SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
Baixar para ler offline
การประชาเสวนาหาทางออก
PUBLIC DELIBERATION
การประชาเสวนาหาทางออกในระบอบประชาธิปไตยเป็นปฏิบัติการทางการเมืองของพลเมืองที่นาไปสู่การตัดสินใจที่สะท้อนความ
คิดเห็นของส่วนรวมที่ผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนมุมมองทัศนะมาอย่างรอบคอบโดยไม่มีการจากัดความแตกต่างของความคิดเห็น
พลเมืองยังคงมีประเด็นของตนเอง แต่ทว่าพวกเขาจะเข้าใจได้มากขึ้นว่าทาไมคนอื่นจึงมีความคิดเห็นต่างออกไป
การประชาเสวนาหาทางออกคือการทาให้พลเมืองสามารถทางานร่วมกันได้อย่างฉลาดและเหมาะสม ตัดสินใจโดยใช้เหตุผล ไม่
รีบเร่งสรุปโดยไม่ได้คิดถึงผลลัพธ์ของสิ่งที่กาลังจะตามมาจากการกระทาหรือไม่สอดคล้องกับสิ่งที่มีคุณค่าของพวกเขา การตัดสินใจที่ดี
ของพลเมืองเกิดจากการใช้ดุลยพินิจในการชั่งนาหนักระหว่างทางเลือกต่างๆ ที่ก้าวผ่านความตึงเครียดของการถกเถียงไปได้โดยสันติ
ความสาคัญ
การประชาเสวนาหาทางออกในระบอบประชาธิปไตย
คือการสร้างการเรียนรู้ของพลเมืองให้มีพลังการทางานร่วมกัน
นาสังคมออกจากความขัดแย้งที่หาทางออกไม่ได้ โดยการทาให้
ทุกคนเป็นพลเมืองที่รู้จักรับฟังกัน ใช้เหตุผล ไตร่ตรองหาทาง
เลือก และร่วมกันตัดสินใจอย่างชาญฉลาดเพื่อสังคมส่วนรวม
คุณค่าของการประชาเสวนาหาทางออกคือการทาให้
วิถีทางของระบอบประชาธิปไตยได้รับการตอบสนองจากกลุ่ม
พลเมืองที่รู้สึกแปลกแยกและถูกปิดกันจากระบบการเมือง
การประชาเสวนาคือวิธีสร้างการตัดสินใจที่ดีที่
เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ควรทา และสอดคล้องกับสิ่งที่ถูกพิจารณาว่ามี
ความสาคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีของพลเมืองซึ่งไม่ใช่ให้
ผู้เชี่ยวชาญบอกว่าอะไรควรจะเป็น แต่เป็นเรื่องของการตัดสิน
ชั่งนาหนักของพลเมืองระหว่างการกระทาที่เป็นไปได้กับสิ่งที่
พวกเขาคิดว่ามีคุณค่า โดยการตัดสินใจเกี่ยวข้องกับการกาหนด
ว่าอะไรคือประเด็น การระบุทางเลือกสาหรับการดาเนินการและทรัพยากรที่ต้องใช้ โดยทางเลือกต่างๆ จะถูกเปิดเผยชัดเจนแก่พลเมือง
แม้บางทางเลือกไม่ใช่ตัวเลือกดีที่สุด แต่พลเมืองก็ต้องค้นหาทางเลือกเพื่อจัดการกับปัญหาโดยพิจารณาข้อดี-ข้อเสียของแต่ละทางเลือก
ทังนีเพราะพลเมืองมักเริ่มต้นด้วยการปฏิเสธการมีปัญหาหรือตาหนิความยุ่งยากของมันต่อบุคคลอื่น พลเมืองจะคิดแก้ปัญหา
เมื่อเป็นสิ่งที่พวกเขาเห็นว่ามีค่า การประชาเสวนาจะทาให้พลเมืองคิดและเป็นเจ้าของปัญหาของเขาเอง ขณะเดียวกันก็ควบคุมอารมณ์
ตนเองได้ในการหาแนวทางแก้ไขที่มีการถกเถียงต่อสู้ ไม่ปฏิเสธปัญหาหรือตาหนิผู้อื่น แต่เผชิญหน้ากับทางเลือกที่ยากลาบากของการ
ตัดสินใจสาธารณะอันจะนาไปสู่แนวทางการแก้ไขที่เป็นไปได้ที่ดีกว่าและการตัดสินใจที่เหมาะสมต่อไป
ภาพอนาคต
มีการนาเสนอภาพอนาคต (Scenario) ในหัวข้อที่จะประชาเสวนากันก่อนเพื่อให้เป็นแนวทางสาหรับผู้เข้าร่วมประชาเสวนา
เห็นภาพโดยรวมของระบบหรือหัวข้อที่จะเสวนาว่ามีข้อดี-เสียอย่างไร ส่วนใหญ่มีไม่น้อยกว่า ๒ ภาพ และมักเป็นหัวข้อหรือประเด็นใน
อนาคตโดยผ่านการนาเสนอของผู้ที่ศึกษาค้นคว้าข้อมูลมาก่อนเพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันในมุมมองของ
ตัวเองที่มีอยู่เปรียบเทียบกับภาพอนาคตต่างๆ ที่ถูกนาเสนอ เพื่อให้ได้ข้อตกลงที่เป็นที่ยอมรับซึ่งกันและกันของผู้ร่วมประชาเสวนา
การประชาเสวนาหาทางออก PUBLIC DELIBERATION
ปฏิบัติการทางการเมืองของพลเมืองเพื่อผ่าทางตันประเด็นปัญหาสาธารณะ
การประชาเสวนาหาทางเป็นปฏิบัติงานร่วมกันของพลเมืองเพื่อดาเนินการแก้ไขปัญหาที่มีร่วมกันโดยการเปรียบเทียบน้าหนักของ
การกระทาที่เป็นไปได้กับสิ่งที่มีคุณค่าลึกๆ ต่อพลเมือง ซึ่งการให้คุณค่านี้ต้องเกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังการชั่งน้าหนัก เปรียบดังการ
สารวจเส้นทางที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุดหรือเกิดแนวทางการแก้ไขที่เป็นไปได้ที่ดีกว่าในการแก้ไขปัญหานั้นๆ
ขั้นตอนการจัดการปัญหาสาธารณะ
๑) การตั้งชื่อหรือนิยามปัญหา: การตังชื่อหรือนิยามปัญหา
สาธารณะเป็นวิธีการทางการเมืองเพราะชื่อที่สาธารณชนตัง
ให้กับปัญหาที่เกิดขึนจะมีผลต่อแนวทางการแก้ไขปัญหานัน
๒) การกาหนดกรอบปัญหา: หลังจากปัญหาถูกตังชื่อหรือ
นิยามแล้วจะทาให้สามารถกาหนดกรอบของปัญหาได้ และ
นาไปสู่การพูดคุยเกี่ยวกับปัญหาและพัฒนาทางเลือกว่ามี
วิธีการไหนที่ทาได้ เรียกว่า ‘การกาหนดกรอบของทางเลือก’
๓) การประชาเสวนาหาทางออก: การประชาเสวนาหาทาง
ออกเกิดขึนเมื่อคู่กรณีเริ่มประเมินความเป็นไปได้ของผลลัพธ์ที่
จะตามมาของแนวทางการดาเนินการหรือวิธีการต่างๆ และเริ่ม
ชั่งนาหนักต่อผลตามมาที่เป็นไปได้แตกต่างไปจากสิ่งที่มี
ความหมายต่อตัวเขา เป็นการสร้างความเข้าใจร่วมกันใน
ประเด็นปัญหาที่เปลี่ยนจาก ‘พวกเขา’ มาเป็น ‘พวกเรา’
๔) การดาเนินการตัดสินใจ: เมื่อมีการประชาเสวนาหาทาง
ออกกับทางเลือกที่แตกต่างกันแล้วก็จะนาไปสู่การตัดสินใจใน
การดาเนินการที่จะแก้ไขปัญหานัน อาจจะเป็นพลเมืองมา
ทางานร่วมกัน หรือให้หน่วยงานที่มีอยู่แล้วดาเนินการ
๕) การดาเนินการโดยสาธารณะ: พลเมืองนาแนวทางการ
ตัดสินใจแก้ปัญหาของการสานเสวนามาปฏิบัติ
๖) การเรียนรู้ของพลเมือง: หลังจากพลเมืองมีส่วนร่วมในการ
ประชาเสวนาหาทางออกแล้วจะประเมินประสบการณ์ของการ
เรียนรู้ร่วมกันหรือการดาเนินการร่วมกัน เรียกว่า ‘การเรียนรู้
ของประชาสังคม’
เป้าหมาย
เป้าหมายของการประชาเสวนาหาทางออกไม่ใช่การเลือก
ทางเลือก ๑ ทาง และปฏิเสธทางเลือกหลักอื่นๆ อีก ๓-๔
ทางเลือกเหมือนดังการเลือกตัง แต่เป็นการแสดงลาดับที่มี
ค่าสูงสุดขณะที่มีผลทางลบที่จะเกิดขึนน้อยที่สุดจากการ
วิเคราะห์ประโยชน์ของแต่ละทางเลือก ซึ่งจะทาให้เกิดกรอบ
(Framing) สาหรับการแก้ไขปัญหาและนาไปสู่การตัดสินใจ
สาธารณะ (Public Judgment) ที่ผ่านการคานวณต้นทุนต่างๆ
และผลที่จะเกิดขึนในระยะยาวของการกระทามาแล้ว แต่
อย่างไรก็ดีการประชาเสวนาไม่ใช่คาตอบสุดท้ายของทุกปัญหา
ผลลัพธ์
ผลลัพธ์ของการประชาเสวนาที่สามารถจัดได้ตังแต่ ๑๐ คน
จนถึง ๑,๐๐๐ คน คือการกระตุ้นให้พลเมืองได้มาสนทนากัน
และกระทาร่วมกัน และได้พัฒนาความรู้สึกที่ดีขึนต่อประเด็น
ปัญหาที่เผชิญอยู่และเข้าใจที่ดีขึนต่อผู้อื่นที่เผชิญปัญหาร่วมกัน
เกิดการนิยามปัญหาใหม่ที่จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่าง
เป็นรูปธรรมของการแก้ปัญหาหรือการปรับเปลี่ยนนโยบาย
สาธารณะ จากการที่ความห่วงกังวลที่เป็นพืนฐานร่วมกันของ
พลเมืองถูกพูดถึงและอธิบายด้วยภาษาของพวกเขาเองมากกว่า
จะเป็นถ้อยคาภาษาเชิงเทคนิคของผู้เชี่ยวชาญ
กุญแจความสาเร็จ
ความสาเร็จของเวทีสาธารณะเพื่อการสนทนาคือการทาให้เกิด
การคิดร่วมกันของสาธารณะ และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ที่ทาให้เกิดความเข้าใจร่วมกันในประเด็นปัญหาว่าควรทาอะไร
ถึงแม้อาจต้องใช้ระยะเวลานานหลายปีผ่านกระบวนการเสวนา
แบบค่อยเป็นค่อยไป แต่อย่างไรก็ตามจะสาเร็จไม่ได้ตราบใดไม่
มีคาถามว่าใครต้องการทาและทาอย่างไร
การมีผู้เอือกระบวนการกลุ่ม (Moderator) ที่มีประสบการณ์
ไม่อคติเข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ทาหน้าที่ค้นหาจุดเหมือนกัน
ของแต่ละคนเพื่อหาทางออกในประเด็นปัญหานันร่วมกัน
สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ชัน ๓ อาคารสุขภาพแห่งชาติ ๘๘/๓๙ ถ.ติวานนท์ ๑๔ หมู่ ๔ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบรี ๑๑๐๐๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๑-๒ www.nationalhealth.or.th
03 public deliberation

Mais conteúdo relacionado

Destaque

11 the right to health
11 the right to health11 the right to health
11 the right to healthFreelance
 
09 health promotion
09 health promotion09 health promotion
09 health promotionFreelance
 
Questions on India's mind - Pregnancy and Money
Questions on India's mind - Pregnancy and MoneyQuestions on India's mind - Pregnancy and Money
Questions on India's mind - Pregnancy and MoneyDeepali Panjabi
 
08 mental health
08 mental health08 mental health
08 mental healthFreelance
 
Pinnacle Business Review
Pinnacle Business ReviewPinnacle Business Review
Pinnacle Business Reviewvwseifert
 
Introduction To Ruby On Rails
Introduction To Ruby On RailsIntroduction To Ruby On Rails
Introduction To Ruby On RailsSteve Keener
 
India's Economic Profile
India's Economic ProfileIndia's Economic Profile
India's Economic Profilezendeem
 
The Law of Diminishing Marginal Utility
The Law of Diminishing Marginal UtilityThe Law of Diminishing Marginal Utility
The Law of Diminishing Marginal UtilityDeepali Panjabi
 

Destaque (8)

11 the right to health
11 the right to health11 the right to health
11 the right to health
 
09 health promotion
09 health promotion09 health promotion
09 health promotion
 
Questions on India's mind - Pregnancy and Money
Questions on India's mind - Pregnancy and MoneyQuestions on India's mind - Pregnancy and Money
Questions on India's mind - Pregnancy and Money
 
08 mental health
08 mental health08 mental health
08 mental health
 
Pinnacle Business Review
Pinnacle Business ReviewPinnacle Business Review
Pinnacle Business Review
 
Introduction To Ruby On Rails
Introduction To Ruby On RailsIntroduction To Ruby On Rails
Introduction To Ruby On Rails
 
India's Economic Profile
India's Economic ProfileIndia's Economic Profile
India's Economic Profile
 
The Law of Diminishing Marginal Utility
The Law of Diminishing Marginal UtilityThe Law of Diminishing Marginal Utility
The Law of Diminishing Marginal Utility
 

03 public deliberation

  • 1. การประชาเสวนาหาทางออก PUBLIC DELIBERATION การประชาเสวนาหาทางออกในระบอบประชาธิปไตยเป็นปฏิบัติการทางการเมืองของพลเมืองที่นาไปสู่การตัดสินใจที่สะท้อนความ คิดเห็นของส่วนรวมที่ผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนมุมมองทัศนะมาอย่างรอบคอบโดยไม่มีการจากัดความแตกต่างของความคิดเห็น พลเมืองยังคงมีประเด็นของตนเอง แต่ทว่าพวกเขาจะเข้าใจได้มากขึ้นว่าทาไมคนอื่นจึงมีความคิดเห็นต่างออกไป การประชาเสวนาหาทางออกคือการทาให้พลเมืองสามารถทางานร่วมกันได้อย่างฉลาดและเหมาะสม ตัดสินใจโดยใช้เหตุผล ไม่ รีบเร่งสรุปโดยไม่ได้คิดถึงผลลัพธ์ของสิ่งที่กาลังจะตามมาจากการกระทาหรือไม่สอดคล้องกับสิ่งที่มีคุณค่าของพวกเขา การตัดสินใจที่ดี ของพลเมืองเกิดจากการใช้ดุลยพินิจในการชั่งนาหนักระหว่างทางเลือกต่างๆ ที่ก้าวผ่านความตึงเครียดของการถกเถียงไปได้โดยสันติ ความสาคัญ การประชาเสวนาหาทางออกในระบอบประชาธิปไตย คือการสร้างการเรียนรู้ของพลเมืองให้มีพลังการทางานร่วมกัน นาสังคมออกจากความขัดแย้งที่หาทางออกไม่ได้ โดยการทาให้ ทุกคนเป็นพลเมืองที่รู้จักรับฟังกัน ใช้เหตุผล ไตร่ตรองหาทาง เลือก และร่วมกันตัดสินใจอย่างชาญฉลาดเพื่อสังคมส่วนรวม คุณค่าของการประชาเสวนาหาทางออกคือการทาให้ วิถีทางของระบอบประชาธิปไตยได้รับการตอบสนองจากกลุ่ม พลเมืองที่รู้สึกแปลกแยกและถูกปิดกันจากระบบการเมือง การประชาเสวนาคือวิธีสร้างการตัดสินใจที่ดีที่ เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ควรทา และสอดคล้องกับสิ่งที่ถูกพิจารณาว่ามี ความสาคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีของพลเมืองซึ่งไม่ใช่ให้ ผู้เชี่ยวชาญบอกว่าอะไรควรจะเป็น แต่เป็นเรื่องของการตัดสิน ชั่งนาหนักของพลเมืองระหว่างการกระทาที่เป็นไปได้กับสิ่งที่ พวกเขาคิดว่ามีคุณค่า โดยการตัดสินใจเกี่ยวข้องกับการกาหนด ว่าอะไรคือประเด็น การระบุทางเลือกสาหรับการดาเนินการและทรัพยากรที่ต้องใช้ โดยทางเลือกต่างๆ จะถูกเปิดเผยชัดเจนแก่พลเมือง แม้บางทางเลือกไม่ใช่ตัวเลือกดีที่สุด แต่พลเมืองก็ต้องค้นหาทางเลือกเพื่อจัดการกับปัญหาโดยพิจารณาข้อดี-ข้อเสียของแต่ละทางเลือก ทังนีเพราะพลเมืองมักเริ่มต้นด้วยการปฏิเสธการมีปัญหาหรือตาหนิความยุ่งยากของมันต่อบุคคลอื่น พลเมืองจะคิดแก้ปัญหา เมื่อเป็นสิ่งที่พวกเขาเห็นว่ามีค่า การประชาเสวนาจะทาให้พลเมืองคิดและเป็นเจ้าของปัญหาของเขาเอง ขณะเดียวกันก็ควบคุมอารมณ์ ตนเองได้ในการหาแนวทางแก้ไขที่มีการถกเถียงต่อสู้ ไม่ปฏิเสธปัญหาหรือตาหนิผู้อื่น แต่เผชิญหน้ากับทางเลือกที่ยากลาบากของการ ตัดสินใจสาธารณะอันจะนาไปสู่แนวทางการแก้ไขที่เป็นไปได้ที่ดีกว่าและการตัดสินใจที่เหมาะสมต่อไป ภาพอนาคต มีการนาเสนอภาพอนาคต (Scenario) ในหัวข้อที่จะประชาเสวนากันก่อนเพื่อให้เป็นแนวทางสาหรับผู้เข้าร่วมประชาเสวนา เห็นภาพโดยรวมของระบบหรือหัวข้อที่จะเสวนาว่ามีข้อดี-เสียอย่างไร ส่วนใหญ่มีไม่น้อยกว่า ๒ ภาพ และมักเป็นหัวข้อหรือประเด็นใน อนาคตโดยผ่านการนาเสนอของผู้ที่ศึกษาค้นคว้าข้อมูลมาก่อนเพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันในมุมมองของ ตัวเองที่มีอยู่เปรียบเทียบกับภาพอนาคตต่างๆ ที่ถูกนาเสนอ เพื่อให้ได้ข้อตกลงที่เป็นที่ยอมรับซึ่งกันและกันของผู้ร่วมประชาเสวนา
  • 2. การประชาเสวนาหาทางออก PUBLIC DELIBERATION ปฏิบัติการทางการเมืองของพลเมืองเพื่อผ่าทางตันประเด็นปัญหาสาธารณะ การประชาเสวนาหาทางเป็นปฏิบัติงานร่วมกันของพลเมืองเพื่อดาเนินการแก้ไขปัญหาที่มีร่วมกันโดยการเปรียบเทียบน้าหนักของ การกระทาที่เป็นไปได้กับสิ่งที่มีคุณค่าลึกๆ ต่อพลเมือง ซึ่งการให้คุณค่านี้ต้องเกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังการชั่งน้าหนัก เปรียบดังการ สารวจเส้นทางที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุดหรือเกิดแนวทางการแก้ไขที่เป็นไปได้ที่ดีกว่าในการแก้ไขปัญหานั้นๆ ขั้นตอนการจัดการปัญหาสาธารณะ ๑) การตั้งชื่อหรือนิยามปัญหา: การตังชื่อหรือนิยามปัญหา สาธารณะเป็นวิธีการทางการเมืองเพราะชื่อที่สาธารณชนตัง ให้กับปัญหาที่เกิดขึนจะมีผลต่อแนวทางการแก้ไขปัญหานัน ๒) การกาหนดกรอบปัญหา: หลังจากปัญหาถูกตังชื่อหรือ นิยามแล้วจะทาให้สามารถกาหนดกรอบของปัญหาได้ และ นาไปสู่การพูดคุยเกี่ยวกับปัญหาและพัฒนาทางเลือกว่ามี วิธีการไหนที่ทาได้ เรียกว่า ‘การกาหนดกรอบของทางเลือก’ ๓) การประชาเสวนาหาทางออก: การประชาเสวนาหาทาง ออกเกิดขึนเมื่อคู่กรณีเริ่มประเมินความเป็นไปได้ของผลลัพธ์ที่ จะตามมาของแนวทางการดาเนินการหรือวิธีการต่างๆ และเริ่ม ชั่งนาหนักต่อผลตามมาที่เป็นไปได้แตกต่างไปจากสิ่งที่มี ความหมายต่อตัวเขา เป็นการสร้างความเข้าใจร่วมกันใน ประเด็นปัญหาที่เปลี่ยนจาก ‘พวกเขา’ มาเป็น ‘พวกเรา’ ๔) การดาเนินการตัดสินใจ: เมื่อมีการประชาเสวนาหาทาง ออกกับทางเลือกที่แตกต่างกันแล้วก็จะนาไปสู่การตัดสินใจใน การดาเนินการที่จะแก้ไขปัญหานัน อาจจะเป็นพลเมืองมา ทางานร่วมกัน หรือให้หน่วยงานที่มีอยู่แล้วดาเนินการ ๕) การดาเนินการโดยสาธารณะ: พลเมืองนาแนวทางการ ตัดสินใจแก้ปัญหาของการสานเสวนามาปฏิบัติ ๖) การเรียนรู้ของพลเมือง: หลังจากพลเมืองมีส่วนร่วมในการ ประชาเสวนาหาทางออกแล้วจะประเมินประสบการณ์ของการ เรียนรู้ร่วมกันหรือการดาเนินการร่วมกัน เรียกว่า ‘การเรียนรู้ ของประชาสังคม’ เป้าหมาย เป้าหมายของการประชาเสวนาหาทางออกไม่ใช่การเลือก ทางเลือก ๑ ทาง และปฏิเสธทางเลือกหลักอื่นๆ อีก ๓-๔ ทางเลือกเหมือนดังการเลือกตัง แต่เป็นการแสดงลาดับที่มี ค่าสูงสุดขณะที่มีผลทางลบที่จะเกิดขึนน้อยที่สุดจากการ วิเคราะห์ประโยชน์ของแต่ละทางเลือก ซึ่งจะทาให้เกิดกรอบ (Framing) สาหรับการแก้ไขปัญหาและนาไปสู่การตัดสินใจ สาธารณะ (Public Judgment) ที่ผ่านการคานวณต้นทุนต่างๆ และผลที่จะเกิดขึนในระยะยาวของการกระทามาแล้ว แต่ อย่างไรก็ดีการประชาเสวนาไม่ใช่คาตอบสุดท้ายของทุกปัญหา ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ของการประชาเสวนาที่สามารถจัดได้ตังแต่ ๑๐ คน จนถึง ๑,๐๐๐ คน คือการกระตุ้นให้พลเมืองได้มาสนทนากัน และกระทาร่วมกัน และได้พัฒนาความรู้สึกที่ดีขึนต่อประเด็น ปัญหาที่เผชิญอยู่และเข้าใจที่ดีขึนต่อผู้อื่นที่เผชิญปัญหาร่วมกัน เกิดการนิยามปัญหาใหม่ที่จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่าง เป็นรูปธรรมของการแก้ปัญหาหรือการปรับเปลี่ยนนโยบาย สาธารณะ จากการที่ความห่วงกังวลที่เป็นพืนฐานร่วมกันของ พลเมืองถูกพูดถึงและอธิบายด้วยภาษาของพวกเขาเองมากกว่า จะเป็นถ้อยคาภาษาเชิงเทคนิคของผู้เชี่ยวชาญ กุญแจความสาเร็จ ความสาเร็จของเวทีสาธารณะเพื่อการสนทนาคือการทาให้เกิด การคิดร่วมกันของสาธารณะ และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ที่ทาให้เกิดความเข้าใจร่วมกันในประเด็นปัญหาว่าควรทาอะไร ถึงแม้อาจต้องใช้ระยะเวลานานหลายปีผ่านกระบวนการเสวนา แบบค่อยเป็นค่อยไป แต่อย่างไรก็ตามจะสาเร็จไม่ได้ตราบใดไม่ มีคาถามว่าใครต้องการทาและทาอย่างไร การมีผู้เอือกระบวนการกลุ่ม (Moderator) ที่มีประสบการณ์ ไม่อคติเข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ทาหน้าที่ค้นหาจุดเหมือนกัน ของแต่ละคนเพื่อหาทางออกในประเด็นปัญหานันร่วมกัน สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ชัน ๓ อาคารสุขภาพแห่งชาติ ๘๘/๓๙ ถ.ติวานนท์ ๑๔ หมู่ ๔ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบรี ๑๑๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๑-๒ www.nationalhealth.or.th