SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 38
Baixar para ler offline
นางสาวสุพัตรา บุญเทียม เลขที่ 20 ปวช. 2/3
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวเปนพระราช
                                    โอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
                                    และเจาจอมมารดาเรียม ซึ่งภายหลังดํารงพระยศ
                                    เปนสมเด็จพระศรีสุราลัย พระบรมราชชนนีพันป
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
                                    หลวงในรัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา
                                    เจาอยูหัว เสด็จพระราชสมภพเมื่อ
                                    วันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๓๐ ณ พระราชวัง
                                    เดิม มีพระนามเดิมวา หมอมเจาชายทับ
       เจาจอมมารดาเรียม
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช   วัดราชสิทธาราม


 เมื่อป พ.ศ. ๒๓๔๙ สมเด็จพระบรมชนกนาถทรงไดรับการสถาปนาขึ้นเปน
พระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล จึงไดรับเลื่อนพระยศตามพระ
บิดาขึ้นเปนพระองคเจา ตอมาเมื่อพระชนมายุครบผนวชตามพระราช
ประเพณี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระอัยยิกาธิ
ราชจึงโปรดเกลาฯ จัดพิธีผนวชให ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และทรงพระ
กรุณาโปรดเกลาฯ เสด็จออกในพิธีผนวชครั้งนี้ดวยแมจะมีพระชนมายุถึง ๗๒
พรรษาแลวก็ตาม เมื่อทรงผนวชแลวพระองคก็เสด็จไปจําพรรษา ณ วัดราช
สิทธาราม
ตอมาในป พ.ศ. ๒๓๕๖ ขณะพระชนมายุได ๒๖ พรรษาสมเด็จ
พระบรมชนกนาถทรงสถาปนาขึ้นดํารงพระยศเจาตางกรม มีพระนาม
กรมวา พระเจาลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร ดวยมีพระปรีชาสามารถ
ในหลายแขนงวิชา ไมวาจะเปนดานพระพุทธศาสนา อักษรศาสตร รัฐ
ประศาสนศาสตร นิติศาสตร สถาปตยกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งทางดาน
พาณิชยศาสตรและเศรษฐศาสตร ทําใหเปนที่วางพระราชหฤทัยจาก
สมเด็จพระบรมชนกนาถ ใหกํากับราชการโดยดํารงตําแหนงสําคัญๆ ใน
กรมตางๆ เชน กรมทากรมพระคลังมหาสมบัติ กรมตํารวจ และยังทรงทํา
หนาที่พิจารณาพิพากษาคดีความแทนพระองคอยูเสมอ จึงทําใหทรงรอบ
รูงานราชการตางๆ ของแผนดินเปนอยางดี
จนกระทั่งวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยเสด็จ
สวรรคตโดยมิไดทรงมอบพระราชสมบัติใหแก
พระราชโอรสพระองคใด เจานายและขุนนางชั้น
ผูใหญจึงประชุมหารือแลวลงมติกันวา ควรถวาย
พระราชสมบัติใหแกพระเจาลูกเธอ กรมหมื่น
เจษฎาบดินทร สืบราชสมบัติแทนเปน
พระมหากษัตริยรัชกาลที่ ๓ แหงราชวงศจักรี
พระนามวา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว
ดวยทรงมีความรูความชํานาญทางดานการ
ปกครองเปนอยางดี เนื่องดวยสนองพระเดช
พระคุณในรัชกาลสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
มาเปนเวลานาน
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว มิไดทรงสถาปนาผูใดขึ้นเปน
พระบรมราชินี คงมีแตเพียงเจาจอมมารดาและสนมเอกเทานั้น และมี
พระราชโอรสกับพระราชธิดารวมทั้งสิ้น ๕๑ พระองค
พระราชกรณียกิจดานเศรษฐกิจ
           ในขณะที่ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวเสด็จขึ้นครองราชย
สมบัติ เปนเวลาที่ประเทศไทยตกอยูในภาวะยากจนเปนอยางมาก เนื่องจาก
เมื่อครั้งสถาปนากรุงรัตนโกสินทรตองใชเงินจํานวนมหาศาลเพื่อทํานุบํารุง
บานเมืองขึ้นมาใหม ประกอบกับการที่กรุงศรีอยุธยาสูญเสียทรัพยสินจากการ
พายแพสงคราม พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวจึงทรงตั้งระบบการ
จัดเก็บภาษีขึ้นหลายอยางเพื่อหาเงินเขาทองพระคลังหลวง เชน จังกอบ อากร
ฤชา สวย ภาษีเงินคาราชการจากไพร เงินคาผูกปขอมือจีน เปนตน
การเก็บภาษีอากรนี้ทรงตั้งระบบการเก็บภาษีโดยใหเอกชนประมูลรับเหมาผูกขาด
ไปเรียกเก็บภาษีจากราษฎรเอง เรียกวา เจาภาษีหรือนายอากร ซึ่งสวนใหญชาวจีน
จะเปนผูประมูลได การเก็บภาษีดวยวิธีนี้ทําใหเกิดผลดีหลายประการ กลาวคือ
นอกจากจะสามารถเก็บเงินเขาพระคลังไดสูงแลวยังสงผลดีดานการเมือง คือทํา
ใหชาวจีนที่เปนเจาภาษีนายอากรนั้น มีความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริยและมี
ความผูกพันกับแผนดินไทยมากขึ้น
นอกจากนีรายไดของรัฐอีกสวนหนึ่งยังไดมาจากการคาขายกับชาวตางชาติ
           ้
โดยไทยไดสงเรือสินคาเขาไปคาขายในประเทศตางๆ มากมาย เนื่องจาก
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงสนพระราชหฤทัยและเชี่ยวชาญการ
สงเรือสินคาออกไปคาขายมาตั้งแตครั้งดํารงยศเปนพระเจาลูกเธอ กรมหมื่น
เจษฎาบดินทร จนสมเด็จพระบรมชนกนาถตรัสเรียกพระองควา “เจาสัว” และ
เมื่อพระองคเสด็จขึ้นครองราชยสมบัติก็ไดทรงสนับสนุนการคากับตางประเทศ
มากขึ้น โดยโปรดเกลาฯ ใหตอเรือกําปนเพื่อใชในการคาจํานวนมาก รายได
จากการคาสําเภานี้นับเปนรายไดสําคัญของประเทศในขณะนั้น โดยเฉพาะอยาง
ยิ่งภายหลังการทําสนธิสัญญาเบอรนี้ที่ไทยอนุญาตใหชาวตางชาติเขามาคาขาย
ภายในประเทศอยางเสรี ยกเวนสินคาประเภทขาว อาวุธปน และฝน
เนื่องจากเศรษฐกิจของประเทศมีเสถียรภาพมั่นคงและรัฐมีรายไดมากขึ้น รายไดของ
แผนดินในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวนี้จึงสูงขึ้นมาก โดยบางปมี
จํานวนมากถึง ๒๕ ลานบาททีเดียว เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวเสด็จ
สวรรคต เงินในทองพระคลังหลวงซึ่งรวมถึงเงินคาสําเภาที่เหลือจากการจับจายของ
แผนดินมี ๔๐,๐๐๐ ชั่ง และดวยความที่พระองคมีพระราชหฤทัยหวงใยในดานการ
สรางและบูรณปฏิสังขรณวัดวาอารามตางๆ กอนที่จะเสด็จสวรรคต จึงทรงมีพระราช
ปรารภใหแบงเงินสวนนี้ไปทํานุบํารุงรักษาวัดที่ชํารุดเสียหาย และวัดที่สรางคางอยู
๑๐,๐๐๐ ชั่ง สวนที่เหลืออีก ๓๐,๐๐๐ ชั่ง ทรงโปรดเกลาฯ ใหรักษาไวเปนคาใชจาย
สําหรับแผนดินตอไป
          เงินจํานวนนี้ กลาวกันวาพระองคทรงโปรดเกลาฯ ใหใสถุงแดงเอาไว ซึ่ง
ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงนํามาใชจายเปนคาปรับ
ในกรณีพิพาทระหวางประเทศ ร.ศ. ๑๑๒(พ.ศ.๒๔๓๖) จะเห็นไดวาแมพระบาทสมเด็จ
พระนั่งเกลาเจาอยูหัวจะเสด็จสวรรคตไปแลว พระองคก็ยังทรงมีสวนชวยเหลือ
ประเทศใหรอดพนวิกฤตการณทางการเมืองระหวางประเทศที่เกิดขึ้น ดวยเงินถุงแดงที่
พระองคทรงเก็บสะสมไว
พระราชกรณียกิจดานการปกครอง
          พระราชกรณียกิจดานการปกครองที่สําคัญของพระบาทสมเด็จพระนั่ง
เกลาเจาอยูหัว คือ ทรงโปรดเกลาฯ ใหนํากลองใบใหญที่เจาพระยาพระคลังนํามา
ถวายไปตั้งไวที่ทิมดาบ กรมวังลั่นกุญแจ พระราชทานนามวา “วินิจฉัยเภรี”
สําหรับใหประชาชนที่ตองการรองทุกขถวายฎีกามาตี แลวกรมวังก็จะไขกุญแจให
เมื่อตีกลองแลวตํารวจเวรก็จะรับตัวมาสอบถามเรื่องราวแลวนําความขึ้นกราบ
บังคมทูล จากนั้นจึงมอบหมายใหขุนนางคอยดูแลชําระความ และคอยสอบถามอยู
เสมอมิใหขาด ทําใหขุนนางไมอาจหลีกเลี่ยงตอหนาที่ได ประชาชนจึงไดรับ
ผลประโยชนเปนอยางมาก




                             กลองวินิจฉัยเภรี
พระราชกรณียกิจดานการปองกันประเทศ
           ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวสงครามระหวางไทย
กับพมาไดเบาบางและสิ้นสุดลง เพราะพมาติดพันการทําสงครามอยูกับอังกฤษ แต
ถึงกระนั้นก็ยังมีสงครามเกิดขึ้นหลายครั้งในหลายรัชกาลนี้ โดยสงครามที่สําคัญ
ไดแก
           ๑. พ.ศ. ๒๓๑๖ สงครามกับเจาอนุวงศ แหงเมืองเวียงจันทน เดิมทีเมือง
เวียงจันทนตกเปนเมืองขึ้นของไทยตั้งแตสมัยกรุงธนบุรี แตในขณะนั้นเจาอนุวงศ
เริ่มมีอํานาจมากขึ้น จึงถือโอกาสชวงเปลี่ยนแผนดิน กอกบฏยกกองทัพเขามาตีไทย
เพื่อประกาศตนเปนอิสระทวาถูกกองทัพของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว
ขับไลออกไปไดหมดสิ้น ดินแดนแควนลาวจึงยังคงอยูในอํานาจของไทยตอไป
จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
เจาอนุวงศ
๒. พ.ศ. ๒๓๗๖ – พ.ศ. ๒๓๙๐ สงครามกับญวน สงครามครั้งนี้กิน
เวลายาวนานถึง ๑๕ ป เริ่มจากป พ.ศ. ๒๓๗๖ ญวนที่เมืองไซงอนกอกบฏขึ้น
พระเจาเวียดนามมินมาง จึงตองทําสงครามปราบปรามกบฏ พระบาทสมเด็จ
พระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชดําริวาเปนโอกาสที่จะแยงชิงเขมรกลับคืน
และปราบญวนใหหายกําเริบ จึงโปรดเกลาฯ ใหเจาพระยาบดินทรเดชาเปนแม
ทัพยกไปตีเมืองเขมร หัวเมืองญวนไปจนถึงไซงอน และโปรดเกลาฯ ให
เจาพระยาพระคลัง (ดิศ) ยกทัพเรือไปตีหัวเมืองเขมรและญวนตามชายฝงทะเล
สงครามยืดเยื้อมาเปนเวลานานจนเปนอันเลิกรบ แตไทยก็ไดเขมรมาอยูใน
ปกครองอีกครั้ง
เจาพระยาบดินทรเดชา
เจาพระยาพระคลัง (ดิศ)
พระราชกรณียกิจดานความสัมพันธกับตางประเทศ
          เหตุการณความสัมพันธกับตางประเทศในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่ง
เกลาเจาอยูหัวที่สําคัญมีดังนี้
          ๑. สัมพันธไมตรีกับอังกฤษ ในวันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๓๖๙ ไทยไดทํา
สนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและพาณิชยกับอังกฤษ ชื่อวา สนธิสัญญาเบอรนี
เนื่องจากมีนายเฮนรี่ เบอรนี เปนผูทําการเจรจากับรัฐบาลไทยเกี่ยวกับปญหาการคาและ
การเมืองในมลายู ใชระยะเวลา ๕ เดือน ประกอบดวยสนธิสัญญาทางพระราชไมตรี
๑๔ ขอ และสนธิสัญญาทางการพาณิชยแยกอีกฉบับรวม ๖ ขอ สนธิสัญญาเบอรนี
ถือเปนสนธิสัญญาฉบับแรกที่ไทยทํากับประเทศตะวันตกในสมัยรัตนโกสินทร
๒. สัมพันธไมตรีกับสหรัฐอเมริกา ความสัมพันธระหวางไทยกับ
สหรัฐฯ เริ่มจากการทําการคาและมีการทําสนธิสัญญาระหวางกัน โดยลงนาม
เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๗๕ มีนายเอ็ดมันส โรเบิรต เปนทูตเจรจาใช
ระยะเวลาในการเจรจา ๒๒ วัน โดยมีขอตกลงทางการเมืองและการคาอยูใน
ฉบับเดียวกัน ๑๐ ขอ สําหรับบรรดาประเทศตางๆ ในเอเชียนั้น ประเทศจีน
นับเปนประเทศที่มีความสัมพันธอันดีกับไทย ทั้งทางดานการทูตและการคา
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวไทยไดจัดสงราชทูตอัญเชิญ
พระราชสาสนและเครื่องราชบรรณาการไปเจริญพระราชไมตรีกับประเทศจีน
ใน พ.ศ. ๒๓๖๘ การคาระหวางไทยกับจีนดําเนินไปไดดวยดีตลอดสมัยรัชกาล
ที่ ๓
นายเอ็ดมันส โรเบิรต
พระราชกรณียกิจดานการศึกษา
        ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตนยังไมมีการจัดตั้งโรงเรียนขึ้น ดังนั้นวัดจึงมี
บทบาทเปนสถาบันทางการศึกษาที่สําคัญมาก เชนเดียวกับสมัยกรุงศรีอยุธยาที่มีพระสงฆ
เปนครูสอนหนังสือ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวไดทรงสนับสนุนการศึกษาโดย
โปรดเกลาฯ ใหผูมีความรูนําตําราตางๆ จารึกลงบนศิลาประดับไวตามฝาผนังอาคารตางๆ
ของวัดราชโอรสาราม วัดสุทัศนเทพวราราม โดยเฉพาะอยางยิ่งที่วัดพระเชตุพนวิมลมัง
คลาราม ความรูตางๆ ที่โปรดเกลาฯ ใหจารึกไวมีทั้งวิชาอักษรศาสตร แพทยศาสตร พุทธ
ศาสตรและโบราณคดี ตําราโคลง ฉันท กาพย กลอน ตํารายา ตําราโหรศาสตร พรอมกัน
นั้นก็โปรดเกลาฯ ใหปนรูปฤาษีดัดตน แสดงทาบําบัดโรคลม กับคําโคลงบอกชนิดของ
ลม ตั้งไวในศาลารอบเขตพุทธาวาส เพื่อใหประชาชนศึกษาความรูตางๆ ไดอยาง
แพรหลาย จนอาจเรียกไดวา วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เปนมหาวิทยาลัยแหงแรกของ
เมืองไทย
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวเสด็จสวรรคต ณ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน องค
ขางตะวันตกในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๔ รวม
พระชนมายุได ๖๓ พรรษา ๒ วัน รวมระยะเวลาที่ทรงครองสิริราชสมบัติ ๒๖ ป ๘
เดือน ๑๒ วัน พระองคทรงมีพระปรีชาสามารถในศาสตรตางๆ หลายแขนง
โดยเฉพาะอยางยิ่งในดาน พาณิชยศาสตรและเศรษฐศาสตร เนื่องจากเปนพระราช
โอรสพระองคใหญที่ทรงพระปรีชาสามารถ ฉลาดหลักแหลมพระบาทสมเด็จพระ
พุทธเลิศหลานภาลัยจึงโปรดเกลาฯ ใหเขารับราชการตางพระเนตรพระกรรณมาตั้งแต
ยังทรงดํารงพระยศเปนพระเจาลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร ครั้นเสด็จขึ้น
ครองราชยสมบัติพระองคก็ไดทรงประกอบพระราชกรณียกิจดานตางๆ นําความมั่นคง
กาวหนามาสูประเทศนานัปการ และดวยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณปวงชนชาวไทย
จึงรวมใจกันสรางพระบรมราชานุสาวรียขึ้นในบริเวณลานเจษฎาบดินทร ถนนราช
                                      
ดําเนิน
พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน
พระบรมราชานุสาวรียของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว
                    
   สรางขึ้นในบริเวณลานเจษฎาบดินทร ถนนราชดําเนิน
เกร็ดความรู
บุคคลสําคัญในสมัย ร. ๓
ทาวสุรนารี มีนามเดิมวา “คุณหญิงโม” เปนภริยา
              ปลัดเมืองนครราชสีมา ทานสรางวีรกรรมไวแกชาติไทย
              เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๙ โดยไดรวบรวมชาวบานเขาสูรบตอตาน
              กองทัพของเจาอนุวงศแหงเวียงจันทนไมใหมาตีกรุงเทพฯ
              เปนผลสําเร็จ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวจึง
              โปรดเกลาฯ แตตั้งคุณหญิงโมเปน “ทาวสุรนารี” มีการจัด
              งานเฉลิมฉลองวันแหงชัยชนะของทาวสุรนารีระหวาง
              วันที่ ๒๓ มีนาคม ถึงวันที่ ๓ เมษายนของทุกป
                         อนุสาวรียทาวสุรนารี (ยาโม) อยูในอําเภอเมือง จ.
              นครราชสีมา สรางเมื่อ พ.ศ.๒๔๗๖ ตั้งอยูหนาซุมประตูชุม
              พล ซึ่งเปนประตูเมืองเกาทางดานทิศตะวันตก อนุสาวรีย
ทาวสุรนารี
              เปนรูปทาวสุรนารี แตงกายดวยเครื่องยศพระราชทาน มือ
              ขวากุมดาบ หลอดวยทองแดงรมดําสูง ๑.๘๕ เมตร ที่ฐาน
              อนุสาวรียมีอัฐิของทานบรรจุไวภายใน
หมอบรัดเลย หรือแดน บีช แบรดลีย (Danial Beach Bradley, M.D.) หรือ
 บางคนเรียก ปลัดเลย เปนนายแพทยชาวอเมริกันที่เขาเผยแพรศาสนา
 คริสตในประเทศไทยสมัยรัชกาลที่ ๓ และยังเปนผูเริ่มตนการพิมพใน
                      ประเทศไทยเปนครั้งแรก
แดน บีช บรัดเลย เปนชาวเมืองมารเซลลัส (Marcellus) เกิดเมื่อ ๑๘
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๔๗ บุตรคนที่ ๕ ของนายแดน บรัดเลย และนางยูนิช
บีช บรัดเลย สําเร็จการแพทยจากมหาวิทยาลัยนิวยอรก สมรสกับภรรยาคน
แรก เอมิลี รอยส บรัดเลย และภรรยาคนที่สอง ซาราห แบลคลี บรัดเลย
แดน บีช บรัดเลย เขามาทํางานในคณะหมอสอนศาสนา เพรส ไบทีเรียน
ตั้งแตเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๗๙ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ พักอาศัยอยูแถววัด
เกาะ สําเพ็ง (วัดสัมพันธวงศ) ตอมาจึงยายไปอยูแถวกุฎีจีน และยายไปอยู
แถววัดประยูรวงศาวาส เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๕ จึงมาเชาที่หลวง ตั้งโรงพิมพอยู
บริเวณปากคลองบางกอกใหญ ขางปอมวิชัยประสิทธิ์ ติดกับพระราชวังเดิม
พักอาศัยอยูที่นั่นจนเสียชีวิตเมื่อวันที่ ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๑๖ อายุ
๖๙ ป
ผลงาน
        - ทําการผาตัดแผนใหมเปนรายแรกของประเทศไทย
        - ปลูกฝปองกันไขทรพิษสําเร็จเปนรายแรกของ
ประเทศไทย
        - ตั้งโรงพิมพและตีพิมพประกาศหามสูบฝนซึ่งเปน
ประกาศทางราชการที่ใชวิธีตีพิมพเปนครั้งแรก
        - ริเริ่มนิตยสาร บางกอก รีคอรดเดอร
(The Bangkok Recorder)
        - พิมพปฏิทินสุริยคติเปนภาษาไทยขึ้นเปนครั้งแรก
        - พิมพหนังสือคัมภีรครรภทรักษา
                             
คําถาม
1.พระนานเดิมของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว
   ตอบ
2. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เสด็จพระราชสมภพเมื่อไร

  ตอบ
3. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว มีพระราชโอรสกับพระราช
ธิดารวมทั้งสิ้นกี่พระองค
  ตอบ
หมอมเจาชายทับ
วันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๓๐
๕๑ พระองค
ประวัติรัชกาลที่ 3

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาtinnaphop jampafaed
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3Oae Butrawong Skr
 
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)Kornfern Chayaboon
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
โครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาโครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาCheve Jirattiwat
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptssuseradaad2
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่Mind Mmindds
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกพัน พัน
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียHercule Poirot
 
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้นสรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้นKunnai- เบ้
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกKruBowbaro
 
บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1page
บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1pageบุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1page
บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองkanchana13
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Mais procurados (20)

การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
 
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
พินิจวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกกุมภกรรณ(part 1)
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
โครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาโครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยา
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.ppt
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้นสรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
 
บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1page
บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1pageบุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1page
บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f05-1page
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทอง
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 

Semelhante a ประวัติรัชกาลที่ 3

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9banlangkhao
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copyKittayaporn Changpan
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9Varit Sanchalee
 
งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003
งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003
งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003Natti_kim
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับnuttawon
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Semelhante a ประวัติรัชกาลที่ 3 (20)

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราชสมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
1.12 สังคมไทย
1.12 สังคมไทย1.12 สังคมไทย
1.12 สังคมไทย
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copy
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
วังในบางกอก / ภูมิปัญญาฯ / ม.3/9
 
งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003
งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003
งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003
 
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราชสมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 

ประวัติรัชกาลที่ 3

  • 1.
  • 3.
  • 4. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวเปนพระราช โอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย และเจาจอมมารดาเรียม ซึ่งภายหลังดํารงพระยศ เปนสมเด็จพระศรีสุราลัย พระบรมราชชนนีพันป พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย หลวงในรัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา เจาอยูหัว เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๓๐ ณ พระราชวัง เดิม มีพระนามเดิมวา หมอมเจาชายทับ เจาจอมมารดาเรียม
  • 5. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช วัดราชสิทธาราม เมื่อป พ.ศ. ๒๓๔๙ สมเด็จพระบรมชนกนาถทรงไดรับการสถาปนาขึ้นเปน พระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล จึงไดรับเลื่อนพระยศตามพระ บิดาขึ้นเปนพระองคเจา ตอมาเมื่อพระชนมายุครบผนวชตามพระราช ประเพณี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระอัยยิกาธิ ราชจึงโปรดเกลาฯ จัดพิธีผนวชให ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และทรงพระ กรุณาโปรดเกลาฯ เสด็จออกในพิธีผนวชครั้งนี้ดวยแมจะมีพระชนมายุถึง ๗๒ พรรษาแลวก็ตาม เมื่อทรงผนวชแลวพระองคก็เสด็จไปจําพรรษา ณ วัดราช สิทธาราม
  • 6. ตอมาในป พ.ศ. ๒๓๕๖ ขณะพระชนมายุได ๒๖ พรรษาสมเด็จ พระบรมชนกนาถทรงสถาปนาขึ้นดํารงพระยศเจาตางกรม มีพระนาม กรมวา พระเจาลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร ดวยมีพระปรีชาสามารถ ในหลายแขนงวิชา ไมวาจะเปนดานพระพุทธศาสนา อักษรศาสตร รัฐ ประศาสนศาสตร นิติศาสตร สถาปตยกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งทางดาน พาณิชยศาสตรและเศรษฐศาสตร ทําใหเปนที่วางพระราชหฤทัยจาก สมเด็จพระบรมชนกนาถ ใหกํากับราชการโดยดํารงตําแหนงสําคัญๆ ใน กรมตางๆ เชน กรมทากรมพระคลังมหาสมบัติ กรมตํารวจ และยังทรงทํา หนาที่พิจารณาพิพากษาคดีความแทนพระองคอยูเสมอ จึงทําใหทรงรอบ รูงานราชการตางๆ ของแผนดินเปนอยางดี
  • 7. จนกระทั่งวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยเสด็จ สวรรคตโดยมิไดทรงมอบพระราชสมบัติใหแก พระราชโอรสพระองคใด เจานายและขุนนางชั้น ผูใหญจึงประชุมหารือแลวลงมติกันวา ควรถวาย พระราชสมบัติใหแกพระเจาลูกเธอ กรมหมื่น เจษฎาบดินทร สืบราชสมบัติแทนเปน พระมหากษัตริยรัชกาลที่ ๓ แหงราชวงศจักรี พระนามวา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ดวยทรงมีความรูความชํานาญทางดานการ ปกครองเปนอยางดี เนื่องดวยสนองพระเดช พระคุณในรัชกาลสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย มาเปนเวลานาน
  • 9.
  • 10. พระราชกรณียกิจดานเศรษฐกิจ ในขณะที่ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวเสด็จขึ้นครองราชย สมบัติ เปนเวลาที่ประเทศไทยตกอยูในภาวะยากจนเปนอยางมาก เนื่องจาก เมื่อครั้งสถาปนากรุงรัตนโกสินทรตองใชเงินจํานวนมหาศาลเพื่อทํานุบํารุง บานเมืองขึ้นมาใหม ประกอบกับการที่กรุงศรีอยุธยาสูญเสียทรัพยสินจากการ พายแพสงคราม พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวจึงทรงตั้งระบบการ จัดเก็บภาษีขึ้นหลายอยางเพื่อหาเงินเขาทองพระคลังหลวง เชน จังกอบ อากร ฤชา สวย ภาษีเงินคาราชการจากไพร เงินคาผูกปขอมือจีน เปนตน
  • 11. การเก็บภาษีอากรนี้ทรงตั้งระบบการเก็บภาษีโดยใหเอกชนประมูลรับเหมาผูกขาด ไปเรียกเก็บภาษีจากราษฎรเอง เรียกวา เจาภาษีหรือนายอากร ซึ่งสวนใหญชาวจีน จะเปนผูประมูลได การเก็บภาษีดวยวิธีนี้ทําใหเกิดผลดีหลายประการ กลาวคือ นอกจากจะสามารถเก็บเงินเขาพระคลังไดสูงแลวยังสงผลดีดานการเมือง คือทํา ใหชาวจีนที่เปนเจาภาษีนายอากรนั้น มีความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริยและมี ความผูกพันกับแผนดินไทยมากขึ้น
  • 12. นอกจากนีรายไดของรัฐอีกสวนหนึ่งยังไดมาจากการคาขายกับชาวตางชาติ ้ โดยไทยไดสงเรือสินคาเขาไปคาขายในประเทศตางๆ มากมาย เนื่องจาก พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงสนพระราชหฤทัยและเชี่ยวชาญการ สงเรือสินคาออกไปคาขายมาตั้งแตครั้งดํารงยศเปนพระเจาลูกเธอ กรมหมื่น เจษฎาบดินทร จนสมเด็จพระบรมชนกนาถตรัสเรียกพระองควา “เจาสัว” และ เมื่อพระองคเสด็จขึ้นครองราชยสมบัติก็ไดทรงสนับสนุนการคากับตางประเทศ มากขึ้น โดยโปรดเกลาฯ ใหตอเรือกําปนเพื่อใชในการคาจํานวนมาก รายได จากการคาสําเภานี้นับเปนรายไดสําคัญของประเทศในขณะนั้น โดยเฉพาะอยาง ยิ่งภายหลังการทําสนธิสัญญาเบอรนี้ที่ไทยอนุญาตใหชาวตางชาติเขามาคาขาย ภายในประเทศอยางเสรี ยกเวนสินคาประเภทขาว อาวุธปน และฝน
  • 13.
  • 14. เนื่องจากเศรษฐกิจของประเทศมีเสถียรภาพมั่นคงและรัฐมีรายไดมากขึ้น รายไดของ แผนดินในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวนี้จึงสูงขึ้นมาก โดยบางปมี จํานวนมากถึง ๒๕ ลานบาททีเดียว เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวเสด็จ สวรรคต เงินในทองพระคลังหลวงซึ่งรวมถึงเงินคาสําเภาที่เหลือจากการจับจายของ แผนดินมี ๔๐,๐๐๐ ชั่ง และดวยความที่พระองคมีพระราชหฤทัยหวงใยในดานการ สรางและบูรณปฏิสังขรณวัดวาอารามตางๆ กอนที่จะเสด็จสวรรคต จึงทรงมีพระราช ปรารภใหแบงเงินสวนนี้ไปทํานุบํารุงรักษาวัดที่ชํารุดเสียหาย และวัดที่สรางคางอยู ๑๐,๐๐๐ ชั่ง สวนที่เหลืออีก ๓๐,๐๐๐ ชั่ง ทรงโปรดเกลาฯ ใหรักษาไวเปนคาใชจาย สําหรับแผนดินตอไป เงินจํานวนนี้ กลาวกันวาพระองคทรงโปรดเกลาฯ ใหใสถุงแดงเอาไว ซึ่ง ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงนํามาใชจายเปนคาปรับ ในกรณีพิพาทระหวางประเทศ ร.ศ. ๑๑๒(พ.ศ.๒๔๓๖) จะเห็นไดวาแมพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัวจะเสด็จสวรรคตไปแลว พระองคก็ยังทรงมีสวนชวยเหลือ ประเทศใหรอดพนวิกฤตการณทางการเมืองระหวางประเทศที่เกิดขึ้น ดวยเงินถุงแดงที่ พระองคทรงเก็บสะสมไว
  • 15. พระราชกรณียกิจดานการปกครอง พระราชกรณียกิจดานการปกครองที่สําคัญของพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลาเจาอยูหัว คือ ทรงโปรดเกลาฯ ใหนํากลองใบใหญที่เจาพระยาพระคลังนํามา ถวายไปตั้งไวที่ทิมดาบ กรมวังลั่นกุญแจ พระราชทานนามวา “วินิจฉัยเภรี” สําหรับใหประชาชนที่ตองการรองทุกขถวายฎีกามาตี แลวกรมวังก็จะไขกุญแจให เมื่อตีกลองแลวตํารวจเวรก็จะรับตัวมาสอบถามเรื่องราวแลวนําความขึ้นกราบ บังคมทูล จากนั้นจึงมอบหมายใหขุนนางคอยดูแลชําระความ และคอยสอบถามอยู เสมอมิใหขาด ทําใหขุนนางไมอาจหลีกเลี่ยงตอหนาที่ได ประชาชนจึงไดรับ ผลประโยชนเปนอยางมาก กลองวินิจฉัยเภรี
  • 16. พระราชกรณียกิจดานการปองกันประเทศ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวสงครามระหวางไทย กับพมาไดเบาบางและสิ้นสุดลง เพราะพมาติดพันการทําสงครามอยูกับอังกฤษ แต ถึงกระนั้นก็ยังมีสงครามเกิดขึ้นหลายครั้งในหลายรัชกาลนี้ โดยสงครามที่สําคัญ ไดแก ๑. พ.ศ. ๒๓๑๖ สงครามกับเจาอนุวงศ แหงเมืองเวียงจันทน เดิมทีเมือง เวียงจันทนตกเปนเมืองขึ้นของไทยตั้งแตสมัยกรุงธนบุรี แตในขณะนั้นเจาอนุวงศ เริ่มมีอํานาจมากขึ้น จึงถือโอกาสชวงเปลี่ยนแผนดิน กอกบฏยกกองทัพเขามาตีไทย เพื่อประกาศตนเปนอิสระทวาถูกกองทัพของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ขับไลออกไปไดหมดสิ้น ดินแดนแควนลาวจึงยังคงอยูในอํานาจของไทยตอไป จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
  • 18. ๒. พ.ศ. ๒๓๗๖ – พ.ศ. ๒๓๙๐ สงครามกับญวน สงครามครั้งนี้กิน เวลายาวนานถึง ๑๕ ป เริ่มจากป พ.ศ. ๒๓๗๖ ญวนที่เมืองไซงอนกอกบฏขึ้น พระเจาเวียดนามมินมาง จึงตองทําสงครามปราบปรามกบฏ พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชดําริวาเปนโอกาสที่จะแยงชิงเขมรกลับคืน และปราบญวนใหหายกําเริบ จึงโปรดเกลาฯ ใหเจาพระยาบดินทรเดชาเปนแม ทัพยกไปตีเมืองเขมร หัวเมืองญวนไปจนถึงไซงอน และโปรดเกลาฯ ให เจาพระยาพระคลัง (ดิศ) ยกทัพเรือไปตีหัวเมืองเขมรและญวนตามชายฝงทะเล สงครามยืดเยื้อมาเปนเวลานานจนเปนอันเลิกรบ แตไทยก็ไดเขมรมาอยูใน ปกครองอีกครั้ง
  • 21. พระราชกรณียกิจดานความสัมพันธกับตางประเทศ เหตุการณความสัมพันธกับตางประเทศในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลาเจาอยูหัวที่สําคัญมีดังนี้ ๑. สัมพันธไมตรีกับอังกฤษ ในวันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๓๖๙ ไทยไดทํา สนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและพาณิชยกับอังกฤษ ชื่อวา สนธิสัญญาเบอรนี เนื่องจากมีนายเฮนรี่ เบอรนี เปนผูทําการเจรจากับรัฐบาลไทยเกี่ยวกับปญหาการคาและ การเมืองในมลายู ใชระยะเวลา ๕ เดือน ประกอบดวยสนธิสัญญาทางพระราชไมตรี ๑๔ ขอ และสนธิสัญญาทางการพาณิชยแยกอีกฉบับรวม ๖ ขอ สนธิสัญญาเบอรนี ถือเปนสนธิสัญญาฉบับแรกที่ไทยทํากับประเทศตะวันตกในสมัยรัตนโกสินทร
  • 22. ๒. สัมพันธไมตรีกับสหรัฐอเมริกา ความสัมพันธระหวางไทยกับ สหรัฐฯ เริ่มจากการทําการคาและมีการทําสนธิสัญญาระหวางกัน โดยลงนาม เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๗๕ มีนายเอ็ดมันส โรเบิรต เปนทูตเจรจาใช ระยะเวลาในการเจรจา ๒๒ วัน โดยมีขอตกลงทางการเมืองและการคาอยูใน ฉบับเดียวกัน ๑๐ ขอ สําหรับบรรดาประเทศตางๆ ในเอเชียนั้น ประเทศจีน นับเปนประเทศที่มีความสัมพันธอันดีกับไทย ทั้งทางดานการทูตและการคา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวไทยไดจัดสงราชทูตอัญเชิญ พระราชสาสนและเครื่องราชบรรณาการไปเจริญพระราชไมตรีกับประเทศจีน ใน พ.ศ. ๒๓๖๘ การคาระหวางไทยกับจีนดําเนินไปไดดวยดีตลอดสมัยรัชกาล ที่ ๓
  • 24. พระราชกรณียกิจดานการศึกษา ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตนยังไมมีการจัดตั้งโรงเรียนขึ้น ดังนั้นวัดจึงมี บทบาทเปนสถาบันทางการศึกษาที่สําคัญมาก เชนเดียวกับสมัยกรุงศรีอยุธยาที่มีพระสงฆ เปนครูสอนหนังสือ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวไดทรงสนับสนุนการศึกษาโดย โปรดเกลาฯ ใหผูมีความรูนําตําราตางๆ จารึกลงบนศิลาประดับไวตามฝาผนังอาคารตางๆ ของวัดราชโอรสาราม วัดสุทัศนเทพวราราม โดยเฉพาะอยางยิ่งที่วัดพระเชตุพนวิมลมัง คลาราม ความรูตางๆ ที่โปรดเกลาฯ ใหจารึกไวมีทั้งวิชาอักษรศาสตร แพทยศาสตร พุทธ ศาสตรและโบราณคดี ตําราโคลง ฉันท กาพย กลอน ตํารายา ตําราโหรศาสตร พรอมกัน นั้นก็โปรดเกลาฯ ใหปนรูปฤาษีดัดตน แสดงทาบําบัดโรคลม กับคําโคลงบอกชนิดของ ลม ตั้งไวในศาลารอบเขตพุทธาวาส เพื่อใหประชาชนศึกษาความรูตางๆ ไดอยาง แพรหลาย จนอาจเรียกไดวา วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เปนมหาวิทยาลัยแหงแรกของ เมืองไทย
  • 26. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวเสด็จสวรรคต ณ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน องค ขางตะวันตกในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๔ รวม พระชนมายุได ๖๓ พรรษา ๒ วัน รวมระยะเวลาที่ทรงครองสิริราชสมบัติ ๒๖ ป ๘ เดือน ๑๒ วัน พระองคทรงมีพระปรีชาสามารถในศาสตรตางๆ หลายแขนง โดยเฉพาะอยางยิ่งในดาน พาณิชยศาสตรและเศรษฐศาสตร เนื่องจากเปนพระราช โอรสพระองคใหญที่ทรงพระปรีชาสามารถ ฉลาดหลักแหลมพระบาทสมเด็จพระ พุทธเลิศหลานภาลัยจึงโปรดเกลาฯ ใหเขารับราชการตางพระเนตรพระกรรณมาตั้งแต ยังทรงดํารงพระยศเปนพระเจาลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร ครั้นเสด็จขึ้น ครองราชยสมบัติพระองคก็ไดทรงประกอบพระราชกรณียกิจดานตางๆ นําความมั่นคง กาวหนามาสูประเทศนานัปการ และดวยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณปวงชนชาวไทย จึงรวมใจกันสรางพระบรมราชานุสาวรียขึ้นในบริเวณลานเจษฎาบดินทร ถนนราช  ดําเนิน
  • 28. พระบรมราชานุสาวรียของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว  สรางขึ้นในบริเวณลานเจษฎาบดินทร ถนนราชดําเนิน
  • 30. ทาวสุรนารี มีนามเดิมวา “คุณหญิงโม” เปนภริยา ปลัดเมืองนครราชสีมา ทานสรางวีรกรรมไวแกชาติไทย เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๙ โดยไดรวบรวมชาวบานเขาสูรบตอตาน กองทัพของเจาอนุวงศแหงเวียงจันทนไมใหมาตีกรุงเทพฯ เปนผลสําเร็จ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวจึง โปรดเกลาฯ แตตั้งคุณหญิงโมเปน “ทาวสุรนารี” มีการจัด งานเฉลิมฉลองวันแหงชัยชนะของทาวสุรนารีระหวาง วันที่ ๒๓ มีนาคม ถึงวันที่ ๓ เมษายนของทุกป อนุสาวรียทาวสุรนารี (ยาโม) อยูในอําเภอเมือง จ. นครราชสีมา สรางเมื่อ พ.ศ.๒๔๗๖ ตั้งอยูหนาซุมประตูชุม พล ซึ่งเปนประตูเมืองเกาทางดานทิศตะวันตก อนุสาวรีย ทาวสุรนารี เปนรูปทาวสุรนารี แตงกายดวยเครื่องยศพระราชทาน มือ ขวากุมดาบ หลอดวยทองแดงรมดําสูง ๑.๘๕ เมตร ที่ฐาน อนุสาวรียมีอัฐิของทานบรรจุไวภายใน
  • 31. หมอบรัดเลย หรือแดน บีช แบรดลีย (Danial Beach Bradley, M.D.) หรือ บางคนเรียก ปลัดเลย เปนนายแพทยชาวอเมริกันที่เขาเผยแพรศาสนา คริสตในประเทศไทยสมัยรัชกาลที่ ๓ และยังเปนผูเริ่มตนการพิมพใน ประเทศไทยเปนครั้งแรก
  • 32. แดน บีช บรัดเลย เปนชาวเมืองมารเซลลัส (Marcellus) เกิดเมื่อ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๔๗ บุตรคนที่ ๕ ของนายแดน บรัดเลย และนางยูนิช บีช บรัดเลย สําเร็จการแพทยจากมหาวิทยาลัยนิวยอรก สมรสกับภรรยาคน แรก เอมิลี รอยส บรัดเลย และภรรยาคนที่สอง ซาราห แบลคลี บรัดเลย แดน บีช บรัดเลย เขามาทํางานในคณะหมอสอนศาสนา เพรส ไบทีเรียน ตั้งแตเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๗๙ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ พักอาศัยอยูแถววัด เกาะ สําเพ็ง (วัดสัมพันธวงศ) ตอมาจึงยายไปอยูแถวกุฎีจีน และยายไปอยู แถววัดประยูรวงศาวาส เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๕ จึงมาเชาที่หลวง ตั้งโรงพิมพอยู บริเวณปากคลองบางกอกใหญ ขางปอมวิชัยประสิทธิ์ ติดกับพระราชวังเดิม พักอาศัยอยูที่นั่นจนเสียชีวิตเมื่อวันที่ ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๑๖ อายุ ๖๙ ป
  • 33. ผลงาน - ทําการผาตัดแผนใหมเปนรายแรกของประเทศไทย - ปลูกฝปองกันไขทรพิษสําเร็จเปนรายแรกของ ประเทศไทย - ตั้งโรงพิมพและตีพิมพประกาศหามสูบฝนซึ่งเปน ประกาศทางราชการที่ใชวิธีตีพิมพเปนครั้งแรก - ริเริ่มนิตยสาร บางกอก รีคอรดเดอร (The Bangkok Recorder) - พิมพปฏิทินสุริยคติเปนภาษาไทยขึ้นเปนครั้งแรก - พิมพหนังสือคัมภีรครรภทรักษา 
  • 34. คําถาม 1.พระนานเดิมของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ตอบ 2. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เสด็จพระราชสมภพเมื่อไร ตอบ 3. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว มีพระราชโอรสกับพระราช ธิดารวมทั้งสิ้นกี่พระองค ตอบ