SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 37
การผลิตรายการโทรทัศน์ RT 201:  บทที่  4
ความหมายของการผลิตรายการโทรทัศน์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ห้องและอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ขนาด   ห้องโทรทัศน์ยิ่งมีขนาดใหญ่มากเท่าใดก็จะยิ่งทำให้การผลิตรายการซับซ้อนได้มากขึ้น และสามารถผลิตรายการได้อย่างหลากหลายมากขึ้น ในการผลิตโทรทัศน์นั้น ถ้าเป็นการผลิตรายการข่าวและการสัมภาษณ์ มักจะเป็นห้องที่ไม่ใหญ่มากนัก ส่วนรายการประเภทรายการเพลง ละคร และรายการที่ผู้ชมในห้องส่ง จำเป็นต้องจัดรายการในห้องที่มีขนาดใหญ่   พื้นห้อง   มักจะมีการจัดระดับและกล้องนั้นจะต้องเคลื่อนย้ายได้ทั่วไปและราบเรียบไม่สะดุด พื้นผิวส่วนใหญ่จึงเป็นคอนกรีตฉาบหรือปูกระเบื้อง
ความสูงของเพดาน   เป็นสิ่งสำคัญมากในการออกแบบขนาดของห้อง เนื่องจาก เพดานของห้องผลิตรายการนั้นจะต้องมีเครื่องมือที่สำคัญแขวนห้อยอยู่ อันได้แก่ การแขวนฉาก บูมไมโครโฟน และระบบแสง ถ้าเพดานห้องมีความสูงต่ำเกินไป ไฟจะอยู่ใกล้ผู้แสดงมากทำให้ร้อนเกินไป ไมโครโฟนก็อาจปรากฏในจอโทรทัศน์
กล้องโทรทัศน์  ทำหน้าที่รับและส่งภาพ โดยกล้องโทรทัศน์เป็นการจับภาพเคลื่อนไหวจากมุมต่างๆจึงต้องมีการเคลื่อนไหวตามภาพ และจับภาพมุมต่างๆของวัตถุที่ต้องการ ระบบแสง  ให้แสงสว่างที่เพียงพอแก่การถ่ายภาพและทำให้ภาพที่ถ่ายได้อารมณ์ตรงตามจุดมุ่งหมายในบทโทรทัศน์ เครื่องรับโทรทัศน์ ในห้องผลิตรายการ  (studio monitor)   เป็นภาพเดียวกับที่จะออกอากาศ เพื่อเห็นภาพในขณะถ่ายทำและสามารถดูมุมกล้องต่างๆได้ชัดเจนขึ้น
ไมโครโฟน  ให้เสียงสนทนา เพลงและเสียงที่ใช้อารมณ์ตามที่บทโทรทัศน์ต้องการ ผู้ผลิตจึงต้องเลือกใช้ประเภทของไมโครโฟนต่างๆตามความเหมาะสม ฉาก  ทำให้สิ่งแวดล้อมดูสมจริง หรือสร้างบรรยากาศตามบทโทรทัศน์ ระบบติดต่อภายใน  (intercommunication system)   ระหว่างการผลิตมีความจำเป็นต้องติดต่อระหว่างหน่วยงานต่างๆกันตลอดเวลาและรับคำสั่งจากผู้กำกับ ดังนั้นระบบติดต่อภายในจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง ในห้องผลิตขนาดเล็กอาจใช้โทรศัพท์แบบ  telephone headset  โดยเจ้าหน้าที่ทุกคนจะมีเพื่อสื่อสารกันได้ ส่วนสตูดิโอขนาดใหญ่จะมีการใช้ระบบ  wireless intercom system
ห้องควบคุมผลิตรายการ  (the studio control room) เป็นห้องที่แยกต่างหากแต่จะอยู่ติดกับห้องผลิตรายการ ในห้องนี้จะมีผู้กำกับรายการ ผู้ช่วยผู้กำกับรายการ ผู้กำกับเทคนิค ผู้ผลิตรายการต่างๆและผู้ช่วย ทำหน้าที่ตัดสินใจว่าภาพและเสียงควรเป็นอย่างไรในขณะที่ออกอากาศ
ห้องควบคุมผลิตรายการ  (the studio control room) ส่วนที่  1:  การควบคุมรายการ   (program control)   เป็นการเลือกและจัดภาพและเสียงโดยจะมีอุปกรณ์หลักๆ คือ จอวีดีโอ   (video monitors) ซึ่งจะมีประมาณ  30  จอ เป็นทั้งจอที่ตรวจสอบรายการจากกล้องแต่ละตัว และจอสีให้ผู้กำกับตรวจดูก่อนออกอาอาศ จอเชื่อมสายซึ่งเป็นจอภาพสีและเป็นจอหลักที่แสดงรายการที่กำลังออกอากาศ ลำโพงสำหรับเสียงในรายการ   (speakers for program sound)   เพื่อให้ผู้กำกับรายการสามารถตรวจสอบเสียงที่ออกอากาศได้ ระบบติดต่อภายใน   (intercommunication systems) ใช้ติดต่อระหว่างผู้กำกับกับทีมงานผู้ผลิตรายการ นาฬิกา และนาฬิกาจับเวลา   (clock and stopwatches)   เวลาถือเป็นเรื่องที่สำคัญมากในการผลิตรายการ นาฬิกาจะบอกช่วงเวลาที่เริ่มรายการและจบรายการ ส่วนนาฬิกาจับเวลาใช้กำหนดว่าเวลาแต่ละช่วงควรใช้เวลาเท่าไร
ส่วนที่  2:  การควบคุมภาพ  (  image control)   เป็นการเลือกและจัดลำดับภาพให้เหมาะสมและรวมถึงการจัดภาพประกอบต่างๆ การควบคุมภาพนั้นจะใช้เครื่องสลับภาพซึ่งอยู่ด้านขวามือของผู้กำกับ ส่วนใหญ่ผู้กำกับเทคนิคจะทำหน้าที่ในการควบคุมภาพ ส่วนที่  3:  การควบคุมเสียง  (audio control)   ผู้ควบคุมจะอยู่ในห้องเล็กติดกับห้องควบคุมในห้องจะมีเครื่องบันทึกเสียง คาสเซ็ท คิวและจอภาพรายการ การควบคุมแสง  (lighting control)   ผู้ควบคุมแสงจะอยู่ในห้องควบคุมและจะรับคำสั่งจากผู้กำกับ
ห้องควบคุมหลัก  (master control) ห้องนี้จะถ่ายทอดรายการไปสู่ผู้ชมตามเวลาที่กำหนด จะรับรายการมา บันทึกรายการเอาไว้และคัดเลือกพร้อมกับส่งออกอากาศ ต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับทุกรายการที่เสนออกไป พื้นที่สนับสนุนห้องผลิตรายการ จะเป็นที่สำหรับเก็บฉากและอุปกรณ์ตกแต่งฉากต่างๆ ซึ่งจะมีการจัดลำดับไว้เพื่อสะดวกในการค้นหา และมีห้องแต่งตัวกับห้องแต่งหน้า
บุคลากรในการผลิตรายการโทรทัศน์
บุคลากรในการผลิตรายการโทรทัศน์   กลุ่มที่ทำการผลิต  (production staff)  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
บุคลากรในการผลิตรายการโทรทัศน์   กลุ่มที่ทำการผลิต  (production staff)  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
บุคลากรในการผลิตรายการโทรทัศน์   กลุ่มด้านวิศวกรรม  (engineering staff)  ที่ทำหน้าที่ด้านเทคนิค ผู้จัดการเทคนิค   (Technical director)   เป็นหัวหน้าหน่วยเทคนิค ผู้ควบคุมกล้อง   (Camera operator)   ทำหน้าที่ดูแลในการถ่ายภาพ ผู้กำกับแสง   (Lighting director)   มีหน้าที่ดูแลด้านแสง  เจ้าหน้าที่เสียง   (Audio technician)   มีหน้าที่รับผิดชอบด้านเสียง ควบคุมเสียงให้เหมาะกับรายการ เจ้าหน้าที่ตัดต่อ   (Editor)   ดำเนินงานด้านงานตัดต่อรายการหรือตัดภาพละคร เจ้าหน้าที่ซ่อมบำรุง   (Maintenance engineer)   ทำหน้าที่บำรุงรักษาเครื่องมือระหว่างการผลิตรายการ หัวหน้าช่าง   (Chief engineer)   รับผิดชอบบุคลากรด้านเทคนิค งบประมาณและอุปกรณ์ ออกแบบระบบและดูแลเรื่องเครื่องมือต่างๆ
ขั้นตอนการผลิตรายการโทรทัศน์
[object Object],[object Object],1.   ตอบคำถาม สี่ข้อที่เรียกว่า  3W 1H   ซึ่งประกอบด้วย Why  วัตถุประสงค์อะไรที่จะผลิต Who  เพื่อใคร หรือ การกำหนดกลุ่มเป้าหมายว่าคือกลุ่มใด What  ผลิตเรื่องอะไร คือการกำหนดเนื้อหาสาระซึ่งต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ How  ใช้รูปแบบนำเสนออะไร เช่น การรายงาน , สารคดี หรือละคร
ตัวอย่าง  Synopsis แม่ของอ๊อดในชุดดำเดินเข้ามา บรรจงวางพวงมาลัยพวงน้อยลงบนหีบศพแล้งซบหน้าร้องไห้ อ๊อดเป็นเด็กฉลาด ร่าเริงและแข็งแรง เมื่อครั้งเป็นเด็กมัธยมต้น เขาเป็นนักกีฬาฟุตบอลคนดังของโรงเรียน อ๊อดเริ่มหายหน้าไปจากสนามฟุตบอลแยกตัวออกจากเพื่อนๆ ยามอยู่ในห้องเรียนก็มักง่วงหลับ งานสังสรรค์ประจำปีของโรงเรียนคืนนั้นอ๊อดขอตัวกลับก่อน เพื่อนๆพากันฉงนและรู้สึกเป็นห่วง อ๊อดไปหาจ้อนที่บ้าน เขาเริ่มทะเลาะกัน เพราะอ๊อดไม่มีเงินให้จ้อนเหมือนแต่ก่อน การทะเลาะวิวาทเริ่มรุนแรง อ๊อดเริ่มทนไม่ไหว จ้อนก็ทนไม่ไหว ทั้งสองเริ่มต่อสู้กันเสียงปืนดังขึ้นนัดหนึ่ง แม่ของอ๊อดในชุดดำ ซบหน้าร้องไห้ ค่อยๆลุกขึ้นแล้วเดินจากไป ( วิภา , 2538:27 ) 2.  เริ่มกำหนด แนวโครงร่าง ก่อนที่จะเขียนบทโทรทัศน์ หรือที่เรียกว่า  Synopsis  หรือ  treatment  โดยลักษณะของ   Synopsis   ดูคล้ายกับความเรียงสั้นๆเพื่อให้ภาพที่กระจ่างชัดเกี่ยวกับรายการที่จะผลิต
3.  หลังจากเขียน  Synopsis  เรียบร้อยแล้ว เป็นขั้นของการเขียนบทคร่าวๆ ครั้งแรก   บทโทรทัศน์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ส่วนที่  2 เสียงที่ใช้ บทพูด บทโทรทัศน์
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ประเภทของบทโทรทัศน์
บทโทรทัศน์จะแบ่งได้เป็น สามประเภท คือ 1. บทโทรทัศน์แบบสมบูรณ์  (the fully scripted show)  ประเภทของบทโทรทัศน์
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ประเภทของบทโทรทัศน์
[object Object],[object Object],[object Object],ประเภทของบทโทรทัศน์
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
การถ่ายทำในสตูดิโอ การจัดฉาก   ในห้องถ่ายทำหรือสตูดิโอนั้น จะออกแบบให้เหมาะสมโดยมีอุปกรณ์ประกอบฉาก มีกำแพงสีขาวเป็นฉากเรียกว่า ไซโคลรามา  (Cyclorama)  จะต่อกันระหว่างผนังและพื้น ทำให้รู้สึกว่าห้องกว้าง มีพื้นที่ไม่สิ้นสุด ในห้องมักจะมีการจัดเก้าอี้สำหรับนั่งพูดในรายการสัมภาษณ์และมีเวทีให้สูงขึ้นตามความเหมาะสมของรูปแบบรายการ
การถ่ายทำในสตูดิโอ การจัดฉาก   มีอุปกรณ์ประกอบฉาก  (Props)  เพื่อสร้างบรรยากาศให้ดูสมจริง หรือ ประกอบให้ฉากดูดียิ่งขึ้น เทเลพรอมเตอร์  /  ออโตสคริปต์  ฉายตัวอักษรซึ่งเป็นบทพูด อยู่ระดับสายตามุมเดียวกับกล้อง ทำให้ผู้ดำเนินรายการอ่านได้ในระดับสายตา
การถ่ายทำในสตูดิโอ การจัดแสง แสงในการถ่ายทำโทรทัศน์ถือเป็นสิ่งสำคัญในการถ่ายทำสตูดิโอโดยในการถ่ายทำแต่ละครั้งจะมีการ จัดมุมแสงและลักษณะของแสงให้สัมพันธ์กับเนื้อ โคมไฟมี  3  แบบ Spotlight  โคมไฟให้แสงจ้า Profile Spot เน้นความเด่นของวัตถุ โคมไฟที่ให้แสงนุ่มนวล
การถ่ายทำในสตูดิโอ การจัดแสง รายการจะมีหลายดวงแต่ ส่วนใหญ่จะใช้ไฟอย่างน้อย สามดวง ตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานดังนี้
การถ่ายทำในสตูดิโอ Key light   ไฟที่ ให้แสงแก่วัตถุหรือบุคคล ที่ถ่าย  บางทีเรียกว่า  main light การวาง  Key light   แสงที่ได้จาก  Key light   เป็นไฟที่ส่องตรงไปยังวัตถุเพื่อเป็นแสงหลัก มักใช้โคมไฟประเภทให้แสงจ้า กำหนดให้อยู่ด้านซ้ายของวัตถุที่ถ่าย
การถ่ายทำในสตูดิโอ Fill light   ไฟที่ช่วยปรับเงาที่เกิดจาก  key light การวาง  Fill  light   แสงที่ได้จากการวาง  Fill light   หรือ ไฟเสริม เป็นไฟที่ลบแสงเงาที่เกิดจากไฟหลัก มักใช้โคมไฟที่ให้แสงนุ่มนวล วางไว้ทางด้านขวา
การถ่ายทำในสตูดิโอ Back light   ไฟที่ช่วยให้เห็นรายละเอียดของ แสดง ช่วยให้เกิดภาพสามมิติ การวาง  Back light   แสงที่ได้จากการวาง  Back light   หรือ ไฟหลัง เป็นไฟที่ส่องด้านหลังบุคคล เพื่อแยกคนไม่ให้จมกับฉากหลัง มักใช้โคมไฟแสงจ้า วางไว้ด้านหลัง ส่องเข้าหาบุคคล
การถ่ายทำในสตูดิโอ การวางไฟทั้งหมดพร้อมกันจะสร้างความลึกให้แก่วัตถุ การจัดไฟแบบ  3  ดวงนี้ เรียกว่า  “ Three Point Lightning”  ใช้มากในการทำรายการง่ายๆ เช่น ข่าว สัมภาษณ์
การถ่ายทำในสตูดิโอ การเคลื่อนกล้อง  กล้องจะนำภาพที่ดึงความรู้สึกของผู้แสดงในอารมณ์ต่างๆมาให้ผู้ชมได้เห็นและทำให้เกิดอารมณ์ร่วมไปกับผู้แสดง ดังนั้นการเคลื่อนกล้องเพื่อจับภาพต่างๆ
การถ่ายทำนอกสตูดิโอ ,[object Object],[object Object]
ขั้นหลังการผลิต  ( Post –Production) คือขั้นตอนสุดท้ายของการผลิตเมื่อได้เทปบันทึกรายการมา ซึ่งขั้นตอนนี้มีความซับซ้อนไม่แพ้สองขั้นตอนแรกเริ่มจากนำเทปที่ได้จากการถ่ายทำมาตัดต่อ (editing) ทำเสียงดนตรีประกอบและใช้เทคนิคประกอบต่างๆเพื่อให้ได้รายการที่สมบูรณ์ ขั้นหลังการผลิต (post production) ขั้นผลิต (production) ขั้นก่อนการผลิต (pre-production)
ขั้นตอน  Post-production ตรวจคุณภาพ ของเทปต้นฉบับ ที่ได้มาจากการถ่ายทำ แปลงสัญญาณภาพและเสียง ให้เป็นดิจิตอล เพื่อบันทึกลง  ในคอมพิวเตอร์ แต่แปลงที่ระดับ ความชัดต่ำ แล้วตัดต่ออย่าง คร่าวๆเป็นพิมพ์เขียว  “ rough cut” นำเทปจาก  Off-line  มาตัด อย่างละเอียด  ตาม ข้อมูลการ ตัดต่อ  / EDL Edit Decision List  และใส่เทคนิคต่างๆ ใส่ตัวอักษรหรือภาพต่างๆ  กล้องทำไม่ได้ ใส่เสียงเพลง เสียงคนบรรยาย  เสียงประกอบและเสียงจริงลงไปในรายการ   ตรวจสอบเทปที่จะส่งออกอากาศ เพื่อเช็คคุณภาพการผลิต เช่น  คุณภาพสี เสียงและภาพ การนำเทปที่เสร็จแล้วส่งสถานี  ปกติจะส่งล่วงหน้า เพื่อผ่านการ เซ็นเซอร์ของช่องแต่ก็มีหลายครั้งที่ ต้องนำกลับมาแก้ไข และ นำส่งสถานีล่วงหน้าออกอากาศได้ ไม่กี่ชั่วโมง   Prepare Footage Off Line Editing On Line Editing Master Tape Graphic Sound Mix Quality Control Delivery

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
Samorn Tara
 
อุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
อุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
อุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
51010514531
 
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
Samorn Tara
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
Krongkaew kumpet
 
การบรรยายครั้งที่ 4 บทที่ 4 รหัสวิชา cma 448 [บันทึกอัตโนมัติ]
การบรรยายครั้งที่ 4 บทที่ 4 รหัสวิชา cma 448 [บันทึกอัตโนมัติ]การบรรยายครั้งที่ 4 บทที่ 4 รหัสวิชา cma 448 [บันทึกอัตโนมัติ]
การบรรยายครั้งที่ 4 บทที่ 4 รหัสวิชา cma 448 [บันทึกอัตโนมัติ]
Jele Raviwan Napijai
 
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
วิริยะ ทองเต็ม
 

Mais procurados (20)

สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studioสอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
สอนออนไลน์ด้วย OBS Studio
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
อุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
อุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาอุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
อุปกรณ์ในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
 
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
003 ใบความรู้ที่3.9-มุมกล้องสุดสวย
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
 
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)การค้นหาตัวละคร (Character Research)
การค้นหาตัวละคร (Character Research)
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
การบรรยายครั้งที่ 4 บทที่ 4 รหัสวิชา cma 448 [บันทึกอัตโนมัติ]
การบรรยายครั้งที่ 4 บทที่ 4 รหัสวิชา cma 448 [บันทึกอัตโนมัติ]การบรรยายครั้งที่ 4 บทที่ 4 รหัสวิชา cma 448 [บันทึกอัตโนมัติ]
การบรรยายครั้งที่ 4 บทที่ 4 รหัสวิชา cma 448 [บันทึกอัตโนมัติ]
 
Proposal รายการอยากรู้ป่ะ !
Proposal  รายการอยากรู้ป่ะ !Proposal  รายการอยากรู้ป่ะ !
Proposal รายการอยากรู้ป่ะ !
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
 
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้นEditing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
Editing basic - การตัดต่อวีดีโอเบื้องต้น
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพ
 
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
 
Proposal รายการห๊ะอะไรนะ
Proposal รายการห๊ะอะไรนะProposal รายการห๊ะอะไรนะ
Proposal รายการห๊ะอะไรนะ
 

Destaque

พ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail away
พ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail awayพ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail away
พ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail away
anchaket
 
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
Vitsanu Nittayathammakul
 
รายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศรายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศ
Piyatida Sriwichai
 
การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
Jele Raviwan Napijai
 
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
Sakulsri Srisaracam
 
`การบรรยายครั้งที่ 6 cma 448 วิชาหัวข้อพิเศษทางดิจิตอล บทที่ 6 การเขียนบทวิท...
`การบรรยายครั้งที่ 6 cma 448  วิชาหัวข้อพิเศษทางดิจิตอล บทที่ 6 การเขียนบทวิท...`การบรรยายครั้งที่ 6 cma 448  วิชาหัวข้อพิเศษทางดิจิตอล บทที่ 6 การเขียนบทวิท...
`การบรรยายครั้งที่ 6 cma 448 วิชาหัวข้อพิเศษทางดิจิตอล บทที่ 6 การเขียนบทวิท...
Jele Raviwan Napijai
 
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
Jele Raviwan Napijai
 
One Channel Project
One  Channel  ProjectOne  Channel  Project
One Channel Project
ubakes
 
เห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blc
เห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blcเห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blc
เห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blc
blcdhamma
 

Destaque (20)

Proposal 239mile Nation U
Proposal 239mile Nation UProposal 239mile Nation U
Proposal 239mile Nation U
 
พ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail away
พ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail awayพ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail away
พ๊อพเพอร์เซิล รายการ Rail away
 
X lady พ๊อพเพอร์เซิล
X lady พ๊อพเพอร์เซิลX lady พ๊อพเพอร์เซิล
X lady พ๊อพเพอร์เซิล
 
รายการห๊ะ!! อะไรนะ (ไฟล์สมบรูณ์)
รายการห๊ะ!! อะไรนะ (ไฟล์สมบรูณ์)รายการห๊ะ!! อะไรนะ (ไฟล์สมบรูณ์)
รายการห๊ะ!! อะไรนะ (ไฟล์สมบรูณ์)
 
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
 
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
ขั้นตอนในการผลิตรายการโทรทัศน์
 
รายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศรายการนิตยสารทางอากาศ
รายการนิตยสารทางอากาศ
 
การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
การบรรยายครั้งที่ 8 cma 448 บทที่ 8 ฉาก สี และ แสง ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
 
Script Coyote
Script CoyoteScript Coyote
Script Coyote
 
Ywc11 Sponsor Proposal
Ywc11 Sponsor ProposalYwc11 Sponsor Proposal
Ywc11 Sponsor Proposal
 
Media : Thai Television
Media : Thai TelevisionMedia : Thai Television
Media : Thai Television
 
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
 
804501 Presentation Kerkkrai&Worawit
804501 Presentation Kerkkrai&Worawit804501 Presentation Kerkkrai&Worawit
804501 Presentation Kerkkrai&Worawit
 
`การบรรยายครั้งที่ 6 cma 448 วิชาหัวข้อพิเศษทางดิจิตอล บทที่ 6 การเขียนบทวิท...
`การบรรยายครั้งที่ 6 cma 448  วิชาหัวข้อพิเศษทางดิจิตอล บทที่ 6 การเขียนบทวิท...`การบรรยายครั้งที่ 6 cma 448  วิชาหัวข้อพิเศษทางดิจิตอล บทที่ 6 การเขียนบทวิท...
`การบรรยายครั้งที่ 6 cma 448 วิชาหัวข้อพิเศษทางดิจิตอล บทที่ 6 การเขียนบทวิท...
 
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
การบรรยายครั้งที่ 5 รหัสวิชา cma 448 บทที่ 5
 
Flash Animate
Flash AnimateFlash Animate
Flash Animate
 
One Channel Project
One  Channel  ProjectOne  Channel  Project
One Channel Project
 
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๒)
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๒)กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๒)
กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคารกับสิ่งแวดล้อม (๒)
 
เห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blc
เห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blcเห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blc
เห็นธรรม ก่อนทุกข์ Blc
 
20150306 socail media communication
20150306 socail media communication20150306 socail media communication
20150306 socail media communication
 

Mais de Sakulsri Srisaracam

ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
Sakulsri Srisaracam
 

Mais de Sakulsri Srisaracam (20)

คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytellingคู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
 
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
 
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
 
Online community & journalism
Online community & journalismOnline community & journalism
Online community & journalism
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting process
 
Reseachconvergence
ReseachconvergenceReseachconvergence
Reseachconvergence
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
 
Social TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for DocumentarySocial TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for Documentary
 
Newsreportprocess
NewsreportprocessNewsreportprocess
Newsreportprocess
 
Social Media & Journalism
Social Media & JournalismSocial Media & Journalism
Social Media & Journalism
 
Digital Media & University
Digital Media & UniversityDigital Media & University
Digital Media & University
 
Irregularverb
IrregularverbIrregularverb
Irregularverb
 
Agreement of verb
Agreement of verbAgreement of verb
Agreement of verb
 
Adjectiveadverb
AdjectiveadverbAdjectiveadverb
Adjectiveadverb
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Adjective & Adverb
Adjective & AdverbAdjective & Adverb
Adjective & Adverb
 
News21century
News21century News21century
News21century
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 
TV Production 2
TV Production 2TV Production 2
TV Production 2
 

TV Production 1

  • 2.
  • 3.
  • 4. ขนาด ห้องโทรทัศน์ยิ่งมีขนาดใหญ่มากเท่าใดก็จะยิ่งทำให้การผลิตรายการซับซ้อนได้มากขึ้น และสามารถผลิตรายการได้อย่างหลากหลายมากขึ้น ในการผลิตโทรทัศน์นั้น ถ้าเป็นการผลิตรายการข่าวและการสัมภาษณ์ มักจะเป็นห้องที่ไม่ใหญ่มากนัก ส่วนรายการประเภทรายการเพลง ละคร และรายการที่ผู้ชมในห้องส่ง จำเป็นต้องจัดรายการในห้องที่มีขนาดใหญ่ พื้นห้อง มักจะมีการจัดระดับและกล้องนั้นจะต้องเคลื่อนย้ายได้ทั่วไปและราบเรียบไม่สะดุด พื้นผิวส่วนใหญ่จึงเป็นคอนกรีตฉาบหรือปูกระเบื้อง
  • 5. ความสูงของเพดาน เป็นสิ่งสำคัญมากในการออกแบบขนาดของห้อง เนื่องจาก เพดานของห้องผลิตรายการนั้นจะต้องมีเครื่องมือที่สำคัญแขวนห้อยอยู่ อันได้แก่ การแขวนฉาก บูมไมโครโฟน และระบบแสง ถ้าเพดานห้องมีความสูงต่ำเกินไป ไฟจะอยู่ใกล้ผู้แสดงมากทำให้ร้อนเกินไป ไมโครโฟนก็อาจปรากฏในจอโทรทัศน์
  • 6. กล้องโทรทัศน์ ทำหน้าที่รับและส่งภาพ โดยกล้องโทรทัศน์เป็นการจับภาพเคลื่อนไหวจากมุมต่างๆจึงต้องมีการเคลื่อนไหวตามภาพ และจับภาพมุมต่างๆของวัตถุที่ต้องการ ระบบแสง ให้แสงสว่างที่เพียงพอแก่การถ่ายภาพและทำให้ภาพที่ถ่ายได้อารมณ์ตรงตามจุดมุ่งหมายในบทโทรทัศน์ เครื่องรับโทรทัศน์ ในห้องผลิตรายการ (studio monitor) เป็นภาพเดียวกับที่จะออกอากาศ เพื่อเห็นภาพในขณะถ่ายทำและสามารถดูมุมกล้องต่างๆได้ชัดเจนขึ้น
  • 7. ไมโครโฟน ให้เสียงสนทนา เพลงและเสียงที่ใช้อารมณ์ตามที่บทโทรทัศน์ต้องการ ผู้ผลิตจึงต้องเลือกใช้ประเภทของไมโครโฟนต่างๆตามความเหมาะสม ฉาก ทำให้สิ่งแวดล้อมดูสมจริง หรือสร้างบรรยากาศตามบทโทรทัศน์ ระบบติดต่อภายใน (intercommunication system) ระหว่างการผลิตมีความจำเป็นต้องติดต่อระหว่างหน่วยงานต่างๆกันตลอดเวลาและรับคำสั่งจากผู้กำกับ ดังนั้นระบบติดต่อภายในจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง ในห้องผลิตขนาดเล็กอาจใช้โทรศัพท์แบบ telephone headset โดยเจ้าหน้าที่ทุกคนจะมีเพื่อสื่อสารกันได้ ส่วนสตูดิโอขนาดใหญ่จะมีการใช้ระบบ wireless intercom system
  • 8. ห้องควบคุมผลิตรายการ (the studio control room) เป็นห้องที่แยกต่างหากแต่จะอยู่ติดกับห้องผลิตรายการ ในห้องนี้จะมีผู้กำกับรายการ ผู้ช่วยผู้กำกับรายการ ผู้กำกับเทคนิค ผู้ผลิตรายการต่างๆและผู้ช่วย ทำหน้าที่ตัดสินใจว่าภาพและเสียงควรเป็นอย่างไรในขณะที่ออกอากาศ
  • 9. ห้องควบคุมผลิตรายการ (the studio control room) ส่วนที่ 1: การควบคุมรายการ (program control) เป็นการเลือกและจัดภาพและเสียงโดยจะมีอุปกรณ์หลักๆ คือ จอวีดีโอ (video monitors) ซึ่งจะมีประมาณ 30 จอ เป็นทั้งจอที่ตรวจสอบรายการจากกล้องแต่ละตัว และจอสีให้ผู้กำกับตรวจดูก่อนออกอาอาศ จอเชื่อมสายซึ่งเป็นจอภาพสีและเป็นจอหลักที่แสดงรายการที่กำลังออกอากาศ ลำโพงสำหรับเสียงในรายการ (speakers for program sound) เพื่อให้ผู้กำกับรายการสามารถตรวจสอบเสียงที่ออกอากาศได้ ระบบติดต่อภายใน (intercommunication systems) ใช้ติดต่อระหว่างผู้กำกับกับทีมงานผู้ผลิตรายการ นาฬิกา และนาฬิกาจับเวลา (clock and stopwatches) เวลาถือเป็นเรื่องที่สำคัญมากในการผลิตรายการ นาฬิกาจะบอกช่วงเวลาที่เริ่มรายการและจบรายการ ส่วนนาฬิกาจับเวลาใช้กำหนดว่าเวลาแต่ละช่วงควรใช้เวลาเท่าไร
  • 10. ส่วนที่ 2: การควบคุมภาพ ( image control) เป็นการเลือกและจัดลำดับภาพให้เหมาะสมและรวมถึงการจัดภาพประกอบต่างๆ การควบคุมภาพนั้นจะใช้เครื่องสลับภาพซึ่งอยู่ด้านขวามือของผู้กำกับ ส่วนใหญ่ผู้กำกับเทคนิคจะทำหน้าที่ในการควบคุมภาพ ส่วนที่ 3: การควบคุมเสียง (audio control) ผู้ควบคุมจะอยู่ในห้องเล็กติดกับห้องควบคุมในห้องจะมีเครื่องบันทึกเสียง คาสเซ็ท คิวและจอภาพรายการ การควบคุมแสง (lighting control) ผู้ควบคุมแสงจะอยู่ในห้องควบคุมและจะรับคำสั่งจากผู้กำกับ
  • 11. ห้องควบคุมหลัก (master control) ห้องนี้จะถ่ายทอดรายการไปสู่ผู้ชมตามเวลาที่กำหนด จะรับรายการมา บันทึกรายการเอาไว้และคัดเลือกพร้อมกับส่งออกอากาศ ต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับทุกรายการที่เสนออกไป พื้นที่สนับสนุนห้องผลิตรายการ จะเป็นที่สำหรับเก็บฉากและอุปกรณ์ตกแต่งฉากต่างๆ ซึ่งจะมีการจัดลำดับไว้เพื่อสะดวกในการค้นหา และมีห้องแต่งตัวกับห้องแต่งหน้า
  • 13.
  • 14.
  • 15. บุคลากรในการผลิตรายการโทรทัศน์ กลุ่มด้านวิศวกรรม (engineering staff) ที่ทำหน้าที่ด้านเทคนิค ผู้จัดการเทคนิค (Technical director) เป็นหัวหน้าหน่วยเทคนิค ผู้ควบคุมกล้อง (Camera operator) ทำหน้าที่ดูแลในการถ่ายภาพ ผู้กำกับแสง (Lighting director) มีหน้าที่ดูแลด้านแสง เจ้าหน้าที่เสียง (Audio technician) มีหน้าที่รับผิดชอบด้านเสียง ควบคุมเสียงให้เหมาะกับรายการ เจ้าหน้าที่ตัดต่อ (Editor) ดำเนินงานด้านงานตัดต่อรายการหรือตัดภาพละคร เจ้าหน้าที่ซ่อมบำรุง (Maintenance engineer) ทำหน้าที่บำรุงรักษาเครื่องมือระหว่างการผลิตรายการ หัวหน้าช่าง (Chief engineer) รับผิดชอบบุคลากรด้านเทคนิค งบประมาณและอุปกรณ์ ออกแบบระบบและดูแลเรื่องเครื่องมือต่างๆ
  • 17.
  • 18. ตัวอย่าง Synopsis แม่ของอ๊อดในชุดดำเดินเข้ามา บรรจงวางพวงมาลัยพวงน้อยลงบนหีบศพแล้งซบหน้าร้องไห้ อ๊อดเป็นเด็กฉลาด ร่าเริงและแข็งแรง เมื่อครั้งเป็นเด็กมัธยมต้น เขาเป็นนักกีฬาฟุตบอลคนดังของโรงเรียน อ๊อดเริ่มหายหน้าไปจากสนามฟุตบอลแยกตัวออกจากเพื่อนๆ ยามอยู่ในห้องเรียนก็มักง่วงหลับ งานสังสรรค์ประจำปีของโรงเรียนคืนนั้นอ๊อดขอตัวกลับก่อน เพื่อนๆพากันฉงนและรู้สึกเป็นห่วง อ๊อดไปหาจ้อนที่บ้าน เขาเริ่มทะเลาะกัน เพราะอ๊อดไม่มีเงินให้จ้อนเหมือนแต่ก่อน การทะเลาะวิวาทเริ่มรุนแรง อ๊อดเริ่มทนไม่ไหว จ้อนก็ทนไม่ไหว ทั้งสองเริ่มต่อสู้กันเสียงปืนดังขึ้นนัดหนึ่ง แม่ของอ๊อดในชุดดำ ซบหน้าร้องไห้ ค่อยๆลุกขึ้นแล้วเดินจากไป ( วิภา , 2538:27 ) 2. เริ่มกำหนด แนวโครงร่าง ก่อนที่จะเขียนบทโทรทัศน์ หรือที่เรียกว่า Synopsis หรือ treatment โดยลักษณะของ Synopsis ดูคล้ายกับความเรียงสั้นๆเพื่อให้ภาพที่กระจ่างชัดเกี่ยวกับรายการที่จะผลิต
  • 19.
  • 20.
  • 21. บทโทรทัศน์จะแบ่งได้เป็น สามประเภท คือ 1. บทโทรทัศน์แบบสมบูรณ์ (the fully scripted show) ประเภทของบทโทรทัศน์
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26. การถ่ายทำในสตูดิโอ การจัดฉาก ในห้องถ่ายทำหรือสตูดิโอนั้น จะออกแบบให้เหมาะสมโดยมีอุปกรณ์ประกอบฉาก มีกำแพงสีขาวเป็นฉากเรียกว่า ไซโคลรามา (Cyclorama) จะต่อกันระหว่างผนังและพื้น ทำให้รู้สึกว่าห้องกว้าง มีพื้นที่ไม่สิ้นสุด ในห้องมักจะมีการจัดเก้าอี้สำหรับนั่งพูดในรายการสัมภาษณ์และมีเวทีให้สูงขึ้นตามความเหมาะสมของรูปแบบรายการ
  • 27. การถ่ายทำในสตูดิโอ การจัดฉาก มีอุปกรณ์ประกอบฉาก (Props) เพื่อสร้างบรรยากาศให้ดูสมจริง หรือ ประกอบให้ฉากดูดียิ่งขึ้น เทเลพรอมเตอร์ / ออโตสคริปต์ ฉายตัวอักษรซึ่งเป็นบทพูด อยู่ระดับสายตามุมเดียวกับกล้อง ทำให้ผู้ดำเนินรายการอ่านได้ในระดับสายตา
  • 28. การถ่ายทำในสตูดิโอ การจัดแสง แสงในการถ่ายทำโทรทัศน์ถือเป็นสิ่งสำคัญในการถ่ายทำสตูดิโอโดยในการถ่ายทำแต่ละครั้งจะมีการ จัดมุมแสงและลักษณะของแสงให้สัมพันธ์กับเนื้อ โคมไฟมี 3 แบบ Spotlight โคมไฟให้แสงจ้า Profile Spot เน้นความเด่นของวัตถุ โคมไฟที่ให้แสงนุ่มนวล
  • 29. การถ่ายทำในสตูดิโอ การจัดแสง รายการจะมีหลายดวงแต่ ส่วนใหญ่จะใช้ไฟอย่างน้อย สามดวง ตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานดังนี้
  • 30. การถ่ายทำในสตูดิโอ Key light ไฟที่ ให้แสงแก่วัตถุหรือบุคคล ที่ถ่าย บางทีเรียกว่า main light การวาง Key light แสงที่ได้จาก Key light เป็นไฟที่ส่องตรงไปยังวัตถุเพื่อเป็นแสงหลัก มักใช้โคมไฟประเภทให้แสงจ้า กำหนดให้อยู่ด้านซ้ายของวัตถุที่ถ่าย
  • 31. การถ่ายทำในสตูดิโอ Fill light ไฟที่ช่วยปรับเงาที่เกิดจาก key light การวาง Fill light แสงที่ได้จากการวาง Fill light หรือ ไฟเสริม เป็นไฟที่ลบแสงเงาที่เกิดจากไฟหลัก มักใช้โคมไฟที่ให้แสงนุ่มนวล วางไว้ทางด้านขวา
  • 32. การถ่ายทำในสตูดิโอ Back light ไฟที่ช่วยให้เห็นรายละเอียดของ แสดง ช่วยให้เกิดภาพสามมิติ การวาง Back light แสงที่ได้จากการวาง Back light หรือ ไฟหลัง เป็นไฟที่ส่องด้านหลังบุคคล เพื่อแยกคนไม่ให้จมกับฉากหลัง มักใช้โคมไฟแสงจ้า วางไว้ด้านหลัง ส่องเข้าหาบุคคล
  • 33. การถ่ายทำในสตูดิโอ การวางไฟทั้งหมดพร้อมกันจะสร้างความลึกให้แก่วัตถุ การจัดไฟแบบ 3 ดวงนี้ เรียกว่า “ Three Point Lightning” ใช้มากในการทำรายการง่ายๆ เช่น ข่าว สัมภาษณ์
  • 34. การถ่ายทำในสตูดิโอ การเคลื่อนกล้อง กล้องจะนำภาพที่ดึงความรู้สึกของผู้แสดงในอารมณ์ต่างๆมาให้ผู้ชมได้เห็นและทำให้เกิดอารมณ์ร่วมไปกับผู้แสดง ดังนั้นการเคลื่อนกล้องเพื่อจับภาพต่างๆ
  • 35.
  • 36. ขั้นหลังการผลิต ( Post –Production) คือขั้นตอนสุดท้ายของการผลิตเมื่อได้เทปบันทึกรายการมา ซึ่งขั้นตอนนี้มีความซับซ้อนไม่แพ้สองขั้นตอนแรกเริ่มจากนำเทปที่ได้จากการถ่ายทำมาตัดต่อ (editing) ทำเสียงดนตรีประกอบและใช้เทคนิคประกอบต่างๆเพื่อให้ได้รายการที่สมบูรณ์ ขั้นหลังการผลิต (post production) ขั้นผลิต (production) ขั้นก่อนการผลิต (pre-production)
  • 37. ขั้นตอน Post-production ตรวจคุณภาพ ของเทปต้นฉบับ ที่ได้มาจากการถ่ายทำ แปลงสัญญาณภาพและเสียง ให้เป็นดิจิตอล เพื่อบันทึกลง ในคอมพิวเตอร์ แต่แปลงที่ระดับ ความชัดต่ำ แล้วตัดต่ออย่าง คร่าวๆเป็นพิมพ์เขียว “ rough cut” นำเทปจาก Off-line มาตัด อย่างละเอียด ตาม ข้อมูลการ ตัดต่อ / EDL Edit Decision List และใส่เทคนิคต่างๆ ใส่ตัวอักษรหรือภาพต่างๆ กล้องทำไม่ได้ ใส่เสียงเพลง เสียงคนบรรยาย เสียงประกอบและเสียงจริงลงไปในรายการ ตรวจสอบเทปที่จะส่งออกอากาศ เพื่อเช็คคุณภาพการผลิต เช่น คุณภาพสี เสียงและภาพ การนำเทปที่เสร็จแล้วส่งสถานี ปกติจะส่งล่วงหน้า เพื่อผ่านการ เซ็นเซอร์ของช่องแต่ก็มีหลายครั้งที่ ต้องนำกลับมาแก้ไข และ นำส่งสถานีล่วงหน้าออกอากาศได้ ไม่กี่ชั่วโมง Prepare Footage Off Line Editing On Line Editing Master Tape Graphic Sound Mix Quality Control Delivery