpha-acetylmethadol (LAAM)
                 LAAM เปนอนุพันธหนึ่งของ Methadone มีอีกหลายชื่อที่ใชเรียก เชน Levomethadyl acetate, MK 790,
              â
      Orlaam ซึ่งมี duration of action ยาวนาน 2-3 วัน ตอการใหยา 1 ครั้ง (ขณะที่ Methadone จะมี duration of
      action สั้นกวา) เนื่องจาก LAAM เปน opioid สังเคราะห (ดังนั้นจึงมีฤทธิ์เปน opioid agonist) เมื่อใหกับผูปวยที่ติดยา
      แทน morphine ผูปวยจะหันมาติดยานี้แทน แตไมเกิด abstinence syndrome รุนแรงเทา morphine จากนั้นจึง
      คอยๆ หยุด LAAM
 2. Narcotic antagonists
                 เชน Cyclazocine, Naloxone, Naltresone ซึ่ง การใชเหลา นี้เ ปน วิธี หัก ดิบ ผู ปวยจะเกิ ดอาการถอนยา
      (withdrawal syndrome) ทันที โดยวิธีนี้จะไดผลเร็ว แตตองประคับประคองตามอาการ

18 | ห น า                                                                                            by Mark Rx68 # 96   ©
3. Barbiturate, Chlorpromazine
            เปนยาชวยคุมอาการ มีผลโดยออมคือคลายกังวล (ที่เกิดจากการหยุดยา) กลาวคือ จะเปน atropine-like
   side effect โดยควบคุม adverse effect ที่เกี่ยวของกับระบบ parasympathetic symptoms ภายหลังการถอนยา
4. Clonidine (a1– adrenoceptor agonist)
            จากผลการทดลองในหนูที่ติด morphine ถาหยุดใหยาแลวจะเกิด abstinence syndrome อยางไรก็ตาม ถา
   ให morphine หรือ enkephalin จะลด abstinence syndrome ได ซึ่งในขณะที่เกิดอาการนี้ ที่ locus ceruleus จะมี
   การหลั่ง Norepinephine (NE) ออกมามากขึ้น ดังนั้นถาใหยาที่ยับยั้งการหลั่งของ NE ได ก็จะทําให abstinence
   syndrome ลดลงได จึงใช clonidine ที่สามารถจับกับ a1 receptor ที่ presynaptic neuron เปน autoreceptor ยับยั้ง
   การหลั่ง NE


ยาระงับปวดที่เกี่ยวของ

                Structures of Opioids and Opioid Antagonists Chemically Related to Morphine




                                       3             6              17




q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics)                                                           19 | ห น า
Agonist Opioids
Morphine
  ¤ There is NO maximum dose of narcotics
  ¤ Clinical uses: Analgesic, Moderate to severe pain และอาการปวดแบบเฉียบพลัน
      หรือเรื้อรัง
  ¤ สามารถรักษาอาการปวดหัวใจจากภาวะหัวใจขาดเลือด (myocardial infarction) อาศัย
      2 กลไก คือ 1) Direct analgesic action และ 2) กด vasomotor center ใน brainstem
      ใหเกิดการขยายหลอดเลือด เลือดจึงไปเลี้ยงหัวใจไดมากขึ้น (ไดรับออกซิเจนมากขึ้น)
      ทําใหลดการทํางานหนักของหัวใจ (cardiac workload) ลงได
  ¤ สําหรับการรักษาอาการปวดแบบเฉียบพลัน โดยเฉพาะอาการปวดหลังการผาตัด (post-operative pain) จะให
      morphine โดยฉีด IV ใหหมดในครั้งเดียว (bolus) ประมาณ 0.05 – 0.1 mg/kg แลวรอดูผล 5-10 นาที ถายังไม
      เห็นผลการระงับปวด ใหเพิ่มไดคราวละ 0.1 mg/kg จนสามารถระงับปวดได จากนั้นจะใหแบบตอเนื่อง (infusion)
      0.01 – 0.3 mg/kg ภายใน 12-24 ชั่วโมง เพื่อรักษาระดับ morphine ในเลือดไว
  ¤ สําหรับการรักษาอาการปวดแบบเรื้อรัง ซึ่งสวนใหญมักมีสาเหตุจากมะเร็ง (cancer pain) มี 2 วิธีในการบริหารยา
       · ใหในรูปแบบการรับประทาน (PO) โดยตัวยาจะเปนแบบ sustained release tablets/capsules
       · ใหในรูปแบบการฉีด IV ซึ่งขนาดที่ใ ชคือ 10 mg เที ยบเท ากับขนาดที่ ใชรับ ประทานคือ 30 mg เรียกว า
            equianalgesic dose กลาวคือ หากเภสัชกรตองเปลี่ยนวิธีการบริหารยาจากเดิมที่ใหฉีด IV 10 mg เปนการ
            รับประทานแทน จะตองใหยาแบบรับประทานขนาด 30 mg จึงจะมีฤทธิ์ระงับปวดเทากัน ทั้งนี้มีสาเหตุจาก
                Morphine metabolized           Morphine-3-glucuronide (M3G) + Morphine-6-glucuronide (M6G)
           เมื่อ morphine เขาสูรางกาย จะเกิด biotransformation เปลี่ยนเปน metabolites โดยที่ถาใหทางรับประทาน
           จะถูก metabolized ไดมากกวาเมื่อใหโดยการฉีด 3-6 เทา [PO : IV = 3-6 : 1] ซึ่งฤทธิ์ของ metabolites มีดังนี้
            - M3G จะไมมี ฤทธิ์ร ะงับปวด แต ทําให เกิดอาการไมพึงประสงค 3 อยาง คือ confusion, agitation
                          และ dysphoria
            - M6G จะมีฤทธิ์ระงับปวดพอๆ กับ morphine แตขอเสียคือ มีความสามารถในการกดการหายใจได
                          เปน 4 เทาของ morphine และยังเปนพิษ ตอทางเดินอาหาร ทําใหเกิดการคลื่นไส อาเจีย น
                          หรือทองผูกได
   ¤ ในผูปวยที่มีภาวะไตวาย (renal failure) จะสามารถกําจัด M3G และ M6G ไดนอยลง ดังนั้นจึงเพิ่มความเสี่ยงจาก
     การเกิดอาการไมพึงประสงคมากขึ้น โดยเฉพาะการกดการหายใจ
Codeine
  ¤ โดยปกติใชเปนยาสําหรับกดอาการไอ โดยขนาดที่ใชคือ 30–60 mg และยังสามารถใชเปนยาระงับปวดได แต
      ขนาดที่ใชสูงกวา คือ 130 mg เทียบเทากับการใช morphine 10 mg เนื่องจาก codeine จะถูกเอนไซม CYP 2D6
      เปลี่ยนรูปใหกลายเปน morphine
  ¤ ดังนั้นถาให codeine รวมกับ CYP 2D6-inhibitor เชน cimetidine, quinine จะทําใหฤทธิ์ระงับปวดของ codeine
      ลดลง
Meperidine (Pethidine)
  ¤ เปนอนุพันธของ phenylpiperidine ซึ่งโครงสรางแบบนี้จะพบใน morphine และ alkaloid บางชนิด เชน atropine
      จึงมีฤทธิ์คลายๆ กัน และทําใหมีอาการไมพึงประสงคบางอยางที่คลายๆ กัน
  ¤ มีฤทธิ์ระงับปวดไดนอยกวาหรือเทากับ 10 เทาของ morphine และที่สําคัญคือ ไมมฤทธิ์กดอาการไอ
                                                                                  ี
  ¤ ใชระงับปวดในการคลอดบุตร เนื่องจากผานรกไปกดการหายใจของทารกในชวงเวลาที่สั้นกวา morphine ทําให
      ปลอดภัยกวา
20 | ห น า                                                                                      by Mark Rx68 # 96   ©
¤ อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นคลายกับเมื่อใช morphine คือ กดการหายใจ อาเจียน และฤทธิ์สงบระงับ
       อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นคลายกับเมื่อใช atropine คือ spasmolytic (จึงไมพบอาการทองผูกและนิ่วในถุงน้ําดี),
       มานตาขยาย มองภาพไมชัด ปากแหง คอแหง กระหายน้ํา
  ¤    อาการทองรวงซึ่งเปนผลขางเคียงนั้น อาจใชยารักษาตามอาการได เชน Diphenoxylate (Lomotilâ), Loperamide
       (Imodiumâ) เนื่องจากยาเหลานี้มี constipation effect
  ¤    ผลพิษจากการใชยาเกินขนาด
        · Meperidine จะทําใหเกิดอาการสงบระงับ ซึม งวง และงงๆ จากผลของการกด CNS
        · Normeperidine (metabolite) จะทําใหเกิดอาการชัก จากผลของการกระตุน CNS
  ¤    ไมใชในอาการปวดเรื้อรัง เพราะยาตัวนี้อาจทําใหเกิด metabolite ที่ทําใหเกิดอาการชักดังกลาว ถาหากใชเป น
       ระยะเวลานาน อันจะทําใหเกิดการสะสมได
  ¤    Meperidine มีอันตรกิริยาระหวางยากับยาในกลุม monoamine oxidase inhibitor (MAOI)
Fentanyl / Alfentanil / Sufentanil / Remifentanil
  ¤ เปน piperidine derivatives จึงทําใหเปนยากลุมที่มีฤทธิ์แรง (potent opioid agonists)
  ¤ Fentanyl มี onset และ duration of action เร็ว มีฤทธิ์แรงกวา morphine 80 เทา และแรงกวา meperidine 650 เทา
      Alfentanil มีความแรงนอยกวา fentanyl 5-10 เทา มีชวงเวลาการออกฤทธิ์ที่สั้น (shorter acting)
      Sufentanil มีความแรงมากกวา fentanyl 8-10 เทา มีชวงเวลาการออกฤทธิ์ยาว (longer acting)
      Remifentanil มีชวงเวลาการออกฤทธิสั้นมาก (ultra-short acting)
                                            ์
  ¤ Clinical uses: analgesic supplement, surgical analgesic, cancer pain therapy
      โดยปกติผูปวยมะเร็งจะมีอาการปวดตลอดเวลา เพราะฉะนั้นจําเปนจะตองทําใหยาอยูในรูปแบบที่ออกฤทธิ์ไดคงที่
      (controlled releases) จึงใช fentanyl transdermal system (Durogesicâ) ใหยาคอยๆ ซึมผานผิวหนังเขาสูกระแส-
      เลือดตลอดเวลา มี onset ชา ดังนั้นจึงไมใชกับอาการปวดภายหลังการผาตัด (post-operative pain) และอาการ
      ปวดแบบเฉียบพลัน (acute pain) ซึ่งลวนแลวแตมีชวงเวลาในการปวดไมนาน ในการใชแผนแปะถาหากไมมอาการ        ี
      แลว ควรเอาแผนแปะออก อยางไรก็ตาม ยังมียาบางสวนที่ยังคงตกคางอยูในกระแสเลือด เพราะไมมีอาการปวด
      เปน physiology antagonism ยาที่เหลือเหลานี้ จึงออกฤทธิ์กดการหายใจไดชัดเจนขึ้น ซึ่งสัญญาณแสดงเมื่อมีการ
      กดการหายใจคือ สงบ (sedation) ปลุกใหตื่นไดยากมาก (extreme difficulty in arousing) และถาอัตราการหายใจ
      ลดลงต่ํากวา 8 ครั้งตอนาที แกไขโดยให Naloxone (1:10 dilution) IV infusion (เนื่องจากมีคาครึ่งชีวิตสั้นมาก)
  ¤ อาการไมพึงประสงค
       · กลามเนื้อแข็งเกร็ง (muscle rigidity) โดยเฉพาะกลามเนื้อซี่โครงที่ตองขยายเวลาหายใจ เกิดเปน “wooden
            chest” ซึ่งพบไดประมาณ 50-80% ของผูใชยาทั้งหมด และเกิดกับคนที่ใชในรูปแบบยาฉีดมากกวารูปแบบ
            แผนแปะ ดั งนั้นเมื่อเกิดอาการนี้ จะใชยาพวกที่ เปน muscle relaxant เชน Lorazepam, Pancuronium,
            Succinylcholine เปนตน
       · การเคลื่อนไหวโดยไมตั้งใจ (Spontaneous movement) ขณะผาตัด ทําใหกลามเนื้อเคลื่อนไป ซึ่งอาจสงผลให
            ลงมีดผาตัดผิดตําแหนงได หากใช fentanyl เปน surgical analgesic
       · ในสมัยกอนจะใหยาระงับปวดรวมกับยาคลายกังวล (tranquillizers) เชน Fentanyl + Droperidol = Innovarâ
            หรือ Alfentanil + Diazepam ซึ่งจะเกิดผลขางเคียงคือ ความดันโลหิตต่ํา (hypotension)
  ¤ Fentanyl มีอันตรกิริยาระหวางยากับยาในกลุม MAOI และ CYP 3A4 inhibitors


Mixed Agonist – Antagonist Opioids
มีฤทธิ์ทั้ง 2 อยาง คือ ฤทธิ์เปน m–receptor agonist หรือ antagonist และเปน k,d–receptor (partial) agonist สามารถ
แบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ พวกที่นํามาใชเปนยาระงับปวดที่มีฤทธิ์แบบ agonist เชน Pentazocine, Butorphanol,
q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics)                                                                21 | ห น า
Narcotic Analgesic Drugs
Narcotic Analgesic Drugs
Narcotic Analgesic Drugs
Narcotic Analgesic Drugs
Narcotic Analgesic Drugs

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยาPa'rig Prig
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กAiman Sadeeyamu
 
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์hall999
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2wifi5822
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดกลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดJumpon Utta
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesAphisit Aunbusdumberdor
 
Handbook medical conversation english chinese
Handbook medical conversation english chineseHandbook medical conversation english chinese
Handbook medical conversation english chineseUtai Sukviwatsirikul
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชWann Rattiya
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 

Mais procurados (20)

Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
2 หลักการพื้นฐานทางเภสัชวิทยา
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดกลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
 
Handbook medical conversation english chinese
Handbook medical conversation english chineseHandbook medical conversation english chinese
Handbook medical conversation english chinese
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Peptic Ulcer Perforate
Peptic Ulcer PerforatePeptic Ulcer Perforate
Peptic Ulcer Perforate
 
PACU
PACUPACU
PACU
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 

Destaque

Crude drugs'52 part1
Crude drugs'52 part1Crude drugs'52 part1
Crude drugs'52 part1PharmCU
 
Crude drugs'52 part2
Crude drugs'52 part2Crude drugs'52 part2
Crude drugs'52 part2PharmCU
 
Crude Drugs52 Part2 Rc260852
Crude Drugs52 Part2 Rc260852Crude Drugs52 Part2 Rc260852
Crude Drugs52 Part2 Rc260852PharmCU
 
รายชื่อยาที่ห้ามบดหรือทำให้แตก หรือห้ามให้ทางสายให้อาหาร
รายชื่อยาที่ห้ามบดหรือทำให้แตก หรือห้ามให้ทางสายให้อาหารรายชื่อยาที่ห้ามบดหรือทำให้แตก หรือห้ามให้ทางสายให้อาหาร
รายชื่อยาที่ห้ามบดหรือทำให้แตก หรือห้ามให้ทางสายให้อาหารPharmCU
 
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016some163
 
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆNSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆsome163
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาการบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาPain clinic pnk
 
Introduction to pharmacology and drug metabolism
Introduction to pharmacology and drug metabolismIntroduction to pharmacology and drug metabolism
Introduction to pharmacology and drug metabolismLuke Lightning
 
TAEM10:Pain management
TAEM10:Pain managementTAEM10:Pain management
TAEM10:Pain managementtaem
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 

Destaque (17)

Crude drugs'52 part1
Crude drugs'52 part1Crude drugs'52 part1
Crude drugs'52 part1
 
Crude drugs'52 part2
Crude drugs'52 part2Crude drugs'52 part2
Crude drugs'52 part2
 
Crude Drugs52 Part2 Rc260852
Crude Drugs52 Part2 Rc260852Crude Drugs52 Part2 Rc260852
Crude Drugs52 Part2 Rc260852
 
รายชื่อยาที่ห้ามบดหรือทำให้แตก หรือห้ามให้ทางสายให้อาหาร
รายชื่อยาที่ห้ามบดหรือทำให้แตก หรือห้ามให้ทางสายให้อาหารรายชื่อยาที่ห้ามบดหรือทำให้แตก หรือห้ามให้ทางสายให้อาหาร
รายชื่อยาที่ห้ามบดหรือทำให้แตก หรือห้ามให้ทางสายให้อาหาร
 
Mcq2554
Mcq2554Mcq2554
Mcq2554
 
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
 
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆNSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
NSAIDs presentation จากใจหมอยาๆๆๆ
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาการบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
 
Introduction to pharmacology and drug metabolism
Introduction to pharmacology and drug metabolismIntroduction to pharmacology and drug metabolism
Introduction to pharmacology and drug metabolism
 
Radiation Unit
Radiation UnitRadiation Unit
Radiation Unit
 
TAEM10:Pain management
TAEM10:Pain managementTAEM10:Pain management
TAEM10:Pain management
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 

Semelhante a Narcotic Analgesic Drugs

ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
Nerve cell
Nerve cellNerve cell
Nerve cellBiobiome
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองPongsatorn Srivhieang
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...kasidid20309
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 

Semelhante a Narcotic Analgesic Drugs (17)

ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
Nerve cell
Nerve cellNerve cell
Nerve cell
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมอง
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
Ans sns
Ans snsAns sns
Ans sns
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 

Narcotic Analgesic Drugs

  • 1. ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesic) โดย Makorn M.F. Rx68 # 96 Outline: ¤ ความเจ็บปวด และกลไกที่เกี่ยวของกับความรูสึกเจ็บปวด ¤ กลไกการระงับความเจ็บปวด ¤ การแบงประเภทของตัวรับกลุม opioids ¤ ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของ opioids ¤ ยาระงับปวดที่เกี่ยวของ ความเจ็บปวด และกลไกที่เกี่ยวของ ความเจ็บปวด (Pain) หมายถึง การรับรูความปวดที่เปน protective mechanism ของรางกายซึ่งใชปกปองจาก สิ่งเราที่ทําใหเกิดการบาดเจ็บ เปนความรูสึกที่ไมสบายที่อาจเกิดขึ้นไดจากทั้งรางกายและจิตใจ เกิดขึ้นจากการที่ ตัวรับ nociceptor (nocere = to injure; Latin) ถูกกระตุนโดยตัวกระตุนที่ทําใหเกิดความรูสึกเจ็บปวดตออันตรายหรือความ เสียหายที่เกิดขึ้น (noxious stimuli) ซึ่งประกอบไปดวย electrical, mechanical, thermal และ chemical สงความรูสึกนี้ ผ า น nociceptive pathway เข า สู ร ะบบประสาทส ว นกลางต อ ไป จึ ง จํ า เป น ต อ งได รั บ การรั ก ษาด ว ยยาระงั บ ปวด (analgesics) สําหรับความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นจากรางกายเทานั้นนะ ไมใชจิตใจ (คนละเรื่องกัน) ความปวดในทางคลินิค หมายถึง ความไมสบายและความรูสึกที่ไวผิดปกติของผูปวย ซึ่งมักจะมีลักษณะที่สําคัญ 3 อยาง คือ 1. เกิดขึ้นไดเอง (spontaneous) โดยที่ปวดอาจเปนลักษณะใดก็ได 2. ลักษณะของความปวดที่ตอบสนอง noxious stimuli มักจะมากกวาความเปนจริง (exaggerated) 3. ความปวดเกิดขึ้นไดแมจะเปนการกระตุนที่ไมทําใหมีการบาดเจ็บ (innocuous stimuli ) กลไกความรูสึกเจ็บปวด (Neural Mechanism of Pain Sensation) เริ่มการตัวกระตุนที่ทําใหเกิดความเจ็บปวด สงสัญญาณผาน peripheral nerve fiber ซึ่งเปนตัวนําความเจ็บปวด สูสมอง โดยสามารถแบงออกเปน fiber ตางๆ ดังตารางตอไปนี้ Mean diameter Mean conduct velocity Fiber Innervations (mm) (m/s) Ab Cutaneous touch and pressure afferents 8 (5-15) 50 (30-70) (myelinated) Ad Mechanoreceptors, Nociceptors (myelinated) <3 (1-4) 15 (12-30) C Mechanoreceptors, Nociceptors, 1 (0.5-1.5) 1 (0.5-2) Sympathetic postgangloinic (unmyelinated) ความเจ็บปวดที่มากระตุนผาน afferent fiber แตละชนิดนั้น จะกอใหเกิดความรูสึกเจ็บตางกัน โดย Ad fiber จะ นําความเจ็บปวดแบบ Sharp pain (เจ็บแปลบ) สวน C fiber จะนําความเจ็บปวดแบบ Dull pain (เจ็บตื้อๆ) และ Ab จะ เปน hyperalgesia (ความเจ็บปวดมากกวาปกติ ถานึกไมออกวาเปนยังไง ลองนึกถึงเวลาที่เอาอะไรไปแตะๆ ที่แผลดู) q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics) 1 | ห น า
  • 2. หลังจากผาน afferent fiber แลว จะเขาสู dorsal horn ของ spinal cord ซึ่งประกอบดวย 6 laminar ดว ยกัน (รูปที่ 1) - เมื่อกระตุนผาน mechanoreceptor ของ Ab fiber จะสิ้นสุดที่ laminar III, IV, V และ VI - สําหรับการกระตุนผาน nociceptor ของ Ad fiber จะมาสิ้นสุดที่ laminar I และ V ซึ่งจะมี neuron ขนาดเล็ก (interneuron) เชื่อมตอระหวาง neuron I และ V อยูในชั้น laminar II ที่เรียกวา Substantia gelatinosa - ถาเปนการกระตุนผาน mechanoreceptor ของ Ad fiber จะสิ้นสุดที่ laminar II และ III - C fiber จะนําความรูสึกมาสิ้นสุดที่ laminar I และ II รูปที่ 1 The termination of afferent fibers in six laminae of the dorsal horn of the spinal cord จากนั้นสัญญาณประสาทจะถูกสงตอไปสูสมองดวยกัน 2 pathway สู thalamus ได 3 ระดับคือ Ventral posterior lateral thalamus (VPL), Posterior lateral thalamus (PO) และ Medial and intralaminar thalamus (MT) ดังนี้ 1. Ventrolateral spinothalamic pathway (Somatic discriminative function) เมื่อสัญญาณประสาทถูกสงขึ้นไป จะแยกออกเปน 2 tract คือ i. Lateral spinothalamic tract ขึ้นไปทางดานขาง ไปยัง somatosensory cortex ii. Medial spinothalamic tract ขึ้นไปตรงๆ สูสวนกลาง โดยเลี้ยวที่ Reticular formation (RF) รูปที่ 2 Spinothalamic tract 2. Dorsal column pathway (Motivation affective function) โดย synapse ที่ผานมาทางนี้จะไมมี synaptic delay บริเวณ spinal cord แตจะไป synapse ในระดับ lower brain stem เลย แลว impulse ขึ้นสูระดับสมองสวนบน ซึ่งจะมีความเร็วในการสงมากกวา ventrolateral spinothalamic pathway 2 | ห น า by Mark Rx68 # 96 ©
  • 3. ยังงงอยูใชมะ ตอไปเราจะมาลงรายละเอียดกัน... เริ่มจาก ventral posterior lateral thalamus (VPL) จะรั บ impulse มาจาก 2 ทาง คือ ventrolateral spinothalamic pathway และ dorsal column pathway แตจะไปทาง dorsal column pathway ไดเร็วกวา ซึ่งจากจุด VPL นี้เอง ทําใหเรารับรูความเจ็บปวดไดอยางหยาบๆ แตการที่เรารับรูวาเจ็บปวด มากนอยแคไหน เกิดจากการสงสัญญาณไปแปลผลตอ ที่ somatosensory cortex (s.s. cortex) สวน impulse ที่ไปสู posterior lateral thalamus (PO) ทาง lateral spinothalamic tract จะเปนตัวบอกวาความเจ็บปวดเกิดขึ้นที่ตําแหนงใดของ รางกาย ซึ่งจะถูกสงสัญญาณตอไปแปลผลที่ s.s. cortex เชนกัน เพื่อใหรูวาความเจ็บปวดมาจากตําแหนงแหงหนใด ดังนั้น impulse ที่สงไปยัง thalamus ใน 2 ระดับนี้จึงถูกเรียกวา somatic discriminative function นั่นเอง VPL VPL PO PO Modulation in the Nociceptive pathway สวน impulse ที่สงไปทาง medial spinothalamic tract เมื่อผานเขาสู reticular formation (RF) ก็จะมี neuron สง ตอไปยัง medial and intralaminar thalamus (MT) และ cortex ตามลําดับ ซึ่ง impulse ที่มาทาง tract นี้จะเปนตัวกระตุน ใหเราเคลื่อนไหวเพื่อหลบหลีกสิ่งที่มาทําใหเกิดความรูสึกเจ็บปวด สวนอีกทางหนึ่ง เมื่อ impulse ผานเขาสู RF แลว จะมี impulse ที่ถูกสงตอไปทาง Hypothalamus (HYP) และ Medial forebrain (MF) ตามลําดับ พบวาเกี่ยวของกับอารมณและ การโตต อบสิ่ งที่ มากระตุน ใหเ กิด ความเจ็บ ปวด เชน รูสึ กวิ ตกกั งวล หวาดกลัว ดั ง นั้น impulse ที่ส ง มายัง reticular formation จึงทํา หนาที่เปน Motivation effective function คือทําใหเ กิดความเคลื่อนไหว และการสนองตอบตอความ เจ็บปวดนั่นเอง รูปที่ 3 แผนภาพสรุป Motivation effective function ซึ่งเปน impulse ที่ผาน medial spinothalamic tract q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics) 3 | ห น า
  • 4. กลไกการระงับความเจ็บปวด รางกายสามารถปรับลดระดับความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นจาก pain impulse โดยมีอาศัยกลไกจาก 3 ระบบทั้งจาก ระบบประสาทรอบนอกและระบบประสาทสวนกลางที่เกี่ยวของกับความเจ็บปวด ดังนี้ 1. Inhibit การถูกกระตุนของ nociceptor (pain receptor) ยาที่ออกฤทธิ์ระงับปวดระดับนี้เรียกวา “Peripheral analgesia” (รูปที่ 4-A) 2. Inhibit ในระดับ spinal cord ซึ่งจะมี gate control system อยูบริเวณ substantia gelatinosa (laminar II) ซึ่งจะเปนตัวควบคุม impulse ที่นํามาจาก peripheral fiber เพื่อไมใหผาน spinal neuron ที่จะขึ้นสูสมอง สวนบน ยาที่ออกฤทธิ์ระงับปวดระดับไขสันหลังนี้เรียกวา “Spinal analgesia” (รูปที่ 4-B) 3. Descending inhibitory control system เป นการส ง impulse จากสว นบน (สมอง) มาควบคุ ม การส ง สัญญาณประสาทที่ gate control system อีกทีหนึ่ง และยับยั้งการสงสัญญาณประสาทเขาสูระดับสมอง ซึ่ง ยาที่ออกฤทธิ์ระงับปวดระดับเหนือไขสันหลังนี้ เรียกวา “Supraspinal analgesia” (รูปที่ 4-C) รูปที่ 4 แสดงกลไลการสงสัญญาณความเจ็บปวดจากตัวรับความรูสึกเจ็บสูระบบประสาทสวนกลางที่สูงขึ้นไป 4 | ห น า by Mark Rx68 # 96 ©
  • 5. Analgesic = Pain lessness Anesthetic = Loss of sensation ¤ Strong analgesic เชน opioid จะออกฤทธิ์ระงับปวดทั้งในระดับไขสันหลัง และเหนือไขสันหลัง ซึ่งยาในกลุมนี้เปน ยาควบคุมพิเศษ ไมพบตามรานขายยาทั่วไป ¤ Weak analgesic เชน NSAIDs (e.g. Aspirin) จะออกฤทธิ์ระงับปวดในระดับ peripheral ซึ่งก็คือ nociceptor ¤ Local anesthetic (ยาชา) จะ block การนํา impulse ใน sensory fiber ทุกชนิด ไมได block การสงสัญญาณ ประสาทเฉพาะ pain เทานั้น ถาใหในขนาดต่ําๆ nerve fiber ที่มีขนาดเล็กสุดจะถูก block กอน ดังนั้นความรูสึกแรก ที่หมดไปก็คือ ความเจ็บปวด (เพราะมันใช C fiber ไง) Narcotic และ Strong Analgesic เนื่องจากยาระงับปวดหลายชนิดมีฤทธิ์ทําใหเสพติด จึงอาจถูกเรียกวา narcotic analgesic อยางไรก็ตาม ยา ระงับปวดชนิดใหมๆ ในปจจุบันไมเปนยาเสพติด แตสามารถระงับปวดรุนแรงได จึงมีศัพทที่ใชเรียกขึ้นมาอีกคําหนึ่งวา strong analgesic ซึ่งคํานี้จะรวมยาระงับปวดทั้งที่เปนยาเสพติด และไมเสพติดเขาไวดวยกัน คําวา Opiates หมายถึง ยา (สารเคมี) ที่ได จาก Opium (Papaver somniferum) หรือ ฝน (เชน morphine, codeine, thebaine และ alkaloid อื่นๆ เปนตน) และรวมไปถึงสารกึ่งสังเคราะหจากฝน (อนุพันธของฝน) เชน heroin สวนคําวา Opioids เปนคําที่ครอบคลุมกวางกวา กลาวคือ ยาทุกชนิดที่ไดจากธรรมชาติ หรือสังเคราะหขึ้นมา และมี ฤ ทธิ์ ร ะงั บ ปวดเหมื อ นกั บ morphine (morphine-like actions) (สารสั ง เคราะห เช น กลุ ม Methadone หรื อ Meperidine ซึ่งจะออกฤทธิ์ระงับปวดเหมือนกับ morphine สารเหลานี้จะเรียกรวมวา “Synthetic opiate-like drugs”) ในรางกายของเราจะมีการสังเคราะหสารพวก peptide ที่มีฤทธิ์เหมือนกับ opioid เรียกวา Endogenous opioid peptides หรือ Opiopeptins ไดแ ก enkephalin, endorphin และ dynorphin พบได ในสมอง (CNS) ทําหนาที่ เป น neurotransmitter นอกจากนี้ยังพบไดนอก CNS คือที่ nerve plexuses, exocrine gland และ adrenal medulla q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics) 5 | ห น า
  • 6. การแบงประเภทของตัวรับกลุม opioid ในการแบงประเภทของตัวรับ (receptor) กลุม opioid นั้น สามารถแบงออกไดเปน Ø m (Mu) Ø e (Epsilon) Ø k (Kappa) Ø s (Sigma) Ø d (Delta) ซึ่งตัวรับที่เกี่ยวของกับ analgesic effect (ฤทธิ์ระงับปวด) คือ m, k และ d receptor Functional effects associated with the main types of opioid receptor Effects m k d Analgesia Supraspinal +++ - - Spinal ++ ++ + Peripheral ++ - ++ Respiratory depression +++ ++ - Pupil constriction / Miosis (มานตาหรี่) ++ - + Euphoria (ภาวะเคลิบเคลิ้ม) +++ - - Dysphoria (ภาวะรูสึกเปนทุกข, ละเหี่ย) - - +++ Sedation (ภาวะสงบระงับ, ซึม) ++ - ++ Physical dependence (การเสพติดทางกาย) +++ - + นอกจากนี้ตัวรับทั้ง 3 ชนิดนี้ ยังสามารถแบงออกเปน subtype ตางๆ โดยอาศัยการถูกปดกั้นดวย antagonist ที่ แตกตา งกั นดั งแสดงบนตารางขา งต น และตัว รับ ยอ ยๆ เหลา นี้ จะกระจายอยูใ นส วนตางๆ ของร างกายที่แ ตกตา งกั น ออกไป ดังนี้ m1, k3, d2 : พบในระดับ supraspinal (เหนือไขสันหลัง) เชน บริเวณ periaqueductal grey (PAG) / midbrain m2, k1, d1 : พบอยูในระดับ spinal cord เปน spinal receptor พบใน substantia gelatinosa ของ dorsal horn สวน k2 มี activity ไมชัดเจน เมื่อพิจารณาผลที่เกิดจากการกระตุน opioid receptor ในแตละ subtype จะไดดังตอไปนี้ (ตัวเอนคือ adverse effect) m1 (mu-1) : Supraspinal analgesia, Euphoria, Miosis m2 (mu-2) : Sedation, Respiratory depression, Physical dependence, Constipation (ทองผูก) ดังนั้นการกระตุนที่ m2 – receptor นี้จึงมักจะเปน adverse effect ของการใช opioids อยางไรก็ตาม ในปจจุบันยังไมมียาที่เลือกจับกับ m1 ไดอยางเจาะจง จึงยังคงไมมียา opioids ใดที่ไมมี adverse effect เพียงแตวายาแตละตัวอาจมี affinity ที่ตางกันบาง k1 (keppa-1) : Spinal analgesia, Dysphoria, Miosis, Sedation k3 (keppa-3) : Supraspinal analgesia d1 (delta-1) : Spinal analgesia, Dysphoria, Hallucinations d2 (delta-2) : Supraspinal analgesia m และ d-agonist ใชแลวจะมีแนวโนมทําใหเกิดการเสพติด แตจะไมเกิดกับ k-agonist Ideal opioid agents ลักษณะของยาในอุดมคติ (ที่ยังไมมีจริงในปจจุบัน) ของกลุมนี้ คือ ตองกระตุนเฉพาะ m1 , k และ d receptor ทั้งในระดับ supraspinal และ spinal analgesia แตตองไมกระตุน m2 เพื่อไมใหเกิด adverse effect 6 | ห น า by Mark Rx68 # 96 ©
  • 7. สรุป Opioid receptors Ø m - receptor ¤ Most of the analgesic effects + some major unwanted effects ¤ Most of the analgesic opioids are m-receptor agonists. Ø k - receptor ¤ Spinal / Peripheral analgesia ¤ Sedation / Dysphoria but NOT physical dependence Ø d - receptor ¤ More important in the periphery ¤ May also contribute to analgesia Ø s - receptor (not true opioid receptor เนื่องจากจับกับตัวรับ opioid อยางไมจําเพาะ และยังสามารถจับกับพวก antipsychotic drugs (ดังจะกลาวตอไป) รวมถึงไมสามารถหักลางฤทธิ์ดวย Naloxone ซึ่งเปน pure opioid antagonist ได) ¤ Only BENZOMORPHANS [Pentazocine] ® Psychotomimetic properties & NO analgesic effect ¤ Interact with psychotropic drugs [Haloperidal; Chloropromazine] Transmembrane- spanning region รูปที่ 5 molecular cloning ของ opioid receptor ในหนู จะมี amino acid sequence ของแตละ subtype (m, k, d) เหมือนกันประมาณ 65% ซึ่งบริเวณวงกลมสีขาวจะเปนสวนที่แตกตางกัน โดยเฉพาะบริเวณ amino และ carboxy terminal รวมไปถึง extracellular loops II & III และ transmembrane-spanning region IV ซึ่งทําใหมีการจับกับ opioid compounds ไดแตกตางกัน สวนบริเวณวงกลมสีเขมจะเปนสวนที่มี sequence เหมือนๆ กันในแตละ subtype ซึ่งจะพบในบริเวณ intracellular loop และ transmembrane-spanning region I, II, III, V และ VII q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics) 7 | ห น า
  • 8. ความจําเพาะของยากลุม Opioids (Selectivity of Opioid drugs) ความจําเพาะของ Opioid drugs แบงออกไดเปน 1. Agonists (Full agonists) : ยาที่มี affinity ที่จะจับกับตัวรับ opioid ได และทําใหเกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่สําคัญ คือ ฤทธิ์ระงับปวด ทั้งนี้เปนเพราะเรายึด m receptor เปนหลัก ซึ่งทําใหเกิดฤทธิ์ระงับปวดไดมากที่สุด 2. Partial agonists : เปนยาที่มี “self limit effect” ที่ตัวรับ opioid เนื่องจากยามี low intrinsic efficacy กลาวคือ ยา ในกลุมนี้สามารถจับกับตัวรับไดดี แตมี intrinsic efficacy ต่ํา และเมื่อเพิ่มขนาดยา พบวา efficacy สูงสุดก็ยังต่ํา กวา full agonist แตถาหากใหทั้ง full agonist และ partial agonist ไปพรอมๆ กัน partial agonist จะแสดง ลักษณะเปน competitive antagonist แยง full agonist จับกับตัวรับ 3. Antagonists : ยาที่ไมมี intrinsic efficacy หรือไมแสดงฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาเมื่อยาจับกับตัวรับ แตมี affinity กับ ตัวรับ โดยจะเปน competitive inhibitor กับพวก agonist ตัวอยางยาที่สําคัญ ไดแก Naloxone ใชแกฤทธิ์ของ morphine ซึ่งเมื่อทดลองในกระตาย พบวายาออกฤทธิ์ไดรวดเร็วมาก และหมดฤทธิ์เร็วเชนเดียวกัน ดังนั้นการใช ยาชนิดนี้เพื่อตานฤทธิ์บางอยางของ opioids เชนฤทธิ์กดการหายใจ จะตองใหตอเนื่อง (IV drips) เพื่อใหออก- ฤทธิ์ตานการกดการหายใจไดนาน 4. Mixed agonists – antagonists : ยาในกลุมนี้มีฤทธิ์เปน agonist มากกวา จึงมีลักษณะคลายกับกลุม partial agonist ทําใหอาจเรียกยาในกลุมนี้ไดวา “mixed agonists” มี 2 ชนิด ไดแก i. Morphine type : มักออกฤทธิ์เปน m–receptor partial agonist เชน Buprenorphine ซึ่งจะมี affinity กับ ตัวรับสูง แตมี intrinsic efficacy ต่ํา ทําใหมี tissue response ต่ําเชนกัน ii. Nalorphine type : ออกฤทธิ์เปน m–receptor antagonist และเปน k,d–receptor (partial) agonist Selectivity of Opioid drugs and Peptides Compound m d k Opioid peptides b-endorphin +++ +++ +++ Leu-enkephalin + +++ - Met-enkephalin ++ +++ - Dynorphin ++ + +++ Opioid drugs Pure agonists Morphine, Codeine +++ + + Methadone +++ - - Meperidine ++ + + Etorphine, Bremazocine +++ +++ +++ Fentanyl, Sufentanil +++ + - Partial / Mixed agonists Pentazocine, Ketocyclaz (+) + ++ Nalbuphine (+) + ++* Nalorphine (+++) - ++* Buprenorphine +++* - (++) Antagonists Naloxone (+++) (+) (++) Naltrexone (+++) (+) (+++) + Agonist; (+) Antagonist; – Weak/No activity; * Partial agonist 8 | ห น า by Mark Rx68 # 96 ©
  • 9. ความสัมพันธของ Dose-response curve ของยากลุมตางๆ MAXIMUM EFFICACY 100 % - EFFICACY Pure agonists POTENCY Partial agonists Response CEILING LIMIT TO RESPONSE 50 % - Mixed agonist - antagonists SELF ANTAGONISM TO RESPONSE Agonist + Antagonist Antagonists Dose จากแผนภาพ dose-response curve ความสู ง ของกราฟจะแสดง efficacy สว นความชั นของกราฟจะแสดง potency กลาวคือ ถาความชันนอยกวา จะมี potency นอยกวา 1. Pure agonist จะมี response ที่สูงขึ้นตาม dose ที่เพิ่มขึ้น และเพิ่มขึ้นจนถึง maximum efficacy และถากราฟมี ความชันมากๆ แสดงวามี potency สูงมาก 2. Partial agonist เมื่อเพิ่ม dose ถึงจุดหนึ่ง response จะไมสูงขึ้นตาม และมี maximum response ต่ํากวา pure agonist (ซึ่งมี maximum efficacy) เรียกวา “ceiling limit” 3. Antagonist เมื่อใหเดี่ยวๆ กราฟจะมีลักษณะเปนเสนตรงขนานกับแกน X (dose) เนื่องจากไมเกิด response เลย แตเมื่อใหรวมกับ agonist กราฟจะเขยิบไปทางขวาในลักษณะขนาน จากผลของ competitive antagonist 4. Mixed agonist – antagonist จะมีลักษณะคลายกับ partial agonist ในชวงตนๆ ของกราฟ เมื่อเพิ่ม dose จนถึง ceiling limit อาจเกิด self antagonist ทําใหฤทธิ์ลดลง เนื่องจากความสามารถในการกระตุน และยับยั้งที่ตัวรับ ตาง subtype กัน ทําใหออกฤทธิ์ตรงขาม ยกตัวอยางเชน เมื่อยาจับกับ m,k–receptor และจะเกิด miosis แต เมื่อจับกับ d–receptor จะเกิด mydriasis ถาให ยาในขนาดต่ําๆ จะเกิด miosis แตถาเพิ่มขนาดใหสูงจะเกิ ด mydriasis ผลที่ไดคือ มานตาจะหรี่นอยลง เรียกวาเกิด “Biphasic effect” Opioid Potency and Durations of Action หมายเหตุ : Equigesic หรือ Equianalgesic dose หมายถึงขนาดที่ยาสามารถออกฤทธิ์ไดเทียบเทากัน เมื่อบริหารยาคนละทางกัน q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics) 9 | ห น า
  • 10. Common opioid analgesics Duration of Approximately Oral:Parenteral Maximum Generic Name Trade Name Analgesia Equivalent Dose (mg) Potency Ratio Efficacy (hours) 1 Morphine 10 Low 4-5 High Hydromorphone Dilaudid® 1.5 Low 4-5 High Oxymorphone Numorphan® 1.5 Low 3-4 High Methadone Dolophine® 10 High 4-6 High Meperidine Demerol® 60-100 Medium 2-4 High Fentanyl Sublimaze® 0.1 Low 1-1.5 High Sufentanyl Sufenta® 0.02 Parenteral only 1-1.5 High Alfentanil Alfenta® Titrated Parenteral only 0.25-0.75 High 2 3 Remifentanyl Ultiva® Titrated Parenteral only 0.05 High Levorphanol Levo-Dromoran® 2-3 High 4-5 High 4 Codeine 30-60 High 3-4 Low 4 Hydrocodone 5-10 Medium 4-6 Moderate 1,5 6 Oxycodone Percodan® 4.5 Medium 3-4 Moderate 6 Propoxyphene Darvon® 60-120 Oral only 4-5 Very low 6 Pentazocine Talwin® 30-50 Medium 3-4 Moderate Nalbuphine Nubain® 10 Parenteral only 3-6 High Buprenorphine Buprenex® 0.3 Low 4-8 High Butorphanol Stadol® 2 Parenteral only 3-4 High 1 Available in sustained-release forms, morphine (MSContin); oxycodone (OxyContin). 2 Administered as an infusion at 0.025-0.2 mcg/kg/min. 3 Duration is dependent on a context-sensitive half-time of 3-4 minutes. 4 Available in tablets containing acetaminophen (Norco, Vicodin, Lortab, others). 5 Available in tablets containing acetaminophen (Percocet); aspirin (Percodan). 6 Analgesic efficacy at this dose not equivalent to 10 mg of morphine. ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของ Opioids ยาจําพวก Opioids นั้น มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาตางๆ โดยผลของการกระตุน opioid receptor ที่มีอยูหลายชนิ ด ดังนั้นผลของการกระตุนตัวรับแตละชนิดนั้น ยอมสงผลใหเกิดฤทธิ์ที่แตกตางกันออกไป จึงอาจแบงประเภทใหญๆ ไดดังนี้ 1. Acute effects Ø Central agonist actions : Analgesic, Respiratory depression, Vomiting, Cough suppression, Miosis, CNS actions Ø Peripheral agonist actions : Smooth muscle contraction, Histamine releasing 2. Chronic effects : Tolerance & Dependence Analgesic ยา Opioids มีฤทธิ์ระงับปวด ผานกลไกที่เกี่ยวของกับ opioid receptor โดยเฉพาะอยางยิ่ง m-receptor ซึ่งการ ระงับปวดเกิดขึ้นไดทั้ง supraspinal, spinal และ peripheral 10 | ห น า by Mark Rx68 # 96 ©
  • 11. Supraspinal analgesia opioids สามารถจับกับ opioid receptor ณ เซลลประสาทบริเวณ Periaqueductal Gray matter (PAG) และ Nucleus reticularis paragigantocellularis (NRPG) ซึ่งเปนการกระตุนเซลลนั้นใหสงกระแสประสาท ไปกระตุนเซลลประสาทในบริเวณ Nucleus raphe magnus (NRM) ตอ ใหสราง 5-HT และ Enkephalin 5-HT และ Enkephalin ไปจับกับ opioid receptor ของเซลลประสาทที่เกี่ยวของกับ Nociceptive pathway สวน Locus ceruleus (LC) จะสงสัญญาณมายับยั้งการนํากระแสประสาทในระดับ spinal cord โดยอาศัย noradrenaline เปน neurotransmitter จึ งเรีย กวา “noradrenaline pathway” ซึ่ งทั้งหมดนี้เป นผลใหเกิด การยับ ยั้งการสงสัญ ญาณการปวด (noxious) ในระดับ dorsal horn บริเวณ substantia gelatinosa (laminar II) ถึงแมวาจะเปน supraspinal analgesia ก็ ตาม ทั้งนี้เปนเพราะ opioids จะยับยั้งความเจ็บปวดจากการกระตุนที่ PAG ใน cortex ซึ่งอยูในระดับ supraspinal cord ตั้งแตตนนั่นเอง รูปที่ 6 แสดงกลไกในการระงับปวดแบบ Supraspinal analgesia Spinal analgesia เมื่อมี pain impulse ส งมาที่ afferent fiber พอมาถึง dorsal horn บริ เวณ substantia gelatinosa ซึ่งมี opioid receptor อยู opioid จะมีผลยับยั้งทั้ง pre- และ post-synaptic terminal กลไกทางชีวเคมีระดับโมเลกุลของ opioids ตอ opioid receptor Primary afferent fiber เชน Ad fiber, C fiber ซึ่งนํา noxious impulse เขามา เมื่อมาถึง pre-synaptic terminal ซึ่งมีตัวรับอยู 3 ชนิด คือ m, d, k (¡, ¨ และr ในรูปที่ 7 ตามลําดับ) opioid จะสามารถออกฤทธิ์ไดโดยจับกับตัวรับ เหลานี้ จะทําให Ca2+ channel เปดนอยลง intracellular Ca2+ [ (Ca)i ] ลดลง แลวจะสงสัญญาณทาง G proteins ใหเกิด การยับยั้งเอนไซม Adenelyl cyclase ทําใหระดับ cAMP ภายในเซลลต่ําลง มีผลทําให Voltage-gated Ca2+ channel เปด นอยลง (¯ gCa2+) ทําให Ca2+ เขาสูเซลลไดนอยลง จึงเกิดการสงผานกระแสประสาทไดยากขึ้น เพราะตองใช Ca2+ ใน การปลดปลอ ยสารสื่อ ประสาท substance P ที่เ ปน ตัว นํา ความรูสึ กเจ็บ ปวดไปสู post-synaptic neuron ลดลงดว ย เรียกวา “pre-synaptic inhibition” q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics) 11 | ห น า
  • 12. A B รูปที่ 7 กลไกการสงสัญญาณประสาท (synapsis) รูปที่ 8 กลไกทางชีวเคมีในระดับโมเลกุลของ opioid ตอตัวรับ ที่ post-synaptic neuron มี m receptor (¡) เมื่อ opioid มากระตุน จะทําใหมีการปลอย K+ ออกนอกเซลลมาก ขึ้น ทําใหเกิด Inhibitory post-synaptic potential (IPSP) เพราะเปน hyperpolarization ทําให กระแสประสาทที่จะถู ก กระตุนตอไปเกิด action potential ยากขึ้น เรียกวา “post-synaptic inhibition” Respiratory depression Respiratory center แบงออกเปน 2 สวนเพื่อควบคุมสรีรวิทยาการหายใจใหมีความเหมาะสม 1. Pneumotaxic area กับ Apneustic area : พบใน Pons เปนสวนที่ควบคุมจังหวะการหายใจ 2. Inspiratory area กับ Expiratory area : พบใน Medulla เปนสวนควบคุมการหายใจเขา-ออก 12 | ห น า by Mark Rx68 # 96 ©
  • 13. ถามีการหายใจชาหรือกลั้นหายใจระดับ pCO2 ในเลือดจะสูงขึ้น มีผลไปกระตุน chemoreceptor ที่ carotid และ aortic bodies และกระตุน chemosensitive area ใน medulla ซึ่งทั้งสองสวนนี้จะสงกระแสประสาทไปตาม vagus nerve ไปกระตุน inspiratory area ใน medulla ทําใหเกิด hyperventilation เพื่อที่เรงการนํา CO2 ออกจากเลือด ทําให pCO2 กลับสูระดับปกติ เมื่อไดรับ opioids (เชน morphine) เขาไป จะไปจับที่ chemosensitive area ใน medulla ใหเกิดการ ยับยั้งกระแสประสาท ดังนั้น ไมวา pCO2 จะเพิ่มสูงแคไหน pathway ในชวงถัดขึ้นไปก็จะไมเกิด ขณะที่ระดับ pCO2 ในเลือดสูงขึ้นนั้น pO2 จะต่ําลง และเมื่อต่ําลงจนถึงระดับที่เกิดภาวะ anoxia จะไปกระตุ น chemoreceptor ที่ carotid และ aortic bodies ได และเนื่อ งดวยบริเ วณนี้ไมถูก ยับยั้งดวย opioids (ตาม pathway ที่ ปรากฏ) จึงสามารถสงกระแสประสาทไปกระตุน inspiratory area ใน medulla ทําใหเกิด hyperventilation ระดับ pO2 ใน เลือดจึงสูงขึ้น เขาสูปกติ หมดภาวะ anoxia ดังนั้นถาผูปวยไดรับ morphine สงผลใหการหายใจถูกกด หามให O2 กับผูปวย เพราะจะทําใหการหายใจหยุด ทันที (pO2 สูง ไมเกิดการกระตุน chemoreceptor) แตควรจะให opioid antagonists โดยทันที Respiratory depression ที่อันตรายตอผูปวย มาจาก - การให morphine แบบ overdose (จะเกิดการหายใจถี่ๆ ที่เรียกวา Cheyne-Stokes respiration ดังรูปที่ 9) - การให morphine ในขนาดปกติ คูกับ CNS depressant (เสริมฤทธิ์กดการหายใจใหเพิ่มมากขึ้น) - การให morphine ในขนาดปกติ ในผูที่มีความผิดปกติของปอด (pulmonary dysfunction) - การให morphine ในผูปวยที่มีบาดแผลที่ศีรษะ (head injury) ทําใหหลอดเลือดในสมองเกิดการขยายตัวจากผล ของ pCO2 ที่สูงขึ้น เกิดการบวม เมื่อบวมแลวความดันภายในสมองจะสูงขึ้น และกดเนื้อเยื่อสมองสวนอื่นๆ ถามี บาดแผลอยูก็จะทําใหเกิด bleeding ได q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics) 13 | ห น า
  • 14. รูปที่ 9 การเกิดภาวะ Chyne - Stokes respiration ซึ่งจะเกิดการหายใจถี่ๆ สลับกับการหยุดหายใจ ซึ่งจะขึ้นกับ pO2 ในเลือด กลาวคือ เมื่อเกิดภาวะ anoxia สมองจะกระตุนใหเกิด hyperventilation จนหมดภาวะ anoxia การกดการหายใจใน Opioids - morphine มีการกดการหายใจแปรตามปริมาณขนาดที่ใหไป กลาวคือ ขนาดยิ่งสูงยิ่งกดการหายใจ - partial agonist และ mixed agonist-antagonist มี ceiling effect ของการกดการหายใจ เชน Buprenorphrine มี ceiling effect อยูที่ขนาด 0.15 – 1.2 มิลลิกรัม Nalbuphine มี ceiling effect อยูที่ขนาด 30 มิลลิกรัม ขณะที่ Pentazocine มี ceiling effect ของการกดการหายใจเชนเดียวกัน แตจากการศึกษาพบวาเมื่อใหไปถึงขนาดหนึ่งจะ เกิด psychotomimetic effect กอน ทําใหไมทราบปริมาณที่ชัดเจนของ ceiling effect ในการกดการหายใจ - สามารถใช naloxone ซึ่งเปน opioid antagonist ในการถอนพิษการกดการหายใจของ Opioids ได Cough suppression การไอ เปนกระบวนการตอบสนองของรางกายตอ สิ่งเราที่มากระตุนบริเวณลําคอ สิ่งแปลกปลอม สารระคาย- เคือง (irritant) เชื้อโรค สารกอแพ (histamine) หรือการบีบ ตั ว ของหลอดลมคอ (bronchoconstriction) มากระทบ cough receptor ที่อยูบริเวณ pharynx ถึง bronchiole จาก การกระทบจะเกิดการสงสัญญาณทาง vagus nerve เขาสู cough center ที่ medulla ซึ่ง จะสงสัญญาณออกมาใหเกิ ด cough reflex ซึ่ งก็คือเกิดการไอ เพื่ อกําจัดสิ่งระคายเคือ ง ออกไปนั่นเอง ยา Opioids รวมทั้ ง อนุ พั น ธ ข องมั น เช น Dextromethophan (Romilarâ) สามารถกดการทํางานของ cough center ที่ ส มองโดยตรง แต ไ ม ไ ด ผา นการจั บ กั บ Opioid receptor ดังนั้นแมจะมีสิ่งเรากอการไอ แตมีการปด กั้นสองสวนนั้นแลว จึ งเกิด ฤทธิ์ ในการกดการไอได หรื อ เรียกวา antitussive สา มา รถ ต า นฤ ทธิ์ กา รก ดก าร ไอได โด ยใ ช Phenothiazine แตตานฤทธิ์โดย Naloxone ไมได เพราะไม เกี่ยวกับ opioid receptor 14 | ห น า by Mark Rx68 # 96 ©
  • 15. ยาที่ใชกดการไอที่มาจากสาเหตุตางๆ - การไอแหง ไมมีเสมหะ ที่มี สาเหตุ จากสารระคายเคือ ง ใชยาพวก opioids หรืออนุพันธข องมัน ไปกดการเกิ ด cough reflex แตหากใหยาไปแลวยังไมหยุดไอ อาจเปนเพราะสารระคายเคืองยังคงคางอยูในลําคอ - การไอที่มีเสมหะหรือสารคัดหลั่งในลําคอ อาจใช Antihistamine เพื่อลดการหลั่งสารเหลานี้ จากการกอแพ เพื่อลด สิ่งเราที่จะไปกอกระบวนการไอ - การไอที่เกิดจาก bronchoconstriction ใช antiasthmatic drug เพื่อขยายหลอดลม Vomiting การอาเจียนมีสาเหตุมากจากหลายอยาง เชน การกระตุนตัวรับในทางเดินอาหาร หรือจาก labyrinths ที่อยูใน semicircular tubule ในหู ชั้น ในเกิ ด การส ง สั ญญาณตอ ผ า น vestibular apparatus ซึ่ ง ทั้ง หมดจะส งสั ญ ญาณต อ ให chemoreceptor trigger zone เขาสู vomiting center ที่อยูใน reticular formation ภายใน medulla ไปมีผลทําใหเกิดการ อาเจียน Opioids มีผลตอการอาเจียน ขึ้นกับขนาดที่ให ดังนี้ ¤ การให morphine ในขนาดต่ํ า จะไปกระตุน chemoreceptor trigger zone ซึ่ ง จะส งสั ญ ญาณเข า สู vomiting center ใหเกิดการอาเจียน ¤ การให morphine ในขนาดสูง จะไปกด vomiting center โดยตรง แตไมจับกับ chemoreceptor trigger zone ทําใหไมเกิดการอาเจียน ดังนั้น ผูปวยที่ไดรับ morphine ตอนแรกๆ ที่ระดับยายังนอย จะเกิดการอาเจียน แตเมื่อระดับยาสูงขึ้น อาการ อาเจียนจะถูกกด นอกจากนี้ผูปวยที่ไดรับ morphine แลวเดินไปเดินมา จะเกิดการอาเจียนมากกวาคนที่อยูเฉย เพราะการ เดินไปมาทําให labyrinths เกิดการเคลื่อนไปมาและกระตุนการอาเจียนไดงายขึ้น Apomorphine (สูตรโครงสรางทางขวา) เปน opioid ที่เปลี่ยนแปลงโครงสรางใหไมมี ฤทธิ์ระงับปวด ใชทําใหเกิดการอาเจียนเพียงอยางเดียว (จึงเหมาะจะนํามาใชเปนยาถอนพิษ) โดยกอนใชตองใหผูปวยดื่มน้ําจนเต็มทองกอน จากนั้นจึงใหยาเพียงครั้งเดียว หามใหซ้ํา เพราะ จะทําใหระดับยาสูงจนไมเกิดการอาเจียน การที่ morphine ทําใหอาเจียน สามารถตานฤทธิ์อาเจียน โดยใช Phenothiazine (ยาตานโรคจิต) แตตานฤทธิ์ โดย Naloxone ไมได Miosis Opioids มีผลตอการเกิ ดการมานตาหรี่ เรียกวา Pinpoint pupil โดย opioids จะไปจับกับ opioid receptor ที่ nuclei of oculomotor nerve หรือ Edinger-Westphal nucleus ทําใหเกิดการสงสัญญาณผานทาง oculomoter nerve (CN III) ไปยัง ciliary ganglion และไปยัง postganglionic parasympathetic fiber ทําใหมีการหลั่ง Acetylcholine (ACh) ออกจากเซลลมากขึ้น ไปจับกับ M3 receptor ของมานตา กระตุนให sphincter muscle หดตัวและเกิดมานตาหรี่ ในผูปวยที่ให morphine หรือในผูติดยา จะพบอาการมานตาหรี่ การแกฤทธิ์ทําไดโดย ¤ การใช Anticholinergic drug เชน atropine ซึ่งเปน antagonist ของ M3 receptor จึงตาน ACh ที่หลั่ง ออกมามากขึ้น ¤ การให naloxone ซึ่งเปน opioid antagonist ปดกั้นการกระตุน nuclei of oculomoter nerve ในกรณีผูที่มานตาหรี่ทั้ง 2 ขาง แลวให naloxone ตอตาขางหนึ่ง พบวาเฉพาะขางนั้นที่รูมานตากลับมาปกติ จึง เกิด Anisocoria คือ ภาวะที่รูมานตาสองขางไมเทากัน q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics) 15 | ห น า
  • 16. ฤทธิ์ในการทําใหมานตาหรี่ของ Opioids ตางๆ - Opioids โดยทั่วไปมีฤทธิ์ทําใหมานตาหรี่ หรือ miotic effect โดยแปรตามขนาดยาที่ให เชน Morphine, Nalor- phine, Levallorphan, Pentazocine, Cyclazocine - Opioids บางตัว มี biphasic effect คือที่ขนาดต่ํามี miotic effect และขนาดสูงมี mydriatic effect เชน Butorphanol ซึ่งเปน mixed agonist-antagonist ที่จัดเปน self antagonist ดวย - Opioids บางตัว มี ceiling effect ของฤทธิ์การหรี่ของมานตา เชน Nalbuphine ซึ่งเปน mixed agonist-antagonist - k-agonist เชน Ketocyclazocine มี miotic effect - s-agonist เชน N-allylnormetazocine มี mydriasic effect Other CNS effects 1) Sedation Opioids ที่สามารถดูดซึมผาน blood brain barrier (BBB) จะเขาไปออกฤทธิ์กดระบบประสาทสวนกลางได ทํา ใหผูไดรับยามีอาการงวงซึม สําหรับฤทธิ์ตอระบบประสาทสวนกลางของ opioids มีความแตกตางกันในแตละ species คือ ในคน สุนัข จะกด ประสาท สวนในแมว หมู วัว มา แพะ แกะ จะกระตุนประสาท ดังคํากลา ว “While Narcotic analgesics make man drowsy and want to sleep, the right dose makes horse want to run.” 2) Muscle rigidity Opioids บางชนิด เชน Fentanyl, Alfentanyl, Sufentanyl มีผลตอระบบประสาทสวนกลาง โดยทําใหสมองสั่ง การไปยังกลามเนื้อหนาอกใหเกิดการเกร็ง หรือ Chest wall rigidity จึงสงผลใหเกิดการหายใจเขาและออกไดยากลําบาก เพราะกลามเนื้ออกแข็ง ปจจุบัน จึงมีการเปลี่ยนรูปแบบยาเตรียมของ Fentanyl จากยาน้ําใชฉีด เปน transdermal system เพื่อใหมีฤทธิ์ แกปวดเฉพาะที่ จากตัวยาที่ดูดซึมชาๆ และกระจายแคบริเวณนั้นไมมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง 3) Catalepsy Opioids บางชนิ ด เช น Etorphine มี ผลต อ ประสาทส ว นกลาง ทํ า ให เ กิ ด การผิ ด ปกติ ข องการเคลื่ อ นไหว (โดยเฉพาะในสัตว) แบบที่เรียกวา catalepsy คือ สูญเสียการเคลื่อนไหวแขน และขา การไมสามารถควบคุมกลามเนื้อ ลายได (ดั งนั้นจึงมีลั กษณะคลายกับ rigidity) และมีอาการคลายพารกิ นสัน (Parkinsonism) (ยานาจะไปมี ผลตอเซลล ประสาทใน nigrostriatal dopaminergic tract ทําใหหลั่งสารสื่อประสาท Dopamine ไดนอยลง) มีการนํามาใชประโยชนโดยฉีดใหแกสัตวใหญ เชน ชาง ใหสูญเสียการเคลื่อนไหว และอยูนิ่งเนื่องจากระยางค แข็งทื่อ จึงเคลื่อนยายไดงาย และเมื่อหมดฤทธิ์สัตวก็กลับมาเคลื่อนไหวไดเหมือนเดิม 4) Convulsion Opioids บางชนิด เชน Morphine, Codeine, Meperidine, Propoxypine หากใหในปริมาณมากมีผลตอระบบ ประสาทสว นกลาง โดยไปกระตุน hippocampal pyramidal cell ใหล ดการหลั่ง GABA ซึ่ง มีผลให เกิ ด IPSP ที่เ ซลล epileptic neuron นอยลง เซลลประสาทนี้จึงถูกกระตุนงาย และกอสัญญาณการชัก ทําใหเกิดการชักของรางกายตอไป สําหรับขนาดของ Codeine ที่ใชระงับอาการไอจะต่ํากวาขนาดที่ใชระงับปวดมาก ซึ่งในการระงับปวด (ใชระงับอาการปวดอันเนื่องมาจากมะเร็ง เนื่องจาก Codeine ถูก metabolized โดยเอนไซม CYP 2D6 เกิดเปน Morphine) ตองใชขนาดสูงจนใกลกับ ขนาดที่ทําใหเกิดการชัก ดังนั้นจึงไมนิยมนํามาใชระงับปวด แตใชกดอาการไอแทน 16 | ห น า by Mark Rx68 # 96 ©
  • 17. 5) Endocrine gland Opioids มีผลตอระบบตอมไรทอ ดังนี้ ¤ ทําให hypothalamus สราง ADH มากขึ้น และนําไปเก็บที่ posterior pituitary gland มากขึ้น จึงมีการ หลั่งฮอรโมนนี้ออกมามากขึ้น และเกิดผลใหปสสาวะนอยลง (oliguria) จากการที่ ADH มากไปทําใหเกิด การดูดกลับน้ําที่ nephron มากขึ้น ¤ ทําให anterior pituitary gland สราง ACTH (Corticotropin) และ Gonadotropin นอยลง มีผลให sexual activity นอยลง จากการที่ ACTH นอยไปกระตุนตอมหมวกไตสวนนอกใหสราง sex hormone ไดนอย และ Gonadotropin นอยลง ไปกระตุนรังไขหรืออัณฑะไดนอย Peripheral agonist action 1) Smooth muscle contration i. Gastrointestinal tract (GIT) : Constipation Opioids บางชนิดมีผลตอสรีรวิทยาของระบบทางเดินอาหารโดยสงผลใหเกิดอาการทองผูก โดยมีสาเหตุ ดังนี้ - ทําใหเกิด smooth muscle contraction ของ pyrolic spinctor (หูรูดกระเพาะอาหาร-ลําไส) และ anal sphinctor (หูรูดทวารหนัก) การบีบตัวของหูรูดเหลานี้ ทําใหการเคลื่อนของอาหาร หรือกากอาหารในทอ ทางเดินอาหารเปนไปในอัตราที่ชาลง จึงลดการขับถาย - ทําให propulsive contraction ของ smooth muscle ใน GIT ลดลง จากการที่ไปมีผลทางเภสัชวิทยาทําให เซลลป ระสาท (intramural nerve plexus) ใน GIT หลั่ง ACh นอยลง จึ งมีผลใหการบี บตัว ของ smooth muscle ลดลงดวย จากการที่การจับของ ACh กับ M3 receptor ที่เซลล smooth muscle นอยลง เมื่อบีบตัว ไดนอยลง ทําใหการเคลื่อนของอาหารหรือกากอาหารเปนไปชา และเกิดทองผูกได - การกักกากอาหารไวนาน จึงไมมีกากอาหารเคลื่อนไปที่ rectum เทาไรนัก จึงเกิด defecation reflex ไดยาก (ไมเกิดอาการอยากเขาหองน้ํา) ทั้งนี้ reflex นี้เกิดจากอุจจาระมากระทบ receptor ที่ rectum แลวเกิดความ อยากถายอุจจาระขึ้น ยาที่มีผลใหเกิดอาการทองผูก มีในลักษณะดังนี้ - เปนผลขางเคียงจากการใชยา เชน การใช morphine แกปวด แตผลขางเคียงใหเกิดอาการทองผูกขึ้น ดังนั้น ในทางปฏิบัติจึงใหยาระบาย เชน Lactulose, Milk of magnesia ฯลฯ ควบคูกันไปดวย - เปนผลในการรักษา (therapeutic) เชน Diphenoxylate (Lomotyl), Loperamide, Camphorate tincture of opium ซึ่งใชในการแกทองเสียแบบไมติดเชื้อ จากการลดการเคลื่อนตัวของอาหาร และกากอาหารใน GIT ii. Biliary tract : Colic Opioids บางชนิดมีผลใหเกิดการบีบตัวของ Sphincter of Oddi ซึ่งเปนหูรูดที่อยูชองเปดใหน้ําดีจากทอ น้ําดี (bile duct) (ที่มาจาก gall bladder ที่ตับ) เขาสูลําไสเล็ก การบีบตัวนั้นสงผลใหการระบายน้ําดียากขึ้น น้ําดี จึงสะสมใน ทอน้ําดีมากขึ้น และทําใหความดันในทอน้ําดีและถุงน้ําดีสูงขึ้น อาจทําใหเกิดนิ่วในถุงน้ําดี และเกิด อาการปวดถุงน้ําดี หรือ Colic ยาที่มีผลใหเกิดอาการ Colic เชน Morphine, Meperidine, Pentazocine, Butorphanol 2) Histamine releaser ใน mast cell จะมี granule ที่ภายในบรรจุสารหลายอยาง สารชนิดหนึ่งในนั้น คือ Histamine หากให Opioids บางชนิด จะมีผลตอ mast cell ใหเกิดการไลที่ และปลดปลอย Histamine ออกมา จึงเกิดผลจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของ Histamine เชน q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics) 17 | ห น า
  • 18. i. Peripheral vasodilation เมื่อ Histamine จับกับ H1 receptor ที่ผนังหลอดเลือด หากให morphine ในขนาดต่ําจะมีผลใหเกิดผล เฉพาะที่เทานัน เชน erythema, ลมพิษ (urticaria), คัน (itching) แตหากใชในขนาดสูงจากฤทธิ์ของ morphine เอง ้ ที่ไปกด vasomotor center ที่ medulla จะไปเสริมฤทธิ์กับ peripheral vasodilation จาก histamine และนําไปสู ความดันโลหิตต่ําได เพราะไมสามารถปรับสมดุลความดันเลือดได เกิดอาการ เชน ความดันต่ําเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ (orthostatic hypotension), hypotension, bradycardia ii. Bronchospasm เมื่อ Histamine จับกับ H1 receptor ที่หลอดลมจะทําใหเกิดการหดตัว จึงพึงระวังการใช opioids บางชนิด โดยเฉพาะในผูปวยหอบหืด Chronic effect : Tolerance & Dependence เมื่อใหยาในขนาดหนึ่งๆ ไปหลายๆ ครั้งจะทําใหเกิด “Tolerance” หรือ “การทนยา” ซึ่งจะมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ลดลง (ลดการตอบสนองตอยา) เชน ฤทธิ์ analgesic และ respiratory depression ดังนั้นถาตองการใหมีฤทธิ์เทาเดิม จะต องเพิ่ม ขนาดยาใหสู งขึ้ น อยา งไรก็ต าม มีฤ ทธิ์ ของ opioids บางอยางที่ไ มกอ ให เกิ ดการทนยา ไดแ ก convulsion, constipation, miosis และ inhibit gonadotrophins secretion นอกจากนี้ยั งสง ผลใหเกิ ด “การเสพติด” หรื อ “Drug dependent” เปนสิ่งที่ตามมาหลังจากการเกิด tolerance จากการไดรับ opioid agonist โดยสามารถแบงประเภทออกเปน 2 ประเภทคือ - Physical dependent (การเสพติดทางกาย) คือ เมื่อหยุดเสพมีการแสดงออกทางกาย เชน ทุรนทุราย - Psychological dependent (การเสพติดทางใจ) คือ พยายามหายา และหาทางเสพยา ถาไมไดรับยาจะทําใหเกิดอาการถอนยา (Withdrawal syndrome) โดยเฉพาะเมื่อให morphine antagonists หรือ ติดยาแต ไมมี ยาเสพ (Abstinence syndrome) ซึ่งอาการนี้จ ะแตกตา งกัน ไปในยาแตล ะชนิ ด เนื่องจากสามารถในการจับกับตัวรับหลายชนิด โดย Morphine, Heroin, Propanol จะมีความรุนแรง คลายกัน แตตางกับ Cyclazocine, Nalorphine, Pentazocine และตางกับ Nalbuphine ดวย ในผูปวยที่เสพ morphine จะมีอาการ abstinence syndrome คือ หาว น้ํามูกน้ําตา ไหล เหงื่อไหล หายใจเร็วและลึก อาเจียน ปสสาวะราด มานตาขยาย ปวดตามกลามเนื้อ ทองรวง โดยอาการเหลานี้จะคอยเปนคอยไป และจะหนักขึ้นเรื่อยๆ (รุนแรงที่สุดในชวงวันที่ 2-3 หลังจากขาดยา) และจะหายไปภายใน 7 วัน หลังจากนั้น 1-2 เดือน จะเกิด “Secondary syndrome” อีกประมาณ 4-6 เดือน โดยจะแสดงอาการตรงขามกับในครั้งแรก คือ ความดันโลหิตต่ํา ชีพจรต่ํา อุณหภูมิ รางกายต่ําลง การหายใจถูกกด และมานตาหรี่ แตไมรุนแรง และมีระยะเวลานาน ซึ่งในชวงนี้เองที่จะมีโอกาสกลับไปติด ยาซ้ําไดอีก จึงอาจตองทําจิตบําบัด (Psychotherapy) รวมดวย ยาที่ใชในการบําบัดผูติดยาเสพติด 1. Methadone maintenance therapy VS Levo-alpha-acetylmethadol (LAAM) LAAM เปนอนุพันธหนึ่งของ Methadone มีอีกหลายชื่อที่ใชเรียก เชน Levomethadyl acetate, MK 790, â Orlaam ซึ่งมี duration of action ยาวนาน 2-3 วัน ตอการใหยา 1 ครั้ง (ขณะที่ Methadone จะมี duration of action สั้นกวา) เนื่องจาก LAAM เปน opioid สังเคราะห (ดังนั้นจึงมีฤทธิ์เปน opioid agonist) เมื่อใหกับผูปวยที่ติดยา แทน morphine ผูปวยจะหันมาติดยานี้แทน แตไมเกิด abstinence syndrome รุนแรงเทา morphine จากนั้นจึง คอยๆ หยุด LAAM 2. Narcotic antagonists เชน Cyclazocine, Naloxone, Naltresone ซึ่ง การใชเหลา นี้เ ปน วิธี หัก ดิบ ผู ปวยจะเกิ ดอาการถอนยา (withdrawal syndrome) ทันที โดยวิธีนี้จะไดผลเร็ว แตตองประคับประคองตามอาการ 18 | ห น า by Mark Rx68 # 96 ©
  • 19. 3. Barbiturate, Chlorpromazine เปนยาชวยคุมอาการ มีผลโดยออมคือคลายกังวล (ที่เกิดจากการหยุดยา) กลาวคือ จะเปน atropine-like side effect โดยควบคุม adverse effect ที่เกี่ยวของกับระบบ parasympathetic symptoms ภายหลังการถอนยา 4. Clonidine (a1– adrenoceptor agonist) จากผลการทดลองในหนูที่ติด morphine ถาหยุดใหยาแลวจะเกิด abstinence syndrome อยางไรก็ตาม ถา ให morphine หรือ enkephalin จะลด abstinence syndrome ได ซึ่งในขณะที่เกิดอาการนี้ ที่ locus ceruleus จะมี การหลั่ง Norepinephine (NE) ออกมามากขึ้น ดังนั้นถาใหยาที่ยับยั้งการหลั่งของ NE ได ก็จะทําให abstinence syndrome ลดลงได จึงใช clonidine ที่สามารถจับกับ a1 receptor ที่ presynaptic neuron เปน autoreceptor ยับยั้ง การหลั่ง NE ยาระงับปวดที่เกี่ยวของ Structures of Opioids and Opioid Antagonists Chemically Related to Morphine 3 6 17 q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics) 19 | ห น า
  • 20. Agonist Opioids Morphine ¤ There is NO maximum dose of narcotics ¤ Clinical uses: Analgesic, Moderate to severe pain และอาการปวดแบบเฉียบพลัน หรือเรื้อรัง ¤ สามารถรักษาอาการปวดหัวใจจากภาวะหัวใจขาดเลือด (myocardial infarction) อาศัย 2 กลไก คือ 1) Direct analgesic action และ 2) กด vasomotor center ใน brainstem ใหเกิดการขยายหลอดเลือด เลือดจึงไปเลี้ยงหัวใจไดมากขึ้น (ไดรับออกซิเจนมากขึ้น) ทําใหลดการทํางานหนักของหัวใจ (cardiac workload) ลงได ¤ สําหรับการรักษาอาการปวดแบบเฉียบพลัน โดยเฉพาะอาการปวดหลังการผาตัด (post-operative pain) จะให morphine โดยฉีด IV ใหหมดในครั้งเดียว (bolus) ประมาณ 0.05 – 0.1 mg/kg แลวรอดูผล 5-10 นาที ถายังไม เห็นผลการระงับปวด ใหเพิ่มไดคราวละ 0.1 mg/kg จนสามารถระงับปวดได จากนั้นจะใหแบบตอเนื่อง (infusion) 0.01 – 0.3 mg/kg ภายใน 12-24 ชั่วโมง เพื่อรักษาระดับ morphine ในเลือดไว ¤ สําหรับการรักษาอาการปวดแบบเรื้อรัง ซึ่งสวนใหญมักมีสาเหตุจากมะเร็ง (cancer pain) มี 2 วิธีในการบริหารยา · ใหในรูปแบบการรับประทาน (PO) โดยตัวยาจะเปนแบบ sustained release tablets/capsules · ใหในรูปแบบการฉีด IV ซึ่งขนาดที่ใ ชคือ 10 mg เที ยบเท ากับขนาดที่ ใชรับ ประทานคือ 30 mg เรียกว า equianalgesic dose กลาวคือ หากเภสัชกรตองเปลี่ยนวิธีการบริหารยาจากเดิมที่ใหฉีด IV 10 mg เปนการ รับประทานแทน จะตองใหยาแบบรับประทานขนาด 30 mg จึงจะมีฤทธิ์ระงับปวดเทากัน ทั้งนี้มีสาเหตุจาก Morphine metabolized Morphine-3-glucuronide (M3G) + Morphine-6-glucuronide (M6G) เมื่อ morphine เขาสูรางกาย จะเกิด biotransformation เปลี่ยนเปน metabolites โดยที่ถาใหทางรับประทาน จะถูก metabolized ไดมากกวาเมื่อใหโดยการฉีด 3-6 เทา [PO : IV = 3-6 : 1] ซึ่งฤทธิ์ของ metabolites มีดังนี้ - M3G จะไมมี ฤทธิ์ร ะงับปวด แต ทําให เกิดอาการไมพึงประสงค 3 อยาง คือ confusion, agitation และ dysphoria - M6G จะมีฤทธิ์ระงับปวดพอๆ กับ morphine แตขอเสียคือ มีความสามารถในการกดการหายใจได เปน 4 เทาของ morphine และยังเปนพิษ ตอทางเดินอาหาร ทําใหเกิดการคลื่นไส อาเจีย น หรือทองผูกได ¤ ในผูปวยที่มีภาวะไตวาย (renal failure) จะสามารถกําจัด M3G และ M6G ไดนอยลง ดังนั้นจึงเพิ่มความเสี่ยงจาก การเกิดอาการไมพึงประสงคมากขึ้น โดยเฉพาะการกดการหายใจ Codeine ¤ โดยปกติใชเปนยาสําหรับกดอาการไอ โดยขนาดที่ใชคือ 30–60 mg และยังสามารถใชเปนยาระงับปวดได แต ขนาดที่ใชสูงกวา คือ 130 mg เทียบเทากับการใช morphine 10 mg เนื่องจาก codeine จะถูกเอนไซม CYP 2D6 เปลี่ยนรูปใหกลายเปน morphine ¤ ดังนั้นถาให codeine รวมกับ CYP 2D6-inhibitor เชน cimetidine, quinine จะทําใหฤทธิ์ระงับปวดของ codeine ลดลง Meperidine (Pethidine) ¤ เปนอนุพันธของ phenylpiperidine ซึ่งโครงสรางแบบนี้จะพบใน morphine และ alkaloid บางชนิด เชน atropine จึงมีฤทธิ์คลายๆ กัน และทําใหมีอาการไมพึงประสงคบางอยางที่คลายๆ กัน ¤ มีฤทธิ์ระงับปวดไดนอยกวาหรือเทากับ 10 เทาของ morphine และที่สําคัญคือ ไมมฤทธิ์กดอาการไอ ี ¤ ใชระงับปวดในการคลอดบุตร เนื่องจากผานรกไปกดการหายใจของทารกในชวงเวลาที่สั้นกวา morphine ทําให ปลอดภัยกวา 20 | ห น า by Mark Rx68 # 96 ©
  • 21. ¤ อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นคลายกับเมื่อใช morphine คือ กดการหายใจ อาเจียน และฤทธิ์สงบระงับ อาการไมพึงประสงคที่เกิดขึ้นคลายกับเมื่อใช atropine คือ spasmolytic (จึงไมพบอาการทองผูกและนิ่วในถุงน้ําดี), มานตาขยาย มองภาพไมชัด ปากแหง คอแหง กระหายน้ํา ¤ อาการทองรวงซึ่งเปนผลขางเคียงนั้น อาจใชยารักษาตามอาการได เชน Diphenoxylate (Lomotilâ), Loperamide (Imodiumâ) เนื่องจากยาเหลานี้มี constipation effect ¤ ผลพิษจากการใชยาเกินขนาด · Meperidine จะทําใหเกิดอาการสงบระงับ ซึม งวง และงงๆ จากผลของการกด CNS · Normeperidine (metabolite) จะทําใหเกิดอาการชัก จากผลของการกระตุน CNS ¤ ไมใชในอาการปวดเรื้อรัง เพราะยาตัวนี้อาจทําใหเกิด metabolite ที่ทําใหเกิดอาการชักดังกลาว ถาหากใชเป น ระยะเวลานาน อันจะทําใหเกิดการสะสมได ¤ Meperidine มีอันตรกิริยาระหวางยากับยาในกลุม monoamine oxidase inhibitor (MAOI) Fentanyl / Alfentanil / Sufentanil / Remifentanil ¤ เปน piperidine derivatives จึงทําใหเปนยากลุมที่มีฤทธิ์แรง (potent opioid agonists) ¤ Fentanyl มี onset และ duration of action เร็ว มีฤทธิ์แรงกวา morphine 80 เทา และแรงกวา meperidine 650 เทา Alfentanil มีความแรงนอยกวา fentanyl 5-10 เทา มีชวงเวลาการออกฤทธิ์ที่สั้น (shorter acting) Sufentanil มีความแรงมากกวา fentanyl 8-10 เทา มีชวงเวลาการออกฤทธิ์ยาว (longer acting) Remifentanil มีชวงเวลาการออกฤทธิสั้นมาก (ultra-short acting) ์ ¤ Clinical uses: analgesic supplement, surgical analgesic, cancer pain therapy โดยปกติผูปวยมะเร็งจะมีอาการปวดตลอดเวลา เพราะฉะนั้นจําเปนจะตองทําใหยาอยูในรูปแบบที่ออกฤทธิ์ไดคงที่ (controlled releases) จึงใช fentanyl transdermal system (Durogesicâ) ใหยาคอยๆ ซึมผานผิวหนังเขาสูกระแส- เลือดตลอดเวลา มี onset ชา ดังนั้นจึงไมใชกับอาการปวดภายหลังการผาตัด (post-operative pain) และอาการ ปวดแบบเฉียบพลัน (acute pain) ซึ่งลวนแลวแตมีชวงเวลาในการปวดไมนาน ในการใชแผนแปะถาหากไมมอาการ ี แลว ควรเอาแผนแปะออก อยางไรก็ตาม ยังมียาบางสวนที่ยังคงตกคางอยูในกระแสเลือด เพราะไมมีอาการปวด เปน physiology antagonism ยาที่เหลือเหลานี้ จึงออกฤทธิ์กดการหายใจไดชัดเจนขึ้น ซึ่งสัญญาณแสดงเมื่อมีการ กดการหายใจคือ สงบ (sedation) ปลุกใหตื่นไดยากมาก (extreme difficulty in arousing) และถาอัตราการหายใจ ลดลงต่ํากวา 8 ครั้งตอนาที แกไขโดยให Naloxone (1:10 dilution) IV infusion (เนื่องจากมีคาครึ่งชีวิตสั้นมาก) ¤ อาการไมพึงประสงค · กลามเนื้อแข็งเกร็ง (muscle rigidity) โดยเฉพาะกลามเนื้อซี่โครงที่ตองขยายเวลาหายใจ เกิดเปน “wooden chest” ซึ่งพบไดประมาณ 50-80% ของผูใชยาทั้งหมด และเกิดกับคนที่ใชในรูปแบบยาฉีดมากกวารูปแบบ แผนแปะ ดั งนั้นเมื่อเกิดอาการนี้ จะใชยาพวกที่ เปน muscle relaxant เชน Lorazepam, Pancuronium, Succinylcholine เปนตน · การเคลื่อนไหวโดยไมตั้งใจ (Spontaneous movement) ขณะผาตัด ทําใหกลามเนื้อเคลื่อนไป ซึ่งอาจสงผลให ลงมีดผาตัดผิดตําแหนงได หากใช fentanyl เปน surgical analgesic · ในสมัยกอนจะใหยาระงับปวดรวมกับยาคลายกังวล (tranquillizers) เชน Fentanyl + Droperidol = Innovarâ หรือ Alfentanil + Diazepam ซึ่งจะเกิดผลขางเคียงคือ ความดันโลหิตต่ํา (hypotension) ¤ Fentanyl มีอันตรกิริยาระหวางยากับยาในกลุม MAOI และ CYP 3A4 inhibitors Mixed Agonist – Antagonist Opioids มีฤทธิ์ทั้ง 2 อยาง คือ ฤทธิ์เปน m–receptor agonist หรือ antagonist และเปน k,d–receptor (partial) agonist สามารถ แบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ พวกที่นํามาใชเปนยาระงับปวดที่มีฤทธิ์แบบ agonist เชน Pentazocine, Butorphanol, q ยาระงับปวดชนิดเสพติด (Narcotic Analgesics) 21 | ห น า