SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 77
BY TASSANEEYA CHUENCHAROEN
เซลล์คือ
อะไร ?
คือ หน่วยย่อยขนาดเล็กที่ประกอบขึ้นเป็นสิ่งมีชีวิตท
ทิอัส ยาคอบ ชไลเดน นักชีววิทยาชาวเยอรมัน และเ
“ด้ตั้งทฤษฎีเซลล์ มีใจความว่า สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประ
ะเซลล์คือหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด”
ถึงแม้เซลล์แต่ละชนิดจะมี
ขนาดไม่เท่ากัน
แต่แต่มีโครงสร้างพื้นฐาน
คล้ายกัน
รงสร้างต่างๆของเซลล์เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (organ
หรืออวัยวะของเซลล์
ถ้าครูเปรียบเทียบว่า 1 เซลล์เปรียบได้กับ 1 คน
ออร์แกเนลล์ต่างๆ จึงเปรียบเทียบได้กับ ?อวัยวะต่างๆที่อยู่ภายในร่าง
เซลล์
สาหร่าย
หางกระรอก
onion
skin
cells
onion
skin
cells
เซลล์
ว่าน
กาบ
หอย
เซลล์
ว่าน
กาบ
หอย
เซลล์พืช
เซลล์สัตว์
โครงสร้าง
เซลล์
โครงสร้าง
เซลล์
3.นิวเคลียส
2.ไซโทพลาสซึม
1.ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์
ส่วนที่ห่อหุ้ม
เซลล์
ส่วนที่ห่อหุ้ม
เซลล์
โครงสร้างที่ห่อหุ้มไซโทพลาซึม
ของเซลล์ให้คงรูปร่างและแสดง
ขอบเขตของเซลล์
เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane)
2. ผนังเซลล์ (cell wall)
ส่วนที่ห่อหุ้ม
เซลล์ได้แก่...
ส่วนที่ห่อหุ้ม
เซลล์ได้แก่...
1.เยื่อหุ้ม
เซลล์
(cell
membrane
)
1.เยื่อหุ้ม
เซลล์
(cell
membrane
)
1.เยื่อหุ้ม
เซลล์
(cell
membrane
)
1.เยื่อหุ้ม
เซลล์
(cell
membrane
)
- เยื่อหุ้มเซลล์มีชื่อเรียกได้หลายอย่าง เช่น
พลาสมา เมมเบรน (plasma membrane)
ไซโทพลาสมิก เมมเบรน (cytoplasmic
membrane)
- เยื่อหุ้มเซลล์มีความหนาประมาณ 8.5-10
นาโนเมตร
- ประกอบด้วยโปรตีน ลิพิด
- การเรียงตัวของโปรตีนและลิพิดจัดเรียงตัว
1.เยื่อหุ้ม
เซลล์
(cell
membrane
)
1.เยื่อหุ้ม
เซลล์
(cell
membrane
)
- ส่วนใหญ่ประกอบด้วย
1. Lipid bilayer 2 ชั้น โดยหันด้าน
polar head ออกด้านนอก และหัน
ด้าน nonpolar tail มีโปรตีนแทรก
อยู่
2. คอเรสเตอรอล
3. ไกลโคลิพิด
4. ไกลโคโปรตีน
1.เยื่อหุ้ม
เซลล์
(cell
membrane
)
1.เยื่อหุ้ม
เซลล์
(cell
membrane
)
เยื่อหุ้มเซลล์
มีหน้าที่
หลายประการ
คือ
เยื่อหุ้มเซลล์
มีหน้าที่
หลายประการ
คือ1. ห่อหุ้มส่วนของโพรโทพลาซึมที่อยู่ข้าง
ในทำาให้เซลล์แต่ละเซลล์แยกออกจากกัน
2. ช่วยควบคุมการเข้าออกของสารต่างๆ
ระหว่างภายในเซลล์และสิ่งแวดล้อม มี
คุณสมบัติเป็นเซมิเพอร์มีเอเบิล เมมเบรน
(semipermeable membrane) ซึ่งจะ
เยื่อหุ้มเซลล์
มีหน้าที่
หลายประการ
คือ
เยื่อหุ้มเซลล์
มีหน้าที่
หลายประการ
คือ
3. ความต่างศักย์ทางไฟฟ้า (electrical
potential) ของภายในและภายนอกเซลล์
เนื่องมาจากการกระจายของไอออนและ
โปรตีนไม่เท่ากัน ซึ่งมีความสำาคัญในการนำา
สารพวกไอออนเข้าหรือออกจากเซลล์ ซึ่งมี
ความจำาเป็นต่อการทำางานของเซลล์ประสาท
และเซลล์กล้ามเนื้อมาก
ผนังเซลล์
(cell wall)
ผนังเซลล์
(cell wall)
ผนังเซลล์ พบได้ในสิ่งมีชีวิตหลากชนิด
เช่น เซลล์พืช สาหร่าย แบคทีเรีย และรา ผนัง
เซลล์ทำาหน้าที่ป้องกันและให้ความแข็งแรงแก่
เซลล์ โดยที่ผนังเซลล์เป็นส่วนที่ไม่มีชีวิตของ
เซลล์
ผนังเซลล์
(cell wall)
ผนังเซลล์
(cell wall)
ผนังเซลล์บางแห่งมีช่องเล็กๆ ไซโทพลาส
ซึมสามารถติดต่อกับไซโทพลาสซึมของเซลล์
ข้างเคียงได้ เราเรียกว่า “ ”พลาสโมเดสมาตา
(plasmodesmata)
ผนังเซลล์พืช
ประกอบด้วยชั้น
ต่างๆ 3 ชั้น คือ
ผนังเซลล์พืช
ประกอบด้วยชั้น
ต่างๆ 3 ชั้น คือ
1. ผนังเชื่อมยึดระหว่างเซลล์ (middle
lamella) เป็นชั้นที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์พืชแบ่งตัว
และเป็นชั้นที่เชื่อมระหว่างเซลล์ให้อยู่ติดกัน
2. ผนังเซลล์ปฐมภูมิ (primary wall) เป็น
ชั้นที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์เริ่มเจริญเติบโต ประกอบ
ด้วยสารพวก เซลลูโลส เป็นส่วนใหญ่
3. ผนังเซลล์ทุติยภูมิ (secondary wall)
ผนังเซลล์ปฐมภูมิ
(primary cell wall หรือ primary wall)
• เป็นชั้นที่เกิดขึ้นเมื่อเซลล์เริ่มเจริญเติบโต
• ประกอบด้วยสารพวกเซลลูโลส (cellulose)
เป็นส่วนใหญ่
• ผนังเซลล์ยึดติดกันด้วยมิดเดิลลาเมลลา
(middlelamella) ซึ่งเป็นชั้นที่อยู่ตรง
กลางระหว่างเซลล์ที่อยู่ติดกัน
• (middlelamella) ประกอบด้วยเพกทิน
ผนังเซลล์ทุติยภูมิ
(secondary cell wall หรือ secondary wall)
• มีการสะสมแบบแทรกอยู่ในผนัง
เซลล์ปฐมภูมิ และสะสมซ้อนทับเป็น
แนวอยู่ระหว่างเซลล์ ปฐมภูมิและ
เยื่อหุ้มเซลล์
• องค์ประกอบทางเคมีที่สำาคัญคือลิ
กนิน (lignin)
ภาพผนัง
เซลล์
ไซโทพลาซึม
(cytoplasm)
ไซโทพลาซึม
(cytoplasm)
เป็นส่วนที่ล้อมรอบนิวเคลียสอยู่
ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ โดยทั่วไปจะ
แบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ1. เอกโทพลาซึม (ectoplasm) เป็นส่วน
ของไซโทพลาซึมที่อยู่ด้านนอกติดกับเยื่อหุ้ม
เซลล์ มีลักษณะบางใส เพราะมีส่วนประกอบ
ต่างๆ ของเซลล์อยู่น้อย2. เอนโดพลาซึม (endoplasm) เป็นชั้น
ของไซโทพลาซึมที่อยู่ด้านในใกล้นิวเคลียส ชั้น
นี้จะมีลักษณะที่เข้มข้นกว่าเนื่องจากมี ออร์
แกเนลล์ (organelle) และอนุภาคต่างๆ ของ
ไซโทพลาซึม นอกจากแบ่ง
ออกเป็น 2 ชั้น แล้ว
ประกอบด้วย
ไซโทพลาซึม
(cytoplasm)
ไซโทพลาซึม
(cytoplasm)
1. ออร์แกเนลล์ (organelle)
2. ไซโทซอล (cytosol)
1. ออร์แกเนลล์
(organelle)
1. ออร์แกเนลล์
(organelle)
- เป็นส่วนที่มีชีวิต ทำาหน้าที่
คล้ายๆ กับเป็นอวัยวะของเซลล์
ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อ
หุ้ม
(membrane
bounded
)
ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อ
หุ้ม
(membrane
bounded
)
เอนโดพลาสมิก
เรติคูลัม
(endoplasmic
reticulum:ER)
เอนโดพลาสมิก
เรติคูลัม
(endoplasmic
reticulum:ER) ประกอบ
ด้วย
โครงสร้าง
ระบบท่อที่มี
การเชื่อม
ประสานกัน
ทั้งเซลล์
เอนโดพลาสมิก เรติคู
ลัมชนิดขรุขระ (rough
endoplasmic
reticulum:RER)
เอนโดพลาสมิก เรติคู
ลัมชนิดขรุขระ (rough
endoplasmic
reticulum:RER)เป็นชนิดที่มีไรโบ
โซม มีช่องต่อจาก
nuclear pore เพื่อนำา
RNA และ Ribisome
ออก มีหน้าที่สำาคัญคือ
การสังเคราะห์โปรตีน
ของไรโบโซมที่เกาะอยู่
เอนโดพลาสมิก เรติคู
ลัมชนิดขรุขระ (rough
endoplasmic
reticulum:RER)
เอนโดพลาสมิก เรติคู
ลัมชนิดขรุขระ (rough
endoplasmic
reticulum:RER)โปรตีนที่ได้จะถูก
ส่งต่อไปยังกอลจิบอดี
และส่งออกนอกเซลล์
หรือเป็นส่วนประกอบ
ของเยื่อหุ้มเซลล์
เช่น เซลล์ตับอ่อน
(สร้างนำ้าย่อยสาร
เอนโดพลาสมิก เรติคู
ลัมชนิดเรียบ (smooth
endoplasmic
reticulum:SER)
เอนโดพลาสมิก เรติคู
ลัมชนิดเรียบ (smooth
endoplasmic
reticulum:SER)เป็นชนิดที่ไม่มีไรโบ
โซม มีหน้าที่สำาคัญคือ
กำาจัดสารพิษ แหล่ง
รวบรวมแคลเซียมไอออน
(เซลล์กล้ามเนื้อยึด
กระดูก และกล้ามเนื้อ
หัวใจ) และลำาเลียงสาร
เอนโดพลาสมิก เรติคู
ลัมชนิดเรียบ (smooth
endoplasmic
reticulum:SER)
เอนโดพลาสมิก เรติคู
ลัมชนิดเรียบ (smooth
endoplasmic
reticulum:SER)เช่น ตับ สมอง
ต่อมหมวกไต
อัณฑะ และรังไข่
** การกำาจัดสาร
พิษต้องใช้
กอลจิบอดี
(Golgi body)
กอลจิบอดี
(Golgi body)
มีรูปร่าง
ลักษณะ
เป็นถุง
แบนๆ
ขอบโป่ง
หรือเป็น
กอลจิบอดี (Golgi
body)
กอลจิบอดี (Golgi
body)
- มีหน้าที่สำาคัญคือ รับโปรตีนจาก
RER เก็บสะสมสารที่เซลล์สร้างขึ้น
ก่อนที่
จะปล่อยออกนอกเซลล์ ซึ่งจะบรรจุ
ถุง vesicle
- ซึ่งสารส่วนใหญ่เป็นสารโปรตีน
- นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการสร้าง
นีมาโทซีส (nematocyst) ของ
ไฮดราอีกด้วย และการสร้างผนังเซลล์
ไลโซโซม
(lysosome)
ไลโซโซม
(lysosome)
ไลโซโซม
(lysosome)
ไลโซโซม
(lysosome)- รูปร่างกลมรี พบเฉพาะในเซลล์สัตว์
เท่านั้น
- ทำางานได้ดีในสภาพที่เป็นกรด
- มีหน้าที่ที่สำาคัญคือ
1. ย่อยสลายอนุภาคและโมเลกุลของสาร
อาหารภายในเซลล์
2. ย่อยหรือทำาลายเชื้อโรคและสิ่งแปลก
ปลอมต่างๆ ที่เข้าสู่
ร่างกายหรือเซลล์
ไลโซโซม
(lysosome)
ไลโซโซม
(lysosome)เช่น
- เซลล์เม็ด
เลือดขาว
- เซลล์หางลูก
อ๊อด
แวคิวโอล
(vacuole)
แวคิวโอล
(vacuole)
เป็นออร์
แกเนลล์ที่มี
ลักษณะเป็น
ถุง โดย
ทั่วไปจะพบ
ในเซลล์พืช
แวคิวโอล
(vacuole)
แวคิวโอล
(vacuole)มีหน้าที่....
- food vacuole พบในรา โปร
โตซัว ทำาหน้าที่เก็บอาหารที่กินเข้า
มา
- Sap vacuole พบในพืช ทำา
หน้าที่เก็บสารสี
- central vacuole พบในพืช
ทำาหน้าที่เก็บของเหลว ช่วยให้เซลล์
ไมโทคอนเดรีย
(mitochondria)
ไมโทคอนเดรีย
(mitochondria)
ส่วนใหญ่จะ
มีรูปร่างกลม
ท่อนสั้น
ท่อนยาว
หรือกลมรี
คล้าย
ไมโทคอนเดรีย
(mitochondria)
ไมโทคอนเดรีย
(mitochondria)
- ประกอบด้วยสารโปรตีน ประมาณร้อยละ
60-65 และลิพิด
ประมาณร้อยละ 35-40
- ภายในไมโทคอนเดรียมีของเหลวซึ่ง
ประกอบด้วยสารหลาย
ชนิดเรียกว่า เมทริกซ์ (matrix)
- เนื้อเยื่อที่พับทบเข้าไปเรียกว่า ครีสตี
(cristae)
- มีเอนไซม์ที่สำาคัญในการสร้างพลังงานจาก
พลาสติด
(plastid)
พลาสติด
(plastid)
แบ่งเป็น 3 ชนิดคือ
1. ลิวโคพลาสต์ (leucoplast) เป็นพลาสติดที่
ไม่มีสี สะสมเม็ดแป้ง
2. โครโมพลาสต์ (chromoplast) เป็นพลาสติ
ดที่มีรงควัตถุสีอื่นๆ นอกจากสีเขียว มีสารพวก
แคโรทีนอยด์
พลาสติด
(plastid)
พลาสติด
(plastid)3. คลอโรพลาสต์ (chloroplast) เป็นพลาสติ
ดที่มีสีเขียว ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสาร
คลอโรฟีลล์ ภายในคลอโรพลาสต์
- ประกอบด้วยโครงสร้างที่มีลักษณะคล้าย
ถุงแบนๆ มีเยื่อหุ้ม เรียกว่า ไทลาคอยด์
(thylakoid)
- ไทลาคอยด์ (thylakoid) เรียงซ้อนกันเร
รียกว่า กรานุม (granum)
- ส่วนที่เป็นของเหลวเรียกว่า สโตรมา
ออร์แกเนลล์ที่ไม่มี
เยื่อหุ้ม
(nonmembrane
bounded
)
ออร์แกเนลล์ที่ไม่มี
เยื่อหุ้ม
(nonmembrane
bounded
)
ไรโบโซม
(ribosome)
ไรโบโซม
(ribosome)
ไรโบโซม
(ribosome)
ไรโบโซม
(ribosome)- เป็นออร์แกเนลล์ขนาดเล็ก พบได้ในสิ่ง
มีชีวิตทั่วไป
- ประกอบด้วยสารเคมี 2 ชนิด คือ กรด
ไรโบนิวคลีอิก (ribonucleic acid:RNA)
กับโปรตีน มีทั้งที่อยู่เป็นอิสระใน ไซโท
พลาซึม และเกาะอยู่บนเอนโดพลาสมิกเร
ติคูลัม
- พวกที่เกาะอยู่ที่เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม
ไรโบโซม
(ribosome)
ไรโบโซม
(ribosome)
เซนทริโอล
(centriole)
เซนทริโอล
(centriole)
มีลักษณะ
คล้ายท่อ
ทรง
กระบอก
2 อันตั้ง
ฉากกัน
เซนทริโอล
(centriole)
เซนทริโอล
(centriole)
- พบเฉพาะในสัตว์และโพรทิสต์บางชนิด
- มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์ การ
เคลื่อนที่ของเซลล์
- เซนทริโอลแต่ละอันจะประกอบด้วยชุด
ของไมโครทูบูล (microtubule) ซึ่งเป็น
หลอดเล็กๆ มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการ
ลำาเลียงสารในเซลล์ ให้ความแข็งแรงแก่
เซลล์และโครงสร้างอื่นๆ
ไซโทสเกเลตอน
(cytoskeleton)
ไซโทสเกเลตอน
(cytoskeleton)
ไซโทสเกเลตอน
(cytoskeleton)
ไซโทสเกเลตอน
(cytoskeleton)
- เป็นเส้นใยโปรตีนที่เชื่อมโยงกันเป็น
ร่างแหเพื่อคำ้าจุนรูปร่างของเซลล์และเป็นที่
 ยึดเกาะของออแกเนลล์
- เช่น คลอโรพลาสต์ ไมโทคอนเดรีย เอน
โดพลาสมิกเรติคูลัม
ให้อยู่ตามตำาแหน่งต่าง ๆ
- ลำาเลียงออแกเนลล์ให้เคลื่อนที่ภายใน
ไมโครฟิลาเมนท์
(microfilament)
ไมโครฟิลาเมนท์
(microfilament)
ไมโครฟิลาเมนท์
(microfilament)
ไมโครฟิลาเมนท์
(microfilament)
- อาจจะเรียกว่า แอคทินฟิลาเมนต์
(actin filament)
- ประกอบเส้นใยโปรตีนที่มีเส้นผ่า
ศูนย์กลางประมาณ 7 นาโนเมตร
- มีรูปร่างกลมต่อกันเป็นสาย 2 สาย
พันบิดเป็นเกลียว
- ทำาหน้าที่ในการเคลื่อนที่ คำ้าจุน และ
ไมโครทิว
บูล(microtubule)
ไมโครทิว
บูล(microtubule)
- เป็นหลอดกลวง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ
25 นาโนเมตร
- เกิดจากโปรตีนที่เรียกว่า ทูบูลิน (tubulin)
เรียงต่อกัน
เป็นวงแหวนและเป็นสาย มีโครงสร้างที่มีรูปร่าง
คล้ายท่อบาง ๆ
-    เป็นโครงสร้างของเส้นใยสปินเดิล ซิเลีย
 แฟลกเจลลัม และ ลำาเลียงออร์แกเนลล์ภายใน
อินเทอร์มีเดียทฟิลา
เมนท์
(intermediate
filaments)
อินเทอร์มีเดียทฟิลา
เมนท์
(intermediate
filaments)- เป็นเส้นใยที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ 8-12 นาโนเมตร
- ประกอบด้วยหน่วยของโปรตีนหลายหน่วย
เรียงตัวเป็นสายยาว ๆ 4 สาย พัน บิดกันเป็น
เกลียว มี 8 ชุด
- เรียงตัวเป็นร่างแหตามลักษณะรูปร่างของ
เซลล์ 
2. ไซโทซอล
(cytosol)
2. ไซโทซอล
(cytosol)
- เป็นส่วนของไซโทพลาสซึมมีลักษณะเป็นสาร
กึ่งแข็งกึ่งเหลว
- มีอยู่ประมาณร้อยละ 50-60 ของปริมาตรเซลล์
ทั้งหมด
- เซลล์ส่วนใหญ่มักมีปริมาตรของไซโทซอล
ประมาณ 3 เท่าของปริมาตรนิวเคลียส
- บริเวณด้านนอกที่อยู่ติดกับเยื่อหุ้มเซลล์เรียก
ว่า เอกโทพลาซึม (ectoplasm)
- บริเวณด้านในเรียกว่า เอนโดพลาสซึม
2. ไซโทซอล
(cytosol)
2. ไซโทซอล
(cytosol)
-เป็นผลจากการหดและคลายของไมโครฟิลา
เมนท์ บริเวณเอนโด พลาสซึม
- มีลักษณะค่อนข้างเหลวเป็นที่อยู่ของออ
แกเนลล์ต่าง ๆ
- นอกจากนี้ในไซโทซอลยังอาจพบ
โครงสร้างอื่น ๆ เช่น ก้อนไขมัน เม็ดสีต่าง ๆ
เป็นต้น
นิวเคลียส
(nucleus)
นิวเคลียส
(nucleus) - เป็นโครงสร้างที่มัก
พบอยู่กลางเซลล์เมื่อ
ย้อมสีจะติดสีเข้มทึบ
- มีลักษณะเป็นก้อน
ทึบแสงเด่นชัดอยู่
บริเวณกลางๆ เซลล์
โดยทั่วๆ ไปจะมี 1
นิวเคลียส
- เป็นที่อยู่ของสาร
พันธุกรรม
นิวเคลียส
(nucleus)
นิวเคลียส
(nucleus)
สารประกอบทาง
เคมีของ
นิวเคลียส
ประกอบด้วย
สารประกอบทาง
เคมีของ
นิวเคลียส
ประกอบด้วย
1. ดีออกซีไรโบนิวคลีอิก แอซิด
(deoxyribonucleic acid) หรือ DNA
เป็นส่วนประกอบของโครโมโซมนิวเคลียส
2. ไรโบนิวคลีอิก แอซิด (ribonucleic
acid) หรือ RNA เป็นส่วนที่พบในนิวเคลียส
โดยเป็นส่วนประกอบของนิวคลีโอลัส
3. โปรตีน ที่สำาคัญคือโปรตีนฮีสโตน
(histone) โปรตีนโพรตามีน (protamine)
โครงสร้างของ
นิวเคลียส
ประกอบด้วย 3
ส่วน คือ
โครงสร้างของ
นิวเคลียส
ประกอบด้วย 3
ส่วน คือ
1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear
membrane)
- เป็นเยื่อบางๆ 2 ชั้น เรียงซ้อนกัน
- ที่เยื่อนี้จะมีรู เรียกว่านิวเคลียร์ พอร์
(nuclear pore) หรือ
แอนนูลัส (annulus) มากมาย
- ทำาหน้าที่เป็นทางผ่านของสารต่างๆ
ระหว่างไซโทพลาซึม
และนิวเคลียส
- นอกจากนี้เยื่อหุ้มนิวเคลียสยังมี
โครงสร้างของ
นิวเคลียส
ประกอบด้วย 3
ส่วน คือ
โครงสร้างของ
นิวเคลียส
ประกอบด้วย 3
ส่วน คือ
2. โครมาทิน (chromatin)
- เป็นส่วนของนิวเคลียสที่ย้อมติดสี
- เป็นเส้นใยเล็กๆ พันกันเป็นร่างแห
- ประกอบด้วย โปรตีนหลายชนิด และ
DNA
- มีหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ของ
เซลล์และควบคุมการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของ
โครงสร้างของ
นิวเคลียส
ประกอบด้วย 3
ส่วน คือ
โครงสร้างของ
นิวเคลียส
ประกอบด้วย 3
ส่วน คือ
3. นิวคลีโอลัส (nucleolus)
- เป็นส่วนของนิวเคลียสที่มีลักษณะเป็น
ก้อนอนุภาคหนาทึบ
- ประกอบด้วย โปรตีน และ RNA
- โดยโปรตีนเป็นชนิดฟอสโฟโปรตีน
(phosphoprotein) และไม่ พบโปรตีนฮีส
โตนเลย
- มีหน้าที่ในการสังเคราะห์ RNA ชนิด
เซลล์สิ่งมี
ชีวิต
เซลล์สิ่งมี
ชีวิตล์สิ่งมีชีวิตมีความแตกต่างกัน 2 กลุ่มคือ
1. เซลล์โพรคาริโอต (Prokaryotic cell)
2. เซลล์ยูคาริโอต (Eukaryotic cell)
แบคทีเรีย, สาหร่ายสีเขียวแกมนำ้าเงิน
เซลล์พืช, เซลล์สัตว์
ลักษณะที่แตกต่างกันของเซลล์เซลล์โพรคาริโอตและเซลล
เซลล์โพรคาริ
โอต
เซลล์ยูคาริโอต
1. ไม่มีเยื่อหุ้ม
นิวเคลียส
1. นิวเคลียสมีเยื่อหุ้ม
2. ออร์แกเนลล์พบ
เฉพาะไรโบโซม
2. มีออร์แกเนลล์หลาย
ชนิด รวมทั้งไรโบโซม
3. สาหร่ายสีนำ้าเงิน
แกมเขียวจะไม่พบคลอ
โรพลาสต์แต่คลอโรฟิลล์
จะละลายอยู่ในไซโท
พลาสซึม
3. เซลล์พืชทุกชนิดมี
คลอโรฟิลล์อยู่ในถุง
คลอโรพลาสต์
รียบเทียบโครงสร้างสำาคัญที่แตกต่างกันของเซลล์พืชและเซ
ออร์
แกเนลล์
เซลล์พืช เซลล์สัตว์
ผนังเซลล์
(cell wall)
- มีความแข็งแรง ประกอบด้วยเซลล์
ลูโลส
- เป็นส่วนที่ทำาให้เซลล์คงขนาดและรูป
ร่างได้ ทำาให้เซลล์พืชแข็งแรง
ไม่มีผนังเซลล์
มีแต่เยื้อหุ้ม
เซลล์
พลาสติด
(plastid)
- มีทั้งชนิดคลอโรพลาสต์ ลิวโคพลาสต์
และ
โครโมพลาสต์
- คลอโรพลาสต์ประกอบด้วยคลอโร
ฟิลล์ ทำาให้พืมีสีเขียว
- ลิวโคพลาสต์ สะสมแป้ง ไขมัน
โปรตีน
- โครโมพลาสต์ เป็นพลาสติดที่มีสีอื่นๆ
ไม่พบในเซลล์
สัตว์
ยบเทียบโครงสร้างสำาคัญที่แตกต่างกันของเซลล์พืชและเซ
ออร์
แกเนลล์
เซลล์พืช เซลล์สัตว์
เม็ดแป้ง
(starch
grain)
เป็นอาหารสะสมของพืช พบในออร์
แกเนลล์คือ
ลิวโคพลาสต์
-ไม่มีเม็ดแป้ง
- อาหารสะสม
เป็น
คาร์โบไฮเดรต
ในรูปของ
ไกลโคเจน
เซนทริโอล
(centriole)
ไม่พบ พบได้ในเซล์
สัตวทั่วไป
ใครถามว่าเซลล์พืชกับเซลล์สัตว์ต่างกันตรงไหน
คงตอบได้แล้วซิ...นะ
การสื่อสาร
ระหว่างเซลล์
การสื่อสาร
ระหว่างเซลล์
การเปลี่ยนแปลง
สภาพเซลล์และ
การชราภาพของ
เซลล์
การเปลี่ยนแปลง
สภาพเซลล์และ
การชราภาพของ
เซลล์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41Angkana Potha
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอมบทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอมGawewat Dechaapinun
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 

Mais procurados (20)

โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอมบทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไตชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
ชุดการสอนที่ 5 ต่อมหมวกไต
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์ต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์
 

Destaque

แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
Microbiology4.5
Microbiology4.5Microbiology4.5
Microbiology4.5kkrunuch
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราพัน พัน
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชMin Minho
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชtarcharee1980
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneranazmnazm070838
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 

Destaque (20)

แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
Microbiology4.5
Microbiology4.5Microbiology4.5
Microbiology4.5
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Monera kingdom
Monera kingdomMonera kingdom
Monera kingdom
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
Cell
CellCell
Cell
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
Cell.ppt25 copy
Cell.ppt25   copyCell.ppt25   copy
Cell.ppt25 copy
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
Microbiology
Microbiology Microbiology
Microbiology
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
การสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 moneraการสอนประกอบแผน 4 monera
การสอนประกอบแผน 4 monera
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
Kingdom
KingdomKingdom
Kingdom
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 

Semelhante a Cell

2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cellPhattarawan Wai
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cellPhattarawan Wai
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์Krupol Phato
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตY'tt Khnkt
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 

Semelhante a Cell (20)

Cell
CellCell
Cell
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cell
 
B08
B08B08
B08
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cell
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 
4
44
4
 
Cell2558
Cell2558Cell2558
Cell2558
 

Cell