SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
โครงงาน เรื่อง ปุ๋ยอินทรีย์
ผู้จัดทำ นายอรรถพลเหล็กกาง เลขที่ 6 ชั้นม .6/2 โรงเรียนฝางวิทยายน
ที่ปรึกษา อ .  คเชณทร์ กองพิลา โรงเรียนฝางวิทยายน
ปุ๋ยอินทรีย์   (Organic Fertilizer)  คือ ปุ๋ยที่ได้จากอินทรีย์สารซึ่งผลิตขึ้นโดยกรรมวิธีต่างๆ และจะเป็นประโยชน์ต่อพืชก็ต้องผ่านขบวนการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทางชีวภาพเสียก่อน มีวัตถุหลายประเภทที่สามารถนำมาทำเป็นปุ๋ยอินทรีย์ได้ ปุ๋ยอินทรีย์
ข้อดี  –  ข้อจำกัดของปุ๋ยอินทรีย์ มีดังนี้  (1)  ข้อดีของปุ๋ยอินทรีย์   .  ช่วยปรับปรุงดินให้ดีขึ้น โดยเฉพาะคุณสมบัติทางกายภาพของดิน เช่นความโปร่ง   ความร่วนซุย ความสามารถในการอุ้มน้ำ และการปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดิน   .  อยู่ในดินได้นานและค่อย ๆ ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชอย่างช้า ๆ จึงมีโอกาสสูญเสีย   น้อยกว่าปุ๋ยเคมี
2)  ข้อจำกัดของปุ๋ยอินทรีย์   .  ปุ๋ยอินทรีย์สลายตัวอยาก เช่น ขี้เลื่อย ซึ่งมีอัตราส่วนของคาร์บอนต่อไนโตรเจนสูง   เมื่อใส่ในดินปลูกพืชจุลินทรีย์จะแย่งไนโตรเจนในดินไปใช้ในขบวนการย่อย มีผลทำให้พืชขาดไนโตรเจนชั่วคราว ถ้าไม่มีการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนพืชจะขาดจนกว่าจุลินทรีย์เหล่านี้จะมีกิจกรรมลดลง จึงจะได้ไนโตรเจนกลับคืนสู่ดิน
.  ปุ๋ยอินทรีย์จากมูลสัตว์และวัสดุเหลือทิ้งจากโรงงาน ส่งกลิ่นเหม็นไม่เป็นที่จูงใจผู้ใช้และสกปรก   การใช้ปุ๋ยอินทรีย์จากของเหลือทิ้งจากท่อระบายน้ำโสโครก ตามอาคารบ้านเรือน   ก่อให้เกิดการปนเปื้อนของโลหะหนักหลายชนิดที่เป็นพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท   .  การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ยังสลายตัวไม่เต็มที่หรือยังอยู่ระหว่างการย่อยสลายจะทำให้เกิดความร้อน   จากการย่อยสลาย เป็นอันตรายต่อรากพืช เช่น การใช้มูลสด ๆ ใส่ใกล้โคนปลูก   .
                                     วิธีการทำ   1  นำซากพืช   ใบจามจุรีและมูลวัวมาทำการบดให้ละเอียด 2  ร่อนเอาเฉพาะส่วนที่ละเอียดเพื่อใช้เป็นส่วนผสม 3.  ผสมคลุกเคลาวัสดุที่ใชเปนสวนประกอบทั้งหมดใหเขาดวยกัน กรณีทําในปริมาณมากใชเครื่องผสมหรือใชโม่ชวยผสม รดน้ำที่ผสมดวยน้ำหมักชีวภาพตามอัตราสวนที่กําหนดใหทั่วกอง 4.   บรรจุใส่ถุงหรือกระสอบเพื่อเตรียมไว้ใช้หรือจำหน่าย 5.  สามารถนําปุยไปใชได
www . doae . go . th / spp / biofertilizer / or3 . htm อ้างอิง

Mais conteúdo relacionado

Destaque

อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยSurasek Tikomrom
 
อุตสาหกรรมถลุงแร่
อุตสาหกรรมถลุงแร่อุตสาหกรรมถลุงแร่
อุตสาหกรรมถลุงแร่sailom
 
แร่รัตนชาติ
แร่รัตนชาติแร่รัตนชาติ
แร่รัตนชาติsailom
 
ธาตุและสารประกอบในชีวิตประจำวัน
ธาตุและสารประกอบในชีวิตประจำวันธาตุและสารประกอบในชีวิตประจำวัน
ธาตุและสารประกอบในชีวิตประจำวันSwaftpoff Knjjei
 
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมKorpong Sae-lee
 
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมJariya Jaiyot
 
อุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลืออุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลือChantana Yayod
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์Chantana Yayod
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01Surasek Tikomrom
 

Destaque (13)

01
0101
01
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
อุตสาหกรรมถลุงแร่
อุตสาหกรรมถลุงแร่อุตสาหกรรมถลุงแร่
อุตสาหกรรมถลุงแร่
 
แร่รัตนชาติ
แร่รัตนชาติแร่รัตนชาติ
แร่รัตนชาติ
 
ธาตุและสารประกอบในชีวิตประจำวัน
ธาตุและสารประกอบในชีวิตประจำวันธาตุและสารประกอบในชีวิตประจำวัน
ธาตุและสารประกอบในชีวิตประจำวัน
 
Industrial11
Industrial11Industrial11
Industrial11
 
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
Minerals
MineralsMinerals
Minerals
 
อุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลืออุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลือ
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01อุตสาหกรรมปุ๋ย01
อุตสาหกรรมปุ๋ย01
 

Semelhante a ปุ๋ยอินทรีย์

Semelhante a ปุ๋ยอินทรีย์ (8)

12
1212
12
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
Organicmilk
OrganicmilkOrganicmilk
Organicmilk
 
Organic farming 30/06/54
Organic farming 30/06/54Organic farming 30/06/54
Organic farming 30/06/54
 
องค์ประกอบของสารอาหาร
องค์ประกอบของสารอาหารองค์ประกอบของสารอาหาร
องค์ประกอบของสารอาหาร
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
6
66
6
 
6
66
6
 

ปุ๋ยอินทรีย์

  • 2. ผู้จัดทำ นายอรรถพลเหล็กกาง เลขที่ 6 ชั้นม .6/2 โรงเรียนฝางวิทยายน
  • 3. ที่ปรึกษา อ . คเชณทร์ กองพิลา โรงเรียนฝางวิทยายน
  • 4. ปุ๋ยอินทรีย์ (Organic Fertilizer) คือ ปุ๋ยที่ได้จากอินทรีย์สารซึ่งผลิตขึ้นโดยกรรมวิธีต่างๆ และจะเป็นประโยชน์ต่อพืชก็ต้องผ่านขบวนการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทางชีวภาพเสียก่อน มีวัตถุหลายประเภทที่สามารถนำมาทำเป็นปุ๋ยอินทรีย์ได้ ปุ๋ยอินทรีย์
  • 5. ข้อดี – ข้อจำกัดของปุ๋ยอินทรีย์ มีดังนี้ (1) ข้อดีของปุ๋ยอินทรีย์ . ช่วยปรับปรุงดินให้ดีขึ้น โดยเฉพาะคุณสมบัติทางกายภาพของดิน เช่นความโปร่ง ความร่วนซุย ความสามารถในการอุ้มน้ำ และการปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดิน . อยู่ในดินได้นานและค่อย ๆ ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชอย่างช้า ๆ จึงมีโอกาสสูญเสีย น้อยกว่าปุ๋ยเคมี
  • 6. 2) ข้อจำกัดของปุ๋ยอินทรีย์ . ปุ๋ยอินทรีย์สลายตัวอยาก เช่น ขี้เลื่อย ซึ่งมีอัตราส่วนของคาร์บอนต่อไนโตรเจนสูง เมื่อใส่ในดินปลูกพืชจุลินทรีย์จะแย่งไนโตรเจนในดินไปใช้ในขบวนการย่อย มีผลทำให้พืชขาดไนโตรเจนชั่วคราว ถ้าไม่มีการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนพืชจะขาดจนกว่าจุลินทรีย์เหล่านี้จะมีกิจกรรมลดลง จึงจะได้ไนโตรเจนกลับคืนสู่ดิน
  • 7. . ปุ๋ยอินทรีย์จากมูลสัตว์และวัสดุเหลือทิ้งจากโรงงาน ส่งกลิ่นเหม็นไม่เป็นที่จูงใจผู้ใช้และสกปรก การใช้ปุ๋ยอินทรีย์จากของเหลือทิ้งจากท่อระบายน้ำโสโครก ตามอาคารบ้านเรือน ก่อให้เกิดการปนเปื้อนของโลหะหนักหลายชนิดที่เป็นพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท . การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ยังสลายตัวไม่เต็มที่หรือยังอยู่ระหว่างการย่อยสลายจะทำให้เกิดความร้อน จากการย่อยสลาย เป็นอันตรายต่อรากพืช เช่น การใช้มูลสด ๆ ใส่ใกล้โคนปลูก .
  • 8.                                    วิธีการทำ 1 นำซากพืช   ใบจามจุรีและมูลวัวมาทำการบดให้ละเอียด 2 ร่อนเอาเฉพาะส่วนที่ละเอียดเพื่อใช้เป็นส่วนผสม 3. ผสมคลุกเคลาวัสดุที่ใชเปนสวนประกอบทั้งหมดใหเขาดวยกัน กรณีทําในปริมาณมากใชเครื่องผสมหรือใชโม่ชวยผสม รดน้ำที่ผสมดวยน้ำหมักชีวภาพตามอัตราสวนที่กําหนดใหทั่วกอง 4.   บรรจุใส่ถุงหรือกระสอบเพื่อเตรียมไว้ใช้หรือจำหน่าย 5. สามารถนําปุยไปใชได
  • 9. www . doae . go . th / spp / biofertilizer / or3 . htm อ้างอิง