SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 36
Baixar para ler offline
น.ส.มณีรัตน์ อนุพันธ์ 49064993
แนวคิดในการวางผัง
                                                           อาคารวางด้านยาวตามแนวเหนือ-ใต้ ตามหลักการ
                                                       ออกแบบทั่วไปที่ต้องการลดการนาความร้อนเข้าในอาคาร

   ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ : ส่วนปฏิบัติการวิจย ภาควิชาพฤกษศาสตร์
                               ั
              คณะวิทยาศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

ที่ตั้งโครงการ:อาคารวิทยาศาสตร์ 25 ปี คณะวิทยาศาสตร์
               ม.เกษตรศาสตร์ (วิทยาเขตบางเขน)

  วัตถุประสงค์ของโครงการ

     เพื่อใช้ในการเรียนการสอนด้านปฏิบัติการของ
  ภาควิชา ทั้งระดับปริญญาตรี และโท รวมทั้งใช้ใน
  งานวิจัยของอาจารย์และนิสิตภายในภาคด้วย
                                                                                 ผังแสดงคณะวิทยาศาสตร์
แนวคิดด้านประโยชน์ใช้สอย

ในส่วนห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการเรียนการสอน        2. ห้องปฏิบัติการด้านเคมี - ชีวเคมี ที่มการใช้
                                                                                          ี
 มี 2 ลักษณะ                                         สารเคมี ลักษณะคล้ายแบบแรก แต่จะมีชั้น
                                                     วางสารเคมีไว้ด้วย
1.ห้องปฏิบัติการด้านกายภาพ จะเป็นโต๊ะปฏิบัติการ
  ทั่วไป ใช้ในการศึกษาด้านกายภาพของพืช ซึ่งไม่
  ได้ใช้สารเคมี
ห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการวิจย จะจัดเป็น zone
                               ั
แยกต่างหาก มีห้องปฏิบัตการสรีระวิทยา ซึงเป็น
                          ิ                 ่
ลักษณะ ห้องกึงอเนกประสงค์ เนื่องจากข้อจากัด
               ่
ด้านพื้นที่


    ห้องเตรียมสารอาหารอยู่ติดกับห้องเตรียมสารเคมี
อุปกรณ์ และภาชนะต่างๆที่ใช้สาหรับการเพราะเชื้อ
และเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจะถูกนามาต้มฆ่าเชื้อที่นี่ และ
เก็บไว้ใช้งานต่อไป



   ห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจะอยู่ด้านในสุด แบ่งเป็น
2 ส่วนได้แก่ ส่วนเตรียมงานอยู่ด้านหน้ากันระหว่าง
                                          ้
ทางเดินส่วนที่ 2 มีการควบคุมเรื่องความสะอาด
โดยการเข้าถึงจะต้องผ่านส่วนเตรียมงานด้านหน้า
ก่อน แล้วจึงเปลี่ยนรองเท้า และเสื้อ
ส่วนของ Herbarium หรือส่วนที่
เก็บตัวอย่างแห้งมีการควบคุม อุณหภูมิ
ความชื้นและกันแมลง ลักษณะการ
ทางาน จะมีการนาตัวอย่างพืชที่ได้มา
อัดเป็นแผง แล้วนาไปตากแดดหรืออบ
ให้แห้ง จากนั้นจึงอาบน้ายา และเก็บ
เข้าแฟ้มในตูเ้ ก็บ โดยจัดหมวดหมู่ตาม
ลาดับสายพันธุ์ ส่วนผลของพืชบางชนิด
จะแยกเก็บ โดยใช้วิธีการดอง และนา
ไปเก็บในตู้ที่มีลกษณะเป็นชั้นวาง
                  ั


                                       ตู้เก็บตัวอย่างแห้ง   ตู้เก็บตัวอย่างดอง
ส่วนปลูกพืชนอกอาคาร และเรือนเพาะ แบบชั่วคราว
เป็นลักษณะแบบ Knockdown สามารถถอดประกอบ
ได้ เป็นโครงเต็นท์น้าหนักเบา และเคลื่อนย้ายได้

                                                     Greenhouse (เรือนกระจก)
   ส่วน Nursery ที่ใช้เพาะเลี้ยงต้นอ่อนจะเป็นอาคาร
แยกออกมา เป็นอาคารโปร่งภายในแบ่งเป็นหลายส่วน




                                                         Nursery ( เรือนเพาะ
Case Study
       สวนพฤกษศาสตร์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
สวนพฤกษศาสตร์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
                                                           ความเป็นมา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ
                                                    เล็งเห็นว่า ปัจจุบันป่าไม้ของประเทศไทยนั้นลดลงอย่างมาก จึงได้
                                                    จัดตั้งสวนพฤกษศาสตร์นี้ขึ้นมา เพื่อทาการวิจัยถึงการลดลงของป่า
                                                   และการเก็บรักษาพรรณไม้หายาก เพื่อการศึกษาในอนาคต และ
                                                   เป็นสวนพฤกษศาสตร์สากลแห่งแรกของประเทศไทยด้วย
ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ : สวนพฤกษศาสตร์
                  สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์      วัตถุประสงค์ของโครงการ
ที่ตั้งโครงการ : ตั้งอยู่ในพื้นที่บริเวณชายเขต
                 อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย          1.เป็นศูนย์อนุรักษ์พืชพันธุ์ของประเทศไทย โดยเฉพาะไม้
                 ในเขตตาบลแม่แรม อ.แม่ริม              ประจาถิ่น กล้วยไม้ ไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ ไม้สมุนไพร
                 จังหวัดเชียงใหม่                      ไม้หายาก และไม้ที่กาลังจะสูญพันธุ์
                                                     2.เป็นศูนย์ส่งเสริมในการศึกษาค้นคว้าวิจัย และฝึกอบรม
พื้นที่โครงการ : ประมาณ 6,500 ไร่                      ทางด้านพฤกษศาสตร์
                                                     3.เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจของประชาชน
แนวคิดในการวางผัง



                              1. ออกแบบวางผังตามสภาพพื้นที่ซงเป็นที่ราบ
                                                                 ึ่
                          และที่สูงสลับกันเป็นชั้นๆ มีการจัดวางอาคารใน
                          พื้นที่ที่เหมาะสมโดย มีทางสัญจรที่เชื่อมถึงกันได้

                             2.ในส่วนพื้นที่อาคาร ต้องการให้ส่วนต้อนรับ
                          และส่วนบริการสาธารณะ เป็นอาคารกลุ่มแรก เพื่อ
                          การบริการและ การเข้าถึงที่สะดวกและรวดเร็ว

                             3.มีการจัดวางอาคารเพื่อการพักผ่อน และเป็น
                          จุดชมวิวเพื่อถ่ายรูปได้



ผังแสดงทางสัญจรและอาคาร
การออกแบบเทคโนโลยีอาคาร
 กลุ่มอาคารเรือนกระจกที่มีการจัดแสดงพรรณไม้หลากชนิดที่ต้อง
ออกแบบโดยคานึงสัดส่วนของมนุษย์ไปพร้อมกับสัดส่วนของต้นไม้
โดยมีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นที่พอเหมาะ

โครงสร้างและระบบที่ต้องใช้ในโครงการ
  1.โครงสร้างตัวอาคารเรือนกระจกเป็นโครงสร้าง Truss ที่ออกแบบ
เป็นลักษณะจั่วธรรมดาที่ใช้วัสดุเหล็กเคลือบสารกันสนิม
  2.ผนังและหลังคา เนื่องจากตัวอาคารใช้แสดงพรรณไม้ที่ต้องการ
แสงแดดอยู่ตลอดเวลา วัสดุที่ใช้นั้นจะต้องโปร่งใส ซึ่งในโครงการนี้ใช้
กระจกทนต่ออุณหภูมิที่สูงได้ และเป็นวัสดุที่เก็บความร้อนได้ดี
   3.การควบคุมสภาพอากาศในอาคารแสดงพรรณไม้ ในเขตร้อน มี
อุปกรณ์ดังนี้
  ระบบปล่อยละอองน้าอุ่นเพื่อเพิ่มความชื้นในอุณหภูมิที่พอเหมาะกับต้นไม้
  -อุปกรณ์วัดความชื้นให้คงที่อยู่ที่ 70%
  -อุปกรณ์วัดอุณหภูมิให้คงที่อยู่ระหว่าง 25-35 องศาเซลเซียส
  -อุปกรณ์ปรับระดับความเข้มของแสงโดยจะมีเวลากาหนด เพื่อให้แสงที่
ส่องเข้ามาในอาคารมีปริมาณที่เหมาะสม โดยจะเป็นลักษณะม่าน
ตาข่ายเลื่อนมาเปิดเพื่อลดแสงลง
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)
การดาเนินการและหน้าที่รับผิดชอบของบุคคล
(ผังบริหารองค์กร)
                                       กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

                                      สานักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้

                                      ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้

                                            ผู้ช่วยหัวหน้าศูนย์
                                                            เลขานุการ


 ฝ่ายอานวยการ        ฝ่ายวิจัย               ฝ่ายวิชาการ            ฝ่ายบริการสาธารณะ   ฝ่ายบริการ
  -ประชาสัมพันธ์    -งานวิจัย                  -ฝึกอบรม                 -ร้านค้า        -ห้องพักนักวิจย
                                                                                                      ั
  -ธุรการ           -ฝ่ายเจ้าหน้าที            -ห้องสมุด                -โรงอาหาร       -ซ่อมบารุง
  -การคลัง          -หอพรรณไม้                 -นิทรรศการ               -ตั้งแคมป์      -งานสวน
  -พัสดุ            -แปลงทดลอง                                          -สวนพฤษศาสตร์   -งานรักษาความปลอดภัย
  -ทะเบียน                                                                              -งานทาความสะอาด
  -อาคารสถานที
   และพาหนะ
พฤติกรรมของผู้ใช้โครงการ

1) ลักษณะกิจกรรมในโครงการ
โครงการนี้ดาเนินงานอยู่ภายใต้หน่วยงานกรมป่าไม้ และมีการให้บริการกับหน่วยงานภายนอก
และบุคคลทั่วไป โดยมีรูปแบบของกิจกรรมดั้งนี้

การให้บริการแก่สาธารณะชน
1.พื้นที่ส่วนของสวนพฤกษศาสตร์ของโครงการเปิดให้คนภายนอกเข้ามาศึกษา
 หาความรู้ พักผ่อนหย่อนใจ และนักท่องเที่ยวสามารถตั้งแคมป์ได้
2.ร้านค้าที่ให้บริการแก่คนที่มาเยียมชมโครงการ ได้แก่ ร้านอาหารซึ่งรองรับทั้ง
                                  ่
บุคคลภายนอกและบุคลากรของโครงการ ร้านหนังสือ ทางด้านพืชต่างๆทั้งทางด้าน
วิชาการจนถึงการเพาะเลี้ยง และการจัดตกแต่งสวน เป็นต้น ร้านจาหน่ายพันธุพืช    ์
เป็นการส่งเสริมการอนุรกษ์พรรณไม้ที่ทางศูนย์ฯ เพาะเลี้ยงขึ้นให้กับผู้ที่สนใจ
                         ั
3.จัดกิจกรรมแสดงต่างๆ เช่น งานแสดงพรรณไม้
การให้บริการด้านการศึกษา
1.ห้องสมุดพฤกษศาสตร์ ให้บริการค้นคว้าข้อมูลทังทางหนังสือ นิตยสาร
                                             ้
 และสื่อต่างๆ เช่น วีดีโอ คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย
2.งานนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับพรรณไม้ในด้านต่างๆ
 เช่น การจาแนกพืช ลักษณะสาคัญของพรรณไม้
3.งานสัมมนาของกลุมผู้สนใจทางด้านพฤกษศาสตร์
                 ่
4.การฝึกอบรมระยะสั้น สาหรับบุคคลทั่วไป นักเรียน และนักศึกษา
5.การฝึกอบรมทางวิชาการสาหรับผูมีความรู้เฉพาะทังในสาขา
                              ้               ้
 และนอก สาขาพฤกษศาสตร์
6.การประชุมทางวิชาการในสาขาพฤกษศาสตร์
การค้นคว้าวิจัย
1. ด้านการจาแนกสายพรรณไม้
 -งานจาแนกสายพรรณไม้
 -ศึกษาการวิวัฒนาการ การปรับตัว
2. ด้านกายวิภาค (โครงสร้างของพืช)
 -ศึกษาองค์ประกอบของพรรณไม้
 -ศึกษา และเปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพของพรรณไม้แต่ละชนิด
 -ศึกษาเนื้อเยื่อ ลักษณะภายใน พัฒนาการของส่วนต่างๆ ในพรรณไม้
3.ด้านชีวเคมี                         5.ด้านกายภาพ
  -ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของพรรณไม้    -ศึกษาการเจริญเติบโต
  -ศึกษากระบวนการทางเคมีของพรรณไม้     -ศึกษาความสัมพันธ์กับดิน ฟ้า อากาศ
4.ด้านพันธุกรรม                       6.ด้านอนุรักษ์พรรณไม้
  -ศึกษารหัสพันธุกรรม                  -การเพาะเลียงเนื้อเยื่อ
                                                  ้
  -การผสมพันธุ์ และการผสมข้ามพันธุ์    -การทดลองเพาะปลูก-การขยายพันธุ์
  -การกลายพันธุ์
2) ประเภทผู้ใช้โครงการ

1.บุคลากรในโครงการ
1.1 บุคลากรทั่วไป
-ผู้บริหารศูนย์วิจัย คอยควบคุมดูแล และรับผิดชอบในโครงการ
-เจ้าหน้าที่ และพนักงานทั่วไปของโครงการ เช่น เจ้าหน้าที่ธรการ
                                                         ุ
เจ้าหน้าที่ห้องสมุด เป็นต้น


1.2 บุคลากรเฉพาะ
-นักวิชาการ ทาการฝึกอบรม และบรรยาย
-นักวิจย ทาการค้นคว้าวิจัยในห้องปฏิบัตการ
       ั                              ิ
-ผู้ช่วยนักวิจัย
-เจ้าหน้าที่เทคนิค ควบคุมเครื่องมือ และอุปกรณ์พิเศษต่างๆ
2.บุคคลภายนอก

2.1 บุคคลทั่วไป
  -ประชาชน ที่เข้ามาชมงาน ชมสวนพฤกษศาสตร์หรือมาหาความรู้
  -นักเรียน นักศึกษา ที่มาทัศนศึกษา หรือมาหาข้อมูล
   -นักท่องเทียวที่เข้ามาตั้งแคมป์ พักแรมภายในสวนพฤกษศาสตร์
              ่

2.2 ผู้ฝกอบรม
        ึ
  -นักเรียน นักศึกษา และคนทั่วไป
  -เจ้าหน้าทีและอาจารย์จากหน่วยงานต่างๆ
             ่

2.3 ผู้รวมโครงการ
        ่
  -นักวิชาการ ที่มาร่วมประชุมวิชาการ
  -นักวิจยภายนอก ทีมาใช้ข้อมูล และเครื่องมือ
          ั           ่
ความสัมพันธ์ของพื้นที่ใช้สอยในโครงการ
      (Functional Relationship Diagram )
ส่วนอานวยการ
                                       ฝ่ายอาคารสถานที่
                                        และยานพาหนะ

                                        ฝ่ายพัสดุ

                                       ฝ่ายการคลัง

                                        ฝ่ายธุรการ

         ห้องน้า   ติดต่อ สอบถาม       ฝ่ายบริหาร


                    โถงทางเข้า

                                   ที่จอดรถ
ส่วนวิจัย
                                     หอพรรณไม้
                    แปลงทดลอง
                                                     ห้องเย็น
                                                     ห้องมืด

                                                     ห้องปฏิบัติการชีววิทยา
                       ห้องเก็บของ
                                                     ห้องปฏิบัติการชีวเคมี
    ห้องเพาะเชื้อ
                        ห้องเตรียม                    ห้องเตรียมตัวอย่าง
                        สารอาหาร
   ห้องเพาะเลี้ยง
      เนื้อเยื่อ                                 ห้องน้า

                                     ที่พักคอย             ส่วนทางาน
ส่วนวิชาการ

                                         ห้องน้า
                            ห้องสัมมนา   ห้องเตรียมอุปกรณ์
                             และอบรม
                                         ห้องบรรยาย

                                         ห้องบรรยาย
                    ส่วนทางาน            ห้องบรรยาย
        นิทรรศการ
                            ส่วนพักคอย   ห้องพักวิทยากร

         ห้องสมุด

                            โถงทางเข้า
ส่วนบริการสาธารณะ



                             สวนพฤกษศาสตร์


                                        ตั้งแคมป์
        ร้านขาย
          ต้นไม้    ประชาสัมพันธ์        ห้องน้า
       ร้านอาหาร

         ห้องน้า    โถงพักคอย
ส่วนบริการ
                                        ห้องเก็บขยะ

                                      ห้องเครื่องไฟฟ้า

                                      ห้องเครื่องปั๊มน้า

                                       ห้องระบบปรับ
        ห้องเก็บของ                        อากาศ
                                      ห้องระบบบาบัด
        ห้องซ่อมบารุง                     น้าเสีย

       ห้องทางานช่าง    ส่วนพักผ่อน
Staff & service
                                       Parking
                                                                                    ห้องพัก
                                                                                    นักวิจัย


           สวน            Service
 ตั้ง                                         แปลงทดลอง    หอพรรณ
        พฤกษศาสตร์                                                   Laboratory
แคมป์                               load        เพาะชา       ไม้

          ร้านค้า

         โรงอาหาร

              ห้องฝึกอบรม                             Informa       Administration
                                                        tion
                                                                     Lobby
                    ห้องสมุด             Lobby                      Lounge
               นิทรรศการ
                                                      Parking         เจ้าหน้าที่
                                         Main                         นักวิจัย นักวิชาการ
                                        Entrance                      นักท่องเที่ยว ผู้อบรม
                                                                      ช่างซ่อมบารุง คนสวน
สรุป                                         ศึกษาโครงสร้างของศูนย์วิจัย
                                                    เฉพาะในส่วนเรือนเพาะปลูก
รูปแบบและลักษณะของศูนย์วิจัย                       -ส่วนของอาคารเรือนกระจกเป็น
ในส่วนห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการเรียนการสอน         โครงสร้าง Truss
 มี 2 ลักษณะ                                       -ผนังและหลังคาโปร่งใส เพื่อ
1.ห้องปฏิบัติการด้านกายภาพ จะเป็นโต๊ะปฏิบัติการ    ต้องการรับแสงแดด ซึ่งกระจก
    ทั่วไป ใช้ในการศึกษาด้านกายภาพของพืช ซึ่งไม่   สามารถทนต่ออุณหภูมิที่สูงได้
    ได้ใช้สารเคมี                                  -ภายในอาคารเรือนกระจก มีระบบ
2. ห้องปฏิบัติการด้านเคมี - ชีวเคมี ที่มีการใช้    การควบคุมสภาพอากาศตาม
     สารเคมี ลักษณะคล้ายแบบแรก แต่จะมีชั้นวาง      ความเหมาะสมของพรรณไม้
     สารเคมีไว้ด้วย

รูปแบบการจัดอบรม มี 2 แบบ คือ                      ศึกษาวิธีการหรือรูปแบบการจัดแสดง
   1.การบรรยายประกอบการสาธิต                       จะแบ่งตามชนิดของพรรณไม้
    2.การฝึกปฎิบัติ
การศึกษาวิธีการทดลอง เพาะปลูก
 1.Nursery (เรือนเพาะชา)
-ในทางพืชสวน nursery หมายถึงอาคารสถานที่ หรือพื้นที่ ที่ใช้เพื่อการขยายพันธุ์
(propagation) การผสมพันธุ์ (breeding) และการปฏิบัติดูแลต้นพืชในระยะ
เริ่มต้น
-ใช้เพื่อการปฏิบัติดูแล และการพัฒนาต้นพืชทุกประเภท รวมถึงสถานที่ขายส่งและขาย
ปลีกกล้าไม้ที่พร้อมจะนาไปปลูก
-ตั้งแต่มการติดตังระบบการให้น้า มีเรือนกระจกขนาดใหญ่ ทีมีการควบคุมอุณหภูมิให้
          ี       ้                                       ่
เหมาะกับสภาพตามธรรมชาติของพืช ทาให้การเพาะเลี้ยงพันธุ์ไม้ประสบความสาเร็จเป็น
อย่างดี เช่น nursery ที่ใช้เพาะเลี้ยงไม้ดอกไม้ประดับประเภทหัวในประเทศ
เนเธอร์แลนด์ซึ่งเป็นที่รจักมาช้านาน
                        ู้
-เรือนเพาะชาสมัยใหม่ที่ดาเนินการโดยทีมงานผู้เชียวชาญ มีการติดตั้งอุปกรณ์อานวย
                                               ่
ความสะดวก ให้ประโยชน์ทั้งในด้านการค้นคว้าทดลอง และการผลิตในปริมาณมาก ๆ
(mass production) สามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ ต้นกล้าของพันธุ์ไม้ตามความ
ต้องการและมีคุณภาพได้เพียงพอกับความต้องการของผู้จัดสวนตามบ้าน ผู้ปลูกไม้
2.Greenhouse (เรือนกระจก)


• เรือนกระจก เป็นเรือนโรงบุด้วยกระจกที่ปิดมิดชิด ใช้สาหรับปลูกพืชในสภาพที่มีการ ควบคุม
อุณหภูมิ ความชื้นในอากาศ และการระบายอากาศให้คงที่อยู่เสมอ
• ขนาดของเรือนกระจกมีตั้งแต่ห้องเล็ก ๆ ที่ช่วยให้ต้นพืชจานวนไม่มากนักผ่านพ้นฤดูหนาว (ใน
ประเทศเขตหนาว) จนกระทั่งเป็นโรงเรือนปรับอุณหภูมิที่มีขนาดใหญ่มาก (hothouse หรือ
conservatory) ครอบคลุมพื้นที่หลายเอเคอร์ (1 เอเคอร์ = 2.5 ไร่) ใช้เพื่อบังคับให้ไม้ผล หรือไม้ดอก
ออกนอกฤดู
• สมัยก่อนใช้เรือนกระจกเพื่อช่วยให้ต้นพืชผ่านพ้นฤดูที่อากาศหนาวเย็น (cold seasons) เพาะปลูก
พืชเขตร้อน (tropical plants) และไม้ผลที่มีความทนทานน้อย แต่ในศตวรรษนี้ มีการใช้เรือนกระจก
ผลิตพืชผัก และขณะนี้การผลิตพืชโดยอาศัยเรือนกระจกมีมูลค่าหลายล้าน USD ต่อปี
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) คือ
     การท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบในแหล่ง
     ธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น และแหล่ง
     วัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ โดยมี
     กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ของผู้ที่เกี่ยวข้อง
     ภายใต้การจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยว
     อย่างมีส่วนร่วมของท้องถิ่น เพื่อมุ่งเน้นให้เกิด
     จิตสานึกแห่งการรักษาระบบนิเวศอย่างยั่งยืน
     ขอบเขตของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ครอบคลุมองค์ประกอบ 4 ด้าน(มิติ)
1. องค์ประกอบด้านพื้นที่        2. องค์ประกอบด้านการ         3. องค์ประกอบด้าน           4. องค์ประกอบด้านการมี
 การท่องเที่ยวในแหล่งท่อง       จัดการ การท่องเที่ยว ที่มี   กิจกรรมและกระบวนการ         ส่วนร่วม เป็นการท่องเทียว่
เที่ยวที่เกี่ยวเนื่องเป็นธรรม   ความรับผิดชอบ ไม่มีผล        การท่องเที่ยวทีเ่ อื้อต่อ   ที่คานึงถึงการมีส่วนร่วมของ
ชาติเป็นหลัก มีแหล่งท่อง        กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ       กระบวนการเรียนรู้ โดยมี     ประชาชนและชุมชน เพื่อ
เที่ยว ที่เป็นเอกลักษณ์         สังคม มีการจัดการที่ยงยืน
                                                     ั่      การศึกษาเกี่ยวกับสภาพ       ก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อ
เฉพาะถิ่น                                                    แวดล้อมและระบบนิเวศ         ท้องถิ่น
การวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ
       เนื่องจากโครงการนี้เป็นโครงการที่มี
กิจกรรมเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย อนุรักษ์
พรรณไม้ และเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
ดังนั้นโครงการนี้ควรเลือกที่ตั้งโครงการที่มี
ศักยภาพและมีหน่วยงานสนับสนุนงานวิจัย
ด้วย ซึ่งโครงการนี้ได้ดาเนินงานภายใต้สังกัด
ทรัพยากรธรรมชาติ ในส่วนของสานักงาน
วิจัยและพัฒนาการป่าไม้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 4)
          จ.สุราษฎร์ธานี 1.สถานีวิจัยสัตว์ป่าคลองแสน
                         2.สถานีทดลองปลูกพรรณไม้ป่า

หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 5)
          จ.นครศรีฯ 1. สบก. 5
                      1.1การมีส่วนร่วมของชุมชนดั้งเดิมใน
                         พื้นที่อนุรักษ์


หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 5)
          จ.ตรัง 1.สถานีวิจัยนิเวศวิทยาป่าไม้กันตัง
หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6)
          จ.พัทลุง 1. สถานีพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์สัตว์
                      ป่าทะเลน้อย


หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6)
          จ.พัทลุง 1. สถานีพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์สัตว์
                      ป่าทะเลน้อย


หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6)
           จ.สงขลา 1.ศูนย์เมล็ดพันธุ์ไม้ป่าภาคใต้ อ.หาดใหญ่
                     2.สถานีทดลองปลูกพรรณไม้ป่าสงขลา
หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6)
          จ.ปัตตานี 1. กลุ่มวิชาการ




หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6)
          จ.นราธิวาส 1.สถานีวิจัยสัตว์ป่า ป่าพรุ-ป่าฮาลา-บาลา
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)
อันดับ     จังหวัด   เนื้อที่ป่าไม้(ตร.กม.)
   1    สุราษฎร์ธานี         3,011
   2   นครศรีธรรมราช         1,229
   3         ตรัง             935
   4      นราธิวาส            685
   5       สงขลา              572
THE
END

Mais conteúdo relacionado

ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)

  • 2. แนวคิดในการวางผัง อาคารวางด้านยาวตามแนวเหนือ-ใต้ ตามหลักการ ออกแบบทั่วไปที่ต้องการลดการนาความร้อนเข้าในอาคาร ข้อมูลโครงการ ชื่อโครงการ : ส่วนปฏิบัติการวิจย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ ั คณะวิทยาศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ ที่ตั้งโครงการ:อาคารวิทยาศาสตร์ 25 ปี คณะวิทยาศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ (วิทยาเขตบางเขน) วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อใช้ในการเรียนการสอนด้านปฏิบัติการของ ภาควิชา ทั้งระดับปริญญาตรี และโท รวมทั้งใช้ใน งานวิจัยของอาจารย์และนิสิตภายในภาคด้วย ผังแสดงคณะวิทยาศาสตร์
  • 3. แนวคิดด้านประโยชน์ใช้สอย ในส่วนห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการเรียนการสอน 2. ห้องปฏิบัติการด้านเคมี - ชีวเคมี ที่มการใช้ ี มี 2 ลักษณะ สารเคมี ลักษณะคล้ายแบบแรก แต่จะมีชั้น วางสารเคมีไว้ด้วย 1.ห้องปฏิบัติการด้านกายภาพ จะเป็นโต๊ะปฏิบัติการ ทั่วไป ใช้ในการศึกษาด้านกายภาพของพืช ซึ่งไม่ ได้ใช้สารเคมี
  • 4. ห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการวิจย จะจัดเป็น zone ั แยกต่างหาก มีห้องปฏิบัตการสรีระวิทยา ซึงเป็น ิ ่ ลักษณะ ห้องกึงอเนกประสงค์ เนื่องจากข้อจากัด ่ ด้านพื้นที่ ห้องเตรียมสารอาหารอยู่ติดกับห้องเตรียมสารเคมี อุปกรณ์ และภาชนะต่างๆที่ใช้สาหรับการเพราะเชื้อ และเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจะถูกนามาต้มฆ่าเชื้อที่นี่ และ เก็บไว้ใช้งานต่อไป ห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจะอยู่ด้านในสุด แบ่งเป็น 2 ส่วนได้แก่ ส่วนเตรียมงานอยู่ด้านหน้ากันระหว่าง ้ ทางเดินส่วนที่ 2 มีการควบคุมเรื่องความสะอาด โดยการเข้าถึงจะต้องผ่านส่วนเตรียมงานด้านหน้า ก่อน แล้วจึงเปลี่ยนรองเท้า และเสื้อ
  • 5. ส่วนของ Herbarium หรือส่วนที่ เก็บตัวอย่างแห้งมีการควบคุม อุณหภูมิ ความชื้นและกันแมลง ลักษณะการ ทางาน จะมีการนาตัวอย่างพืชที่ได้มา อัดเป็นแผง แล้วนาไปตากแดดหรืออบ ให้แห้ง จากนั้นจึงอาบน้ายา และเก็บ เข้าแฟ้มในตูเ้ ก็บ โดยจัดหมวดหมู่ตาม ลาดับสายพันธุ์ ส่วนผลของพืชบางชนิด จะแยกเก็บ โดยใช้วิธีการดอง และนา ไปเก็บในตู้ที่มีลกษณะเป็นชั้นวาง ั ตู้เก็บตัวอย่างแห้ง ตู้เก็บตัวอย่างดอง
  • 6. ส่วนปลูกพืชนอกอาคาร และเรือนเพาะ แบบชั่วคราว เป็นลักษณะแบบ Knockdown สามารถถอดประกอบ ได้ เป็นโครงเต็นท์น้าหนักเบา และเคลื่อนย้ายได้ Greenhouse (เรือนกระจก) ส่วน Nursery ที่ใช้เพาะเลี้ยงต้นอ่อนจะเป็นอาคาร แยกออกมา เป็นอาคารโปร่งภายในแบ่งเป็นหลายส่วน Nursery ( เรือนเพาะ
  • 7. Case Study สวนพฤกษศาสตร์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
  • 8. สวนพฤกษศาสตร์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ความเป็นมา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เล็งเห็นว่า ปัจจุบันป่าไม้ของประเทศไทยนั้นลดลงอย่างมาก จึงได้ จัดตั้งสวนพฤกษศาสตร์นี้ขึ้นมา เพื่อทาการวิจัยถึงการลดลงของป่า และการเก็บรักษาพรรณไม้หายาก เพื่อการศึกษาในอนาคต และ เป็นสวนพฤกษศาสตร์สากลแห่งแรกของประเทศไทยด้วย ข้อมูลโครงการ ชื่อโครงการ : สวนพฤกษศาสตร์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ วัตถุประสงค์ของโครงการ ที่ตั้งโครงการ : ตั้งอยู่ในพื้นที่บริเวณชายเขต อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย 1.เป็นศูนย์อนุรักษ์พืชพันธุ์ของประเทศไทย โดยเฉพาะไม้ ในเขตตาบลแม่แรม อ.แม่ริม ประจาถิ่น กล้วยไม้ ไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ ไม้สมุนไพร จังหวัดเชียงใหม่ ไม้หายาก และไม้ที่กาลังจะสูญพันธุ์ 2.เป็นศูนย์ส่งเสริมในการศึกษาค้นคว้าวิจัย และฝึกอบรม พื้นที่โครงการ : ประมาณ 6,500 ไร่ ทางด้านพฤกษศาสตร์ 3.เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจของประชาชน
  • 9. แนวคิดในการวางผัง 1. ออกแบบวางผังตามสภาพพื้นที่ซงเป็นที่ราบ ึ่ และที่สูงสลับกันเป็นชั้นๆ มีการจัดวางอาคารใน พื้นที่ที่เหมาะสมโดย มีทางสัญจรที่เชื่อมถึงกันได้ 2.ในส่วนพื้นที่อาคาร ต้องการให้ส่วนต้อนรับ และส่วนบริการสาธารณะ เป็นอาคารกลุ่มแรก เพื่อ การบริการและ การเข้าถึงที่สะดวกและรวดเร็ว 3.มีการจัดวางอาคารเพื่อการพักผ่อน และเป็น จุดชมวิวเพื่อถ่ายรูปได้ ผังแสดงทางสัญจรและอาคาร
  • 10. การออกแบบเทคโนโลยีอาคาร กลุ่มอาคารเรือนกระจกที่มีการจัดแสดงพรรณไม้หลากชนิดที่ต้อง ออกแบบโดยคานึงสัดส่วนของมนุษย์ไปพร้อมกับสัดส่วนของต้นไม้ โดยมีการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นที่พอเหมาะ โครงสร้างและระบบที่ต้องใช้ในโครงการ 1.โครงสร้างตัวอาคารเรือนกระจกเป็นโครงสร้าง Truss ที่ออกแบบ เป็นลักษณะจั่วธรรมดาที่ใช้วัสดุเหล็กเคลือบสารกันสนิม 2.ผนังและหลังคา เนื่องจากตัวอาคารใช้แสดงพรรณไม้ที่ต้องการ แสงแดดอยู่ตลอดเวลา วัสดุที่ใช้นั้นจะต้องโปร่งใส ซึ่งในโครงการนี้ใช้ กระจกทนต่ออุณหภูมิที่สูงได้ และเป็นวัสดุที่เก็บความร้อนได้ดี 3.การควบคุมสภาพอากาศในอาคารแสดงพรรณไม้ ในเขตร้อน มี อุปกรณ์ดังนี้ ระบบปล่อยละอองน้าอุ่นเพื่อเพิ่มความชื้นในอุณหภูมิที่พอเหมาะกับต้นไม้ -อุปกรณ์วัดความชื้นให้คงที่อยู่ที่ 70% -อุปกรณ์วัดอุณหภูมิให้คงที่อยู่ระหว่าง 25-35 องศาเซลเซียส -อุปกรณ์ปรับระดับความเข้มของแสงโดยจะมีเวลากาหนด เพื่อให้แสงที่ ส่องเข้ามาในอาคารมีปริมาณที่เหมาะสม โดยจะเป็นลักษณะม่าน ตาข่ายเลื่อนมาเปิดเพื่อลดแสงลง
  • 12. การดาเนินการและหน้าที่รับผิดชอบของบุคคล (ผังบริหารองค์กร) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ สานักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ ผู้ช่วยหัวหน้าศูนย์ เลขานุการ ฝ่ายอานวยการ ฝ่ายวิจัย ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายบริการสาธารณะ ฝ่ายบริการ -ประชาสัมพันธ์ -งานวิจัย -ฝึกอบรม -ร้านค้า -ห้องพักนักวิจย ั -ธุรการ -ฝ่ายเจ้าหน้าที -ห้องสมุด -โรงอาหาร -ซ่อมบารุง -การคลัง -หอพรรณไม้ -นิทรรศการ -ตั้งแคมป์ -งานสวน -พัสดุ -แปลงทดลอง -สวนพฤษศาสตร์ -งานรักษาความปลอดภัย -ทะเบียน -งานทาความสะอาด -อาคารสถานที และพาหนะ
  • 13. พฤติกรรมของผู้ใช้โครงการ 1) ลักษณะกิจกรรมในโครงการ โครงการนี้ดาเนินงานอยู่ภายใต้หน่วยงานกรมป่าไม้ และมีการให้บริการกับหน่วยงานภายนอก และบุคคลทั่วไป โดยมีรูปแบบของกิจกรรมดั้งนี้ การให้บริการแก่สาธารณะชน 1.พื้นที่ส่วนของสวนพฤกษศาสตร์ของโครงการเปิดให้คนภายนอกเข้ามาศึกษา หาความรู้ พักผ่อนหย่อนใจ และนักท่องเที่ยวสามารถตั้งแคมป์ได้ 2.ร้านค้าที่ให้บริการแก่คนที่มาเยียมชมโครงการ ได้แก่ ร้านอาหารซึ่งรองรับทั้ง ่ บุคคลภายนอกและบุคลากรของโครงการ ร้านหนังสือ ทางด้านพืชต่างๆทั้งทางด้าน วิชาการจนถึงการเพาะเลี้ยง และการจัดตกแต่งสวน เป็นต้น ร้านจาหน่ายพันธุพืช ์ เป็นการส่งเสริมการอนุรกษ์พรรณไม้ที่ทางศูนย์ฯ เพาะเลี้ยงขึ้นให้กับผู้ที่สนใจ ั 3.จัดกิจกรรมแสดงต่างๆ เช่น งานแสดงพรรณไม้
  • 14. การให้บริการด้านการศึกษา 1.ห้องสมุดพฤกษศาสตร์ ให้บริการค้นคว้าข้อมูลทังทางหนังสือ นิตยสาร ้ และสื่อต่างๆ เช่น วีดีโอ คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย 2.งานนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับพรรณไม้ในด้านต่างๆ เช่น การจาแนกพืช ลักษณะสาคัญของพรรณไม้ 3.งานสัมมนาของกลุมผู้สนใจทางด้านพฤกษศาสตร์ ่ 4.การฝึกอบรมระยะสั้น สาหรับบุคคลทั่วไป นักเรียน และนักศึกษา 5.การฝึกอบรมทางวิชาการสาหรับผูมีความรู้เฉพาะทังในสาขา ้ ้ และนอก สาขาพฤกษศาสตร์ 6.การประชุมทางวิชาการในสาขาพฤกษศาสตร์
  • 15. การค้นคว้าวิจัย 1. ด้านการจาแนกสายพรรณไม้ -งานจาแนกสายพรรณไม้ -ศึกษาการวิวัฒนาการ การปรับตัว 2. ด้านกายวิภาค (โครงสร้างของพืช) -ศึกษาองค์ประกอบของพรรณไม้ -ศึกษา และเปรียบเทียบลักษณะทางกายภาพของพรรณไม้แต่ละชนิด -ศึกษาเนื้อเยื่อ ลักษณะภายใน พัฒนาการของส่วนต่างๆ ในพรรณไม้
  • 16. 3.ด้านชีวเคมี 5.ด้านกายภาพ -ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของพรรณไม้ -ศึกษาการเจริญเติบโต -ศึกษากระบวนการทางเคมีของพรรณไม้ -ศึกษาความสัมพันธ์กับดิน ฟ้า อากาศ 4.ด้านพันธุกรรม 6.ด้านอนุรักษ์พรรณไม้ -ศึกษารหัสพันธุกรรม -การเพาะเลียงเนื้อเยื่อ ้ -การผสมพันธุ์ และการผสมข้ามพันธุ์ -การทดลองเพาะปลูก-การขยายพันธุ์ -การกลายพันธุ์
  • 17. 2) ประเภทผู้ใช้โครงการ 1.บุคลากรในโครงการ 1.1 บุคลากรทั่วไป -ผู้บริหารศูนย์วิจัย คอยควบคุมดูแล และรับผิดชอบในโครงการ -เจ้าหน้าที่ และพนักงานทั่วไปของโครงการ เช่น เจ้าหน้าที่ธรการ ุ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด เป็นต้น 1.2 บุคลากรเฉพาะ -นักวิชาการ ทาการฝึกอบรม และบรรยาย -นักวิจย ทาการค้นคว้าวิจัยในห้องปฏิบัตการ ั ิ -ผู้ช่วยนักวิจัย -เจ้าหน้าที่เทคนิค ควบคุมเครื่องมือ และอุปกรณ์พิเศษต่างๆ
  • 18. 2.บุคคลภายนอก 2.1 บุคคลทั่วไป -ประชาชน ที่เข้ามาชมงาน ชมสวนพฤกษศาสตร์หรือมาหาความรู้ -นักเรียน นักศึกษา ที่มาทัศนศึกษา หรือมาหาข้อมูล -นักท่องเทียวที่เข้ามาตั้งแคมป์ พักแรมภายในสวนพฤกษศาสตร์ ่ 2.2 ผู้ฝกอบรม ึ -นักเรียน นักศึกษา และคนทั่วไป -เจ้าหน้าทีและอาจารย์จากหน่วยงานต่างๆ ่ 2.3 ผู้รวมโครงการ ่ -นักวิชาการ ที่มาร่วมประชุมวิชาการ -นักวิจยภายนอก ทีมาใช้ข้อมูล และเครื่องมือ ั ่
  • 20. ส่วนอานวยการ ฝ่ายอาคารสถานที่ และยานพาหนะ ฝ่ายพัสดุ ฝ่ายการคลัง ฝ่ายธุรการ ห้องน้า ติดต่อ สอบถาม ฝ่ายบริหาร โถงทางเข้า ที่จอดรถ
  • 21. ส่วนวิจัย หอพรรณไม้ แปลงทดลอง ห้องเย็น ห้องมืด ห้องปฏิบัติการชีววิทยา ห้องเก็บของ ห้องปฏิบัติการชีวเคมี ห้องเพาะเชื้อ ห้องเตรียม ห้องเตรียมตัวอย่าง สารอาหาร ห้องเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ ห้องน้า ที่พักคอย ส่วนทางาน
  • 22. ส่วนวิชาการ ห้องน้า ห้องสัมมนา ห้องเตรียมอุปกรณ์ และอบรม ห้องบรรยาย ห้องบรรยาย ส่วนทางาน ห้องบรรยาย นิทรรศการ ส่วนพักคอย ห้องพักวิทยากร ห้องสมุด โถงทางเข้า
  • 23. ส่วนบริการสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ ตั้งแคมป์ ร้านขาย ต้นไม้ ประชาสัมพันธ์ ห้องน้า ร้านอาหาร ห้องน้า โถงพักคอย
  • 24. ส่วนบริการ ห้องเก็บขยะ ห้องเครื่องไฟฟ้า ห้องเครื่องปั๊มน้า ห้องระบบปรับ ห้องเก็บของ อากาศ ห้องระบบบาบัด ห้องซ่อมบารุง น้าเสีย ห้องทางานช่าง ส่วนพักผ่อน
  • 25. Staff & service Parking ห้องพัก นักวิจัย สวน Service ตั้ง แปลงทดลอง หอพรรณ พฤกษศาสตร์ Laboratory แคมป์ load เพาะชา ไม้ ร้านค้า โรงอาหาร ห้องฝึกอบรม Informa Administration tion Lobby ห้องสมุด Lobby Lounge นิทรรศการ Parking เจ้าหน้าที่ Main นักวิจัย นักวิชาการ Entrance นักท่องเที่ยว ผู้อบรม ช่างซ่อมบารุง คนสวน
  • 26. สรุป ศึกษาโครงสร้างของศูนย์วิจัย เฉพาะในส่วนเรือนเพาะปลูก รูปแบบและลักษณะของศูนย์วิจัย -ส่วนของอาคารเรือนกระจกเป็น ในส่วนห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการเรียนการสอน โครงสร้าง Truss มี 2 ลักษณะ -ผนังและหลังคาโปร่งใส เพื่อ 1.ห้องปฏิบัติการด้านกายภาพ จะเป็นโต๊ะปฏิบัติการ ต้องการรับแสงแดด ซึ่งกระจก ทั่วไป ใช้ในการศึกษาด้านกายภาพของพืช ซึ่งไม่ สามารถทนต่ออุณหภูมิที่สูงได้ ได้ใช้สารเคมี -ภายในอาคารเรือนกระจก มีระบบ 2. ห้องปฏิบัติการด้านเคมี - ชีวเคมี ที่มีการใช้ การควบคุมสภาพอากาศตาม สารเคมี ลักษณะคล้ายแบบแรก แต่จะมีชั้นวาง ความเหมาะสมของพรรณไม้ สารเคมีไว้ด้วย รูปแบบการจัดอบรม มี 2 แบบ คือ ศึกษาวิธีการหรือรูปแบบการจัดแสดง 1.การบรรยายประกอบการสาธิต จะแบ่งตามชนิดของพรรณไม้ 2.การฝึกปฎิบัติ
  • 27. การศึกษาวิธีการทดลอง เพาะปลูก 1.Nursery (เรือนเพาะชา) -ในทางพืชสวน nursery หมายถึงอาคารสถานที่ หรือพื้นที่ ที่ใช้เพื่อการขยายพันธุ์ (propagation) การผสมพันธุ์ (breeding) และการปฏิบัติดูแลต้นพืชในระยะ เริ่มต้น -ใช้เพื่อการปฏิบัติดูแล และการพัฒนาต้นพืชทุกประเภท รวมถึงสถานที่ขายส่งและขาย ปลีกกล้าไม้ที่พร้อมจะนาไปปลูก -ตั้งแต่มการติดตังระบบการให้น้า มีเรือนกระจกขนาดใหญ่ ทีมีการควบคุมอุณหภูมิให้ ี ้ ่ เหมาะกับสภาพตามธรรมชาติของพืช ทาให้การเพาะเลี้ยงพันธุ์ไม้ประสบความสาเร็จเป็น อย่างดี เช่น nursery ที่ใช้เพาะเลี้ยงไม้ดอกไม้ประดับประเภทหัวในประเทศ เนเธอร์แลนด์ซึ่งเป็นที่รจักมาช้านาน ู้ -เรือนเพาะชาสมัยใหม่ที่ดาเนินการโดยทีมงานผู้เชียวชาญ มีการติดตั้งอุปกรณ์อานวย ่ ความสะดวก ให้ประโยชน์ทั้งในด้านการค้นคว้าทดลอง และการผลิตในปริมาณมาก ๆ (mass production) สามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ ต้นกล้าของพันธุ์ไม้ตามความ ต้องการและมีคุณภาพได้เพียงพอกับความต้องการของผู้จัดสวนตามบ้าน ผู้ปลูกไม้
  • 28. 2.Greenhouse (เรือนกระจก) • เรือนกระจก เป็นเรือนโรงบุด้วยกระจกที่ปิดมิดชิด ใช้สาหรับปลูกพืชในสภาพที่มีการ ควบคุม อุณหภูมิ ความชื้นในอากาศ และการระบายอากาศให้คงที่อยู่เสมอ • ขนาดของเรือนกระจกมีตั้งแต่ห้องเล็ก ๆ ที่ช่วยให้ต้นพืชจานวนไม่มากนักผ่านพ้นฤดูหนาว (ใน ประเทศเขตหนาว) จนกระทั่งเป็นโรงเรือนปรับอุณหภูมิที่มีขนาดใหญ่มาก (hothouse หรือ conservatory) ครอบคลุมพื้นที่หลายเอเคอร์ (1 เอเคอร์ = 2.5 ไร่) ใช้เพื่อบังคับให้ไม้ผล หรือไม้ดอก ออกนอกฤดู • สมัยก่อนใช้เรือนกระจกเพื่อช่วยให้ต้นพืชผ่านพ้นฤดูที่อากาศหนาวเย็น (cold seasons) เพาะปลูก พืชเขตร้อน (tropical plants) และไม้ผลที่มีความทนทานน้อย แต่ในศตวรรษนี้ มีการใช้เรือนกระจก ผลิตพืชผัก และขณะนี้การผลิตพืชโดยอาศัยเรือนกระจกมีมูลค่าหลายล้าน USD ต่อปี
  • 29. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) คือ การท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบในแหล่ง ธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น และแหล่ง วัฒนธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศ โดยมี กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ของผู้ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การจัดการสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยว อย่างมีส่วนร่วมของท้องถิ่น เพื่อมุ่งเน้นให้เกิด จิตสานึกแห่งการรักษาระบบนิเวศอย่างยั่งยืน ขอบเขตของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ครอบคลุมองค์ประกอบ 4 ด้าน(มิติ) 1. องค์ประกอบด้านพื้นที่ 2. องค์ประกอบด้านการ 3. องค์ประกอบด้าน 4. องค์ประกอบด้านการมี การท่องเที่ยวในแหล่งท่อง จัดการ การท่องเที่ยว ที่มี กิจกรรมและกระบวนการ ส่วนร่วม เป็นการท่องเทียว่ เที่ยวที่เกี่ยวเนื่องเป็นธรรม ความรับผิดชอบ ไม่มีผล การท่องเที่ยวทีเ่ อื้อต่อ ที่คานึงถึงการมีส่วนร่วมของ ชาติเป็นหลัก มีแหล่งท่อง กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและ กระบวนการเรียนรู้ โดยมี ประชาชนและชุมชน เพื่อ เที่ยว ที่เป็นเอกลักษณ์ สังคม มีการจัดการที่ยงยืน ั่ การศึกษาเกี่ยวกับสภาพ ก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อ เฉพาะถิ่น แวดล้อมและระบบนิเวศ ท้องถิ่น
  • 30. การวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ เนื่องจากโครงการนี้เป็นโครงการที่มี กิจกรรมเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย อนุรักษ์ พรรณไม้ และเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ดังนั้นโครงการนี้ควรเลือกที่ตั้งโครงการที่มี ศักยภาพและมีหน่วยงานสนับสนุนงานวิจัย ด้วย ซึ่งโครงการนี้ได้ดาเนินงานภายใต้สังกัด ทรัพยากรธรรมชาติ ในส่วนของสานักงาน วิจัยและพัฒนาการป่าไม้
  • 31. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 4) จ.สุราษฎร์ธานี 1.สถานีวิจัยสัตว์ป่าคลองแสน 2.สถานีทดลองปลูกพรรณไม้ป่า หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 5) จ.นครศรีฯ 1. สบก. 5 1.1การมีส่วนร่วมของชุมชนดั้งเดิมใน พื้นที่อนุรักษ์ หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 5) จ.ตรัง 1.สถานีวิจัยนิเวศวิทยาป่าไม้กันตัง
  • 32. หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6) จ.พัทลุง 1. สถานีพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์สัตว์ ป่าทะเลน้อย หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6) จ.พัทลุง 1. สถานีพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์สัตว์ ป่าทะเลน้อย หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6) จ.สงขลา 1.ศูนย์เมล็ดพันธุ์ไม้ป่าภาคใต้ อ.หาดใหญ่ 2.สถานีทดลองปลูกพรรณไม้ป่าสงขลา
  • 33. หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6) จ.ปัตตานี 1. กลุ่มวิชาการ หน่วยปฏิบัติการส่วนภูมิภาค (สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6) จ.นราธิวาส 1.สถานีวิจัยสัตว์ป่า ป่าพรุ-ป่าฮาลา-บาลา
  • 35. อันดับ จังหวัด เนื้อที่ป่าไม้(ตร.กม.) 1 สุราษฎร์ธานี 3,011 2 นครศรีธรรมราช 1,229 3 ตรัง 935 4 นราธิวาส 685 5 สงขลา 572