SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
และสื่อการศึกษา
สถานการณ์ปัญหา
หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้ นักเรียนจดจาความรู้ของครูเป็นหลัก ครูสมศรีจึงเปลี่ยนวิธีการสอนใหม่เพื่อให้
สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สารสนเทศในปัจจุบัน โดยนาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน
โดยครูสมศรีได้สร้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิดและประสบการณ์ของตนเอง เช่น
ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพ
มาบรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไป
เพื่อให้เกิดความสวยงามตรงตามแนวคิดของตน และส่งเสริมการสอนของตนเอง
ให้มีระสิทธิภาพมากขึ้น แต่พอใช้ไปได้ระยะหนึ่งพบว่า ในช่วงแรกๆ ผู้เรียนให้
ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะมีกราฟิกที่ดึงดูดความสนใจ แต่พอหลังจากนั้นไปสักระยะผู้เรียน
ก็ไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครูสมศรีสร้างขึ้น ทั้งผลการเรียนและกระบวนการเรียนรู้ ของผู้เรียนเมื่อเปรียบเทียบกับ
วิธีการสอนแบบเดิมที่เคยใช้ก็ไม่แตกต่างกัน จึงทาให้ครูสมศรีกลับมาทบทวนใหม่ว่า ทาไมจึงเป็นเช่นนี้ ในฐานะที่
นักศึกษาเป็นครูนักเทคโนโลยีทางการศึกษา จะมีวิธีการช่วยเหลือครูสมศรีอย่างไร
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรี
ไม่ตรงตามเป้าประสงค์ ที่ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
สาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงไปตามเป้า เพราะว่า การที่ครูสมศรีทาสื่อ
ออกมาได้ไม่น่าสนใจในตัวของเนื้อหา คือ ครูสมศรีอยากจะให้ข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ
อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อ ซึ่งยังเป็นวิธีสอนแบบเดิมที่เน้น
“ทักษะการท่องจา” ที่ยังไม่ตรงกับการเรียนการสอนในยุคปัจจุบัน ซึ่งต้องผู้เรียนจะต้อง
เน้นให้ผู้เรียน “คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และสามารถศึกษาด้วยตนเองได้”
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามาจาก
พื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
แนวคิดการออกแบบการสอนและสื่อการสอนมาจากพื้นฐานดังนี้
มนุษย์มีธรรมชาติแห่ง
ความกระตือรือร้นที่จะ
เรียนรู้
พื้นฐานความรู้เดิม
ของผู้เรียน
แนวคิดการออกแบบการสอนและสื่อการสอนมาจากพื้นฐาน
ลักษณะบุคลิก
ของผู้เรียนซึ่ง
ลักษณะเนื้อหาจะ
แปรตามอายุ
ความง่ายต่อ
ความเข้าใจและ
การนาไปใช้
เชื่อว่าการเรียนรู้จะ
เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ
ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์
กับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์กันของการแนวคิดการออกแบบ
การสอนและสื่อการสอนมาจากพื้นฐาน
ธรรมชาติของมนุษย์มีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้อยู่เสมอแต่อาจจะมีความแตกต่างในความ
สนใจไปบ้างตามแต่พื้นฐานความรู้เดิมที่มีอยู่ หากผู้เรียนมีความรู้เดิมในเรื่องนั้นอยู่แล้วก็จะสนใจ
มากเป็นพิเศษ ดังนั้นผู้สอนจะต้องวางแผนออกแบบสื่อการสอนให้มีความหลากหลายตามความ
เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนได้สะท้อนแนวคิดของตนเองออกมาได้อย่าง
เต็มศักยภาพ
3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวน
ทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้น
ควรอยู่พื้นฐานของสิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
โลกยุคปัจจุบันกาลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเมื่อเปรียบเทียบกับโลก
ยุคเก่า การเปลี่ยนเข้าสู่โลกยุคใหม่เริ่มขึ้นราวร้อยกว่าปีมานี้ โดยเริ่ม
จากสังคมตะวันตกแล้วแพร่กระจายไปทั่วโลกในปัจจุบันมีการ
เปลี่ยนแปลงในโลกปรากฏขึ้นชัดเจนหลายประการ เช่น
ประชากรเพิ่มขึ้นอย่าง
รวดเร็ว
ขนาดของสังคมต่าง ๆ
โดยเฉลี่ยใหญ่ขึ้น
แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลก
มีการตั้งถิ่นฐานเป็น
ชุมชนถาวรและชุมชน
เมืองมากขึ้น
สังคมมนุษย์มีผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
มากขึ้น
มีสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ
เพิ่มขึ้นมากมาย
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลก
มีความไม่เท่าเทียม
ภายในสังคมและ
ระหว่างสังคมเพิ่มขึ้น
ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นมาก
ทั้งชนิดและปริมาณ
การจัดระเบียบทาง
สังคมมีความซับซ้อน
มากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลง เหล่านี้เกิดขึ้นมากน้อยและเร็วช้าไม่เท่ากันในแต่ละสังคม บางสังคมเกิดการ
เปลี่ยนแปลงมากจนกลายเป็นสังคมที่ก้าวหน้าและเป็นศูนย์กลางของโลกยุคใหม่ หลายสังคม
เปลี่ยนแปลงช้าหรือมีการเปลี่ยนแปลงบางด้านที่เป็นปัญหา เช่น ประชากรเพิ่มมากจนกระทบต่อ
การพัฒนาเศรษฐกิจ เช่น จีน อินเดีย ในบางประเทศเน้นการพัฒนาด้านวัตถุเกินไปจนเป็นปัญหา
ต่อความสัมพันธ์ทางสังคม
กระบวนทัศน์ทางการศึกษา
กระบวนทัศน์ทางการศึกษา หมายถึง กรอบความคิด ความเชื่อ หรือชุดความคิด (set of idea
and believes) เกี่ยวกับการมองสภาพความเป็นจริงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาซึ่งจะมีผลต่อ
การแสดงออกของพฤติกรรมด้านการศึกษาของคนในสังคม ให้สอดคล้องกับกรอบความคิดในด้าน
การศึกษานั้นด้วย ปัจจุบันการจัดการศึกษามีการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านโครงสร้างและกระบวนการ
จัดการศึกษา จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ครูและบุคลากรทางการศึกษา จะต้องมีการพัฒนาตนเอง
เพื่อให้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การจัดกระบวนทัศน์ทางการศึกษาในสังคมปัจจุบัน
การจัดกระบวนทัศน์ทางการศึกษาในสังคมปัจจุบันควรจะออกแบบให้ผู้เรียน
“คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และสามารถศึกษาด้วยตนเองได้” ซึ่งจะสอดคล้องกับสภาพสังคมโลกใน
ปัจจุบันที่ทุกคนต่างเอาตัวรอด ปัญหาทางสังคมมีเยอะมากขึ้น ผู้ที่สามารถคิดและแก้ปัญหาเป็นจะ
สามารถอยู่รอดในสังคม และดาเนินชีวิตรอดในสังคมที่โหดร้ายในยุคปัจจุบันได้ ซึ่งแนวทางการ
จัดการเรียนการสอนนี้จะตรงกับการเรียนรู้แนวคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งจะเน้นให้
ผู้สอนชี้แนะแนวทางให้ผู้เรียนคิดและเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ซึ่งการเรียนรู้รูปแบบนี้จะเป็นพื้นฐานนาผู้เรียนไปสู่
“ทักษะการคิดในระดับสูง” ซึ่งประกอบด้วย การคิดวิเคราะห์ การสังเคราะห์
การแก้ปัญหา และการถ่ายโยงความรู้ เพื่อที่ผู้เรียนจะได้นาทักษะเหล่านี้ไปใช้แก้ปัญหา
ในชีวิตจริงได้
ผู้จัดทา
นายชินวัตร ชาวันดี 553050067-9
นายธีรศักดิ์ นันทสาร 553050291-4

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Fern's Supakyada
 
Chapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมChapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรม
Ayumu Black
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและมุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
เนตร นภา
 

Mais procurados (13)

No3
No3No3
No3
 
บทที่๓
บทที่๓บทที่๓
บทที่๓
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chap.3
Chap.3Chap.3
Chap.3
 
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3.1
Chapter3.1Chapter3.1
Chapter3.1
 
Chapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมChapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรม
 
Chapter3(1)
Chapter3(1)Chapter3(1)
Chapter3(1)
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและมุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
 

Destaque

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Kik Nookoogkig
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
likhit j.
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
AomJi Math-ed
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Nisachol Poljorhor
 

Destaque (11)

ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
C3
C3C3
C3
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยงข้องกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Map3
Map3Map3
Map3
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 

Semelhante a 3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา

Sattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon a4 group
Sattakamon a4 group
Sattakamon
 
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
Ann Pawinee
 
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
Pui Chanisa Itkeat
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
FerNews
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
beta_t
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
sinarack
 

Semelhante a 3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา (17)

จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
Sattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon a4 group
Sattakamon a4 group
 
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
 
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
 
Chap.3
Chap.3Chap.3
Chap.3
 
Chapter3 (1)
Chapter3 (1)Chapter3 (1)
Chapter3 (1)
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 

3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา