SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
1 | P a g e
มวลอะตอมและมวลอะตอมเฉลี่ย
(Relative Atomic Mass and Average Atomic Mass)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความแตกต่างของมวลอะตอมกับมวลของธาตุ 1 อะตอม
2. คานวณหามวลอะตอมของธาตุ และมวลของธาตุเป็นกรัม
3. คานวณหามวลอะตอม เฉลี่ยของธาตุและปริมาณในธรรมชาติของธาตุได้
อะตอม (atom) คือ หน่วยพื้นฐานของธาตุที่เข้าทาปฏิกิริยาเคมี ประกอบด้วย 2 ส่วนที่สาคัญ ส่วนแรกนิวเคลียส
มีประจุไฟฟ้าเป็นบวกซึ่งประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนส่วนที่สองอิเล็กตรอน มีประจุไฟฟ้าเป็นลบเคลื่อนที่อยู่รอบ
นิวเคลียส มีสมบัติดังในตาราง
ชนิดของอนุภาค ประจุ มวล ( g )
โปรตอน , p + 1.67 x 10 –24
g = 1 amu
นิวตรอน , n 0 1.67 x 10 –24
g = 1 amu
อิเล็กตรอน , e- - 9.11 x 10 –28
g = 0.00055 amu
เนื่องจากอะตอมมีมวลน้อยมาก และไม่สะดวกแก่การชั่ง ในทางปฏิบัติจึงใช้วิธีเปรียบเทียบโดยพิจารณาว่า
อะตอมของธาตุหนึ่งมีมวลมากกว่า หรือน้อยกว่าอะตอมของอีกธาตุหนึ่งกี่เท่า ค่าที่ได้จากการเปรียบเทียบดังกล่าวเรียกว่า
“มวลอะตอม”
การหามวลอะตอมโดยใช้ธาตุไฮโดรเจนเป็นมาตรฐาน
ดอลตันพบว่าธาตุไฮโดรเจนเป็นธาตุที่เบาที่สุด จึงเสนอให้ใช้ไฮโดรเจนเป็นธาตุมาตรฐานในการเปรียบเทียบเพื่อ
หามวลของอะตอมของธาตุอื่น ๆ โดยกาหนดให้ไฮโดรเจน 1 อะตอม มีมวล 1 หน่วย หรือ 1 amu
1 amu = 1 atomic mass unit = 1.66 x 10-24
กรัม เมื่อใช้ธาตุไฮโดรเจนเป็นมาตรฐานจึงกาหนดนิยามของมวลอะตอม
ดังนี้ “มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าธาตุนั้น 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของธาตุไฮโดรเจน 1 อะตอม”
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
2 | P a g e
เขียนเป็นสูตรแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้
มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม
มวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม
ตัวอย่างเช่น
1. มวลอะตอมของธาตุคาร์บอน = 12 หมายความว่าธาตุคาร์บอน 1 อะตอม มีมวลเป็น 12 เท่าของมวลของธาตุ
ไฮโดรเจน 1 อะตอม
2. มวลอะตอมของธาตุคลอรีน = 35.453 หมายความว่า ธาตุคลอรีน 1 อะตอมมีมวลเป็น 35.453 เท่าของมวลของ
ไฮโดรเจน 1 อะตอม เป็นต้น
ดังนั้น จะเห็นว่า อะตอมของธาตุคลอรีนมีมวลมากกว่าอะตอมของธาตุคาร์บอน
H1
1
atomic mass unit หรือ 1 amu = 1.66 x 1
มวลอะตอมของธาตุ H ที่เบาที่สุด =
มวลอะตอมสัมพัทธ์ ( Relative atomic mass ,
R.A.M )
ใช้ เป็นมวลมาตรฐานในการหามวลอะตอม
ของธาตุอื่น ๆ
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
3 | P a g e
นอกจากจะใช้หาค่ามวลอะตอมแล้ว ยังสามารถใช้หามวลของอะตอมได้ด้วย เนื่องจากมวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม
= 1.66 x 10-24
กรัม
มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม (g)
1.66x 10-24
(g)
หรือ มวลของธาตุ 1 อะตอม = มวลอะตอมของธาตุ x 1.66 x 10-24
กรัม
ดังนั้น ถ้าทราบมวลอะตอมก็จะคานวณค่ามวลของ 1 อะตอมได้ เช่น
มวลของคาร์บอน 1 อะตอม = มวลอะตอมของคาร์บอน x 1.66 x 10-24 กรัม
= 12 x 1.66 x 10-24
กรัม
มวลของคลอรีน 1 อะตอม = 35.453 x 1.66 x 10-24
กรัม
การหามวลอะตอมโดยใช้ธาตุออกซิเจนเป็นมาตรฐาน
J.S Stas นักเคมีชาวเบลเยียม ได้เสนอให้ใช้ธาตุออกซิเจนเป็นมาตรฐานในการหาค่ามวลอะตอมแทนธาตุ
ไฮโดรเจน โดยใช้เหตุผลว่าออกซิเจนมีอยู่มาก และเป็นอิสระในธรรมชาติ รวมทั้งยังเป็นธาตุที่สามารถทาปฏิกิริยากับธาตุ
อื่น ๆได้เกือบหมด จึงน่าจะใช้เป็นมาตรฐานแทนธาตุไฮโดรเจน และเปลี่ยนนิยามของมวลอะตอมใหม่เป็นดังนี้
“มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าธาตุนั้น 1 อะตอม หนักเป็นกี่เท่าของ 1/16 มวล
ของออกซิเจน 1 อะตอม” โดย 1/16 มวลของออกซิเจน 1 อะตอม มีค่า = 1 amu เขียนเป็นสูตรแสดงความสัมพันธ์
ได้ดังนี้
มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม
มวลของออกซิเจน 1 อะตอม
เช่น ธาตุแมกนีเซียมมีมวลอะตอมเท่ากับ 24 หมายความว่า ธาตุแมกนีเซียม 1 อะตอม หนักเป็น24 เท่าของ มวล
ออกซิเจน 1 อะตอม เป็นต้น
การหามวลอะตอมโดยใช้คาร์บอน -12 เป็นมาตรฐาน
การใช้ธาตุออกซิเจนเป็นมาตรฐานในการหามวลอะตอม ทาให้เกิดความขัดแย้งกันระหว่างนักเคมี
และนักฟิสิกส์ในการกาหนดมวลของธาตุออกซิเจน เนื่องจากนักเคมีคิดมวลอะตอมของออกซิเจนจากไอโซโทปของ
ออกซิเจน – 16 เพียงอย่างเดียว เนื่องจากมีอยู่ในธรรมชาติมากที่สุด ดังนั้นมวลอะตอมของธาตุต่าง ๆ ที่คิดโดยนักเคมี
และนักฟิสิกส์จึงไม่เท่ากัน ก่อให้เกิดปัญหาขึ้น ดังนั้นในปี ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2504) นักวิทยาศาสตร์จึงตกลงเลือกธาตุ
มาตรฐานเพื่อหามวลอะตอมใหม่โดยใช้คาร์บอน–12 เป็นตัวเปรียบเทียบและให้นิยามมวลอะตอมดังนี้
x
16
1
16
1
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
4 | P a g e
“มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าธาตุนั้น 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12มวลของคาร์บอน –12
1 อะตอม” เขียนเป็นสูตรแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้
มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม
มวลของคาร์บอน-12 1 อะตอม
เช่น มวลอะตอมของออกซิเจน = 16.00 หมายความว่าธาตุออกซิเจน 1 อะตอม มีมวลเป็น 16 เท่าของ 1/12
มวลของคาร์บอน – 12 , 1 อะตอม
ตัวอย่างการคานวณหามวลอะตอม
1. ธาตุ X มีมวลอะตอม 32 ธาตุ X 20 อะตอมมีมวลกี่กรัม
วิธีคิด ธาตุ X มีมวลอะตอม 32 ∴ X 1 อะตอม หนัก 32 a.m.u
X 20 อะตอม หนัก 640 a.m.u = 640 x 1.66 x 10
- 24
g
2.ธาตุ He 10 อะตอม มีมวล 6.64 x 10
-23
g จงหามวลอะตอมของ He
วิธีคิด ธาตุ He 10 อะตอม มีมวล 6.64 x 10
-23
g
ธาตุ He 1 อะตอม มีมวล = 6.64 x 10
-23
g
10
∴ มวลอะตอมของ He = มวล He 1 อะตอม = 6.64×10-24
g
1/12 มวลของC-12 1 อะตอม 1.66×10-24
g
มวลอะตอมของ He = 4
3. ธาตุ X 10 อะตอม มีมวล 2 เท่าของ ธาตุ B จานวน 40 อะตอม ถ้า ธาตุ B มีมวลอะตอม 4 จงหามวล
อะตอมของธาตุ X
วิธีคิด ธาตุ B มีมวลอะตอม 4 ∴ B 1 อะตอมหนัก 4 a.m.u
B 40 อะตอม หนัก = 4(40) = 160 a.m.u
x
12
1
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
5 | P a g e
ธาตุ X 10 อะตอม มีมวล 2 เท่าของ ธาตุ B จานวน 40 อะตอม
∴ X 10 อะตอม หนัก = 2(160) = 320 a.m.u
X 1 อะตอม หนัก = 32 a.m.u ∴ มวลอะตอมของ X = 32
4. ถ้ามวลอะตอมของ Z = 40 จงคานวณหา
4.1 ธาตุ Z 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12 มวลของ C -12 1 อะตอม (40 เท่า)
4.2 ธาตุ Z 1 อะตอม มีมวลกี่ กรัม (40 x 1.66 x 10
- 24
g)
4.3 มวลของ Z 150 อะตอม หนักกี่กรัม ( 150 x 40 x 1.66 x 10
- 24
g)
4.4. ธาตุ Z 240 a.m.u. มีกี่อะตอม (240/40 = 6 อะตอม)
กิจกรรมที่ 1
คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเอกสารแล้วใช้กระบวนการกลุ่ม หาคาตอบแล้วทาลงในสมุดจด
1.ให้นักเรียนสรุปความรู้แนวการคิดในการหามวลอะตอมของธาตุ และมวลของธาตุ 1 อะตอม เป็น mind mapping
2..ให้ทาแบบทดสอบต่อไปนี้
2.1. ธาตุ O 1 อะตอมมีมวล 26.56 x 10
-24
g จงคานวณหา
1. มวลอะตอมของ O
2. ธาตุ O 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12 มวลของ C -12 1 อะตอม
3. ธาตุ O 1 อะตอม มีมวลกี่ a.m.u.
4. มวลของ O 100 อะตอม หนักกี่กรัม
2.2 ธาตุ X 10 อะตอมมีมวลเป็น 5 เท่าของ C-12 4 อะตอม มวลอะตอมของ X และมวลของธาตุ
X 1 อะตอม เป็นเท่าใด
2.3 ธาตุ A มีมวลอะตอม = 50 ธาตุ B มีมวลอะตอม = 80 ธาตุ A 20 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ
ธาตุ B 5 อะตอม
2.4 ธาตุ B มีมวลอะตอมเท่ากับ 7 ถามว่า B 1 อะตอม จะมีมวลกี่กรัม
2.5 ธาตุไนโตรเจนมีมวลอะตอม 14 ดังนั้นไนโตรเจน 2 อะตอม หนักกี่กรัม
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
6 | P a g e
2.6 ธาตุ X 2 อะตอมมีมวล 36.52x10–24
กรัม ถามว่า ธาตุ X จะมีมวลอะตอมเท่าใด
มวลอะตอมเฉลี่ย (Average Atomic Mass)
ธาตุแต่ละชนิดที่อยู่ในธรรมชาติมักจะมีไอโซโทปหลายชนิดปนกันอยู่ เช่น ธาตุคาร์บอนจะมีไอโซโทปในธรรมชาติ
ที่สาคัญคือ C – 12 และ C –13 ธาตุออกซิเจนมี O – 16 , O – 17 และ O –18 เป็นต้น ไอโซโทปของธาตุแต่ละชนิดจะมี
ปริมาณไม่เท่ากันในธรรมชาติ และมีมวลอะตอมไม่เท่ากันด้วยเช่น N - 14 มีในธรรมชาติ 99.64 % และมีมวลอะตอม
14.0031N - 15 มีในธรรมชาติ 0.36 % และมีมวลอะตอม 15.0001 การพิจารณามวลอะตอมที่แท้จริงจึงต้องคิดจาก
ไอโซโทปทุก ๆ ตัวที่มีอยู่ในธรรมชาติเป็นค่าเฉลี่ย เรียกว่า “มวลอะตอมเฉลี่ยของไอโซโทป” การหามวลอะตอมและ
ปริมาณของไอโซโทปแต่ละธาตุ ใช้เครื่องมือที่เรียกว่า แมสสเปกโตร มิเตอร์ (mass spectrometer)
มวลอะตอมเฉลี่ย A = ∑(มวลอะตอมแต่ละไอโซโทปA x %)
100
แนวคาถาม ถามเกี่ยวกับ มวลอะตอมเฉลี่ย A , มวลอะตอมแต่ละ ไอโซโทปของ A และ %ในธรรมชาติ
Ex 1 คาร์บอนมีไอโซโทป 2 ชนิดที่เสถียรคือ C-12 กับ C-13 จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของคาร์บอน เมื่อกาหนดให้
C-12 ในธรรมชาติมี 98.99 % มีมวลอะตอม = 12 และ C-13 มี 1.01 % มีมวลอะตอม = 13
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
7 | P a g e
Ex 2 ธาตุ A มี 2 ไอโซโทป ไอโซโทปที่ 1 มีมวลอะตอม 23.08 มีปริมาณในธรรมชาติ 90.00 % ที่เหลือเป็น
ปริมาณของไอโซโทปที่ 2 ถ้ามวลอะตอมของ ธาตุ A = 23.19 มวลอะตอมไอโซโทปที่ 2 เป็นเท่าใด
(Ent’ มี.ค. 43 )
1. 24.00 2. 24.18 3. 25.00 4. 25.50
Ex 3 Ex 11 ไนโตรเจนในธรรมชาติ ( มวลอะตอม = 14.004) ประกอบด้วย 2 ไอโซโทปคือ N14
และ N15
ปริมาณร้อยละของไอโซโทปทั้งสองของไนโตรเจนที่มีอยู่ในธรรมชาติ มีค่าเป็นเท่าใด( Ent ‘ ต.ค. 42)
1. N14
= 4, N15
= 96 2. N14
= 50, N15
= 50
3. N14
= 96, N15
= 4 4. N14
= 99.6, N15
= 0.4
โมล (The Mole)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายและที่มาของโมลสารได้
2. อธิบายความหมายและระบุชนิดของโมลอะตอม โมลโมเลกุล และโมลไอออนได้
3. สรุป ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมล อนุภาค มวลเป็นกรัม และปริมาตรที่ STP ได้
4.คานวณหาปริมาณสารได้ โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมล อนุภาค มวลเป็นกรัม และปริมาตรที่ STP
การนับจานวนในชีวิตประจาวัน
ชนิด การนับจานวน ปริมาณ
รองเท้า คู่ 2
ปากกา โหล 12
กระดาษ รีม 480
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
8 | P a g e
ปริมาณสาร 1 โมล
การบอกปริมาณสาร บอกในหน่วย โมล (mole : mol) เพราะ………………………………………
โมล หมายถึง หน่วยบอกปริมาณสาร ที่มีจานวนอนุภาค เท่ากับ อนุภาคใน 12 g ของ C-12
C – 12 หนัก 12 x 1.66 x 10 -24
g มีจานวนอะตอม = 1 อะตอม
ดังนั้น ถ้า C -12 หนัก 12 g ก็จะมีจานวนอะตอม =
gxx
gx
24
1066.112
121

= 6.02 x 10 23
อะตอม
ดังนั้น สารใด 1 โมล จึงมีจานวนอนุภาคเท่ากับ 6.02 x 10 23
Ex1. จงแสดงแนวคิด มวลอะตอมของ Na = 23 ถ้า Na หนัก 23 กรัม จะมี Na กี่อะตอม
Ex 2 H2O มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 18 ถ้า H2O หนัก 18 กรัมจะมีจานวนกี่โมเลกุล
ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับอนุภาค
สาร จานวนโมล ชนิดของโมล จานวนอนุภาค
Na 1 1x6.02 x 10 23
Ca2+
2
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
9 | P a g e
H2O 3
CaO 5 formula unit
ความสัมพันธ์ระหว่างโมลโมเลกุล กับโมลอะตอม หรือโมลสูตรกับโมลไอออน
สาร โมล
โมเลกุล
โมล
อะตอม
โมล
ไอออน
โมเลกุล อะตอม ไอออน
CO2 1 3 - 1x6.02 x 10 23
3x6.02 x 10 23
-
Al(NO3)3 1
C2H6 1
CaO 1 2 2 1x6.02 x 10 23
- 2x6.02 x 10 23
H2O 0.5
CH3COOH 0.5
Na3PO4 0.5
CuSO4.5H2O 2
C2H5OH 2
ตอบคาถามต่อไปนี้
1. อาร์กอนปริมาณ ……..โมล มีจานวน 5 x 6.02 x 10 23
อะตอม
2. จานวนอนุภาค 6.02 x 10 23
อนุภาคคิดเป็นสาร…….โมล
3. Na มีจานวนอะตอมมากกว่า Ca หมายความว่า Na มี…………….. มากกว่า Ca
4. CO2 0.2 mol มีจานวนโมเลกุล…………………………. โมเลกุล
5. แมว 10 โมล มีแมว…………………… ตัว
6. ก๊าซมีเทน 18.06 x 10 23
โมเลกุล คิดเป็น ……….โมลโมเลกุล
7. Fe และ H มีจานวนอะตอมเท่ากัน แสดงว่ามี ………………….เท่ากัน
8. H2S กับ Cl2 มีโมลโมเลกุลเท่ากัน แสดงว่ามี…………………….. เท่ากัน
9. ถ้าชั่งสารออกมาเป็น “กรัม” โดยให้ตัวเลขของมวลนั้น = ………………………… สารนั้นจะมีจานวน
อนุภาค = 6.02 x 10 23
อนุภาค
10. หน่วยที่ใช้เรียกสารที่มีจานวนอนุภาค อนุภาค = 6.02 x 10 23
อนุภาค ว่า................................
11. คาว่าอนุภาค หมายถึง สิ่งใดบ้าง..............................................................................................
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
10 | P a g e
12. กรณีที่บอกอนุภาคของาตุที่เป็นโลหะ เราระบุชนิดของอนุภาคเป็น...............................................
13. ธาตุที่ประกอบกันเข้าเป็นโมเลกุล ถ้าไม่ระบุชนิดของอนุภาค อนุภาคจะหมายถึง...............................
14. เลขอาโวกาโดร มีค่าเท่ากับ............................................................................................................
16. Na 1 mol มีจานวนอนุภาค = 6.02 x 10 23
อะตอม
Na 2.5 mol จานวนอนุภาค = ………………..อะตอม
17. ปรอท 30.1 x 1022
อะตอม มีจานวน = ………………………………โมล
18. จงคานวณหาอนุภาคและระบุชนิดของอนุภาคของสารต่อไปนี้
a) 1.75 โมลของก๊าซออกซิเจน b) 2.00 โมลของ K+
c) 5.00 โมลของ Cu d) 0.25 โมลของ NH3
19. จงหาจานวนโมลของ
a) Pb 1 อะตอม b) HCl 3.01 x 10 23
โมเลกุล
20) สารในข้อใดต่อไปนี้มีจานวนอะตอมของออกซิเจนมากที่สุด ( O = 16 )
a. อะตอมออกซิเจน 10 โมล
b. แก๊สออกซิเจน 10 โมล
c. แก๊สโอโซน 10 โมล
ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับมวลเป็นกรัม
1. จงพิจารณาคากล่าวต่อไปนี้
สาร จานวนโมล มวลโมเลกุล มวลอะตอม มวล (กรัม)
12
C 1 - 12 12
H2O 1 18 -
NaCl 1 - 58.5
CO2 1 44 -
( กาหนด มวลอะตอม C = 12, H = 1, O=16, Na = 23, Cl=35.5 )
2. จงพิจารณาตารางต่อไปนี้แล้วเติมช่องว่างให้สมบูรณ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
11 | P a g e
สาร จานวนโมล มวลโมเลกุล มวลอะตอม มวล (กรัม)
12
C 2 - 12 2x12
H2O 3 18 - 3x18
NaCl 3 -
CO2 3 -
นักเรียนพบความสัมพันธ์ของสาร 1 โมล กับมวลเป็นกรัมอย่างไร.....................................................................................
...............................................................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
Ex 1 แอสไพริน (C9H8O4) 0.01 โมล จงหา
ก. มวล (กรัม) ของแอสไพริน
ข. มวลของ C, H, O
แนวคิด
Ex 2 P4O10 หนัก 2.84 กรัม มีออกซิเจนหนักกี่กรัม (P=31, O=16)
แนวคิด
Ex 3 ฮีโมโกลบิน มีมวลโมเลกุล 67,200 g/mol มีเหล็กเป็นส่วนผสมร้อยละ 1/3 ในฮีโมโกลบิน 2.5 โมล จะมีเหล็ก
อยู่กี่กรัม ( Fe = 56)
แนวคิด
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
12 | P a g e
ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับปริมาตรของแก๊สที่ STP
สภาวะที่ 1
 แก๊สทุกชนิดจานวน 1 โมลมีปริมาตร 24.0 dm3
ที่ RTP
 RTP ( Room Temperture and Pressure) T = 250
C , P= 1 atm
 โมลของแก๊ส = ปริมาตร (dm3
)
24.0 dm3
สภาวะที่ 2
 แก๊สทุกชนิดจานวน 1 โมลมีปริมาตร 22.4 dm3
ที่ STP
 STP ( Standard Temperture and Pressure) T = 00
C , P = 1 atm
 โมลของแก๊ส = ปริมาตร (dm3
)
22.4 dm3
Ex 1 จงหาปริมาตรในหน่วย dm3
ของ CO2 0.5 mol ที่ STP
Ex 2 จงหาโมลของ CH4 4.48 dm3
ที่ STP
Ex 3 จงหา ปริมาตรของ SO2 2.0 mol ที่ RTP
Ex 4 จงหาจานวนโมลของ NH3 24000 cm3
ที่ RTP
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
13 | P a g e
ความสัมพันธ์ระหว่างโมล อนุภาค มวล (g) และปริมาตรของแก๊สที่ STP
จงเขียนความสัมพันธ์ของสาร 1 โมลกับอนุภาค มวล (g) และ ปริมาตรของแก๊สที่ STP
สาร โมลโมเลกุล จานวนโมเลกุล โมลอะตอม จานวนอะตอม มวล (กรัม) ปริมาตรที่
STP (dm3
)
CO2 1 6.02 x 10 23
3 3x6.02 x 10 23
44 22.4
NH3 2
C2H5OH 2
Al(NO3)3 1
O3 3
CH3COOH 0.5
พิจารณาข้อมูลจากตาราง แล้วตอบคาถามต่อไปนี้
นักเรียนพบความสัมพันธ์ของสาร 1 โมลกับอนุภาค 1 โมลกับมวล และ1 โมลกับปริมาตรที่ STP อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
Ex 1 NH3 6.72 ลิตร ที่ STP ถ้าทาให้สลายตัวเป็นธาตุ จะได้ธาตุรวมกันทั้งสิ้นกี่อะตอม
Ex 2 แก๊สไนโตรเจน 70 กรัมที่ STP จะมีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร ( N=14)
Ex 3 สารประกอบชนิดหนึ่ง 1 โมเลกุลประกอบด้วย C 3 อะตอม, H 8 อะตอม, O 2 อะตอม ถ้าสารนี้ 1.806 x 1024
โมเลกุล จะมีมวลกี่กรัม ( C=12, H=1, O=16)
Ex 4 A4B6 จานวน 6.02 x 1023
อะตอม จะมีปริมาตรเท่าใด ที่ STP
ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา
14 | P a g e
Ex 5 จงพิจารณาข้อความเกี่ยวกับแอมเฟตามีน ซึ่งมีสูตรเป็น C9H13N ว่าถูกหรือผิด เพราะอะไร
1. แอมเฟตามีน หนัก 0.135 g มีจานวนโมเลกุลเท่ากับ 6.02 x 1020
กรัม
2. แอมเฟตามีน 8 โมเลกุล มีมวลเท่ากับ 1.080x1.66x10-21
กรัม
3. แอมเฟตามีน 2.5 โมล มีมวล 135 กรัม
Ex 6 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด เพราะอะไร
1. ทองคา 1 โมล มีจานวน 6.02 x 1023
อะตอม 3. แก๊สคลอรีน 1 โมลมี 6.02 x 1023
อะตอม
2. SO2 6.4 กรัม มีจานวนโมเลกุลเท่ากับ H2 0.5 โมล 4. CH4 2 โมล มีปริมาตรที่ STP เท่ากับ O2 64 กรัม

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกิตติธัช สืบสุนทร
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์Kapom K.S.
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมDr.Woravith Chansuvarn
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์Maruko Supertinger
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 

Mais procurados (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 

Semelhante a เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล

บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรWichai Likitponrak
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
สอน 4ชม-2-2550
สอน 4ชม-2-2550สอน 4ชม-2-2550
สอน 4ชม-2-2550nocky8296
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
9789740330912
97897403309129789740330912
9789740330912CUPress
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptLeeMinho84
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 

Semelhante a เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล (20)

1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
Basicatom
BasicatomBasicatom
Basicatom
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
1482139114.ppt
1482139114.ppt1482139114.ppt
1482139114.ppt
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
สอน 4ชม-2-2550
สอน 4ชม-2-2550สอน 4ชม-2-2550
สอน 4ชม-2-2550
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
9789740330912
97897403309129789740330912
9789740330912
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.pptบทที่ 4 stoichiometry.ppt
บทที่ 4 stoichiometry.ppt
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 

เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล

  • 1. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 1 | P a g e มวลอะตอมและมวลอะตอมเฉลี่ย (Relative Atomic Mass and Average Atomic Mass) จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความแตกต่างของมวลอะตอมกับมวลของธาตุ 1 อะตอม 2. คานวณหามวลอะตอมของธาตุ และมวลของธาตุเป็นกรัม 3. คานวณหามวลอะตอม เฉลี่ยของธาตุและปริมาณในธรรมชาติของธาตุได้ อะตอม (atom) คือ หน่วยพื้นฐานของธาตุที่เข้าทาปฏิกิริยาเคมี ประกอบด้วย 2 ส่วนที่สาคัญ ส่วนแรกนิวเคลียส มีประจุไฟฟ้าเป็นบวกซึ่งประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนส่วนที่สองอิเล็กตรอน มีประจุไฟฟ้าเป็นลบเคลื่อนที่อยู่รอบ นิวเคลียส มีสมบัติดังในตาราง ชนิดของอนุภาค ประจุ มวล ( g ) โปรตอน , p + 1.67 x 10 –24 g = 1 amu นิวตรอน , n 0 1.67 x 10 –24 g = 1 amu อิเล็กตรอน , e- - 9.11 x 10 –28 g = 0.00055 amu เนื่องจากอะตอมมีมวลน้อยมาก และไม่สะดวกแก่การชั่ง ในทางปฏิบัติจึงใช้วิธีเปรียบเทียบโดยพิจารณาว่า อะตอมของธาตุหนึ่งมีมวลมากกว่า หรือน้อยกว่าอะตอมของอีกธาตุหนึ่งกี่เท่า ค่าที่ได้จากการเปรียบเทียบดังกล่าวเรียกว่า “มวลอะตอม” การหามวลอะตอมโดยใช้ธาตุไฮโดรเจนเป็นมาตรฐาน ดอลตันพบว่าธาตุไฮโดรเจนเป็นธาตุที่เบาที่สุด จึงเสนอให้ใช้ไฮโดรเจนเป็นธาตุมาตรฐานในการเปรียบเทียบเพื่อ หามวลของอะตอมของธาตุอื่น ๆ โดยกาหนดให้ไฮโดรเจน 1 อะตอม มีมวล 1 หน่วย หรือ 1 amu 1 amu = 1 atomic mass unit = 1.66 x 10-24 กรัม เมื่อใช้ธาตุไฮโดรเจนเป็นมาตรฐานจึงกาหนดนิยามของมวลอะตอม ดังนี้ “มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าธาตุนั้น 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของธาตุไฮโดรเจน 1 อะตอม”
  • 2. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 2 | P a g e เขียนเป็นสูตรแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้ มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม ตัวอย่างเช่น 1. มวลอะตอมของธาตุคาร์บอน = 12 หมายความว่าธาตุคาร์บอน 1 อะตอม มีมวลเป็น 12 เท่าของมวลของธาตุ ไฮโดรเจน 1 อะตอม 2. มวลอะตอมของธาตุคลอรีน = 35.453 หมายความว่า ธาตุคลอรีน 1 อะตอมมีมวลเป็น 35.453 เท่าของมวลของ ไฮโดรเจน 1 อะตอม เป็นต้น ดังนั้น จะเห็นว่า อะตอมของธาตุคลอรีนมีมวลมากกว่าอะตอมของธาตุคาร์บอน H1 1 atomic mass unit หรือ 1 amu = 1.66 x 1 มวลอะตอมของธาตุ H ที่เบาที่สุด = มวลอะตอมสัมพัทธ์ ( Relative atomic mass , R.A.M ) ใช้ เป็นมวลมาตรฐานในการหามวลอะตอม ของธาตุอื่น ๆ
  • 3. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 3 | P a g e นอกจากจะใช้หาค่ามวลอะตอมแล้ว ยังสามารถใช้หามวลของอะตอมได้ด้วย เนื่องจากมวลของไฮโดรเจน 1 อะตอม = 1.66 x 10-24 กรัม มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม (g) 1.66x 10-24 (g) หรือ มวลของธาตุ 1 อะตอม = มวลอะตอมของธาตุ x 1.66 x 10-24 กรัม ดังนั้น ถ้าทราบมวลอะตอมก็จะคานวณค่ามวลของ 1 อะตอมได้ เช่น มวลของคาร์บอน 1 อะตอม = มวลอะตอมของคาร์บอน x 1.66 x 10-24 กรัม = 12 x 1.66 x 10-24 กรัม มวลของคลอรีน 1 อะตอม = 35.453 x 1.66 x 10-24 กรัม การหามวลอะตอมโดยใช้ธาตุออกซิเจนเป็นมาตรฐาน J.S Stas นักเคมีชาวเบลเยียม ได้เสนอให้ใช้ธาตุออกซิเจนเป็นมาตรฐานในการหาค่ามวลอะตอมแทนธาตุ ไฮโดรเจน โดยใช้เหตุผลว่าออกซิเจนมีอยู่มาก และเป็นอิสระในธรรมชาติ รวมทั้งยังเป็นธาตุที่สามารถทาปฏิกิริยากับธาตุ อื่น ๆได้เกือบหมด จึงน่าจะใช้เป็นมาตรฐานแทนธาตุไฮโดรเจน และเปลี่ยนนิยามของมวลอะตอมใหม่เป็นดังนี้ “มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าธาตุนั้น 1 อะตอม หนักเป็นกี่เท่าของ 1/16 มวล ของออกซิเจน 1 อะตอม” โดย 1/16 มวลของออกซิเจน 1 อะตอม มีค่า = 1 amu เขียนเป็นสูตรแสดงความสัมพันธ์ ได้ดังนี้ มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลของออกซิเจน 1 อะตอม เช่น ธาตุแมกนีเซียมมีมวลอะตอมเท่ากับ 24 หมายความว่า ธาตุแมกนีเซียม 1 อะตอม หนักเป็น24 เท่าของ มวล ออกซิเจน 1 อะตอม เป็นต้น การหามวลอะตอมโดยใช้คาร์บอน -12 เป็นมาตรฐาน การใช้ธาตุออกซิเจนเป็นมาตรฐานในการหามวลอะตอม ทาให้เกิดความขัดแย้งกันระหว่างนักเคมี และนักฟิสิกส์ในการกาหนดมวลของธาตุออกซิเจน เนื่องจากนักเคมีคิดมวลอะตอมของออกซิเจนจากไอโซโทปของ ออกซิเจน – 16 เพียงอย่างเดียว เนื่องจากมีอยู่ในธรรมชาติมากที่สุด ดังนั้นมวลอะตอมของธาตุต่าง ๆ ที่คิดโดยนักเคมี และนักฟิสิกส์จึงไม่เท่ากัน ก่อให้เกิดปัญหาขึ้น ดังนั้นในปี ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2504) นักวิทยาศาสตร์จึงตกลงเลือกธาตุ มาตรฐานเพื่อหามวลอะตอมใหม่โดยใช้คาร์บอน–12 เป็นตัวเปรียบเทียบและให้นิยามมวลอะตอมดังนี้ x 16 1 16 1
  • 4. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 4 | P a g e “มวลอะตอม หมายถึง ตัวเลขที่บอกให้ทราบว่าธาตุนั้น 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12มวลของคาร์บอน –12 1 อะตอม” เขียนเป็นสูตรแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้ มวลอะตอมของธาตุ = มวลของธาตุ 1 อะตอม มวลของคาร์บอน-12 1 อะตอม เช่น มวลอะตอมของออกซิเจน = 16.00 หมายความว่าธาตุออกซิเจน 1 อะตอม มีมวลเป็น 16 เท่าของ 1/12 มวลของคาร์บอน – 12 , 1 อะตอม ตัวอย่างการคานวณหามวลอะตอม 1. ธาตุ X มีมวลอะตอม 32 ธาตุ X 20 อะตอมมีมวลกี่กรัม วิธีคิด ธาตุ X มีมวลอะตอม 32 ∴ X 1 อะตอม หนัก 32 a.m.u X 20 อะตอม หนัก 640 a.m.u = 640 x 1.66 x 10 - 24 g 2.ธาตุ He 10 อะตอม มีมวล 6.64 x 10 -23 g จงหามวลอะตอมของ He วิธีคิด ธาตุ He 10 อะตอม มีมวล 6.64 x 10 -23 g ธาตุ He 1 อะตอม มีมวล = 6.64 x 10 -23 g 10 ∴ มวลอะตอมของ He = มวล He 1 อะตอม = 6.64×10-24 g 1/12 มวลของC-12 1 อะตอม 1.66×10-24 g มวลอะตอมของ He = 4 3. ธาตุ X 10 อะตอม มีมวล 2 เท่าของ ธาตุ B จานวน 40 อะตอม ถ้า ธาตุ B มีมวลอะตอม 4 จงหามวล อะตอมของธาตุ X วิธีคิด ธาตุ B มีมวลอะตอม 4 ∴ B 1 อะตอมหนัก 4 a.m.u B 40 อะตอม หนัก = 4(40) = 160 a.m.u x 12 1
  • 5. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 5 | P a g e ธาตุ X 10 อะตอม มีมวล 2 เท่าของ ธาตุ B จานวน 40 อะตอม ∴ X 10 อะตอม หนัก = 2(160) = 320 a.m.u X 1 อะตอม หนัก = 32 a.m.u ∴ มวลอะตอมของ X = 32 4. ถ้ามวลอะตอมของ Z = 40 จงคานวณหา 4.1 ธาตุ Z 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12 มวลของ C -12 1 อะตอม (40 เท่า) 4.2 ธาตุ Z 1 อะตอม มีมวลกี่ กรัม (40 x 1.66 x 10 - 24 g) 4.3 มวลของ Z 150 อะตอม หนักกี่กรัม ( 150 x 40 x 1.66 x 10 - 24 g) 4.4. ธาตุ Z 240 a.m.u. มีกี่อะตอม (240/40 = 6 อะตอม) กิจกรรมที่ 1 คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาเอกสารแล้วใช้กระบวนการกลุ่ม หาคาตอบแล้วทาลงในสมุดจด 1.ให้นักเรียนสรุปความรู้แนวการคิดในการหามวลอะตอมของธาตุ และมวลของธาตุ 1 อะตอม เป็น mind mapping 2..ให้ทาแบบทดสอบต่อไปนี้ 2.1. ธาตุ O 1 อะตอมมีมวล 26.56 x 10 -24 g จงคานวณหา 1. มวลอะตอมของ O 2. ธาตุ O 1 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1/12 มวลของ C -12 1 อะตอม 3. ธาตุ O 1 อะตอม มีมวลกี่ a.m.u. 4. มวลของ O 100 อะตอม หนักกี่กรัม 2.2 ธาตุ X 10 อะตอมมีมวลเป็น 5 เท่าของ C-12 4 อะตอม มวลอะตอมของ X และมวลของธาตุ X 1 อะตอม เป็นเท่าใด 2.3 ธาตุ A มีมวลอะตอม = 50 ธาตุ B มีมวลอะตอม = 80 ธาตุ A 20 อะตอม มีมวลเป็นกี่เท่าของ ธาตุ B 5 อะตอม 2.4 ธาตุ B มีมวลอะตอมเท่ากับ 7 ถามว่า B 1 อะตอม จะมีมวลกี่กรัม 2.5 ธาตุไนโตรเจนมีมวลอะตอม 14 ดังนั้นไนโตรเจน 2 อะตอม หนักกี่กรัม
  • 6. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 6 | P a g e 2.6 ธาตุ X 2 อะตอมมีมวล 36.52x10–24 กรัม ถามว่า ธาตุ X จะมีมวลอะตอมเท่าใด มวลอะตอมเฉลี่ย (Average Atomic Mass) ธาตุแต่ละชนิดที่อยู่ในธรรมชาติมักจะมีไอโซโทปหลายชนิดปนกันอยู่ เช่น ธาตุคาร์บอนจะมีไอโซโทปในธรรมชาติ ที่สาคัญคือ C – 12 และ C –13 ธาตุออกซิเจนมี O – 16 , O – 17 และ O –18 เป็นต้น ไอโซโทปของธาตุแต่ละชนิดจะมี ปริมาณไม่เท่ากันในธรรมชาติ และมีมวลอะตอมไม่เท่ากันด้วยเช่น N - 14 มีในธรรมชาติ 99.64 % และมีมวลอะตอม 14.0031N - 15 มีในธรรมชาติ 0.36 % และมีมวลอะตอม 15.0001 การพิจารณามวลอะตอมที่แท้จริงจึงต้องคิดจาก ไอโซโทปทุก ๆ ตัวที่มีอยู่ในธรรมชาติเป็นค่าเฉลี่ย เรียกว่า “มวลอะตอมเฉลี่ยของไอโซโทป” การหามวลอะตอมและ ปริมาณของไอโซโทปแต่ละธาตุ ใช้เครื่องมือที่เรียกว่า แมสสเปกโตร มิเตอร์ (mass spectrometer) มวลอะตอมเฉลี่ย A = ∑(มวลอะตอมแต่ละไอโซโทปA x %) 100 แนวคาถาม ถามเกี่ยวกับ มวลอะตอมเฉลี่ย A , มวลอะตอมแต่ละ ไอโซโทปของ A และ %ในธรรมชาติ Ex 1 คาร์บอนมีไอโซโทป 2 ชนิดที่เสถียรคือ C-12 กับ C-13 จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของคาร์บอน เมื่อกาหนดให้ C-12 ในธรรมชาติมี 98.99 % มีมวลอะตอม = 12 และ C-13 มี 1.01 % มีมวลอะตอม = 13
  • 7. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 7 | P a g e Ex 2 ธาตุ A มี 2 ไอโซโทป ไอโซโทปที่ 1 มีมวลอะตอม 23.08 มีปริมาณในธรรมชาติ 90.00 % ที่เหลือเป็น ปริมาณของไอโซโทปที่ 2 ถ้ามวลอะตอมของ ธาตุ A = 23.19 มวลอะตอมไอโซโทปที่ 2 เป็นเท่าใด (Ent’ มี.ค. 43 ) 1. 24.00 2. 24.18 3. 25.00 4. 25.50 Ex 3 Ex 11 ไนโตรเจนในธรรมชาติ ( มวลอะตอม = 14.004) ประกอบด้วย 2 ไอโซโทปคือ N14 และ N15 ปริมาณร้อยละของไอโซโทปทั้งสองของไนโตรเจนที่มีอยู่ในธรรมชาติ มีค่าเป็นเท่าใด( Ent ‘ ต.ค. 42) 1. N14 = 4, N15 = 96 2. N14 = 50, N15 = 50 3. N14 = 96, N15 = 4 4. N14 = 99.6, N15 = 0.4 โมล (The Mole) จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายและที่มาของโมลสารได้ 2. อธิบายความหมายและระบุชนิดของโมลอะตอม โมลโมเลกุล และโมลไอออนได้ 3. สรุป ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมล อนุภาค มวลเป็นกรัม และปริมาตรที่ STP ได้ 4.คานวณหาปริมาณสารได้ โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนโมล อนุภาค มวลเป็นกรัม และปริมาตรที่ STP การนับจานวนในชีวิตประจาวัน ชนิด การนับจานวน ปริมาณ รองเท้า คู่ 2 ปากกา โหล 12 กระดาษ รีม 480
  • 8. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 8 | P a g e ปริมาณสาร 1 โมล การบอกปริมาณสาร บอกในหน่วย โมล (mole : mol) เพราะ……………………………………… โมล หมายถึง หน่วยบอกปริมาณสาร ที่มีจานวนอนุภาค เท่ากับ อนุภาคใน 12 g ของ C-12 C – 12 หนัก 12 x 1.66 x 10 -24 g มีจานวนอะตอม = 1 อะตอม ดังนั้น ถ้า C -12 หนัก 12 g ก็จะมีจานวนอะตอม = gxx gx 24 1066.112 121  = 6.02 x 10 23 อะตอม ดังนั้น สารใด 1 โมล จึงมีจานวนอนุภาคเท่ากับ 6.02 x 10 23 Ex1. จงแสดงแนวคิด มวลอะตอมของ Na = 23 ถ้า Na หนัก 23 กรัม จะมี Na กี่อะตอม Ex 2 H2O มีมวลโมเลกุลเท่ากับ 18 ถ้า H2O หนัก 18 กรัมจะมีจานวนกี่โมเลกุล ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับอนุภาค สาร จานวนโมล ชนิดของโมล จานวนอนุภาค Na 1 1x6.02 x 10 23 Ca2+ 2
  • 9. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 9 | P a g e H2O 3 CaO 5 formula unit ความสัมพันธ์ระหว่างโมลโมเลกุล กับโมลอะตอม หรือโมลสูตรกับโมลไอออน สาร โมล โมเลกุล โมล อะตอม โมล ไอออน โมเลกุล อะตอม ไอออน CO2 1 3 - 1x6.02 x 10 23 3x6.02 x 10 23 - Al(NO3)3 1 C2H6 1 CaO 1 2 2 1x6.02 x 10 23 - 2x6.02 x 10 23 H2O 0.5 CH3COOH 0.5 Na3PO4 0.5 CuSO4.5H2O 2 C2H5OH 2 ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. อาร์กอนปริมาณ ……..โมล มีจานวน 5 x 6.02 x 10 23 อะตอม 2. จานวนอนุภาค 6.02 x 10 23 อนุภาคคิดเป็นสาร…….โมล 3. Na มีจานวนอะตอมมากกว่า Ca หมายความว่า Na มี…………….. มากกว่า Ca 4. CO2 0.2 mol มีจานวนโมเลกุล…………………………. โมเลกุล 5. แมว 10 โมล มีแมว…………………… ตัว 6. ก๊าซมีเทน 18.06 x 10 23 โมเลกุล คิดเป็น ……….โมลโมเลกุล 7. Fe และ H มีจานวนอะตอมเท่ากัน แสดงว่ามี ………………….เท่ากัน 8. H2S กับ Cl2 มีโมลโมเลกุลเท่ากัน แสดงว่ามี…………………….. เท่ากัน 9. ถ้าชั่งสารออกมาเป็น “กรัม” โดยให้ตัวเลขของมวลนั้น = ………………………… สารนั้นจะมีจานวน อนุภาค = 6.02 x 10 23 อนุภาค 10. หน่วยที่ใช้เรียกสารที่มีจานวนอนุภาค อนุภาค = 6.02 x 10 23 อนุภาค ว่า................................ 11. คาว่าอนุภาค หมายถึง สิ่งใดบ้าง..............................................................................................
  • 10. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 10 | P a g e 12. กรณีที่บอกอนุภาคของาตุที่เป็นโลหะ เราระบุชนิดของอนุภาคเป็น............................................... 13. ธาตุที่ประกอบกันเข้าเป็นโมเลกุล ถ้าไม่ระบุชนิดของอนุภาค อนุภาคจะหมายถึง............................... 14. เลขอาโวกาโดร มีค่าเท่ากับ............................................................................................................ 16. Na 1 mol มีจานวนอนุภาค = 6.02 x 10 23 อะตอม Na 2.5 mol จานวนอนุภาค = ………………..อะตอม 17. ปรอท 30.1 x 1022 อะตอม มีจานวน = ………………………………โมล 18. จงคานวณหาอนุภาคและระบุชนิดของอนุภาคของสารต่อไปนี้ a) 1.75 โมลของก๊าซออกซิเจน b) 2.00 โมลของ K+ c) 5.00 โมลของ Cu d) 0.25 โมลของ NH3 19. จงหาจานวนโมลของ a) Pb 1 อะตอม b) HCl 3.01 x 10 23 โมเลกุล 20) สารในข้อใดต่อไปนี้มีจานวนอะตอมของออกซิเจนมากที่สุด ( O = 16 ) a. อะตอมออกซิเจน 10 โมล b. แก๊สออกซิเจน 10 โมล c. แก๊สโอโซน 10 โมล ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับมวลเป็นกรัม 1. จงพิจารณาคากล่าวต่อไปนี้ สาร จานวนโมล มวลโมเลกุล มวลอะตอม มวล (กรัม) 12 C 1 - 12 12 H2O 1 18 - NaCl 1 - 58.5 CO2 1 44 - ( กาหนด มวลอะตอม C = 12, H = 1, O=16, Na = 23, Cl=35.5 ) 2. จงพิจารณาตารางต่อไปนี้แล้วเติมช่องว่างให้สมบูรณ์
  • 11. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 11 | P a g e สาร จานวนโมล มวลโมเลกุล มวลอะตอม มวล (กรัม) 12 C 2 - 12 2x12 H2O 3 18 - 3x18 NaCl 3 - CO2 3 - นักเรียนพบความสัมพันธ์ของสาร 1 โมล กับมวลเป็นกรัมอย่างไร..................................................................................... ............................................................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. Ex 1 แอสไพริน (C9H8O4) 0.01 โมล จงหา ก. มวล (กรัม) ของแอสไพริน ข. มวลของ C, H, O แนวคิด Ex 2 P4O10 หนัก 2.84 กรัม มีออกซิเจนหนักกี่กรัม (P=31, O=16) แนวคิด Ex 3 ฮีโมโกลบิน มีมวลโมเลกุล 67,200 g/mol มีเหล็กเป็นส่วนผสมร้อยละ 1/3 ในฮีโมโกลบิน 2.5 โมล จะมีเหล็ก อยู่กี่กรัม ( Fe = 56) แนวคิด
  • 12. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 12 | P a g e ความสัมพันธ์ระหว่างโมลกับปริมาตรของแก๊สที่ STP สภาวะที่ 1  แก๊สทุกชนิดจานวน 1 โมลมีปริมาตร 24.0 dm3 ที่ RTP  RTP ( Room Temperture and Pressure) T = 250 C , P= 1 atm  โมลของแก๊ส = ปริมาตร (dm3 ) 24.0 dm3 สภาวะที่ 2  แก๊สทุกชนิดจานวน 1 โมลมีปริมาตร 22.4 dm3 ที่ STP  STP ( Standard Temperture and Pressure) T = 00 C , P = 1 atm  โมลของแก๊ส = ปริมาตร (dm3 ) 22.4 dm3 Ex 1 จงหาปริมาตรในหน่วย dm3 ของ CO2 0.5 mol ที่ STP Ex 2 จงหาโมลของ CH4 4.48 dm3 ที่ STP Ex 3 จงหา ปริมาตรของ SO2 2.0 mol ที่ RTP Ex 4 จงหาจานวนโมลของ NH3 24000 cm3 ที่ RTP
  • 13. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 13 | P a g e ความสัมพันธ์ระหว่างโมล อนุภาค มวล (g) และปริมาตรของแก๊สที่ STP จงเขียนความสัมพันธ์ของสาร 1 โมลกับอนุภาค มวล (g) และ ปริมาตรของแก๊สที่ STP สาร โมลโมเลกุล จานวนโมเลกุล โมลอะตอม จานวนอะตอม มวล (กรัม) ปริมาตรที่ STP (dm3 ) CO2 1 6.02 x 10 23 3 3x6.02 x 10 23 44 22.4 NH3 2 C2H5OH 2 Al(NO3)3 1 O3 3 CH3COOH 0.5 พิจารณาข้อมูลจากตาราง แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ นักเรียนพบความสัมพันธ์ของสาร 1 โมลกับอนุภาค 1 โมลกับมวล และ1 โมลกับปริมาตรที่ STP อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… Ex 1 NH3 6.72 ลิตร ที่ STP ถ้าทาให้สลายตัวเป็นธาตุ จะได้ธาตุรวมกันทั้งสิ้นกี่อะตอม Ex 2 แก๊สไนโตรเจน 70 กรัมที่ STP จะมีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร ( N=14) Ex 3 สารประกอบชนิดหนึ่ง 1 โมเลกุลประกอบด้วย C 3 อะตอม, H 8 อะตอม, O 2 อะตอม ถ้าสารนี้ 1.806 x 1024 โมเลกุล จะมีมวลกี่กรัม ( C=12, H=1, O=16) Ex 4 A4B6 จานวน 6.02 x 1023 อะตอม จะมีปริมาตรเท่าใด ที่ STP
  • 14. ปริมาณสารสัมพันธ์ 1 ว30223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รวบรวมโดย คุณครูชวนชื่น มลิลา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนชุมแพศึกษา 14 | P a g e Ex 5 จงพิจารณาข้อความเกี่ยวกับแอมเฟตามีน ซึ่งมีสูตรเป็น C9H13N ว่าถูกหรือผิด เพราะอะไร 1. แอมเฟตามีน หนัก 0.135 g มีจานวนโมเลกุลเท่ากับ 6.02 x 1020 กรัม 2. แอมเฟตามีน 8 โมเลกุล มีมวลเท่ากับ 1.080x1.66x10-21 กรัม 3. แอมเฟตามีน 2.5 โมล มีมวล 135 กรัม Ex 6 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด เพราะอะไร 1. ทองคา 1 โมล มีจานวน 6.02 x 1023 อะตอม 3. แก๊สคลอรีน 1 โมลมี 6.02 x 1023 อะตอม 2. SO2 6.4 กรัม มีจานวนโมเลกุลเท่ากับ H2 0.5 โมล 4. CH4 2 โมล มีปริมาตรที่ STP เท่ากับ O2 64 กรัม