SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
1.2 งานสีอุตสาหกรรม
1.2.1 ชนิดของสีในงานอุตสาหกรรม
สีเป็นวัสดุช่างที่สาคัญ เพราะนอกจากจะใช้เพื่อให้ผลิตภัณฑ์เกิดความสวยงามน่าซื้อ น่าใช้แล้วยังใช้ป้ องกันสนิม
เหล็กไม่ให้ผุง่ายอีกด้วย ปัจจุบันมีการผลิตในประเทศไทยมากมายคุณภาพไม่แตกต่างกันกับต่างประเทศ เช่น สีตราผึ้ง ตรา
กัปตัน โจตัน ไอซีไอ และทีโอเอ เป็นต้น
สีเป็นวัสดุที่เหมาะสมมากที่สุดต่อการทาหรือพ่นสีเพื่อปกปิดผิวทั้งผิวไม้ปูน และดลหะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหมาะต่อ
การนาไปใช้กับวัสดุที่มีราคาถูกหรือที่มีผิวไม่สวยงาม ดังนั้นการทาหรือพ่นสีจึงทาให้วัสดุดังกล่าวมีคุณค่าและราคาเพิ่มขึ้น สี
เป็นวัสดุสังเคราะห์ที่ได้มาจากสารหลายชนิด สารแต่ละชนิดก็มีคุณสมบัติแตกต่างกันออกไปตามคุณสมบัติเฉพาะตัว ดังนั้น
การศึกษาคุณสมบัติของสารแต่ละชนิดก่อนที่จะนาสีไปใช้งาน จึงสามารถใช้เป็นแนวทางในการเลือกใช้สีได้อย่างถูกต้องตาม
ความต้องการ
สีแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆได้ดังนี้คือ
- สีน้ามัน
- สีเคลือบ
- สีแล็คเกอร์
- สีน้า
1. สีน้ามัน (Oil Paint) ประกอบด้วยPigment ที่ให้สีต่างๆ ผสมกับน้ามันวักแห้งซึ่งเป็นชนิดที่มีการพัฒนาให้แห้งเร็ว
ขึ้นคือ น้ามันตังอิ้วผสมสารเชิงพลาสติกที่เรียกว่าสีน้ามันเป็นสีที่แห้งได้ช้าต้องใช้เวลา4-5 ชั่วโมง น้ามันที่ผสมให้เจือจางเพ่อ
สะดวกในการทานั้นใช้น้ามันสน ( Turpentine ) หรือน้ามันแร่ที่ไม่มีกลิ่น มีจุดเดือดระหว่าง 130-160 องศาเซลเซียส สีน้ามัน
ถ้าใช้ทินเนอร์ผสมจะไม่ดี เพราะจะทาให้สีไม่เกาะชิ้นงานส่วนผสมอีกอย่างก็คือน้ายาชักแห้ง คือน้ายาที่ช่วยให้น้ายาละลายสี
แห้งเร็วขึ้นเพราะน้ามันที่ใช้ละลายสีนั้นแห้งช้ามากบางทีตั้งสาม สี่วันถึงจะแห้ง น้ายาซักแห้ง นี้อาจทาจากสารละลายผสม
ตะกั่วแดง แมงกานีสไดออกไซด์หรือสังกะสีซัลเฟต สีน้ามันมีหลายชนิด เช่น สี Primer , สีอลูมิเนียม สียาง , สีทาเรือ ฯลฯ
2. สีเคลือบ (Enamel) ประกอบด้วย Pigment ผสมกับน้ามันวาร์นิชเป็นตัวทาละลายน้ามันวาร์นิชแห้งได้โดยการ
ระเหยของสารละลาย น้ามันวาร์นิชที่ได้จากธรรมชาติที่กระป๋ องจะพิมพ์คาว่า Enamel เอาไว้จะทาให้เจือจางได้โดยผสม
น้ามันสน สารวาร์นิชที่ได้จากการสังเคราะห์จากพลาสติกชนิด Urea – formaldehyde ข้างกระป๋ องจะเขียนคาว่า ทาให้เจือจาง
ได้ด้วยทินเนอร์ซึ่งจะต้องระวังมากที่จะต้องผสมให้ถูกต้อง สีเคลือบให้ได้ดีทั้งทาและพ่นสี Enamel จัดเป็นสีแห้งช้าในการทา
สีโดยทั่วไป
3. สีแล็คเกอร์ (Lacquer) เป็นสีชนิดเร็วใช้ในงานพ่นได้ดีมากกว่าการทาประกอบด้วยสารประกอบที่สาคัญคือ
Pigment ส่วนตัวทาละลายคือสารเชิงพลาสติกชนิดไนโตรเซลลูโลส ซึ่งเป็นตัวทาให้เกิดฟิล์ม ฟิล์มของสีแล็คเกอร์จะมีความ
แข็งน้อยกว่าฟิล์มของสี Enamel
4. สีน้าหรือสีพลาสติก (Emulsion paint) มีองค์ประกอบที่สาคัญคือ Resin ที่เรียกว่า Polyvinyl acetate (PVA) ซึ่ง
ละลายในน้า มีคุณสมบัติเหมือนกาว คือเหนียวเกาะผิววัสดุต่างๆ ได้ดี นอกจากเหล็ก สีน้า PVA สามารถทาเป็นสีต่างๆ ได้โดย
ผสมแม่สีลงไปตัวที่ใช้ผสมเพื่อให้เจือจางคือ น้า ห้ามใช้น้ามันโดยเด็ดขาด เป็นสีที่นิยมใช้ทาผนังตึกทั่วไป
ชนิดของสี (Type of paints)
สีแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติแตกต่างกันออกไปตามชนิดของผงสี ตัวพาหะ ตัวปรับและตัวขยายที่ถูกนามาใช้เพื่อให้
เหมาะสมกับงานซึ่งแตกต่างกันออกไป สีเหล่านี้มีมากมายหลายชนิด แต่ที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบันได้แก่
1. สีฐานน้ามัน (Oil – base paint)
สีชนิดนี้บางทีเรียกสีทาบ้าน นิยมใช้เป็นสีทาภายนอก (Exterior paint) เป็นสีที่ใช้น้ามันเป็นตัวพาหะ หกติใช้สีน้ามัน
ลินสีด น้ามันตัง น้ามันปลา น้ามันถั่วเหลือง หรือน้ามันละหุ่งชนิดระเหยน้าการแห้งตัวของแผ่นฟิล์มของสีชนิดนี้จะขึ้นอยู่กับ
อัตราการระเหยตัวทาละลายและปฏิกิริยาระหว่างออกซิเจนในอากาศกับเนื้อสี ตัวยึดเหนี่ยวในสีเหล่านี้ประกอบด้วยทั้งน้ามัน
ชักแห้งตัวเดียว หรือผสมกับน้ามันชักแห้งกับยางไม้ธรรมชาติ หรือกับยางไม้สังเคราะห์ ตัวชักแห้งโลหะจะถูกเติมเข้าไปเพื่อ
เพิ่มความเร็วในการแห้งตัวชองสีด้วยการช่วยเร่งการทาปฏิกิริยาของออกซิเจนในอากาศกับเนื้อสี แต่อย่างไรก็ตาม
กระบวนการก็ยังเป็นไปอย่างช้าๆ ดังนั้นสีชนิดนี้หลังทาควรปล่อยทิ้งไว้2 วัน เพื่อให้แห้งก่อนที่จะทาครั้งต่อไป
สีชนิดนี้มีคุณสมบัติในการเกาะยึดได้ดีมาก ยืดหยุ่นตัวดี ซึมเข้าไปในไอน้าหรือก๊าซได้ดีกว่ายางสังเคราะห์ ทาง่าย
เหมาะกับงานไม้และงานเหล็ก ที่อยู่ท่ามกลางอากาศที่ไม่ปรกติ
2. สีอัลคิด (Alkyd paint)
สีชนิดนี้เป็นสีที่มีส่วนผสมของสีอัลคิด อันเกิดจากกรดและแอลกอฮอล์หลายชนิดทาปฏิกิริยากับน้ามันชักแห้ง การ
แห้งตัวหรือความเร็วในการบ่มของสีชนิดนี้จะเท่ากับหรือดีกว่าสีฐานน้ามันตัวทาละลาย และทินเนอร์ที่ใช้ก็เหมือนกับสีฐาน
น้ามันเช่นกัน แต่ถ้าเติมโทลูอีน ประมาณ 10-20 เปอร์เซ็นต์
ก็จะช่วยในการเจือจางและการทาความสะอาดดีขึ้น ส่วนพื้นที่ทาสีต่อการทา 1 ครั้งจะได้พื้นที่ประมาณ 300-400 ตารางฟุตต่อ
แกลลอน ความหนาของแผ่นต่อการทา 1 ครั้ง ประมาณ1-1 ½ มิลลิเมตร ระยะเวลาการแห้งตัวของแผ่นฟิล์มสีประมาณ15-25
ชั่วโมง เมื่อใช้ท่ามกลางบรรยากาศควรทาหนาประมาณ 4-5 มิลลิเมตร
สีชนิดนี้มีการเก็บรักษาความมันได้ดี มีความทนทานและความต้านทานต่อสภาพดินฟ้ าอากาศได้ดี เหมาะกับงานไม้
และงานเหล็กมากกว่าสีชนิดอื่นๆ
3. สีฟีโนลิค (Phenolic Varnish Paint)
สีชนิดนี้เป็นสียางสังเคราะห์อีกสีหนึ่งสีหนึ่งที่นิยมใช้กันมาก ส่วนประกอบของยางที่ใช้ในสีชนิดนี้ได้แก่ ฟีนอล
ฟอร์มาลดีไฮด์ และน้ามันชักแห้ง การแห้งตัวของสีชนิดนี้ก็เหมือนกับสีน้ามันยางชนิดอื่นๆ ตัวทาละลายและทินเนอร์เป็น
น้ามันแร่และน้ามันที่มีกลิ่นหอม
สีชนิดนี้มีคุณสมบัติต้านทานต่อน้าความชื้นและสารเคมีได้ดีกว่าสีฐานน้ามันและสีอัลคิดแต่อย่างไรก็ตามความ
ต้านทานต่อแสงอุลตราไวดลเลทจะต่ากว่าเล็กน้อย ดังนั้นเมื่อใช้ไปนานๆ สีจะคล้าเล็กน้อยและเนื้อสีจะแตกเป็นผงได้เร็วกว่า
ปกติ สีชนิดนี้เหมาะกับงานไม้และงานเหล็ก ที่ใช้ในน้าแต่ไม่ควรใช้กับสารเคมี กรด หรือด่าง
4.สีอีพ๊อกซี่เอสเตอร์ (Epoxy Ester Paint)
สีชนิดนี้เป็นสีที่มียางเป็นส่วนผสมที่สาคัญอีกสีหนึ่ง ส่วนประกอบของยางที่ใช้สีชนิดนี้ ได้แก่ เอพิคลอโรไฮดริน บิส
ฟินอลเอ กับน้ามันชักแห้ง การแห้งตัวของสีชนิดนี้ก็เหมือนกันกับสีน้ามันยางชนิดอื่นๆ
สีชนิดนี้มีคุณสมบัติทนทานต่อความชื้นและสารเคมี เหมาะกับงานไม้และงานเหล็ก นิยมนาไปใช้ในวงงาน
อุตสาหกรรมที่อยู่ท่ามกลางควันที่เกิดจากสารเคมี ไม่แนะนาให้ใช้กับงานที่ต้องจุ่มอยู่ในน้าหรืองานที่ต้องสัมผัสกับกรดหรือ
ด่างตลอดเวลาก่อนทาหรือพ่นจะต้องเตรียมพื้นที่ผิวให้ดี การทาอาจจะใช้แปรง ลูกกลิ้ง หรือเครื่องพ่นสีก็ได้
5. สีฐานน้า (Water – base paints)
สีชนิดนี้เป็นสีอีกชนิดหนึ่งที่มียางเป็นส่วนผสมที่สาคันเช่นกัน ส่วนประกอบของยางที่ใช้ในสีชนิดนี้ ได้แก่ สไตรีน-บิว
ทาเดียน โพลีไวนิลอะซิเตท หรือโพลีอะครีลิคละลายในน้า สีชนิดนี้มีคุณสมบัติในการเกาะยึดผิวปูนฉาบซีเมนและไม้ได้อย่าง
ดีเลิศ แต่ไม้ไม่แนะนาให้เป็นสีใช้ทาภายนอก เนื่องจากสามารถใช้สีฐานน้ามันที่ทนทานกว่าทาแทนได้ เป็นที่นิยมใช้ทาทั้ง
ภายในและภายนอก เพราะง่ายต่อการทา และการทาความสะอาด นอกจากนั้นยังแห้งเร็ว มีกลิ่นน้อย
สีฐานน้าจาแนกออกตามชนิดของยางที่ใช้ผสมได้หลายชนิด แต่โดยทั่วไปแล้วนิยมเรียกเป็นสีลาเท็ก ดังนั้นคาว่าสี
ลาเท็กจึงหมายถึงสีฐานน้าทุกชนิด สีชนิดนี้จะต้องเก็บรักษาในอุณหภูมิที่เหมาะสมเพื่อป้ องกันมิให้สีเกิดการแข็งตัวอันจะ
ทาให้สีเสียได้สีชนิดนี้ไม่แนะนาให้ใช้กับงานที่ต้องจุ่มอยู่ในน้าหรือฝังดินตลอดเวลา ไม่ควรใช้ในงานอุตสาหกรรม
6. สีเรืองแสง (Fluorescent Paints)
สีชนิดนี้มักจะถูกนาไปใช้กับงานพิเศษเนื่องจากมีคุณสมบัติในการสะท้อนแสง เมื่อมีแสงมากระทบ ผงสีที่ใช้ได้แก่ อี
โอซิน ฟลาวิน โรแดมมิน สังกะสีซัลไฟด์ หรือ ส่วนผสมของสังกะสีกับแคดเมียมซัลไฟด์ ละลายในยางสังเคราะห์เทอร์โม
พลาสติก จากนั้นนาไปบดให้ละเอียด ตัวพาหะที่ใช้ได้แก่ โพลีอะครีลิคแลคเคอร์ เนื่องจากมีความต้านทานต่อความชื้นและอยู่
ท่ามกลางดินฟ้าอากาศได้ดี นอกจากนั้นสีจะไม่คล้าเมื่อใช้ไปนานๆ
สีชนิดนี้เหมาะที่จะทาเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับเตือนภัย หรือแสดงความปลอดภัยต่างๆ กับงานไม้งาน
เหล็ก ท่ามกลางอากาศที่ไม่สกปรก ไม่ควรใช้กับงานที่จุ่มอยู่ในน้าหรืองานที่อยู่ท่ามกลางโรงงานอุตสาหกรรม การทาอาจใช้
แปรงหรือเครื่องพ่นสีก็ได้
7. สีทนไฟ (Fire – retardant paints)
สีชนิดนี้เป็นสีที่ผลิตออกมาเพื่อใช้กับงานพิเศษอีกชนิดหนึ่งเช่นกัน สีชนิดนี้มิใช่เป็นสีที่ไม่ไหม้ไฟแต่เป็นสีที่
สามารถช่วยลดอัตราการไหม้ไฟลงได้บ้าง นอกจากนั้นเมื่อสีชนิดนี้ลุกไหม้ติดไฟแล้วจะไม่ทาให้เกิดก๊าซพิษแต่จะทาให้
อุณหภูมิและการเผาไหม้ลดต่าลงกว่าจุดวาบไฟ สีชนิดนี้มีความต้านทานต่อการก่อตัวของเปลวไฟ ผงสีของสีชนิดนี้ได้แก่
สังกะสีและแอนติโมนีออกไซด์ แคลเซียมและตะกั่วคาร์บอเนต ส่วนพาหะได้แก่ซิลิคอน ยางคลอริเนต คลอริเนตพาราฟิน
หรือยางโพลีไวนีลคลอไรด์
สีชนิดนี้เหมาะกับงานภายในและงานไม้งานคอนกรีตและงานปูนฉาบ ไม่ควรใช้กับงานที่ต้องแช่อยู่ในน้าหรือ
ภายนอก ห้ามใช้ทาทับสีเก่า เพราะจะทาให้สีพองและลอกได้สีชนิดนี้เป็นสีด้าน ดังนั้นเมื่อต้องการความมันความเงางาม
จะต้องใช้สีชนิดอื่นทับ

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Presentazione Marcomi Srl Digitalia
Presentazione Marcomi Srl DigitaliaPresentazione Marcomi Srl Digitalia
Presentazione Marcomi Srl Digitaliamarcomi
 
งานโลหะแผ่น1 6
งานโลหะแผ่น1 6งานโลหะแผ่น1 6
งานโลหะแผ่น1 6Pannathat Champakul
 
Srn drama background
Srn drama backgroundSrn drama background
Srn drama backgroundhmfowler
 
Pov characterization theme
Pov characterization themePov characterization theme
Pov characterization thememelisssadcock123
 
Història geologica de catalunya
Història geologica de catalunyaHistòria geologica de catalunya
Història geologica de catalunyaAnna Giro
 
Morphoogy classroom notes
Morphoogy classroom notesMorphoogy classroom notes
Morphoogy classroom notesSamah Ab
 
UF5 aparatos para la nutrición I
UF5 aparatos para la nutrición IUF5 aparatos para la nutrición I
UF5 aparatos para la nutrición IMónica
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ศุภชัย พุทธรักษ์
 
Spring bootでweb バリデート編
Spring bootでweb バリデート編Spring bootでweb バリデート編
Spring bootでweb バリデート編なべ
 
Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編
Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編
Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編なべ
 
Unit 5 Ecosystems
Unit 5  EcosystemsUnit 5  Ecosystems
Unit 5 EcosystemsMónica
 
EVANS PAYNE cv2-3
EVANS PAYNE cv2-3EVANS PAYNE cv2-3
EVANS PAYNE cv2-3evans payne
 

Destaque (14)

Presentazione Marcomi Srl Digitalia
Presentazione Marcomi Srl DigitaliaPresentazione Marcomi Srl Digitalia
Presentazione Marcomi Srl Digitalia
 
งานโลหะแผ่น1 6
งานโลหะแผ่น1 6งานโลหะแผ่น1 6
งานโลหะแผ่น1 6
 
Srn drama background
Srn drama backgroundSrn drama background
Srn drama background
 
Pov characterization theme
Pov characterization themePov characterization theme
Pov characterization theme
 
Història geologica de catalunya
Història geologica de catalunyaHistòria geologica de catalunya
Història geologica de catalunya
 
Morphoogy classroom notes
Morphoogy classroom notesMorphoogy classroom notes
Morphoogy classroom notes
 
UF5 aparatos para la nutrición I
UF5 aparatos para la nutrición IUF5 aparatos para la nutrición I
UF5 aparatos para la nutrición I
 
For impact culture code
For impact culture codeFor impact culture code
For impact culture code
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐานงานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
 
Spring bootでweb バリデート編
Spring bootでweb バリデート編Spring bootでweb バリデート編
Spring bootでweb バリデート編
 
Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編
Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編
Spring bootでweb セキュリティ(ログイン認証)編
 
Unit 5 Ecosystems
Unit 5  EcosystemsUnit 5  Ecosystems
Unit 5 Ecosystems
 
EVANS PAYNE cv2-3
EVANS PAYNE cv2-3EVANS PAYNE cv2-3
EVANS PAYNE cv2-3
 

Mais de Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

งานโลหะแผ่น1 4

  • 1. 1.2 งานสีอุตสาหกรรม 1.2.1 ชนิดของสีในงานอุตสาหกรรม สีเป็นวัสดุช่างที่สาคัญ เพราะนอกจากจะใช้เพื่อให้ผลิตภัณฑ์เกิดความสวยงามน่าซื้อ น่าใช้แล้วยังใช้ป้ องกันสนิม เหล็กไม่ให้ผุง่ายอีกด้วย ปัจจุบันมีการผลิตในประเทศไทยมากมายคุณภาพไม่แตกต่างกันกับต่างประเทศ เช่น สีตราผึ้ง ตรา กัปตัน โจตัน ไอซีไอ และทีโอเอ เป็นต้น สีเป็นวัสดุที่เหมาะสมมากที่สุดต่อการทาหรือพ่นสีเพื่อปกปิดผิวทั้งผิวไม้ปูน และดลหะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหมาะต่อ การนาไปใช้กับวัสดุที่มีราคาถูกหรือที่มีผิวไม่สวยงาม ดังนั้นการทาหรือพ่นสีจึงทาให้วัสดุดังกล่าวมีคุณค่าและราคาเพิ่มขึ้น สี เป็นวัสดุสังเคราะห์ที่ได้มาจากสารหลายชนิด สารแต่ละชนิดก็มีคุณสมบัติแตกต่างกันออกไปตามคุณสมบัติเฉพาะตัว ดังนั้น การศึกษาคุณสมบัติของสารแต่ละชนิดก่อนที่จะนาสีไปใช้งาน จึงสามารถใช้เป็นแนวทางในการเลือกใช้สีได้อย่างถูกต้องตาม ความต้องการ สีแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆได้ดังนี้คือ - สีน้ามัน - สีเคลือบ - สีแล็คเกอร์ - สีน้า 1. สีน้ามัน (Oil Paint) ประกอบด้วยPigment ที่ให้สีต่างๆ ผสมกับน้ามันวักแห้งซึ่งเป็นชนิดที่มีการพัฒนาให้แห้งเร็ว ขึ้นคือ น้ามันตังอิ้วผสมสารเชิงพลาสติกที่เรียกว่าสีน้ามันเป็นสีที่แห้งได้ช้าต้องใช้เวลา4-5 ชั่วโมง น้ามันที่ผสมให้เจือจางเพ่อ สะดวกในการทานั้นใช้น้ามันสน ( Turpentine ) หรือน้ามันแร่ที่ไม่มีกลิ่น มีจุดเดือดระหว่าง 130-160 องศาเซลเซียส สีน้ามัน ถ้าใช้ทินเนอร์ผสมจะไม่ดี เพราะจะทาให้สีไม่เกาะชิ้นงานส่วนผสมอีกอย่างก็คือน้ายาชักแห้ง คือน้ายาที่ช่วยให้น้ายาละลายสี แห้งเร็วขึ้นเพราะน้ามันที่ใช้ละลายสีนั้นแห้งช้ามากบางทีตั้งสาม สี่วันถึงจะแห้ง น้ายาซักแห้ง นี้อาจทาจากสารละลายผสม ตะกั่วแดง แมงกานีสไดออกไซด์หรือสังกะสีซัลเฟต สีน้ามันมีหลายชนิด เช่น สี Primer , สีอลูมิเนียม สียาง , สีทาเรือ ฯลฯ 2. สีเคลือบ (Enamel) ประกอบด้วย Pigment ผสมกับน้ามันวาร์นิชเป็นตัวทาละลายน้ามันวาร์นิชแห้งได้โดยการ ระเหยของสารละลาย น้ามันวาร์นิชที่ได้จากธรรมชาติที่กระป๋ องจะพิมพ์คาว่า Enamel เอาไว้จะทาให้เจือจางได้โดยผสม น้ามันสน สารวาร์นิชที่ได้จากการสังเคราะห์จากพลาสติกชนิด Urea – formaldehyde ข้างกระป๋ องจะเขียนคาว่า ทาให้เจือจาง ได้ด้วยทินเนอร์ซึ่งจะต้องระวังมากที่จะต้องผสมให้ถูกต้อง สีเคลือบให้ได้ดีทั้งทาและพ่นสี Enamel จัดเป็นสีแห้งช้าในการทา สีโดยทั่วไป 3. สีแล็คเกอร์ (Lacquer) เป็นสีชนิดเร็วใช้ในงานพ่นได้ดีมากกว่าการทาประกอบด้วยสารประกอบที่สาคัญคือ Pigment ส่วนตัวทาละลายคือสารเชิงพลาสติกชนิดไนโตรเซลลูโลส ซึ่งเป็นตัวทาให้เกิดฟิล์ม ฟิล์มของสีแล็คเกอร์จะมีความ แข็งน้อยกว่าฟิล์มของสี Enamel 4. สีน้าหรือสีพลาสติก (Emulsion paint) มีองค์ประกอบที่สาคัญคือ Resin ที่เรียกว่า Polyvinyl acetate (PVA) ซึ่ง ละลายในน้า มีคุณสมบัติเหมือนกาว คือเหนียวเกาะผิววัสดุต่างๆ ได้ดี นอกจากเหล็ก สีน้า PVA สามารถทาเป็นสีต่างๆ ได้โดย ผสมแม่สีลงไปตัวที่ใช้ผสมเพื่อให้เจือจางคือ น้า ห้ามใช้น้ามันโดยเด็ดขาด เป็นสีที่นิยมใช้ทาผนังตึกทั่วไป
  • 2. ชนิดของสี (Type of paints) สีแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติแตกต่างกันออกไปตามชนิดของผงสี ตัวพาหะ ตัวปรับและตัวขยายที่ถูกนามาใช้เพื่อให้ เหมาะสมกับงานซึ่งแตกต่างกันออกไป สีเหล่านี้มีมากมายหลายชนิด แต่ที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบันได้แก่ 1. สีฐานน้ามัน (Oil – base paint) สีชนิดนี้บางทีเรียกสีทาบ้าน นิยมใช้เป็นสีทาภายนอก (Exterior paint) เป็นสีที่ใช้น้ามันเป็นตัวพาหะ หกติใช้สีน้ามัน ลินสีด น้ามันตัง น้ามันปลา น้ามันถั่วเหลือง หรือน้ามันละหุ่งชนิดระเหยน้าการแห้งตัวของแผ่นฟิล์มของสีชนิดนี้จะขึ้นอยู่กับ อัตราการระเหยตัวทาละลายและปฏิกิริยาระหว่างออกซิเจนในอากาศกับเนื้อสี ตัวยึดเหนี่ยวในสีเหล่านี้ประกอบด้วยทั้งน้ามัน ชักแห้งตัวเดียว หรือผสมกับน้ามันชักแห้งกับยางไม้ธรรมชาติ หรือกับยางไม้สังเคราะห์ ตัวชักแห้งโลหะจะถูกเติมเข้าไปเพื่อ เพิ่มความเร็วในการแห้งตัวชองสีด้วยการช่วยเร่งการทาปฏิกิริยาของออกซิเจนในอากาศกับเนื้อสี แต่อย่างไรก็ตาม กระบวนการก็ยังเป็นไปอย่างช้าๆ ดังนั้นสีชนิดนี้หลังทาควรปล่อยทิ้งไว้2 วัน เพื่อให้แห้งก่อนที่จะทาครั้งต่อไป สีชนิดนี้มีคุณสมบัติในการเกาะยึดได้ดีมาก ยืดหยุ่นตัวดี ซึมเข้าไปในไอน้าหรือก๊าซได้ดีกว่ายางสังเคราะห์ ทาง่าย เหมาะกับงานไม้และงานเหล็ก ที่อยู่ท่ามกลางอากาศที่ไม่ปรกติ 2. สีอัลคิด (Alkyd paint) สีชนิดนี้เป็นสีที่มีส่วนผสมของสีอัลคิด อันเกิดจากกรดและแอลกอฮอล์หลายชนิดทาปฏิกิริยากับน้ามันชักแห้ง การ แห้งตัวหรือความเร็วในการบ่มของสีชนิดนี้จะเท่ากับหรือดีกว่าสีฐานน้ามันตัวทาละลาย และทินเนอร์ที่ใช้ก็เหมือนกับสีฐาน น้ามันเช่นกัน แต่ถ้าเติมโทลูอีน ประมาณ 10-20 เปอร์เซ็นต์ ก็จะช่วยในการเจือจางและการทาความสะอาดดีขึ้น ส่วนพื้นที่ทาสีต่อการทา 1 ครั้งจะได้พื้นที่ประมาณ 300-400 ตารางฟุตต่อ แกลลอน ความหนาของแผ่นต่อการทา 1 ครั้ง ประมาณ1-1 ½ มิลลิเมตร ระยะเวลาการแห้งตัวของแผ่นฟิล์มสีประมาณ15-25 ชั่วโมง เมื่อใช้ท่ามกลางบรรยากาศควรทาหนาประมาณ 4-5 มิลลิเมตร สีชนิดนี้มีการเก็บรักษาความมันได้ดี มีความทนทานและความต้านทานต่อสภาพดินฟ้ าอากาศได้ดี เหมาะกับงานไม้ และงานเหล็กมากกว่าสีชนิดอื่นๆ 3. สีฟีโนลิค (Phenolic Varnish Paint) สีชนิดนี้เป็นสียางสังเคราะห์อีกสีหนึ่งสีหนึ่งที่นิยมใช้กันมาก ส่วนประกอบของยางที่ใช้ในสีชนิดนี้ได้แก่ ฟีนอล ฟอร์มาลดีไฮด์ และน้ามันชักแห้ง การแห้งตัวของสีชนิดนี้ก็เหมือนกับสีน้ามันยางชนิดอื่นๆ ตัวทาละลายและทินเนอร์เป็น น้ามันแร่และน้ามันที่มีกลิ่นหอม สีชนิดนี้มีคุณสมบัติต้านทานต่อน้าความชื้นและสารเคมีได้ดีกว่าสีฐานน้ามันและสีอัลคิดแต่อย่างไรก็ตามความ ต้านทานต่อแสงอุลตราไวดลเลทจะต่ากว่าเล็กน้อย ดังนั้นเมื่อใช้ไปนานๆ สีจะคล้าเล็กน้อยและเนื้อสีจะแตกเป็นผงได้เร็วกว่า ปกติ สีชนิดนี้เหมาะกับงานไม้และงานเหล็ก ที่ใช้ในน้าแต่ไม่ควรใช้กับสารเคมี กรด หรือด่าง 4.สีอีพ๊อกซี่เอสเตอร์ (Epoxy Ester Paint) สีชนิดนี้เป็นสีที่มียางเป็นส่วนผสมที่สาคัญอีกสีหนึ่ง ส่วนประกอบของยางที่ใช้สีชนิดนี้ ได้แก่ เอพิคลอโรไฮดริน บิส ฟินอลเอ กับน้ามันชักแห้ง การแห้งตัวของสีชนิดนี้ก็เหมือนกันกับสีน้ามันยางชนิดอื่นๆ สีชนิดนี้มีคุณสมบัติทนทานต่อความชื้นและสารเคมี เหมาะกับงานไม้และงานเหล็ก นิยมนาไปใช้ในวงงาน อุตสาหกรรมที่อยู่ท่ามกลางควันที่เกิดจากสารเคมี ไม่แนะนาให้ใช้กับงานที่ต้องจุ่มอยู่ในน้าหรืองานที่ต้องสัมผัสกับกรดหรือ ด่างตลอดเวลาก่อนทาหรือพ่นจะต้องเตรียมพื้นที่ผิวให้ดี การทาอาจจะใช้แปรง ลูกกลิ้ง หรือเครื่องพ่นสีก็ได้
  • 3. 5. สีฐานน้า (Water – base paints) สีชนิดนี้เป็นสีอีกชนิดหนึ่งที่มียางเป็นส่วนผสมที่สาคันเช่นกัน ส่วนประกอบของยางที่ใช้ในสีชนิดนี้ ได้แก่ สไตรีน-บิว ทาเดียน โพลีไวนิลอะซิเตท หรือโพลีอะครีลิคละลายในน้า สีชนิดนี้มีคุณสมบัติในการเกาะยึดผิวปูนฉาบซีเมนและไม้ได้อย่าง ดีเลิศ แต่ไม้ไม่แนะนาให้เป็นสีใช้ทาภายนอก เนื่องจากสามารถใช้สีฐานน้ามันที่ทนทานกว่าทาแทนได้ เป็นที่นิยมใช้ทาทั้ง ภายในและภายนอก เพราะง่ายต่อการทา และการทาความสะอาด นอกจากนั้นยังแห้งเร็ว มีกลิ่นน้อย สีฐานน้าจาแนกออกตามชนิดของยางที่ใช้ผสมได้หลายชนิด แต่โดยทั่วไปแล้วนิยมเรียกเป็นสีลาเท็ก ดังนั้นคาว่าสี ลาเท็กจึงหมายถึงสีฐานน้าทุกชนิด สีชนิดนี้จะต้องเก็บรักษาในอุณหภูมิที่เหมาะสมเพื่อป้ องกันมิให้สีเกิดการแข็งตัวอันจะ ทาให้สีเสียได้สีชนิดนี้ไม่แนะนาให้ใช้กับงานที่ต้องจุ่มอยู่ในน้าหรือฝังดินตลอดเวลา ไม่ควรใช้ในงานอุตสาหกรรม 6. สีเรืองแสง (Fluorescent Paints) สีชนิดนี้มักจะถูกนาไปใช้กับงานพิเศษเนื่องจากมีคุณสมบัติในการสะท้อนแสง เมื่อมีแสงมากระทบ ผงสีที่ใช้ได้แก่ อี โอซิน ฟลาวิน โรแดมมิน สังกะสีซัลไฟด์ หรือ ส่วนผสมของสังกะสีกับแคดเมียมซัลไฟด์ ละลายในยางสังเคราะห์เทอร์โม พลาสติก จากนั้นนาไปบดให้ละเอียด ตัวพาหะที่ใช้ได้แก่ โพลีอะครีลิคแลคเคอร์ เนื่องจากมีความต้านทานต่อความชื้นและอยู่ ท่ามกลางดินฟ้าอากาศได้ดี นอกจากนั้นสีจะไม่คล้าเมื่อใช้ไปนานๆ สีชนิดนี้เหมาะที่จะทาเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่ใช้สาหรับเตือนภัย หรือแสดงความปลอดภัยต่างๆ กับงานไม้งาน เหล็ก ท่ามกลางอากาศที่ไม่สกปรก ไม่ควรใช้กับงานที่จุ่มอยู่ในน้าหรืองานที่อยู่ท่ามกลางโรงงานอุตสาหกรรม การทาอาจใช้ แปรงหรือเครื่องพ่นสีก็ได้ 7. สีทนไฟ (Fire – retardant paints) สีชนิดนี้เป็นสีที่ผลิตออกมาเพื่อใช้กับงานพิเศษอีกชนิดหนึ่งเช่นกัน สีชนิดนี้มิใช่เป็นสีที่ไม่ไหม้ไฟแต่เป็นสีที่ สามารถช่วยลดอัตราการไหม้ไฟลงได้บ้าง นอกจากนั้นเมื่อสีชนิดนี้ลุกไหม้ติดไฟแล้วจะไม่ทาให้เกิดก๊าซพิษแต่จะทาให้ อุณหภูมิและการเผาไหม้ลดต่าลงกว่าจุดวาบไฟ สีชนิดนี้มีความต้านทานต่อการก่อตัวของเปลวไฟ ผงสีของสีชนิดนี้ได้แก่ สังกะสีและแอนติโมนีออกไซด์ แคลเซียมและตะกั่วคาร์บอเนต ส่วนพาหะได้แก่ซิลิคอน ยางคลอริเนต คลอริเนตพาราฟิน หรือยางโพลีไวนีลคลอไรด์ สีชนิดนี้เหมาะกับงานภายในและงานไม้งานคอนกรีตและงานปูนฉาบ ไม่ควรใช้กับงานที่ต้องแช่อยู่ในน้าหรือ ภายนอก ห้ามใช้ทาทับสีเก่า เพราะจะทาให้สีพองและลอกได้สีชนิดนี้เป็นสีด้าน ดังนั้นเมื่อต้องการความมันความเงางาม จะต้องใช้สีชนิดอื่นทับ