SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
เกษตรทฤษฏีใหม่
บทนำำ

   ปัญหำหลักของเกษตรกรในอดีตจนถึงปัจจุบันที่สำำคัญ
    ประกำรหนึ่ง คือ กำรขำดแคลนนำ้ำเพื่อเกษตรกรรม โดย
    เฉพำะอย่ำงยิงในเขตพื้นที่เกษตรที่อำศัยนำ้ำฝน ซึ่งเป็น
                  ่
    พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศที่อยู่ในเขตที่มีฝนค่อนข้ำงน้อย
    และส่วนมำกเป็นนำข้ำวและพืชไร่ เกษตรกรยังคงทำำกำร
    เพำะปลูกได้ปีละครั้งในช่วงฤดูฝนเท่ำนั้น และมีควำมเสี่ยง
    กับควำมเสียหำยอันเนื่องมำจำกควำมแปรปรวนของดิน ฟ้ำ
    อำกำศ และฝนทิ้งช่วง แม้ว่ำจะมีกำรขุดบ่อหรือสระเก็บนำ้ำ
    ไว้ใช้บ้ำงแต่ก็ไม่มีขนำดแน่นอน หรือมีปัจจัยอื่น ๆ ที่เป็น
    ปัญหำให้มีนำ้ำใช้ไม่เพียงพอ รวมทั้งระบบกำรปลูกพืชไม่มี
    หลักเกณฑ์ใด ๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว
   ด้วยเหตุนี้พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวจึงได้พระรำชทำน
    พระรำชดำำริเพื่อเป็นกำรช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบควำม
    ยำกลำำบำกดังกล่ำว ให้สำมำรถผ่ำนพ้นช่วงเวลำวิกฤติ
    โดยเฉพำะกำรขำดแคลนนำ้ำได้โดยไม่เดือดร้อนและยำก
๑. มีกำร
บริหำรและจัด
แบ่งที่ดินแปลง
เล็กออกเป็น
สัดส่วนที่
ชัดเจน เพื่อ
ประโยชน์
สูงสุดของ
เกษตรกรซึ่ง
ไม่เคยมีใคร
คิดมำก่อน
๒. มีกำร
คำำนวณโดย
หลักวิชำกำร
เกียวกับ
   ่
ปริมำณนำ้ำทีจะ
            ่
กักเก็บให้พอ
เพียงต่อกำร
เพำะปลูกได้
อย่ำงเหมำะสม
ตลอดปี
๓. มีกำร
ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น

 การจัดสรรพื้นที่อยู่อาศัยและที่ทำากิน
 ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน
  ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมายถึง
 พื้นที่ส่วนหนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขุดสระเก็บกักนำ้าเพื่อใช้
  เก็บกักนำ้าฝนในฤดูฝนและใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง
  ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์นำ้าและพืชนำ้าต่าง ๆ
 พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อ
  ใช้เป็นอาหารประจำาวันสำาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอด
  ปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึงตนเองได้
                                    ่
 พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น
  พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหารประจำา
  วัน หากเหลือบริโภคก็นำาไปจำาหน่าย
 พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนน
หลักการและแนวทางสำาคัญ
 ๑. เป็นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงที่เกษตรกร
  สามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับที่ประหยัดก่อน ทั้งนี้ชุมชน
  ต้องมีความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจในการช่วยเหลือซึ่งกัน
  และกัน ทำานองเดียวกับการ "ลงแขก" แบบดั้งเดิมเพื่อลด
  ค่าใช้จ่าย
 ๒. เนื่องจากข้าวเป็นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรือนจะต้อง
  บริโภค ดังนั้น จึงประมาณว่าครอบครัวหนึ่งทำานาประมาณ
  ๕ ไร่ จะทำาให้มีข้าวพอกินตลอดปี โดยไม่ต้องซื้อหาใน
  ราคาแพงเพื่อยึดหลักพึ่งตนเองได้อย่างมีอสรภาพ๓. ต้องมี
                                              ิ
  นำ้าเพื่อการเพาะปลูกสำารองไว้ใช้ในฤดูแล้ง หรือระยะฝน
  ทิ้งช่วงได้อย่างพอเพียง ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องกันที่ดินส่วน
  หนึ่งไว้ขุดสระนำ้า โดยมีหลักว่าต้องมีนำ้าเพียงพอที่จะ
  ทำาการเพาะปลูกได้ตลอดปี ทั้งนี้ได้พระราชทานพระ
  ราชดำาริเป็นแนวทางว่า ต้องมีนำ้า ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อ
 ๓. ต้องมีนำ้าเพือการเพาะปลูกสำารองไว้ใช้ในฤดู
                  ่
 แล้ง หรือระยะฝนทิงช่วงได้อย่างพอเพียง ดังนัน
                       ้                        ้
 จึงจำาเป็นต้องกันทีดินส่วนหนึ่งไว้ขุดสระนำ้า โดยมี
                     ่
 หลักว่าต้องมีนำ้าเพียงพอที่จะทำาการเพาะปลูกได้
 ตลอดปี ทังนีได้พระราชทานพระราชดำาริเป็น
            ้ ้
 แนวทางว่า ต้องมีนำ้า ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อการ
 เพาะปลูก ๑ ไร่ โดยประมาณ ฉะนัน เมือทำานา ๕
                                    ้   ่
 ไร่ ทำาพืชไร่หรือไม้ผลอีก ๕ ไร่ (รวมเป็น ๑๐ ไร่)
 จะต้องมีนำ้า ๑๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อปี๔. การจัด
 แบ่งแปลงทีดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดนี้
               ่
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวทรงคำานวณ และ
                           ่
 คำานึงจากอัตราการถือครองที่ดนถัวเฉลี่ยครัวเรือน
                                 ิ
ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า
   หลักการดังกล่าวมาแล้วเป็นทฤษฎีใหม่ขั้นที่หนึ่ง เมื่อ
    เกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ลงมือปฏิบัติตามขั้นที่
    หนึ่งในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว เกษตรกรก็จะสามารถ
    พัฒนาตนเองไปสู่ขั้นพออยู่พอกินและตัดค่าใช้จ่ายลงเกือบ
    หมด มีอิสระจากสภาพปัจจัยภายนอกและเพื่อให้มีผล
    สมบูรณ์ยิ่งขึ้น จึงควรที่จะต้องดำาเนินการตามขั้นทีสองและ
                                                      ่
    ขั้นทีสาม ต่อไปตามลำาดับ ดังนี้
          ่
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง
 ๑. การผลิต (พันธุพืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ)
                    ์
 ๒. การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจำาหน่าย
  ผลผลิต)
 ๓. การเป็นอยู่ (กะปิ นำ้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ)

 ๔. สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้)

 ๕. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา)

 ๖. สังคมและศาสนา
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม
   เมื่อดำาเนินการผ่านพ้นขั้นทีสองแล้ว เกษตรกรหรือกลุ่ม
                                ่
    เกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือ
    ติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น
    ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุน
    และพัฒนาคุณภาพชีวิต
ประโยชน์ของทฤษฎีใหม่
 ๑. ให้ประชาชนพออยู่พอกิจสมควรแก่อตภาพ ในระดับที่
                                          ั
  ประหยัด ไม่อดอยาก และเลียงตนเองได้ตามหลักปรัชญา
                                ้
  ของ "เศรษฐกิจพอเพียง"
 ๒. ในหน้าแล้งมีนำ้าน้อย ก็สามารถเอานำ้าที่เก็บไว้ในสระมา
  ปลูกพืชผักต่าง ๆ ที่ใช้นำ้าน้อยได้ โดยไม่ต้องเบียดเบียน
  ชลประทาน
 ๓. ในปีที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยมีนำ้าดีตลอดปี ทฤษฎีใหม่นี้
  ก็สามารถสร้างรายได้ให้รำ่ารวนขึ้นได้
 ๔. ในกรณีที่เกิดอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้นตัวและช่วยตัว
  เองได้ในระดับหนึ่ง โดยทางราชการไม่ต้องช่วยเหลือมาก
  เกินไป อันเป็นการประหยัดงบประมาณด้วย
ทฤษฎีใหม่ที่สมบูรณ์
   ทฤษฎีที่ดำาเนินการตามธรรมชาติอาศัยแหล่งนำ้าจากนำ้าฝน
    ประสิทธิภาพยังอยูในลักษณะ "หมิ่นเหม่" เพราะหากปีไหนฝนน้อย
                        ่
    อาจไม่เพียงพอ ฉะนั้นการที่จะทำาให้ทฤษฎีใหม่สมบูรณ์ได้นั้นคือ สระ
    เก็บกักนำ้าจะต้องทำาหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเต็มความ
    สามารถ โดยต้องมีแหล่งนำ้าขนาดใหญ่ ที่สามารถเพิ่มเติมนำ้าในสระ
    เก็บกักนำ้าให้เต็มอยู่เสมอ ดังเช่นในกรณีของการทดลองที่วัดมงคลชัย
    พัฒนา จังหวัดสระบุรี ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวทรงเสนอวิธีการ
                                                      ่
    ดังนี้
   ระบบทฤษฎีใหม่ที่สมบูรณ์ อ่างใหญ่ เติมอ่างเล็ก อ่างเล็ก เติมสระนำ้า

   จากภาพวงกลมเล็กคือสระนำ้าที่เกษตรกรขุดขึ้นตามทฤษฎีใหม่ เมื่อ
    เกิดช่วงขาดแคลนนำ้าในฤดูแล้ง เกษตรกรสามารถสูบนำ้ามาใช้
    ประโยชน์ได้ และหากนำ้าในสระนำ้าไม่เพียงพอก็ขอรับนำ้าจากอ่างห้วย
    หินขาว (อ่างเล็ก) ซึ่งได้ทำาระบบส่งนำ้าเชื่อมต่อทางท่อลงมายัง สระนำ้า
    ที่ได้ขุดไว้ในแต่ละแปลง ซึ่งจะช่วยให้สามารถมีนำ้าใช้ตลอดปี
   กรณีที่เกษตรกรใช้นำ้ากันมาก อ่างห้วยหินขาว (อ่างเล็ก) ก็อาจมี
    ปริมาณนำ้าไม่พอเพียง หากโครงการพัฒนาลุ่มนำ้าป่าสักหรือมีโครงการ
    ใหญ่ที่สมบูรณ์แล้ว ก็ใช้วิธีการผันนำ้าจากป่าสัก คืออ่างใหญ่ ต่อลง
    มายังอ่างเก็บนำ้าห้วยหินขาว (อ่างเล็ก) ก็จะช่วยให้มีปริมาณนำ้ามาเติม
    ในสระของเกษตรกรพอตลอดทั้งปี โดยไม่ต้องเสี่ยง
แหล่งทีมา
       ่
      http://web.ku.ac.th/king7
       2/2539/news.htm
นางสาว     จิรวดี ขันธประโยชน์ ม.4/6
 เลขที่ 1

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a เกษตรทฤษฏีใหม่

เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54SkyPrimo
 
Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54SkyPrimo
 
Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54SkyPrimo
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำnunticha
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่THESKYsorha
 
โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.muk290140
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนAnantaya
 
การดูแลสุขาภิบาลสัตว์เบื้องต้น
การดูแลสุขาภิบาลสัตว์เบื้องต้นการดูแลสุขาภิบาลสัตว์เบื้องต้น
การดูแลสุขาภิบาลสัตว์เบื้องต้นweskaew yodmongkol
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงsavokclash
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริKawow
 
โครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวโครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวJrd Babybox
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)Nutthakorn Songkram
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่Chanapun Kongsomnug
 

Semelhante a เกษตรทฤษฏีใหม่ (20)

เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54
 
Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54
 
Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54Farming System 23/06/54
Farming System 23/06/54
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 
โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรแบบยั่งยืน
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
การดูแลสุขาภิบาลสัตว์เบื้องต้น
การดูแลสุขาภิบาลสัตว์เบื้องต้นการดูแลสุขาภิบาลสัตว์เบื้องต้น
การดูแลสุขาภิบาลสัตว์เบื้องต้น
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง  ตามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
 
โครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวโครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าว
 
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
4 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (โสภาพิมพ์)
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่
 

เกษตรทฤษฏีใหม่

  • 1.
  • 3. บทนำำ  ปัญหำหลักของเกษตรกรในอดีตจนถึงปัจจุบันที่สำำคัญ ประกำรหนึ่ง คือ กำรขำดแคลนนำ้ำเพื่อเกษตรกรรม โดย เฉพำะอย่ำงยิงในเขตพื้นที่เกษตรที่อำศัยนำ้ำฝน ซึ่งเป็น ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศที่อยู่ในเขตที่มีฝนค่อนข้ำงน้อย และส่วนมำกเป็นนำข้ำวและพืชไร่ เกษตรกรยังคงทำำกำร เพำะปลูกได้ปีละครั้งในช่วงฤดูฝนเท่ำนั้น และมีควำมเสี่ยง กับควำมเสียหำยอันเนื่องมำจำกควำมแปรปรวนของดิน ฟ้ำ อำกำศ และฝนทิ้งช่วง แม้ว่ำจะมีกำรขุดบ่อหรือสระเก็บนำ้ำ ไว้ใช้บ้ำงแต่ก็ไม่มีขนำดแน่นอน หรือมีปัจจัยอื่น ๆ ที่เป็น ปัญหำให้มีนำ้ำใช้ไม่เพียงพอ รวมทั้งระบบกำรปลูกพืชไม่มี หลักเกณฑ์ใด ๆ และส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว  ด้วยเหตุนี้พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวจึงได้พระรำชทำน พระรำชดำำริเพื่อเป็นกำรช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบควำม ยำกลำำบำกดังกล่ำว ให้สำมำรถผ่ำนพ้นช่วงเวลำวิกฤติ โดยเฉพำะกำรขำดแคลนนำ้ำได้โดยไม่เดือดร้อนและยำก
  • 4. ๑. มีกำร บริหำรและจัด แบ่งที่ดินแปลง เล็กออกเป็น สัดส่วนที่ ชัดเจน เพื่อ ประโยชน์ สูงสุดของ เกษตรกรซึ่ง ไม่เคยมีใคร คิดมำก่อน ๒. มีกำร คำำนวณโดย หลักวิชำกำร เกียวกับ ่ ปริมำณนำ้ำทีจะ ่ กักเก็บให้พอ เพียงต่อกำร เพำะปลูกได้ อย่ำงเหมำะสม ตลอดปี ๓. มีกำร
  • 5. ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น  การจัดสรรพื้นที่อยู่อาศัยและที่ทำากิน  ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน ตามอัตราส่วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมายถึง  พื้นที่ส่วนหนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขุดสระเก็บกักนำ้าเพื่อใช้ เก็บกักนำ้าฝนในฤดูฝนและใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์นำ้าและพืชนำ้าต่าง ๆ  พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อ ใช้เป็นอาหารประจำาวันสำาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอด ปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึงตนเองได้ ่  พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหารประจำา วัน หากเหลือบริโภคก็นำาไปจำาหน่าย  พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนน
  • 6. หลักการและแนวทางสำาคัญ  ๑. เป็นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงที่เกษตรกร สามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับที่ประหยัดก่อน ทั้งนี้ชุมชน ต้องมีความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจในการช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน ทำานองเดียวกับการ "ลงแขก" แบบดั้งเดิมเพื่อลด ค่าใช้จ่าย  ๒. เนื่องจากข้าวเป็นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรือนจะต้อง บริโภค ดังนั้น จึงประมาณว่าครอบครัวหนึ่งทำานาประมาณ ๕ ไร่ จะทำาให้มีข้าวพอกินตลอดปี โดยไม่ต้องซื้อหาใน ราคาแพงเพื่อยึดหลักพึ่งตนเองได้อย่างมีอสรภาพ๓. ต้องมี ิ นำ้าเพื่อการเพาะปลูกสำารองไว้ใช้ในฤดูแล้ง หรือระยะฝน ทิ้งช่วงได้อย่างพอเพียง ดังนั้นจึงจำาเป็นต้องกันที่ดินส่วน หนึ่งไว้ขุดสระนำ้า โดยมีหลักว่าต้องมีนำ้าเพียงพอที่จะ ทำาการเพาะปลูกได้ตลอดปี ทั้งนี้ได้พระราชทานพระ ราชดำาริเป็นแนวทางว่า ต้องมีนำ้า ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อ
  • 7.  ๓. ต้องมีนำ้าเพือการเพาะปลูกสำารองไว้ใช้ในฤดู ่ แล้ง หรือระยะฝนทิงช่วงได้อย่างพอเพียง ดังนัน ้ ้ จึงจำาเป็นต้องกันทีดินส่วนหนึ่งไว้ขุดสระนำ้า โดยมี ่ หลักว่าต้องมีนำ้าเพียงพอที่จะทำาการเพาะปลูกได้ ตลอดปี ทังนีได้พระราชทานพระราชดำาริเป็น ้ ้ แนวทางว่า ต้องมีนำ้า ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อการ เพาะปลูก ๑ ไร่ โดยประมาณ ฉะนัน เมือทำานา ๕ ้ ่ ไร่ ทำาพืชไร่หรือไม้ผลอีก ๕ ไร่ (รวมเป็น ๑๐ ไร่) จะต้องมีนำ้า ๑๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อปี๔. การจัด แบ่งแปลงทีดินเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดนี้ ่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวทรงคำานวณ และ ่ คำานึงจากอัตราการถือครองที่ดนถัวเฉลี่ยครัวเรือน ิ
  • 8. ทฤษฎีใหม่ขั้นก้าวหน้า  หลักการดังกล่าวมาแล้วเป็นทฤษฎีใหม่ขั้นที่หนึ่ง เมื่อ เกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ลงมือปฏิบัติตามขั้นที่ หนึ่งในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว เกษตรกรก็จะสามารถ พัฒนาตนเองไปสู่ขั้นพออยู่พอกินและตัดค่าใช้จ่ายลงเกือบ หมด มีอิสระจากสภาพปัจจัยภายนอกและเพื่อให้มีผล สมบูรณ์ยิ่งขึ้น จึงควรที่จะต้องดำาเนินการตามขั้นทีสองและ ่ ขั้นทีสาม ต่อไปตามลำาดับ ดังนี้ ่
  • 9. ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง  ๑. การผลิต (พันธุพืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) ์  ๒. การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจำาหน่าย ผลผลิต)  ๓. การเป็นอยู่ (กะปิ นำ้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ)  ๔. สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้)  ๕. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา)  ๖. สังคมและศาสนา
  • 10. ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม  เมื่อดำาเนินการผ่านพ้นขั้นทีสองแล้ว เกษตรกรหรือกลุ่ม ่ เกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือ ติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุน และพัฒนาคุณภาพชีวิต
  • 11. ประโยชน์ของทฤษฎีใหม่  ๑. ให้ประชาชนพออยู่พอกิจสมควรแก่อตภาพ ในระดับที่ ั ประหยัด ไม่อดอยาก และเลียงตนเองได้ตามหลักปรัชญา ้ ของ "เศรษฐกิจพอเพียง"  ๒. ในหน้าแล้งมีนำ้าน้อย ก็สามารถเอานำ้าที่เก็บไว้ในสระมา ปลูกพืชผักต่าง ๆ ที่ใช้นำ้าน้อยได้ โดยไม่ต้องเบียดเบียน ชลประทาน  ๓. ในปีที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยมีนำ้าดีตลอดปี ทฤษฎีใหม่นี้ ก็สามารถสร้างรายได้ให้รำ่ารวนขึ้นได้  ๔. ในกรณีที่เกิดอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้นตัวและช่วยตัว เองได้ในระดับหนึ่ง โดยทางราชการไม่ต้องช่วยเหลือมาก เกินไป อันเป็นการประหยัดงบประมาณด้วย
  • 12. ทฤษฎีใหม่ที่สมบูรณ์  ทฤษฎีที่ดำาเนินการตามธรรมชาติอาศัยแหล่งนำ้าจากนำ้าฝน ประสิทธิภาพยังอยูในลักษณะ "หมิ่นเหม่" เพราะหากปีไหนฝนน้อย ่ อาจไม่เพียงพอ ฉะนั้นการที่จะทำาให้ทฤษฎีใหม่สมบูรณ์ได้นั้นคือ สระ เก็บกักนำ้าจะต้องทำาหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเต็มความ สามารถ โดยต้องมีแหล่งนำ้าขนาดใหญ่ ที่สามารถเพิ่มเติมนำ้าในสระ เก็บกักนำ้าให้เต็มอยู่เสมอ ดังเช่นในกรณีของการทดลองที่วัดมงคลชัย พัฒนา จังหวัดสระบุรี ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวทรงเสนอวิธีการ ่ ดังนี้  ระบบทฤษฎีใหม่ที่สมบูรณ์ อ่างใหญ่ เติมอ่างเล็ก อ่างเล็ก เติมสระนำ้า  จากภาพวงกลมเล็กคือสระนำ้าที่เกษตรกรขุดขึ้นตามทฤษฎีใหม่ เมื่อ เกิดช่วงขาดแคลนนำ้าในฤดูแล้ง เกษตรกรสามารถสูบนำ้ามาใช้ ประโยชน์ได้ และหากนำ้าในสระนำ้าไม่เพียงพอก็ขอรับนำ้าจากอ่างห้วย หินขาว (อ่างเล็ก) ซึ่งได้ทำาระบบส่งนำ้าเชื่อมต่อทางท่อลงมายัง สระนำ้า ที่ได้ขุดไว้ในแต่ละแปลง ซึ่งจะช่วยให้สามารถมีนำ้าใช้ตลอดปี  กรณีที่เกษตรกรใช้นำ้ากันมาก อ่างห้วยหินขาว (อ่างเล็ก) ก็อาจมี ปริมาณนำ้าไม่พอเพียง หากโครงการพัฒนาลุ่มนำ้าป่าสักหรือมีโครงการ ใหญ่ที่สมบูรณ์แล้ว ก็ใช้วิธีการผันนำ้าจากป่าสัก คืออ่างใหญ่ ต่อลง มายังอ่างเก็บนำ้าห้วยหินขาว (อ่างเล็ก) ก็จะช่วยให้มีปริมาณนำ้ามาเติม ในสระของเกษตรกรพอตลอดทั้งปี โดยไม่ต้องเสี่ยง
  • 13. แหล่งทีมา ่  http://web.ku.ac.th/king7 2/2539/news.htm
  • 14. นางสาว จิรวดี ขันธประโยชน์ ม.4/6 เลขที่ 1