SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
ประกาศโรงเรียนวัดพวงนิมต         ิ
               เรื่อง กําหนดมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพืนฐานของโรงเรียน
                                                                         ้
                                 ---------------------------------------

                ดวยโรงเรียนวัดพวงนิมิต อําเภอเขาฉกรรจ จังหวัดสระแกว มีภารกิจจัดการศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพืนฐานของโรงเรียน พ.ศ.2553 เปนเครื่องมือสําคัญในการ
                                               ้
จัดการเรียนการสอนและการสงเสริมการเรียนรู เพื่อใหนกเรียนบรรลุถึงซึ่งคุณลักษณะตามที่หลักสูตร
                                                    ั
กําหนด และเปนไปตามเจตนารมณวตถุประสงคการจัดการศึกษาของชาติ พรอมสนองตอบความตองการ
                                  ั
ของผูปกครอง และเอกลักษณของทองถิ่น และขับเคลื่อนดวยแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
แผนปฏิบัติการประจําป เพือพัฒนาสูคุณภาพทั้งระบบอยางมีประสิทธิภาพ และมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับ
                           ่
ทั่วไป
                โรงเรียนวัดพวงนิมิตจึงกําหนดมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานขึ้นตามขอ 14
(1) และขอ 15 ในกฎกระทรวง วาดวยระบบหลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ขึ้น
เปนมาตรฐานการศึกษาที่สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณของโรงเรียน และมาตรฐาน
การศึกษาระดับการศึกษาขันพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ และครอบคลุมสาระการเรียนรูและ
                         ้
กระบวนการเรียนรู รวมทั้งสอดคลองกับศักยภาพของนักเรียน ชุมชนและทองถิ่น สําหรับใชดําเนินงาน
และประเมินคุณภาพระบบการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน และเพือรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
                                                                ่
รอบที่สาม ดังรายละเอียดในตารางแนบทายประกาศนี้

               ทั้งนี้ใหมีผลดําเนินการตั้งแตเริ่มปการศึกษา 2554

                                ประกาศ ณ วันที่.....18 พฤษภาคม....พ.ศ.2554



                                                   สมยศ เพ็ชรวงษา
                                                ( นายสมยศ เพ็ชรวงษา )
                                           ผูอํานวยการโรงเรียนวัดพวงนิมิต
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                                            โรงเรียนวัดพวงนิมิต
                    ตามประกาศ ฉบับลงวันที่.........18 พฤษภาคม พ.ศ. 2554.................
มาตรฐานดานคุณภาพผูเรียน
มาตรฐานดานคุณภาพผูเรียน
มาตรฐานที่ 1 ผูเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
ตัวบงชี้
1. มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกําลังกายสม่ําเสมอ
2. มีน้ําหนัก สวนสูงและสมรรถภาพทางกายตามเกณฑมาตรฐาน
3. ปองกันตนเองจากสิ่งเสพติดใหโทษและหลีกเลียงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงตอความรุนแรง โรคภัย
                                                   ่
อุบัติเหตุและปญหาทางเพศ
4. เห็นคุณคาในตนเอง มีความมั่นใจ กลาแสดงออกอยางเหมาะสม
5. มีมนุษยสัมพันธที่ดีและใหเกียรติผูอื่น
6. สรางผลงานจากการเขารวมกิจกรรมดานศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป กีฬา / นันทนาการตามจินตนาการ

มาตรฐานที2 ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมที่พึงประสงค
            ่
ตัวบงชี้
1. มีคุณลักษณะที่พึงประสงคตามหลักสูตร
2. เอื้ออาทรผูอื่นและกตัญูกตเวทีตอผูมพระคุณ
                                         ี
3. ยอมรับความคิดเห็นและวัฒนธรรมที่แตกตางกัน
4. ตระหนัก รูคุณคารวมอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม
5. มีคานิยมที่ดตามอัตลักษณของสถานศึกษา
                ี

มาตรฐานที่ 3 ผูเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรูดวยตนเอง รักการเรียนรูและพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง
ตัวบงชี้
1.รูจักตั้งคําถามเพื่อคนหาความรูเพิ่มเติมและมีทักษะในการอาน ฟง ดู พูดและเขียน
2. มีนิสัยรักการอานและแสวงหาความรูดวยตนเองจากหองสมุด แหลงเรียนรูและสื่อตาง ๆรอบตัว
                                             
3. เรียนรูรวมกันเปนกลุม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรูระหวางกัน
4. ใชเทคโนโลยีในการเรียนรูและนําเสนองาน
มาตรฐานที่ 4 ผูเรียนมีความสามารถในการคิดอยางเปนระบบ คิดสรางสรรค ตัดสินใจแกปญหาได
               อยางสมเหตุผล
ตัวบงชี้
1.สรุปความคิดจากเรื่องที่อาน ฟง ดู และสื่อสารโดยการพูดหรือการเขียนตามความคิดของตนเอง
2. นําเสนอวิธคิด วิธีแกปญหาดวยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
             ี
3. กําหนดเปาหมาย คาดการณ ตัดสินใจ แกปญหาโดยมีเหตุผลประกอบ
4. มีความคิดริเริ่มและสรางผลงานดวยความภาคภูมใจ  ิ

มาตรฐานที่ 5 ผูเรียนมีความรูและทักษะที่จําเปนตามหลักสูตร
ตัวบงชี้
1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตละกลุมสาระการเรียนรูเปนไปตามเกณฑ
2. ผลการประเมินสมรรถนะสําคัญตามหลักสูตรเปนไปตามเกณฑ
3. ผลการประเมินการอาน คิด วิเคราะห และเขียนเปนไปตามเกณฑ
4. ผลการทดสอบระดับชาติเปนไปตามเกณฑ

มาตรฐานที่ 6 ผูเรียนมีทักษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดและมีเจตคติที่ดี
               ตออาชีพสุจริต
ตัวบงชี้
1 วางแผนการทํางานและดําเนินการจนสําเร็จ
2. ทํางานอยางมีความสุข มุงมั่นพัฒนางานและภูมใจในผลงานของตนเอง
                                                   ิ
3. ทํางานรวมกับผูอื่นได
4. มีความรูสึกที่ดีตออาชีพสุจริตและหาความรูเกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ

มาตรฐานดานการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบติงานตามบทบาทหนาที่อยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
                         ั
ตัวบงชี้
1.ครูมีการกําหนดเปาหมายคุณภาพผูเรียนทั้งดานความรู ทักษะกระบวนการ สมรรถนะและคุณลักษณะที่พึง
ประสงค
2. ครูมีการวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคลและใชขอมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาศักยภาพ
ของผูเรียน
3.ครูออกแบบการจัดการเรียนรูที่ตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลและพัฒนาการทางสติปญญา
4. ครูใชสื่อและเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมผนวกกับการนําบริบทและภูมิปญญาทองถิ่น
มาบูรณาการในการจัดการเรียนรู
5. ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุงเนนการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการทีหลากหลาย
                                                                                ่
6. ครูใหคําแนะนํา คําปรึกษาและแกปญหาใหแกผูเรียนทั้งดานการเรียนและคุณภาพชีวิตดวยความเสมอภาค
7. ครูมีการศึกษา วิจยและพัฒนาการจัดการเรียนรูในวิชาที่ตนรับผิดชอบและใชผลในการปรับการสอน
                    ั
8. ครูประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีและเปนสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา
9. ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ไดรับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ

มาตรฐานที่ 8 ผูบริหารปฏิบติงานตามบทบาทหนาที่อยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
                             ั
ตัวบงชี้
1. ผูบริหารมีวิสัยทัศน ภาวะผูนําและความคิดริเริ่มที่เนนการพัฒนาผูเรียน
2. ผูบริหารใชหลักการบริหารแบบมีสวนรวมและใชขอมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัยเปนฐานคิดทั้งดาน
วิชาการและการจัดการ
3. ผูบริหารสามารถบริหารจัดการศึกษาใหบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไวในแผนปฏิบัติการ
4. ผูบริหารสงเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหพรอมรับการกระจายอํานาจ
5. นักเรียน ครู ผูปกครองและชุมชนพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา
6. ผูบริหารใหคําแนะนํา คําปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใสการจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา

มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศึกษาและผูปกครอง ชุมชนปฏิบัตงานตามบทบาทหนาที่อยางมี
                                                             ิ
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
ตัวบงชี้
1. คณะกรรมการสถานศึกษารูและปฏิบัติหนาที่ตามที่ระเบียบกําหนด
2. คณะกรรมการสถานศึกษากํากับ ติดตาม ดูแลและขับเคลื่อนการดําเนินงานของสถานศึกษาใหบรรลุ
สําเร็จตามเปาหมาย
3. ผูปกครองและ ชุมชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยาง
รอบดาน
ตัวบงชี้
1.หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสม สอดคลองกับทองถิ่น
2. จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายใหผูเรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ
3. จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่สงเสริมและตอบสนองความตองการ ความสามารถ ความถนัดและความสนใจ
ของผูเรียน
4. สนับสนุนใหครูจัดกระบวนการเรียนรูที่ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรูไดดวยตนเอง
                                        
5. นิเทศ กํากับติดตาม ตรวจสอบและนําผลไปใชปรับปรุงการเรียนการสอนอยางสม่ําเสมอ
6. จัดระบบดูแลชวยเหลือผูเรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผูเรียนทุกคน

มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดลอมและการบริการที่สงเสริมใหผูเรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ
ตัวบงชี้
1.หองเรียน หองปฏิบัติการ อาคารเรียนมันคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอํานวยความสะดวกพอเพียง อยูใน
                                       ่                                                           
สภาพที่ใชการไดดี สภาพแวดลอมรมรื่นและมีแหลงเรียนรูสําหรับผูเรียน
2. จัดโครงการ กิจกรรมที่สงเสริมสุขภาพ อนามัยและความปลอดภัยของผูเรียน
3. จัดหองสมุดที่ใหบริการสื่อและเทคโนโลยี สารสนเทศที่เอื้อใหผูเรียน เรียนรูดวยตนเองและหรือเรียนรู
                                                                                
แบบมีสวนรวม

มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
ตัวบงชี้
1. กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2. จัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุงพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
3. จัดระบบขอมูลสารสนเทศและใชสารสนเทศในการบริหารจัดการเพือพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
                                                          ่
4. ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา
5. นําผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใชวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง
6. จัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานการประเมินคุณภาพภายใน

มาตรฐานดานการสรางสังคมแหงการเรียนรู
มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสราง สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาเปนสังคมแหงการเรียนรู
ตัวบงชี้
1.มีการสรางและพัฒนาแหลงเรียนรูภายในสถานศึกษาและใชประโยชนจากแหลงเรียนรูทั้งภายในและ
ภายนอกสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนและบุคลากรของสถานศึกษารวมทั้งผูที่เกียวของ
                                                                                      ่
2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางบุคลากรภายในสถาน ระหวางสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชนและองคกร
ที่เกี่ยวของ
มาตรฐาน
ดานอัตลักษณของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 14 การพัฒนาสถานศึกษาใหบรรลุเปาหมายตามวิสยทัศน ปรัชญา และจุดเนนทีกําหนดขึ้น
                                                            ั                         ่
ตัวบงชี้
1.จัดโครงการ กิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนบรรลุตามเปาหมาย วิสัยทัศน ปรัชญาและจุดเนนของสถานศึกษา
2. ผลการดําเนินการสงเสริมใหผูเรียนบรรลุตามเปาหมาย วิสัยทัศน ปรัชญา และจุดเนนของสถานศึกษา

มาตรฐานดานมาตรการสงเสริม
มาตรฐานที่ 15 การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเนน แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและสงเสริม
สถานศึกษาใหยกระดับคุณภาพสูงขึ้น
1.จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อสนองนโยบาย จุดเนนตามแนวปฏิรูปการศึกษา
2. ผลการดําเนินงานบรรลุตามเปาหมาย

********************************************************************************

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
Suwanan Nonsrikham
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
Montree Jareeyanuwat
 
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
นายจักราวุธ คำทวี
 
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ทับทิม เจริญตา
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
Aon Wallapa
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
Wongduean Phumnoi
 
หลักสูตรเพื่อการเรียนรวม
หลักสูตรเพื่อการเรียนรวมหลักสูตรเพื่อการเรียนรวม
หลักสูตรเพื่อการเรียนรวม
wanwisa491
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
bb5311600637
 
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติPowerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
kruniti
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
Rissa Byk
 

Mais procurados (20)

กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
 
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียนตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
ตัวอย่างระบบดูช่วยเหลือนักเรียน
 
การศึกษาแบบเรียนรวม
การศึกษาแบบเรียนรวมการศึกษาแบบเรียนรวม
การศึกษาแบบเรียนรวม
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
 
หลักสูตรเพื่อการเรียนรวม
หลักสูตรเพื่อการเรียนรวมหลักสูตรเพื่อการเรียนรวม
หลักสูตรเพื่อการเรียนรวม
 
สรุปแนวข้อสอบครู
สรุปแนวข้อสอบครูสรุปแนวข้อสอบครู
สรุปแนวข้อสอบครู
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติPowerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
Powerpoint ประเมินรอบสาม อ.นิติ
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
ธัญชนก
ธัญชนกธัญชนก
ธัญชนก
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
เอกสารบรรยายความก้าวหน้าวิชาชีพครู (บ้านสอบครู อ.บวร)
 

Semelhante a มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน

โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
krupornpana55
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
Montree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
Montree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
Montree Jareeyanuwat
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
Suwakhon Phus
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
Nattapon
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
benty2443
 

Semelhante a มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน (20)

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
สรุป E 734
สรุป    E  734สรุป    E  734
สรุป E 734
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

Mais de tassanee chaicharoen

วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 

Mais de tassanee chaicharoen (20)

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้
 

มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน

  • 1. ประกาศโรงเรียนวัดพวงนิมต ิ เรื่อง กําหนดมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพืนฐานของโรงเรียน ้ --------------------------------------- ดวยโรงเรียนวัดพวงนิมิต อําเภอเขาฉกรรจ จังหวัดสระแกว มีภารกิจจัดการศึกษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพืนฐานของโรงเรียน พ.ศ.2553 เปนเครื่องมือสําคัญในการ ้ จัดการเรียนการสอนและการสงเสริมการเรียนรู เพื่อใหนกเรียนบรรลุถึงซึ่งคุณลักษณะตามที่หลักสูตร ั กําหนด และเปนไปตามเจตนารมณวตถุประสงคการจัดการศึกษาของชาติ พรอมสนองตอบความตองการ ั ของผูปกครอง และเอกลักษณของทองถิ่น และขับเคลื่อนดวยแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําป เพือพัฒนาสูคุณภาพทั้งระบบอยางมีประสิทธิภาพ และมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับ ่ ทั่วไป โรงเรียนวัดพวงนิมิตจึงกําหนดมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานขึ้นตามขอ 14 (1) และขอ 15 ในกฎกระทรวง วาดวยระบบหลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ขึ้น เปนมาตรฐานการศึกษาที่สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณของโรงเรียน และมาตรฐาน การศึกษาระดับการศึกษาขันพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ และครอบคลุมสาระการเรียนรูและ ้ กระบวนการเรียนรู รวมทั้งสอดคลองกับศักยภาพของนักเรียน ชุมชนและทองถิ่น สําหรับใชดําเนินงาน และประเมินคุณภาพระบบการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน และเพือรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก ่ รอบที่สาม ดังรายละเอียดในตารางแนบทายประกาศนี้ ทั้งนี้ใหมีผลดําเนินการตั้งแตเริ่มปการศึกษา 2554 ประกาศ ณ วันที่.....18 พฤษภาคม....พ.ศ.2554 สมยศ เพ็ชรวงษา ( นายสมยศ เพ็ชรวงษา ) ผูอํานวยการโรงเรียนวัดพวงนิมิต
  • 2. มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนวัดพวงนิมิต ตามประกาศ ฉบับลงวันที่.........18 พฤษภาคม พ.ศ. 2554................. มาตรฐานดานคุณภาพผูเรียน มาตรฐานดานคุณภาพผูเรียน มาตรฐานที่ 1 ผูเรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ ตัวบงชี้ 1. มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกําลังกายสม่ําเสมอ 2. มีน้ําหนัก สวนสูงและสมรรถภาพทางกายตามเกณฑมาตรฐาน 3. ปองกันตนเองจากสิ่งเสพติดใหโทษและหลีกเลียงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงตอความรุนแรง โรคภัย ่ อุบัติเหตุและปญหาทางเพศ 4. เห็นคุณคาในตนเอง มีความมั่นใจ กลาแสดงออกอยางเหมาะสม 5. มีมนุษยสัมพันธที่ดีและใหเกียรติผูอื่น 6. สรางผลงานจากการเขารวมกิจกรรมดานศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป กีฬา / นันทนาการตามจินตนาการ มาตรฐานที2 ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมที่พึงประสงค ่ ตัวบงชี้ 1. มีคุณลักษณะที่พึงประสงคตามหลักสูตร 2. เอื้ออาทรผูอื่นและกตัญูกตเวทีตอผูมพระคุณ ี 3. ยอมรับความคิดเห็นและวัฒนธรรมที่แตกตางกัน 4. ตระหนัก รูคุณคารวมอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอม 5. มีคานิยมที่ดตามอัตลักษณของสถานศึกษา ี มาตรฐานที่ 3 ผูเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรูดวยตนเอง รักการเรียนรูและพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง ตัวบงชี้ 1.รูจักตั้งคําถามเพื่อคนหาความรูเพิ่มเติมและมีทักษะในการอาน ฟง ดู พูดและเขียน 2. มีนิสัยรักการอานและแสวงหาความรูดวยตนเองจากหองสมุด แหลงเรียนรูและสื่อตาง ๆรอบตัว  3. เรียนรูรวมกันเปนกลุม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรูระหวางกัน 4. ใชเทคโนโลยีในการเรียนรูและนําเสนองาน
  • 3. มาตรฐานที่ 4 ผูเรียนมีความสามารถในการคิดอยางเปนระบบ คิดสรางสรรค ตัดสินใจแกปญหาได อยางสมเหตุผล ตัวบงชี้ 1.สรุปความคิดจากเรื่องที่อาน ฟง ดู และสื่อสารโดยการพูดหรือการเขียนตามความคิดของตนเอง 2. นําเสนอวิธคิด วิธีแกปญหาดวยภาษาหรือวิธีการของตนเอง ี 3. กําหนดเปาหมาย คาดการณ ตัดสินใจ แกปญหาโดยมีเหตุผลประกอบ 4. มีความคิดริเริ่มและสรางผลงานดวยความภาคภูมใจ ิ มาตรฐานที่ 5 ผูเรียนมีความรูและทักษะที่จําเปนตามหลักสูตร ตัวบงชี้ 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตละกลุมสาระการเรียนรูเปนไปตามเกณฑ 2. ผลการประเมินสมรรถนะสําคัญตามหลักสูตรเปนไปตามเกณฑ 3. ผลการประเมินการอาน คิด วิเคราะห และเขียนเปนไปตามเกณฑ 4. ผลการทดสอบระดับชาติเปนไปตามเกณฑ มาตรฐานที่ 6 ผูเรียนมีทักษะในการทํางาน รักการทํางาน สามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดและมีเจตคติที่ดี ตออาชีพสุจริต ตัวบงชี้ 1 วางแผนการทํางานและดําเนินการจนสําเร็จ 2. ทํางานอยางมีความสุข มุงมั่นพัฒนางานและภูมใจในผลงานของตนเอง ิ 3. ทํางานรวมกับผูอื่นได 4. มีความรูสึกที่ดีตออาชีพสุจริตและหาความรูเกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ มาตรฐานดานการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบติงานตามบทบาทหนาที่อยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ั ตัวบงชี้ 1.ครูมีการกําหนดเปาหมายคุณภาพผูเรียนทั้งดานความรู ทักษะกระบวนการ สมรรถนะและคุณลักษณะที่พึง ประสงค 2. ครูมีการวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคลและใชขอมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาศักยภาพ ของผูเรียน 3.ครูออกแบบการจัดการเรียนรูที่ตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลและพัฒนาการทางสติปญญา
  • 4. 4. ครูใชสื่อและเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมผนวกกับการนําบริบทและภูมิปญญาทองถิ่น มาบูรณาการในการจัดการเรียนรู 5. ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุงเนนการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการทีหลากหลาย ่ 6. ครูใหคําแนะนํา คําปรึกษาและแกปญหาใหแกผูเรียนทั้งดานการเรียนและคุณภาพชีวิตดวยความเสมอภาค 7. ครูมีการศึกษา วิจยและพัฒนาการจัดการเรียนรูในวิชาที่ตนรับผิดชอบและใชผลในการปรับการสอน ั 8. ครูประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีและเปนสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา 9. ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ไดรับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ มาตรฐานที่ 8 ผูบริหารปฏิบติงานตามบทบาทหนาที่อยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ั ตัวบงชี้ 1. ผูบริหารมีวิสัยทัศน ภาวะผูนําและความคิดริเริ่มที่เนนการพัฒนาผูเรียน 2. ผูบริหารใชหลักการบริหารแบบมีสวนรวมและใชขอมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัยเปนฐานคิดทั้งดาน วิชาการและการจัดการ 3. ผูบริหารสามารถบริหารจัดการศึกษาใหบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไวในแผนปฏิบัติการ 4. ผูบริหารสงเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหพรอมรับการกระจายอํานาจ 5. นักเรียน ครู ผูปกครองและชุมชนพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา 6. ผูบริหารใหคําแนะนํา คําปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใสการจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศึกษาและผูปกครอง ชุมชนปฏิบัตงานตามบทบาทหนาที่อยางมี ิ ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ตัวบงชี้ 1. คณะกรรมการสถานศึกษารูและปฏิบัติหนาที่ตามที่ระเบียบกําหนด 2. คณะกรรมการสถานศึกษากํากับ ติดตาม ดูแลและขับเคลื่อนการดําเนินงานของสถานศึกษาใหบรรลุ สําเร็จตามเปาหมาย 3. ผูปกครองและ ชุมชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาสถานศึกษา มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรูและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยาง รอบดาน ตัวบงชี้ 1.หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสม สอดคลองกับทองถิ่น 2. จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายใหผูเรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถและความสนใจ
  • 5. 3. จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่สงเสริมและตอบสนองความตองการ ความสามารถ ความถนัดและความสนใจ ของผูเรียน 4. สนับสนุนใหครูจัดกระบวนการเรียนรูที่ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรูไดดวยตนเอง  5. นิเทศ กํากับติดตาม ตรวจสอบและนําผลไปใชปรับปรุงการเรียนการสอนอยางสม่ําเสมอ 6. จัดระบบดูแลชวยเหลือผูเรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผูเรียนทุกคน มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดลอมและการบริการที่สงเสริมใหผูเรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ ตัวบงชี้ 1.หองเรียน หองปฏิบัติการ อาคารเรียนมันคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอํานวยความสะดวกพอเพียง อยูใน ่  สภาพที่ใชการไดดี สภาพแวดลอมรมรื่นและมีแหลงเรียนรูสําหรับผูเรียน 2. จัดโครงการ กิจกรรมที่สงเสริมสุขภาพ อนามัยและความปลอดภัยของผูเรียน 3. จัดหองสมุดที่ใหบริการสื่อและเทคโนโลยี สารสนเทศที่เอื้อใหผูเรียน เรียนรูดวยตนเองและหรือเรียนรู  แบบมีสวนรวม มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ตัวบงชี้ 1. กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2. จัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุงพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา 3. จัดระบบขอมูลสารสนเทศและใชสารสนเทศในการบริหารจัดการเพือพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ่ 4. ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา 5. นําผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใชวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง 6. จัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานการประเมินคุณภาพภายใน มาตรฐานดานการสรางสังคมแหงการเรียนรู มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสราง สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาเปนสังคมแหงการเรียนรู ตัวบงชี้ 1.มีการสรางและพัฒนาแหลงเรียนรูภายในสถานศึกษาและใชประโยชนจากแหลงเรียนรูทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนและบุคลากรของสถานศึกษารวมทั้งผูที่เกียวของ ่ 2. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางบุคลากรภายในสถาน ระหวางสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชนและองคกร ที่เกี่ยวของ
  • 6. มาตรฐาน ดานอัตลักษณของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 14 การพัฒนาสถานศึกษาใหบรรลุเปาหมายตามวิสยทัศน ปรัชญา และจุดเนนทีกําหนดขึ้น ั ่ ตัวบงชี้ 1.จัดโครงการ กิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนบรรลุตามเปาหมาย วิสัยทัศน ปรัชญาและจุดเนนของสถานศึกษา 2. ผลการดําเนินการสงเสริมใหผูเรียนบรรลุตามเปาหมาย วิสัยทัศน ปรัชญา และจุดเนนของสถานศึกษา มาตรฐานดานมาตรการสงเสริม มาตรฐานที่ 15 การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเนน แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาและสงเสริม สถานศึกษาใหยกระดับคุณภาพสูงขึ้น 1.จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อสนองนโยบาย จุดเนนตามแนวปฏิรูปการศึกษา 2. ผลการดําเนินงานบรรลุตามเปาหมาย ********************************************************************************