SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
Download to read offline
ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกซื้อผลิตภัณฑแปรรูป
จากสมุนไพรในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ
ของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน
เสนอ
รศ.ดร. ธเนศ ศรีวิชัยลําพันธ
จัดทําโดย
นางสาว วรางคนา ปากองวัน
รหัส 4716146
รายงานวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษากระบวนวิชา751409
(RESEACH EXERCISE IN CURRENT ECONOMIC ISSUES)
ภาคเรียนที่ 3 ปการศึกษา 2550
คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
คํานํา
เนื่องจากปจจุบันนี้ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจสงผลใหประชาชนมีรายได
ที่นอยลงไมเพียงพอตอการเลี้ยงชีพโดยเฉพาะประชาชนในชนบทการที่ไดมีการจัดตั้งโครงการ
หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑขึ้นจึงเปรียบเสมือนการสรางรายไดใหแกคนในชุมชนเพื่อใหสามารถ
พึ่งตนเองได ดังนั้นผูจัดทําจึงมีความประสงคที่จะศึกษาถึงปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือก
ซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพรรวมไปถึงระดับความพึงพอใจที่มีตอผลิตภัณฑแปรรูปจาก
สมุนไพรเพื่อใหทราบถึง พฤติกรรมในการซื้อของผูซื้อและแนวทางในการแกไขปรับปรุง
ผลิตภัณฑใหตรงตามความตองการของผูซื้อไดซึ่งผูวิจัยคาดวาจะมีประโยชนตอผูที่สนใจและเปน
แนวทางสําหรับผูที่เกี่ยวของไดอยางถูกตอง
รายงานวิจัยฉบับนี้สามารถสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี เนื่องมาจาก รศ.ดร. ธเนศ ศรีวิชัยลํา
พันธ ที่ใหคําปรึกษา และสอนวิธีการทําวิจัย ขอขอบพระคุณอาจารยมายัง ณ ที่นี้ดวย หากขาดตก
บกพรองประการใด ผูเขียนขออภัยเปนอยางสูงในขอบกพรองและผิดพลาดนั้น และผูเขียนหวังวา
การคนควานี้คงมีประโยชนบางไมมากก็นอยสําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของ ตลอดจนผูที่มีความ
สนใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบริโภคในการเลือกซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพรตางๆ
วรางคนา ปากองวัน
ผูจัดทํา
สารบัญ
หนา
คํานํา ก
สารบัญ ข
สารบัญตาราง ค
บทที่ 1 บทนํา 1
1.1 ที่มาและความสําคัญ 1
1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 3
1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 3
1.4 ขอบเขตการศึกษา 3
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 7
2.1 ทฤษฏีและแนวคิดที่เกี่ยวของ 7
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 20
บทที่3 ระเบียบวิธีการศึกษา 24
3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 24
3.2 การเก็บรวบรวมขอมูล 24
3.3 วิธีการศึกษาวิจัย 27
บทที่ 4 ผลการศึกษา 31
4.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 31
4.2 พฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร 35
4.3 ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร 39
4.4 ระดับความพึงพอใจของปจจัยแตละดานจากผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร 47
4.5 ทัศนคติและขอเสนอแนะของผูซื้อที่มีตอผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร 54
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา 55
5.1 สรุปผลการศึกษา 55
5.2 ขอเสนอแนะ 56
บรรณานุกรม 57
ภาคผนวก 58
สารบัญตาราง
ตารางที่ หนา
4.1 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามเพศ 32
4.2 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามอายุ 32
4.3 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามสถานภาพ 33
4.4 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามระดับการศึกษา 33
4.5 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามอาชีพ 34
4.6 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามระดับรายไดเฉลี่ยตอเดือน 35
4.7 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามผลิตภัณฑที่ซื้อ 35
4.8 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามวัตถุประสงคในการซื้อ 36
4.9 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามคาใชจายในการซื้อ 36
4.10 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามความถี่การซื้อตอป 37
4.11 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามชวงเวลาที่มาซื้อ 38
4.12 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามแหลงขอมูลในการซื้อ 38
4.13 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามการตัดสินใจซื้อ 39
4.14 แสดงอันดับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร 40
ของกลุมผูซื้อ
4.15 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานผลิตภัณฑจําแนกตามกลุม 41
ตัวอยางของผูซื้อ
4.16 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานการบรรจุจําแนกตามกลุม 42
ตัวอยางของผูซื้อ
4.17 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานราคาจําแนกตามกลุม 42
ตัวอยางของผูซื้อ
4.18 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานสถานที่จําหนายจําแนกตามกลุม 43
ตัวอยางของผูซื้อ
4.19 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานการประชาสัมพันธจําแนกตาม 44
กลุมตัวอยางของผูซื้อ
4.20 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานการสงเสริมการขายจําแนกตาม 45
กลุมตัวอยางของผูซื้อ
สารบัญตาราง(ตอ)
ตารางที่ หนา
4.21 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานการบริการจําแนกตามกลุม 45
ตัวอยางของผูซื้อ
4.22 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานฤดูกาลจําแนกตามกลุม 46
ตัวอยางของผูซื้อ
4.23 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานปจจัยสวนบุคคลจําแนกตาม 46
กลุมตัวอยางของผูซื้อ
4.24 แสดงระดับความพึงพอใจที่มีตอผลิตภัณฑแปรรูปสมุนไพรของกลุมผูซื้อ 47
4.25 แสดงระดับความพึงพอใจในดานผลิตภัณฑจําแนกตามกลุมตัวอยางของผูซื้อ 49
4.26 แสดงระดับความพึงพอใจในดานบรรจุจําแนกตามกลุมตัวอยางของผูซื้อ 49
4.27 แสดงระดับความพึงพอใจในดานราคาจําแนกตามกลุมตัวอยางของผูซื้อ 50
4.28แสดงระดับความพึงพอใจในดานสถานที่จําหนายจําแนกตามกลุมตัวอยาง 50
ของผูซื้อ
4.29 แสดงระดับความพึงพอใจในดานประชาสัมพันธจําแนกตามกลุมตัวอยาง 51
ของผูซื้อ
4.30 แสดงระดับความพึงพอใจในดานการสงเสริมการขายจําแนกตามกลุมตัวอยาง 52
ของผูซื้อ
4.31 แสดงระดับความพึงพอใจในดานบริการจําแนกตามกลุมตัวอยางของผูซื้อ 52
4.32 แสดงระดับความพึงพอใจในดานฤดูกาลจําแนกตามกลุมตัวอยางของผูซื้อ 53
4.33 แสดงระดับความพึงพอใจในดานปจจัยสวนบุคคลจําแนกตามกลุมตัวอยาง 53
ของผูซื้อ
บทที่ 1
บทนํา
1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา
ในป พ.ศ. 2540 เปนตนมาประเทศไทยไดประสบกับปญหาวิกฤตการณ เศรษฐกิจและ
การเงินสงผลใหภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมตางๆ ชะลอตัวลง ทางดานสินคาภาคการเกษตรก็มีราคาต่ํา
ทําใหประชาชนชนบทมีรายไดนอยลงไมเพียงพอเลี้ยงตนเองและครอบครัว จากปญหาตาง ๆ ที่
เกิดขึ้น ทางภาครัฐยุคนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ที่ไดเขามาบริหารประเทศไดประกาศนโยบาย
ประเทศไทยจะไมมีคนจน รัฐบาลไดสงเสริมใหประชาชนมีรายไดเพิ่ม จากการกระตุนเศรษฐกิจ
ระดับรากหญาโดยผลักดันโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) เพื่อใหชุมชนคิดคนสินคา
จากทองถิ่น ที่มีเอกลักษณ สามารถพัฒนาคุณภาพตรงใจตลาดและเพิ่มมูลคาใหกับสินคาจน
สามารถนําสงออกไปขายตางประเทศได โดยมีหนวยงานของรัฐเขามาสนับสนุนในเรื่องวิชาการ
เทคโนโลยี ชองทางการตลาด และขยายโอกาสใหชุมชนเขาถึงแหลงทุน เปาหมายที่วาดฝนไวของ
นโยบายนี้ ก็เพื่อใหชุมชนไดปรับเปลี่ยนตนเอง ยกระดับฐานะผูผลิตสินคาขึ้นมาเปนบริษัทยอยๆ
ครบวงจรทั้งการบริหารจัดการ ดูแลระบบการเงิน และระบบบัญชี ควบคุมการผลิตใหไดมาตรฐาน
ออกแบบบรรจุภัณฑใหมีความทันสมัย มีความคลองตัวในการติดตอตลาดไดดวยตัวเอง ทําให
รายไดจากการขายสินคา หมุนเวียนในชุมชน เศรษฐกิจของชุมชนเขมแข็ง สมาชิกในชุมชน
พึ่งตนเองได (OTOP 4 ปสราง 4 ปซอม, 2548)
นโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑนี้ไดทําขึ้นตั้งแต นายกทักษิณ ชินวัตร และไดสืบเนื่อง
ตอจนถึงปจจุบัน ที่พล.อ สุรยุทธ จุลานนท ไดกาวขึ้นเปนนายกรัฐมนตรี ทานไดใหการสนับสนุน
นโยบายนี้ โดยไดประกาศจะนําหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการบริหารเศรษฐกิจดวยวิธี
บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และผลักดันใหเม็ดเงินจํานวนนี้ไปใชในการขับเคลื่อนธุรกิจของ
ภาคชุมชนอยางจริงจัง นายจักรมนฑ ผาสุกวนิช ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กลาววา แนวนโยบาย
ของกระทรวงอุตสาหกรรมจะเนนใหความสําคัญ ในการสงเสริมผลิตภัณฑของชุมชน หรือโอท็อบ
ใหมากขึ้น และดําเนินการอยางตอเนื่อง เนื่องจากผูประกอบการเหลานี้ ถือเปนเศรษฐกิจพอเพียง
ในขณะเดียวกันก็พยายาม สรางเสริมใหผูประกอบการหรือชุมชน มีรายไดเพิ่มขึ้นและเติบโตอยาง
ยั่งยืน โดยจะใชกลยุทธในการสราง value of money รูปแบบในการพัฒนาสินคา otop และกาวไปสู
OTOP Village. (โอท็อปปรับทิศใหม เนนเศรษฐกิจพอเพียง/ดึงมหาลัยรวม, 2549)
แตถึงแมวาเศรษฐกิจชุมชนจะไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐบาล แตก็ยังคงประสบปญหา
ในดานของการพัฒนาใหธุรกิจชุมชนเกิดความเขมแข็ง เนื่องจากมีขอจํากัดตางๆ ดังนี้
1. สินคาจากชุมชนไมสามารถสูกับคุณภาพสินคาที่เปนของกลุม SMEs ได
2. ชุมชนยังขาดความสามารถในการบริหารจัดการไมผานมาตรฐานสินคาที่โครงการตั้งตามขั้นของ
ระดับดาว
3. ผูประกอบการขาดขอมูลทางการตลาด รวมถึงไมมีการพัฒนา รูปแบบของผลิตภัณฑ
และบรรจุภัณฑ
4. ผูประกอบการขาดเงินทุนที่ใชในการผลิต รวมถึงไมสามารถหาแหลงเงินทุนได
5. เนื่องจากผูประกอบการไมสามารถพัฒนาสินคาใหตรงกับความตองการของลูกคาซึ่ง
เปนกลุมที่มีอํานาจการซื้อทั้งในเมืองและตางชาติได “ยุทธศาสตรเศรษฐกิจภาพรวม.”.(2549)
ดังนั้นในการที่จะทําใหเศรษฐกิจของประเทศเขมแข็งและเติบโตไดอยางยั่งยืนนั้น ควรที่
จะตองเริ่มจากการสรางชุมชนที่เปนรากฐานของประเทศใหมีความเขมแข็งกอน จากนโยบายหนึ่ง
ตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ ตําบลอุโมงคก็ถือวาเปนตําบลหนึ่งที่ใหความสําคัญและมีการสานตอนโยบาย
นี้อยางตอเนื่อง โดยมีผลิตภัณฑแปรรูปที่นาสนใจไดแก ไวน สุราแช ลําใยอบแหงเนื้อสีทอง
ดอกไมจากผาใยบัว ผลิตภัณฑแปรรูปเห็ดหอม(ขาวเกรียบเห็ดหอม) น้ําผึ่งรวง น้ําหอมสมุนไพร
กระเทียมดอง ซึ่งผลิตภัณฑที่ไดรับความนิยมจากผูบริโภค โดยเฉพาะนักทองเที่ยวนั้นคือไวนซึ่งจัด
ไดวาเปนไวนที่มีคุณภาพ และมีใหเลือกหลายชนิด เชน ไวนลําใย ไวนกระชายดํา ไวนสตรอเบอรี่
ไวนมะขามปอม เปนตน สวนลําใยอบแหงสีทอง ซึ่งเปนผลิตภัณฑที่ขึ้นชื่อของตําบลอุโมงคอีก
ชนิดหนึ่ง ผลิตภัณฑเหลานี้ลวนเปนที่ตองการของตลาดและผูบริโภค โดยเฉพาะนักทองเที่ยวที่ได
เขามาเที่ยวในจังหวัดลําพูนเปนอยางมาก ทําใหประชาชนสวนใหญในตําบลอุโมงคใหความสนใจ
และไดรวมกันสืบทอดกรรมวิธีการทําไวนจากรุนบรรพบุรุษใหคงอยูตอไป
ในการสงเสริมนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑทําใหมีการจัดฝกอบรมแกประชาชนที่
สนใจเพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ มีการใหความรูในดานการแปรรูปผลิตภัณฑตางๆใหแก
ประชาชน และมีการสงเสริมใหมีการนําเอาภูมิปญญาชาวบานมาใชควบคูไปกับเทคโนโลยี
สมัยใหมเพื่อใชในการผลิตผลิตภัณฑ สิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับ
รายไดใหแกประชาชนในตําบล จนทําใหตําบลอุโมงคมีความเขมแข็ง พึ่งตนเองได และเปนการ
ขยายตลาดผลิตภัณฑแปรรูปทั้งภายในและตางประเทศดวย (สํานักงานเทศบาลตําบลอุโมงค, 2549)
ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้จึงเปนการศึกษาถึงพฤติกรรมของผูบริโภคและปจจัยที่มีตอการ
ตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพรของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน ที่มี
จําหนายจากสหกรณ บริษัท กลุมแมบาน และรานคาตางๆ ภายในตําบล เพื่อศึกษาวาปจจัยที่มีผลตอ
การตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร และพฤติกรรมในการเลือกซื้อของผูบริโภคเปน
อยางไร ซึ่งผลการศึกษาในครั้งนี้จะไดเปนประโยชนตอผูประกอบการ ผลิตภัณฑแปรรูปจาก
สมุนไพร และผูที่เกี่ยวของเพื่อเปนแนวทางในการนําไปปรับปรุงผลิตภัณฑ รูปแบบผลิตภัณฑ และ
กลยุทธทางการตลาด เพื่อใหตรงกับความตองการของผูบริโภค เพื่อใหผลิตภัณฑแปรรูปจาก
สมุนไพรของตําบลอุโมงค ไดรับความสนใจมากขึ้น
1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมในการเลือกบริโภคผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร ในนโยบาย
หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน
2. เพื่อตองการศึกษาถึงปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร
ในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน
3. เพื่อศึกษาถึงความพึงพอใจและทัศนคติของผูบริโภคที่มีตอผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร ใน
นโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน
1.3 ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษา
จากการศึกษาครั้งนี้ทําใหทราบถึงพฤติกรรมในการเลือกบริโภคของผูบริโภค ปจจัยที่มีผล
ตอการเลือกซื้อผลิตภัณฑ ความพึงพอใจ และทัศนคติของผูบริโภคที่มีตอผลิตภัณฑแปรรูปจาก
สมุนไพร ในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน ซึ่งผลที่
ไดจากการศึกษาจะเปนประโยชนตอ ผูประกอบการ ชุมชน หนวยงานตางๆที่เกี่ยวของ สามารถ
นําไปเปนแนวทาง ในการพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ ใหตรงกับความตองการของผูบริโภคได
1.4 ขอบเขตการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้มุงศึกษาถึงพฤติกรรมของผูบริโภคและปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือก
ซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร ในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอ
เมือง จังหวัดลําพูน ตลอดจนความพึงพอใจและทัศนะคติของผูบริโภคที่มีตอผลิตภัณฑแปรรูปจาก
สมุนไพร รวมถึงแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑเพื่อใหเกิดประโยชนตอผูประกอบการ
และผูที่เกี่ยวของ โดยใชขอมูลปฐมภูมิที่ไดจากการกรอกแบบสอบถามของลูกคาที่มาซื้อผลิตภัณฑ
แปรรูปจากสมุนไพร ในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัด
ลําพูน จํานวน 200 รายซึ่งแบงเปน 2 กลุม คือ กลุมผูบริโภคในจังหวัดลําพูน และกลุมนักทองเที่ยว
จากจังหวัดอื่นที่ไดเลือกซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร ในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ
ของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน ในสหกรณ บริษัท กลุมแมบาน และรานคาที่ตั้งอยู
ภายในบริเวณตําบลอุโมงค อําเภอเมืองจังหวัดลําพูน จํานวน 12 กลุม คือ
1. บริษัทลําพูนสุราพื้นบาน จํากัด 2. บริษัทศักดิ์ทองพูน จํากัด 3. กลุมประดับดิษฐดอกไมจากใย
ผาใยบัว (นาง ศรีเรือน ไชยวรรณ) 4. กลุมแปรรูปเห็ดหอม (นาง เทียมตา ปนตาโมงค ) 5. กลุม
ลําใยอบแหงเนื้อสีทอง (นางสาว ศดานันท มะโนใจ) 6. กลุมน้ําผึ้งรวง (นาง จรินรัตน วิเศษวัชร
เจริญ) 7. กลุมสหกรณไวนอุโมงค จํากัด (นาย ไพรัตน แสงตัน) 8. กลุมสมุนไพรแสนดีตําบล
อุโมงค (นางสาว ลัดดา สุริยะ) 9. กลุมน้ําหอมสมุนไพร (นาง มะลิวัลย อิริจา) 10. กลุมขนมแตน
บัวลําใย (นาย อินทรเนตร ขันสิ) 11. กลุมกระเทียมดอง (นาง จันทรทอง ศรีธิหลา) 12. กลุมจักร
สานผักตบชวา (นาง จิราพร ขันทมาส)
บทที่2
การทบทวนวรรณกรรม
2.1 ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของ
ในการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาพฤติกรรมการซื้อและปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกซื้อ
ผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพรในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง
จังหวัดลําพูน โดยไดนําแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ และงานวิจัยอื่นๆ ที่สอดคลองกับการศึกษา
มาเปนแนวทางสําหรับการศึกษาดังนี้
1) ทฤษฎีอุปสงค
อุปสงค (Demand) ในทางดานเศรษฐศาสตรไดใหคําจํากัดความวาอุปสงคสําหรับสินคา
และบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง หมายถึง จํานวนตางๆ ของสินคาและบริการที่ผูบริโภคตองการซื้อ
ภายในระยะเวลาที่กําหนดให ณ ระดับราคาตางๆ กันของสินคาชนิดนั้นๆ หรือ ณ ระดับรายได
ตางๆ กันของผูบริโภค หรือ ณ ระดับราคาตางๆ ของสินคาและบริการที่เกี่ยวของในแงของการ
ทดแทนหรือใชประกอบกัน และความตองการซื้อ หมายถึง ความปรารถนาอยากจะซื้อหรือความ
เต็มใจอยากจะซื้อและความสามารถที่จะซื้อหรืออํานาจซื้อ
ปจจัยที่เปนตัวกําหนดอุปสงค หมายถึง ตัวแปรหรือปจจัยตางๆ ซึ่งมีอิทธิพลตอจํานวน
สินคาและบริการที่ผูบริโภคปรารถนาจะซื้อ ปจจัยเหลานี้มีอิทธิพลตอปริมาณซื้อมากนอยไมเทากัน
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับพฤติกรรมการบริโภคของแตละบุคคลและกาลเวลา ปจจัยเหลานั้นไดแก
1. ราคาสินคาที่ผูบริโภคตองการซื้อ โดยทั่วไปปริมาณสินคาที่ผูบริโภคตองการจะซื้อ
ขึ้นอยูกับราคาของสินคาและบริการนั้นๆ นั่นคือ ถาราคาสินคาชนิดนั้นแพงหรือมีราคาสูงขึ้น
ผูบริโภคก็จะตองการซื้อนอยลง ตรงกันขาม ถาราคาสินคานั้นต่ําลงผูบริโภคก็จะมีความตองากรซื้อ
มากขึ้น นั่นคือความสัมพันธระหวางราคาและปริมาณซื้อจะเปลี่ยนแปลงในทางตรงกันขามกัน
2. ระดับรายไดของผูบริโภค กรณีสินคาปกติ ความสัมพันธระหวางปริมาณเสนอซื้อ
และรายไดจะเปนไปในทางทิศทางเดียวกัน คือ เมื่อผูบริโภคมีรายไดสูงขึ้นจะบริโภคสินคานั้นมาก
ขึ้น และหากผูบริโภคมีรายไดต่ําลงจะบริโภคสินคาชนิดนั้นๆ ลดลง และกรณีสินคาเปนสินคาดอย
คุณภาพเมื่อรายไดของผูบริโภคสูงขึ้น ผูบริโภคจะหันไปบริโภคสินคาชนิดอื่นที่มีคุณภาพดีกวา
และหากผูบริโภคมีรายไดต่ําลงผูบริโภคจะบริโภคสินคาดอยคุณภาพเพิ่มขึ้น
3. รสนิยมของผูบริโภค ความนิยมของคนสวนใหญในสังคมซึ่งเปนความรูสึกนิยม
ชมชอบในขณะหนึ่ง จะทําใหมีความตองการบริโภคสินคาในชนิดนั้นๆ เพิ่มขึ้น บางทีก็มีการ
เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว เชน แบบเสื้อ สีสันที่นําสมัย เปนตน แตบางทีรสนิยมก็อยูนาน เชน
สิ่งกอสราง บาน รถยนต เปนตน รสนิยมมีความสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจ
นักธุรกิจยอมทุมเทเงินจํานวนมากในการโฆษณาเพื่อจะเปลี่ยนรสนิยมของผุบริโภคใหหันมาสนใจ
ในสินคาของตน
4. ราคาสินคาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ในกรณีที่สินคาชนิดนั้นเปนสินคาที่มีสินคาอื่นทดแทน
ได เมื่อราคาสินคาชนิดหนึ่งสูงขึ้น ผูบริโภคก็จะซื้อสินคานั้นนอยลงและหันไปซื้อสินคาอีกชนิด
หนึ่งที่ทดแทนได เชน เมื่อราคาเนื้อหมูสูงขึ้น ผูบริโภคจะบริโภคเนื้อหมูนอยลงและหันไปบริโภค
เนื้อไก เนื้อวัว และอื่นๆ ทดแทน กรณีสินคาที่ตองใชรวมกับสินคาชนิดอื่นหรือประกอบกันเมื่อ
ราคาสินคาชนิดนั้นสูงขึ้น ผูบริโภคจะซื้อสินคาชนิดนั้นนอยลง และผูบริโภคก็จะซื้อสินคาที่ใช
รวมกันนอยลงดวย เชน น้ําตาลกับกาแฟ เมื่อกาแฟมีราคาสูงขึ้นผูบริโภคก็จะมีความตองการกาแฟ
ลดลง ในขณะเดียวกันก็จะมีความตองการน้ําตาลนอยลงดวย
5. จํานวนผูบริโภคในตลาด เมื่อประชากรเพิ่มจํานวนมากขึ้น ความตองการสินคาและ
บริการก็เพิ่มขึ้นดวย
6. การคาดคะเนราคาสินคาในอนาคต ถาผูบริโภคมีการคาดคะเนวาราคาสินคาและ
บริการชนิดใดจะสูงขึ้นในอนาคตแลว ผูบริโภค จะเสนอซื้อสินคาและบริการชนิดนั้นในปจจุบัน
เพิ่มมากขึ้น แมวาระดับสินคาสินคาและบริการชนิดนั้นในปจจุบันไมเปลี่ยนแปลง หากผูบริโภคมี
การคาดคะเนวาระดับราคาสินคาและบริการชนิดใดจะลดลงในอนาคตแลว ผูบริโภคจะชะลอการ
ซื้อสินคาและบริการชนิดนั้นจนกวาราคาสินคาและบริการชนิดนั้นจะลดลงจนถึงในที่สุด
7. ปริมาณการซื้อขึ้นอยูกับฤดูกาล สินคาและบริการบางชนิดมีปริมาณการซื้อขึ้นอยู
กับฤดูกาล เชน ในฤดูหนาวเสื้อกันหนาวจะขายไดดี ในฤดูรอนพัดลมหรือเครื่องปรับอากาศจะขาย
ดี เปนตน
2) ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค
พฤติกรรมผูบริโภค (Consumer Behavior) หมายถึง พฤติกรรมของผูบริโภคในการ
คนหา ซื้อใช ประเมิน และกําจัดสินคาและบริการ ซึ่งผูบริโภคคาดวาจะสามารถสนองความ
ตองการของเขาได ดังนั้นการศึกษาถึงพฤติกรรมผูบริโภคจึงเปนการศึกษาวา บุคคลจะทําการ
ตัดสินใจอยางไรในการใชทรัพยากร (เงิน เวลา ความพยายาม) ตอสิ่งที่เกี่ยวของกับการบริโภค ซึ่ง
ประกอบไปดวยการศึกษาถึงสิ่งที่ซื้อ เหตุผลของการซื้อ วิธีการซื้อ สถานที่ซื้อ และความบอยใน
การซื้อ (พิชิต สุจริตจินดานนทร,2537)
กระบวนการตัดสินใจของผูบริโภค เปนกระบวนการที่ผูบริโภคใชในการตัดสินใจซื้อ
โดยในที่นี้ จะยึดตามแนวคิดของ Engel-Blackwell-Miniard Model ที่มองกระบวนการตัดสินใจ
ของผูบริโภคในลักษณะของการแกปญหา ซึ่งประกอบไปดวยขั้นตอนตางๆ ดังนี้
1. การตระหนักถึงความตองการ (Need Recognition) หมายถึง การรับรูถึงความแตกตาง
ระหวางสิ่งที่ตองการ และเหตุการณที่เปนอยู ซึ่งมากพอที่จะกอใหเกิดแรงกระตุนและกระบวนการ
ตัดสินใจ
2. การคนหาขอมูล (Search for Information) หมายถึง การกระตุนเราความรูที่มีอยูใน
ความทรงจํา หรือการจัดหาขอมูลจากสิ่งแวดลอม ซึ่งการคนหานี้อาจเกิดขึ้นไดทั้งจากภายใน ซึ่ง
เปนการสํารวจจากความทรงจําอยางคราวๆ ถาพบวามีขอมูลไมเพียงพอหรือไมมีคุณภาพ ก็จะทํา
การคนหาจากภายนอก ซึ่งเปนการคนหาขอมูลจากสิ่งแวดลอม
3. การประเมินทางเลือกกอนการซื้อ (Pre- Purchase Alternative Evaluation) หมายถึง
กระบวนการซึ่งทางเลือกทางหนึ่งจะถูกประเมินและเลือกเพื่อใหตรงกับความตองการของผูบริโภค
ซึ่งจะกระทําควบคูไปกับการคนหาขอมูลระหวางการตัดสินใจ
4. การซื้อ (Purchase) การซื้อจะประกอบไปดวยการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องตางๆ ไดแก
1. จะซื้อหรือไม 2. จะซื้อเมื่อใด 3. จะซื้ออยางไร 4. จะซื้อที่ไหน 5. จะจายเงินอยางไร
5. การบริโภค (Consumption) การตัดสินใจวาจะบริโภคหรือไมบริโภค เมื่อซื้อสินคา
แลว ผูบริโภคจะมีการใช หรือการบริโภคสินคาอยางไร
6. การประเมินหลังการบริโภค (Post-Consumption Alternative Evaluation) หมายถึง
การประเมินถึงระดับของความพอใจที่ไดรับจากประสบการณในการบริโภค
7. การจัดการกับสิ่งของเหลือใช (Divestment) หมายถึง การจัดการกับสิ่งที่เหลือจากการ
ใชหรือสิ่งที่เลิกใช ตัวอยางเชน ขยะ หรือของที่อยูในสภาพที่ยังใชงานไดแตผูบริโภคไมไดใชแลว
ดวยสาเหตุตางๆ เชน ลาสมัย ไมเหมาะสมกับผูบริโภค
ปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภค มี 3 ประการ ไดแก ปจจัยสวน
บุคคล (Person factors) ปจจัยที่อยูภายในของบุคคล (internal variables) หรือปจจัยดานจิตวิทยา
(psychological factors) และปจจัยที่มีอยูภายนอกของบุคคล (external determinants) หรือ อิทธิพล
ของสิ่งแวดลอม (environmental determinants or influences) ซึ่งมีรายละเอียดพอสังเขปดังนี้
1. ปจจัยสวนบุคคล เปนปจจัยที่เกี่ยวของกับคุณสมบัติสวนบุคคลตางๆ เชน อายุของผู
ซื้อ อาชีพ รายได แบบของการใชชีวิต บุคลิกภาพและแนวความคิดเกี่ยวกับตนเอง
2. ปจจัยที่อยูภายในของบุคคล หรือ ปจจัยทางดานจิตวิทยา เปนปจจัยที่มีอิทธิพล
โดยตรงตอการตัดสินใจของผูบริโภค เนื่องจากเปนปจจัยที่ควบคุมกระบวนการติดภายในทั้งหมด
ของผูบริโภค ปจจัยทางดานจิตวิทยามีอยูดวยกัน 4 ประการ ดังนี้
2.1 แรงจูงใจ (motivation) หมายถึง สิ่งกระตุน หรือ ความรูสึกที่เปนสาเหตุที่ทําให
บุคคลมีการกระทํา หรือ มีพฤติการณรมในรูปแบบที่แนนอน
2.2 การรับรู (perception) หมายถึง การตีความหมายของบุคคลตอสิ่งของหรือ
ความคิดที่สังเกตเห็นได
2.3 การเรียนรู (learning) หมายถึง ความรูที่ไดจากกการรับรูถึงสิ่งที่ไมเคยรูจักมากอน
2.4 ความเชื่อและทัศนคติ (attitude) หมายถึง กลุมกวางๆ ของความรูสึกที่มีอยูภายใน
ตัวมนุษยหรือความเห็นที่เปนรูปแบบของพฤติกรรมของบุคคล
ปจจัยตางๆ ขางตนจะมีความสัมพันธเกี่ยวของซึ่งกันและกัน และมีผลตอผูบริโภคไป
พรอมๆกัน โดยที่ไมมีปจจัยใดมีความสําคัญมากไปกวากัน แตละปจจัยมีบทบาทเปนสวนหนึ่งของ
ผูบริโภค และทั้งหมดมีความสัมพันธที่เปนเงื่อนไขใหผูบริโภคมีพฤติกรรมในรูปแบบใดรูปแบบ
หนึ่ง
3. ปจจัยที่อยูภายนอกของบุคคล หรือ อิทธิพลของสิ่งแวดลอม
ปจจัยสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภคแบงออกอยางกวางๆ
ได 5 ปจจัย ไดแก อิทธิพลของปจจัยวัฒนธรรม (cultural factors) อิทธิพลของครอบครัว
(family influences)อิทธิพลของปจจัยทางสังคม (social factors) อิทธิพลของปจจัยทางสถานการณ
(situational influences) และอิทธิพลทางการตลาด (marketing influences)
3.1 อิทธิพลของปจจัยวัฒนธรรม เปนเรื่องของความเชื่อที่มีอยูในตัวของบุคคลและ
การลงโทษในสังคมที่ไดมีการพัฒนาอยูตลอดเวลาดวยระบบของสังคมนั้น
3.2 อิทธิพลครอบครัว เปนอิทธิพลที่เกิดจากสมาชิกในครอบครัว
3.3 อิทธิพลของปจจัยทางสังคม เปนผลลัพธที่ไดมาจากการติดตอกันของบุคคลทุก
คนกับบุคคลอื่นๆ ที่นอกเหนือจากครอบครัวและหนวยธุรกิจ
3.4 อิทธิพลของปจจัยทางสถานการณ เปนอิทธิพลอันเนื่องมากจากเหตุการณที่
เกิดขึ้นกอนตัดสินใจซื้อสินคา หรือ ระหวางที่ตัดสินใจซื้อสินคา หรือ หลังจากที่ตัดสินใจซื้อสินคา
แลว
3.5 อิทธิพลทางการตลาด หมายถึง องคประกอบของสวนผสมทางการตลาดอันไดแก
ผลิตภัณฑ (product) การวางราคา (price) ชองทางการจัดจําหนาย (placement channel of
distribution) และการสงเสริมการตลาด (promotion) ซึ่งมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภค
ปจจัยสิ่งแวดลอมดังกลาวขางตน ผูบริโภคไมสามารถควบคุมไดเชนเดียวกันกับ
ปจจัยดานจิตวิทยาที่ไดกลาวมาแลว ถึงแมวาบุคคลจะสามารถมีอิทธิพลเหนือสิ่งแวดลอมใน
บางครั้งก็ตาม แตมักเปนระยะเวลาสั้นๆ ดังนั้น ผูบริโภคแตละคนจึงตองรับอิทธิพลของสิ่งแวดลอม
เขามาในการดําเนินชีวิตดวย โดยสิ่งแวดลอมนี้จะสงผลรุนแรงตอผูบริโภคโดยผานทางปจจัยดาน
จิตวิทยา และจะสงผลกระทบโดยตรงมากที่สุดตอการรับรูของบุคคล ทั้งนี้เนื่องจากการรับรูทําให
บุคคลไดสามารถมองเห็นและเขาใจสิ่งแวดลอมได เมื่อบุคคลรับรูถึงสิ่งแวดลอมแลวก็จะทําการ
ประมวลขอมูลสําหรับสงไปยังปจจัยดานจิตวิทยาอื่นๆ เชน แรงจูงใจ ความเชื่อ และทัศนคติ
เปนตน
ประเภทของพฤติกรรมการซื้อ
การตัดสินใจของผูบริโภคจะมีความหลากหลายเกี่ยวกับประเภทของการตัดสินใจในการ
ซื้อ ซึ่งมีความแตกตางอยางมากระหวางการซื้อแปรงสีฟน ไมเทนนิส เครื่องคอมพิวเตอรและ
รถยนตใหม การซื้อสินคาที่มีความซับซอน และราคาแพงยิ่งมีมากเทาใด การซื้อก็ยิ่งจะตองมีความ
รอบคอบมากขึ้นพฤติกรรมพื้นฐานในการซื้อของผูบริโภค แบงออกเปน 4 ชนิด โดยขึ้นอยูกับความ
ยุงยากในการซื้อละความแตกตางระหวางตราสินคาและของสินคานั้นๆ
1. พฤติกรรมการซื้อที่ซับซอน (complex buying behavior) ผูบริโภคที่จะผานพฤติกรรม
การซื้อที่ซับซอน ก็ตอเมื่อมีความยุงยากในการซื้อสูง และรูถึงความแตกตางระหวางตราสินคามาก
ผูบริโภคจะมีความยุงยากในการซื้อสูงเมื่อผลิตภัณฑมีราคาแพง ซื้อไมบอยนัก หายาก และใหความ
พอใจสูง ชนิดของผูบริโภคประเภทนี้จะไมมีความรูมากนักเกี่ยวกับผลิตภัณฑและตองเรียนรูให
มากขึ้น อยางเชน บุคคลที่จะซื้อคอมพิวเตอรสวนบุคคล ก็อาจจะไมทราบถึงคุณสมบัติของเครื่อง
คอมพิวเตอรสวนบุคคลที่ตนเองตองการซื้อ วาเหมาะสมกับความตองการของตนเองหรือไม
ผูซื้อเหลานี้จะตองผานขบวนการเรียนรู โดยขั้นแรกจะตองมีการพัฒนาความเชื่อเกี่ยวกับ
ผลิตภัณฑ ตอมาก็จะกลายเปนทัศนคติ และสุดทายจะทําการเลิกซื้อ นักการตลาดของผลิตภัณฑที่มี
ความยุงยากในการซื้อสูงจะตองมีความเขาใจในขอมูลและการประเมินพฤติกรรมของผูบริโภคกลุม
นี้ นักการตลาดจะตองมีการพัฒนากลยุทธในการชวยเหลือผูซื้อ ในดารเรียนรูเกี่ยวกับคุณสมบัติของ
ผลิตภัณฑ ความสัมพันธที่สําคัญและตราสินคาของบริษัท ซึ่งเปนสวนที่สําคัญที่สุดฉะนั้นนักการ
ตลาดตองแสดงใหเห็นความแตกตางในลักษณะของตราสินคา โดยใชสื่อสิ่งพิมพเพื่อที่จะอธิบายถึง
ขอดีของตราสินคา และสรางแรงจูงใจใหกับรานคาปลีก และความคุนเคยใหกับผูซื้อ ซึ่งสิ่งเหลานี้
จะเปนอิทธิพลในการเลือกซื้อสินคาในขั้นตอนสุดทาย
2. พฤติกรรมการซื้อที่ลดความลังเลใจ (Dissonance – reducing Buying Behavior) บางครั้ง
ผูบริโภคที่มีความยุงยากในการซื้อสูง แตจะเห็นความแตกตางเล็กนอยในดานตราสินคา ซึ่งความ
ยุงยากในการซื้อสูงจะเปนพื้นฐานของความจริงนากรซื้อสินคาที่มีราคาแพงซื้อไมคอยบอย และหา
ไดยาก ในพฤติกรรมแบบนี้ ผูซื้อจะตองเลือกดูสินคาจากหลายๆที่ เพื่อที่จะเรียนรูและกอใหเกิด
ประโยชนแกตนเองแตเมื่อถึงเวลาจะซื้อ จะเลือกซื้อโดยใชเวลาไมมากนัก เพราะความแตกตางของ
ตราสินคาจะไมแตกตางกันเทาไหร สําหรับปจจัยที่ผูซื้อจะใหความสนใจในดานราคาและความ
สะดวกสบายในการซื้อเปนขั้นแรก เชน การซื้อพรมจะมีความยุงยากในการซื้อสูง เพราะมีราคาแพง
และขึ้นอยูกับความพอใจของแตละคน แตเมื่อดูถึงดานราคาของแตละตราสินคา ผูซื้อจะพบวาแต
ละตราสินคาจะมีราคาใกลเคียงกัน ซึ่งก็คือความแตกตางในดานตราสินคานั่นเอง
ภายหลังการซื้อ ผูบริโภคจะมีประสบการณเกี่ยวกับความลังเลใจ อันเนื่องมากจากไดรับ
ขอมูลจากคนอื่นเกี่ยวกับพรมตราสินคาอื่นๆ เชน พรมตราสินคาที่ผูซื้อมาใชไดไมได ในขณะที่
พรมตราสินคาอื่นดีกวา ดังนั้นนักการตลาดควรจะใหขาวสารที่สรางความมั่นใจใหกับผูซื้อที่ได
เลือกซื้อสินคาตราสินคานั้นๆ ไปแลว เพื่อจะทําใหความลังเลใจของผูซื้อลดนอยลง
3. พฤติกรรมการซื้อที่เปนความเคยชิน (Habitual Buying Behavior) ผลิตภัณฑหลายๆ
ชนิดจะถูกซื้อภายใตเงื่อนไขความยุงยากนากรซื้อต่ํา และไมมีความแตกตางของตราสินคาเชน การ
เลือกซื้อเกลือจะไมมีการสนใจวาเปนตราอะไรเพียงแตจะซื้อตราที่เคยซื้อเปนประจําพฤติกรรมแบบ
นี้จะซื้อโดยความเคยชินซึ่งสินคาพวกนี้จะเปนสินคาที่มีราคาต่ํา หรือใชเปนประจํา
พฤติกรรมของผุบริโภคแบบนี้ จะไมคอยสนใจขาวสารที่เกี่ยวกับตราสินคา หรือลักษณะ
ของสินคามากนัก แตการตัดสินใจในการซื้อจะมาจากการดูโฆษณาทางทีวี หรือโปสเตอร โฆษณา
ตางๆ ที่เห็นอยูบอยๆ ซึ่งการโฆษณาบอยๆ จะสรางความคุนเคยในตราสินคามากกวาความเชื่อถือ
ในตราสินคานั้น โดยผูบริโภคจะไมยึดติดกับทัศนคติเกี่ยวกับตราสินคา แตจะเลือกซื้อสินคาเพราะ
ความคุนเคยหรือความเคยชินมากกวา
ดังนั้นนักการตลาดพยายามใชการเสนอดานราคาและการสงเสริมการขายเพื่อที่จะกระตุน
การทดลองซื้อ เนื่องจากผูซื้อไมคอยผูกพันกับตราสินคามากนัก ในดานการโฆษณาของสินคา
ประเภทนี้ จะตองทําใหแลดูเปนที่นาสังเกตและนาสนใจ โดยการใชสัญลักษณตางๆ ซึ่งเปนสิ่งที่
สําคัญเพราะงายตอการจดจํา และเกี่ยวของไปถึงตราสินคานั้น
4. พฤติกรรมการซื้อที่เสาะแสวงหาความหลากหลาย (Variety – Seeking Buying
Behavior) พฤติกรรมการซื้อแบบนี้ จะเปนแบบที่ผูซื้อมีความยุงยากในการซื้อนอย แตใหความ
แตกตางในดานตราสินคามาก ดังนั้นผูบริโภคจะใชการพิจารณาเปนพิเศษ เพราะมีความแตกตางสูง
ในตราสินคาโดยจะมีตราสินคาตางๆ ใหเลือกมากมายในสินคาชนิดเดียวกัน เชน การซื้อสินคาที่
ผูบริโภคจะเลือกซื้อโดยใชความเชื่อถือและซื้อโดยไมคํานึงถึงคุณคาเทาใดนัก แตครั้งตอไป
ผูบริโภคอาจจะไปทดลองซื้อตราสินคาอื่น เพราะเบื่อตราสินคาเดิมและอยากลองรสชาติใหมๆ การ
เลือกซื้อของพฤติการณรมแบบนี้จะเกิดจากการเสาะแสวงหาความหลากหลายมากกวาที่จะเลือกซื้อ
เพราะความพอใจหรือไมพอใจ
กลยุทธทางการตลาด คือควรจะมีหลายๆ ตราสินคาในผลิตภัณฑชนิดเดียวกันจะตองมี
ตัวนําทางการตลาดและมีตัวสํารอง ตัวนํานี้ทางบริษัทจะตองทําใหเดนและครองตลาด โดยพยายาม
ไมใหสินคาขาดตลาด และตองโฆษณาบอยๆ เพื่อทําใหผูซื้อจําได ในดานการแขงขั้นทางการตลาด
ก็จะตองกระตุนใหเห็นถึงความหลากหลายในดานการเสาะแสวงหา โดยเสนอราคาที่ต่ํา มีการลด
แลก แจก แถม และ โฆษณาเกี่ยวกับสิ่งใหมๆ ที่เพิ่มเติมเขาไป
โมเดลพฤติกรรมผูบริโภค
ทฤษฎีโมเดลพฤติกรรมผูบริโภค (Consumer Behavior Model) (ศิริวรรณ เสรีรัตน และ
คณะ, 2451: 128 – 150) เปนการศึกษาถึงเหตุจูงใจที่ทําใหเกิดการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ โดยมี
จุดเริ่มตนจากการที่เกิดสิ่งกระตุน (stimulus) ที่ทําใหเกิดความตองการ สิ่งกระตุนผานเขามาใน
ความรูสึกนึกคิดของผูซื้อ ซึ่งเปรียบเทียบเสมือนกลองดําซึ่งผูผลิตหรือผูขายไมสามารถคาดคะเนได
ความรูสึกนึกคิดของผูซื้อจะไดรับอิทธิพลจากลักษณะตางๆ ของผูซื้อแลว จะมีการตอบสนองของผู
ซื้อ หรือการตัดสินใจของผูซื้อ ดังภาพที่ 5 แสดงรูปแบบพฤติกรรมผูบริโภค
1. สิ่งกระตุนภายนอก (Stimulus) ถือวาเปนเหตุจูงใจใหเกิดการซื้อสินคา (buying motive)
ซึ่งอาจใชเหตุจูงใจซื้อดานเหตุผล และใชเหตุจูงใจใหซื้อดานจิตวิทยา (อารมณ) ก็ได สิ่งกระตุน
ภายนอกประกอบดวย 2 สวน คือ
1.1 สิ่งกระตุนดานผลิตภัณฑเชนออกแบบผลิตภัณฑใหสวยงามเพื่อกระตุนความตองการ
1.1.1 สิ่งกระตุนดานราคา เชน การกําหนดราคาสินคาใหเหมาะสมกับผลิตภัณฑ โดย
พิจารณาลูกคาเปาหมาย
1.1.2 สิ่งกระตุนราคา เชน การกําหนดราคาสินคาใหเหมาะสมกับผลิตภัณฑ โดย
พิจารณาลูกคาเปาหมาย
1.1.3 สิ่งกระตุนดานการจัดชองทางการจําหนาย เชน จัดจําหนายผลิตภัณฑใหทั่วถึง
เพื่อใหความสะดวกแกผูบริโภค ถือวาเปนการกระตุนความตองการซื้อ
1.1.4 สิ่งกระตุนดานการจัดชองทางการจําหนาย เชน จัดจําหนายผลิตภัณฑใหทั่วถึง
เพื่อความสะดวกแกผูบริโภคถือวาเปนการกระตุนความตองการซื้อ
1.2 สิ่งกระตุนอื่นๆ (Other stimulus) เปนสิ่งกระตุนความตองการของผูบริโภคที่อยู
ภายนอกองคการที่ซึ่งบริษัทควบคุมไมได สิ่งกระตุนเหลานี้ไดแก
1.2.1 สิ่งกระตุนทางเศรษฐกิจ (Economic) เชน รายไดของผูบริโภค ภาวะเศรษฐกิจ
เหลานี้มีอิทธิพลตอความตองการของบุคคล เปนตน
1.2.2 สิ่งกระตุนทางเทคโนโลยี (Technological) เชน เทคโนโลยีใหมดานฝากถอน
เงินอัตโนมัติสามารถกระตุนความตองการใหใชบริการของธนาคารมากขึ้น
1.2.3 สิ่งกระตุนทางกฎหมายและการเมือง (Law and political) เชน กฎหมาย เพิ่ม
หรือลดภาษีสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งจะมีผลกระตุนใหผูบริโภคเกิดความตองการซื้อสินคาใน
เทศกาลนั้น
2. กลองดําหรือความรูสํานึกคิดของผูซื้อ ความรูสึกนึกคิดของผูซื้อเปรียบเสมือนกลองดํา
(Black box) ซึ่งผูผลิตหรือผูขายไมสามารถทราบได จึงจําเปนตองพยายามคนหาความรูสึกนึกคิด
ของผูซื้อ ความรูสึกนึกคิดของผูซื้อ
2.1.1 ปจจัยทางวัฒนธรรม (Culture factor) เปนสัญลักษณ และสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นโดย
เปนที่ยอมรับจากคนรุนหนึ่งถึงอีกรุนหนึ่ง และเปนตัวกําหนดควบคุมพฤติกรรมของมนุษยใน
สังคมหนึ่ง คานิยมในวัฒนธรรมเปนสิ่งกําหนดความตองการและพฤติกรรมของบุคคล ซึ่งนักการ
ตลาดตองคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม และนําลักษณะการเปลี่ยนแปลงเหลานั้นไปใช
ในการกําหนดโปรแกรมการตลาด วัฒนธรรมแบงออกเปน
2.1.1.1 วัฒนธรรมพื้นฐาน (Culture) เปนลักษณะพื้นฐานของบุคคลในสังคม เชน
ลักษณะนิสัยของคนไทย ซึ่งเกิดจากการหลอหลอมพฤติกรรมของสังคมไทย ทําใหมีลักษณะ
พฤติกรรมที่คลายคลึงกัน
2.1.1.2 วัฒนธรรมยอย (Subculture) เปนวัฒนธรรมของแตละกลุมที่มี
ลักษณะเฉพาะแตกตางกันที่มีอยูภายในสังคมขนาดใหญและสลับซับซอน วัฒนธรรมยอยเกิดจาก
พื้นฐานทางภูมิศาสตรและลักษณะพื้นฐานของมนุษย
2.1.1.3 ชั้นของสังคม (Social class) หมายถึง การแบงสมาชิกของสังคมออกเปน
ระดับฐานะที่แตกตางกันโดยที่สมาชิกในแตละชั้นสังคมจะมีสถานะอยางเดียวกันและสมาชิกใน
ชั้นสังคมที่แตกตางกันจะมีลักษณะที่แตกตาง
2.1.2 ปจจัยทางดานสังคม (Social factor) เปนปจจัยที่เกี่ยวของในชีวิตประจําวันและมี
อิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อ ลักษณะทางสังคมประกอบดวย
2.1.2.1 กลุมอางอิง (Reference groups) เปนกลุมบุคคลที่เขาไปเกี่ยวของดวย กลุม
นี้จะมีอิทธิพลตอทัศนคติ ความคิดเห็นและคานิยมของบุคคลในกลุมอางอิน กลุมอางอิงจะมี
อิทธิพลตอบุคคลในกลุมทางดานการเลือกพฤติกรรม และการดํารงชีวิตรวมทั้งทัศนคติ และ
แนวความคิดของบุคคล เนื่องจากบุคคลตองากรใหเปนที่ยอมรับของกลุม จึงตองปฏิบัติตามและ
ยอมรับความคิดเห็นตางๆ จากกลุมอิทธิพลนักการตลาดควรทราบวากลุมอางอิงที่มีอิทธิพลตอการ
ตัดสินใจของผูบริโภคอยางไร
2.1.2.2 ครอบครัว (Family) บุคคลใดที่ครอบครัวถือวามีอิทธิพลมากที่สุดตอ
ทัศนคติ ความคิดเห็นและคานิยมของบุคคล สิ่งเหลานี้มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของครอบครัว
2.1.2.3 บทบาทและสถานะ (Roles and statuses) ของบุคคลที่เกี่ยวของกับหลาย
กลุม เชน ครอบครัว กลุมอางอิง องคการและสถาบันตางๆ บุคคลจะมีบทบาทและสถานะที่แตกตาง
กันในแตละบุคคล
2.1.3 ปจจัยสวนบุคคล (Personal factors) การตัดสินใจของผูซื้อไดรับอิทธิพลจาก
ลักษณะสวนบุคคล ดังนี้
2.1.3.1 อายุและวงจรชีวิต (Age and family life cycle) อายุที่แตกตางกันจะมีความ
ตองการผลิตภัณฑที่ตางกัน และถาวงจรชีวิตซึ่งเปนขั้นตอนเปนสิ่งที่มีอิทธิพลตอความตองการทศ
นคติและคานิยมของบุคคลทําใหเกิดความตองการในผลิตภัณฑและพฤติกรรมการซื้อที่แตกตางกัน
2.1.3.2 อาชีพ (Occupation) อาชีพของแตละบุคคลจะนําไปสูความจําเปนและ
ความตองการสินคาและบริการที่แตกตางกัน
2.1.3.3 สิ่งแวดลอมทางเศรษฐกิจ (Economic circumstances) สิ่งแวดลอมทาง
เศรษฐกิจของบุคคลจะกระทบตอสินคาและบริการที่เขาตัดสินใจซื้อ ซึ่งสิ่งแวดลอมเหลานี้
ประกอบดวย รายได การออมสินทรัพย อํานาจการซื้อ และทัศนคติเกี่ยวกับการจายเงิน นักการ
ตลาดตองสนใจแนวโนมของรายไดสวนบุคคล การออม และอัตราดอกเบี้ย
2.1.3.4 วิถีชีวิต (Life style) วิถีชีวิตขึ้นอยูกับวัฒนธรรม ชั้นของสังคมและกลุม
อาชีพของแตละบุคคล นักการตลาดเชื่อวา การเลือกผลิตภัณฑของบุคคลขึ้นอยูกับวิถีชีวิต
บุคลิกภาพและความเห็นสวนตัว (Personality and self concept) บุคลิกภาพและ
ความเห็นสวนตัวของแตละคนมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อ นักการตลาดตองพยายามสราง
ผลิตภัณฑใหสอดคลองกับบุคลิกภาพและความเห็นสวนตัวของลูกคาของกลุมเปาหมาย บุคลิกภาพ
เปนรูปแบบลักษณะของบุคคลที่จะเปนตัวกําหนดพฤติกรรมการตอบสนองแนวคิดของตนเอง
หมายถึง ความรูสึกนึกคิดที่บุคคลมีตอตนเองหรือความคิดที่บุคคลคิดวาบุคคลอื่นมีความคิดเห็นตอ
ตนอยางไร
2.14 ปจจัยทางจิตวิทยา (Psychological factors) การเลือกซื้อของบุคคลไดรับอิทธิพล
จากปจจัยดานจิตวิทยาซึ่งถือวาเปนปจจัยภายในตัวผูบริโภคที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อละการ
ใชสินคา
2.1.4.1 การจูงใจ (Motivation) หมายถึง พลังสิ่งกระตุนที่อยูภายในตัวบุคคลซึ่ง
กระตุนใหบุคคลปฏิบัติ การจูงใจเกิดภายในตัวบุคคลแตอาจจะถูกกระทบจากปจจัยภายนอก เชน
วัฒนธรรม ชั้นทางสังคม หรือสิ่งกระตุนที่นักการตลาดใชเครื่องมือทางการตลาดเพื่อกระตุนใหเกิด
ความตองการของตน
2.1.4.2 การรับรู (Perception) เปนกระบวนการซึ่งแตละบุคคลไดรับการเลือกสรร
จัดระเบียบ และตีความหมายขอมูลเพื่อที่จะสรางภาพที่มีความหมาย หรืออาจหมายถึงขบวนการ
ของความเขาใจของบุคคลที่มีตอโลกที่เขาอาศัยอยู การรับรูจะแสดงถึงความรูสึก จากประสาท
สัมผัสทั้ง 5 ไดแก การไดเห็น การไดยิน การไดกลิ่น การไดรสชาติ และการไดรูสึก
2.1.4.3 การเรียนรู (Learning) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมหรือความ
โนมเอียงของพฤติกรรมจากประสบการณที่ผานมา การเรียนรูของบุคคลเกิดขึ้นเมื่อบุคคลไดรับสิ่ง
กระตุนและจะเกิดการตอบสนอง
2.1.4.4 ความเชื่อ (Belief) เปนความคิดที่บุคคลยึดถือเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเปน
ผลมาจากประสบการณในอดีต
2.1.4.5 ทัศนคติ (Attitude) หมายถึง ความรูสึกนึกคิดของบุคคลที่มีตอสิ่งหนึ่งสิ่ง
ใด ทัศนคตินั้นเกิดจากขอมูลที่แตละคนไดรับ กลาวคือ เกิดจากประสบการณการเรียนรูในอดีต
เกี่ยวกับสินคาหรือความนึกคิดของบุคคลและเกิดจากความสัมพันธที่มีตอกลุมอางอิง
2.2 ขั้นตอนการตัดสินใจของผูซื้อ (Buyer Decision Process)
2.2.1 การรับรูปญหา (Problem Recognition) การที่บุคคลรับรูถึงความตองการภายใน
ของตนซึ่งอาจเกิดจากสิ่งกระตุน เชน ความหิว ความกระหาย ความตองการทางเพศ ความเจ็บปวด
เปนตน สิ่งเหลานี้เกิดขึ้นเมื่อถึงระดับหนึ่งจะกลายเปนสิ่งกระตุน บุคคลจะเรียนรูถึงวิธีที่จะจัดการ
กับสิ่งกระตุนจากประสบการณในอดีต ทําใหรูวาจะตอบสนองตอสิ่งกระตุนอยางไร
2.2.2 การคนหาขอมูล (Information Search) เมื่อผูบริโภครับรูถึงความจําเปนและตองการ
ที่อยูอาศัย จึงคนหาขอมูลดวยวิธีการตางๆ จากแหลงขอมูลภายใน (Internal Search) หรือ
แหลงขอมูลโดยอาศัยของเขตดานจิตวิทยาและแหลงขอมูลภายนอก (External Search) เปนขอมูล
จากสื่อมวลชน พนักงานขาย ฯลฯ
2.2.3 การประเมินทางเลือก (Alternative Evaluation) ทางเลือกตางๆ จะถูกประเมิน และ
เลือกเพื่อตอบสนองความตองการผูบริโภค ซึ่งตองอาศัยเกณฑการประเมินที่ผูบริโภคใช
เปรียบเทียบระหวาตราหรือคุณลักษณะผลิตภัณฑ
2.2.4 การตัดสินใจซื้อ (Purchase Decision) จากการประเมินผลพฤติกรรมในขั้นที่ 3 จะ
ชวยใหผูบริโภคกําหนดความพอใจระหวางผลิตภัณฑตางๆ ที่เปนทางเลือก โดยทั่วไปผูบริโภคจะ
ตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑที่เขาชอบมากที่สุด และปจจัยตางๆที่เกิดขึ้นระหวางการประเมินผล
พฤติกรรมและการตัดสินใจซื้อ 3 ประการ คือ หลังจากประเมินทางเลือกกอนที่จะเกิดความตั้งใจซื้อ
และเกิดการตัดสินใจซื้อ
2.2.5 พฤติกรรมหลังการตัดสินใจ (Post purchase Evaluation) หลังจากซื้อและทดลองใช
ผลิตภัณฑไปแลว ผูบริโภคจะมีประสบการณเกี่ยวกับความพอใจหรือไมพอใจผลิตภัณฑ ซึ่งนักการ
ตลาดจะตองพยายามทราบถึงระดับความพอใจของผูบริโภคภายหลังการซื้อ ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับ
เรื่องนี้ คือ ความพอใจของผูบริโภค
3. การตอบสนองของผูซื้อ (Buyer’s Response) หรือการตัดสินใจของผูบริโภคหรือผูซื้อ
(Buyer’s Purchase Decision) ผูบริโภคจะมีการตัดสินใจในประเด็นตางๆ ดังนี้
3.1 การเลือกผลิตภัณฑ (Product Choice)
3.2 การเลือกตราสินคา (Brand Choice)
3.3 การเลือกผูขาย (Dealer Choice)
3.4 การเลือกซื้อเวลาในการซื้อ (Purchase Timing)
3.5 การเลือกปริมาณในการซื้อ (Purchase Amount)
3) ทฤษฎีอรรถประโยชน (Utility Theory)
ทฤษฎีอรรถประโยชน เปนทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรที่พยายามอธิบายพฤติกรรมของ
ผูบริโภคใหเห็นวาในสถานการณหนึ่งๆ ที่ผูบริโภคเผชิญอยู ดวยเงินจํานวนจํากัดและราคาสินคาที่
เปนอยู ผูบริโภคจะจับจายใชสอยเงินซื้อสินคาเปนจํานวนเทาใด และถาเขาจําเปนตองเลือกที่จะใช
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร

More Related Content

What's hot

แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Maesinee Fuguro
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาRatchaphon Cherngchon
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
ใบความรู้ ที่ 2.1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
ใบความรู้ ที่ 2.1  เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010ใบความรู้ ที่ 2.1  เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
ใบความรู้ ที่ 2.1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010Nicharee Piwjan
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 

What's hot (20)

แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
คค
 
ใบความรู้ ที่ 2.1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
ใบความรู้ ที่ 2.1  เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010ใบความรู้ ที่ 2.1  เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
ใบความรู้ ที่ 2.1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม microsoft excel 2010
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร

  • 1. ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกซื้อผลิตภัณฑแปรรูป จากสมุนไพรในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ ของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน เสนอ รศ.ดร. ธเนศ ศรีวิชัยลําพันธ จัดทําโดย นางสาว วรางคนา ปากองวัน รหัส 4716146 รายงานวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษากระบวนวิชา751409 (RESEACH EXERCISE IN CURRENT ECONOMIC ISSUES) ภาคเรียนที่ 3 ปการศึกษา 2550 คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
  • 2. คํานํา เนื่องจากปจจุบันนี้ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจสงผลใหประชาชนมีรายได ที่นอยลงไมเพียงพอตอการเลี้ยงชีพโดยเฉพาะประชาชนในชนบทการที่ไดมีการจัดตั้งโครงการ หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑขึ้นจึงเปรียบเสมือนการสรางรายไดใหแกคนในชุมชนเพื่อใหสามารถ พึ่งตนเองได ดังนั้นผูจัดทําจึงมีความประสงคที่จะศึกษาถึงปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือก ซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพรรวมไปถึงระดับความพึงพอใจที่มีตอผลิตภัณฑแปรรูปจาก สมุนไพรเพื่อใหทราบถึง พฤติกรรมในการซื้อของผูซื้อและแนวทางในการแกไขปรับปรุง ผลิตภัณฑใหตรงตามความตองการของผูซื้อไดซึ่งผูวิจัยคาดวาจะมีประโยชนตอผูที่สนใจและเปน แนวทางสําหรับผูที่เกี่ยวของไดอยางถูกตอง รายงานวิจัยฉบับนี้สามารถสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี เนื่องมาจาก รศ.ดร. ธเนศ ศรีวิชัยลํา พันธ ที่ใหคําปรึกษา และสอนวิธีการทําวิจัย ขอขอบพระคุณอาจารยมายัง ณ ที่นี้ดวย หากขาดตก บกพรองประการใด ผูเขียนขออภัยเปนอยางสูงในขอบกพรองและผิดพลาดนั้น และผูเขียนหวังวา การคนควานี้คงมีประโยชนบางไมมากก็นอยสําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของ ตลอดจนผูที่มีความ สนใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบริโภคในการเลือกซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพรตางๆ วรางคนา ปากองวัน ผูจัดทํา
  • 3. สารบัญ หนา คํานํา ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ค บทที่ 1 บทนํา 1 1.1 ที่มาและความสําคัญ 1 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 3 1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 3 1.4 ขอบเขตการศึกษา 3 บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 7 2.1 ทฤษฏีและแนวคิดที่เกี่ยวของ 7 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 20 บทที่3 ระเบียบวิธีการศึกษา 24 3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 24 3.2 การเก็บรวบรวมขอมูล 24 3.3 วิธีการศึกษาวิจัย 27 บทที่ 4 ผลการศึกษา 31 4.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 31 4.2 พฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร 35 4.3 ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร 39 4.4 ระดับความพึงพอใจของปจจัยแตละดานจากผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร 47 4.5 ทัศนคติและขอเสนอแนะของผูซื้อที่มีตอผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร 54 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา 55 5.1 สรุปผลการศึกษา 55 5.2 ขอเสนอแนะ 56 บรรณานุกรม 57 ภาคผนวก 58
  • 4. สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 4.1 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามเพศ 32 4.2 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามอายุ 32 4.3 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามสถานภาพ 33 4.4 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามระดับการศึกษา 33 4.5 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามอาชีพ 34 4.6 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามระดับรายไดเฉลี่ยตอเดือน 35 4.7 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามผลิตภัณฑที่ซื้อ 35 4.8 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามวัตถุประสงคในการซื้อ 36 4.9 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามคาใชจายในการซื้อ 36 4.10 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามความถี่การซื้อตอป 37 4.11 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามชวงเวลาที่มาซื้อ 38 4.12 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามแหลงขอมูลในการซื้อ 38 4.13 กลุมตัวอยางผูซื้อจําแนกตามการตัดสินใจซื้อ 39 4.14 แสดงอันดับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร 40 ของกลุมผูซื้อ 4.15 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานผลิตภัณฑจําแนกตามกลุม 41 ตัวอยางของผูซื้อ 4.16 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานการบรรจุจําแนกตามกลุม 42 ตัวอยางของผูซื้อ 4.17 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานราคาจําแนกตามกลุม 42 ตัวอยางของผูซื้อ 4.18 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานสถานที่จําหนายจําแนกตามกลุม 43 ตัวอยางของผูซื้อ 4.19 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานการประชาสัมพันธจําแนกตาม 44 กลุมตัวอยางของผูซื้อ 4.20 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานการสงเสริมการขายจําแนกตาม 45 กลุมตัวอยางของผูซื้อ
  • 5. สารบัญตาราง(ตอ) ตารางที่ หนา 4.21 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานการบริการจําแนกตามกลุม 45 ตัวอยางของผูซื้อ 4.22 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานฤดูกาลจําแนกตามกลุม 46 ตัวอยางของผูซื้อ 4.23 แสดงระดับความมีอิทธิพลของปจจัยทางดานปจจัยสวนบุคคลจําแนกตาม 46 กลุมตัวอยางของผูซื้อ 4.24 แสดงระดับความพึงพอใจที่มีตอผลิตภัณฑแปรรูปสมุนไพรของกลุมผูซื้อ 47 4.25 แสดงระดับความพึงพอใจในดานผลิตภัณฑจําแนกตามกลุมตัวอยางของผูซื้อ 49 4.26 แสดงระดับความพึงพอใจในดานบรรจุจําแนกตามกลุมตัวอยางของผูซื้อ 49 4.27 แสดงระดับความพึงพอใจในดานราคาจําแนกตามกลุมตัวอยางของผูซื้อ 50 4.28แสดงระดับความพึงพอใจในดานสถานที่จําหนายจําแนกตามกลุมตัวอยาง 50 ของผูซื้อ 4.29 แสดงระดับความพึงพอใจในดานประชาสัมพันธจําแนกตามกลุมตัวอยาง 51 ของผูซื้อ 4.30 แสดงระดับความพึงพอใจในดานการสงเสริมการขายจําแนกตามกลุมตัวอยาง 52 ของผูซื้อ 4.31 แสดงระดับความพึงพอใจในดานบริการจําแนกตามกลุมตัวอยางของผูซื้อ 52 4.32 แสดงระดับความพึงพอใจในดานฤดูกาลจําแนกตามกลุมตัวอยางของผูซื้อ 53 4.33 แสดงระดับความพึงพอใจในดานปจจัยสวนบุคคลจําแนกตามกลุมตัวอยาง 53 ของผูซื้อ
  • 6. บทที่ 1 บทนํา 1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา ในป พ.ศ. 2540 เปนตนมาประเทศไทยไดประสบกับปญหาวิกฤตการณ เศรษฐกิจและ การเงินสงผลใหภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมตางๆ ชะลอตัวลง ทางดานสินคาภาคการเกษตรก็มีราคาต่ํา ทําใหประชาชนชนบทมีรายไดนอยลงไมเพียงพอเลี้ยงตนเองและครอบครัว จากปญหาตาง ๆ ที่ เกิดขึ้น ทางภาครัฐยุคนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ที่ไดเขามาบริหารประเทศไดประกาศนโยบาย ประเทศไทยจะไมมีคนจน รัฐบาลไดสงเสริมใหประชาชนมีรายไดเพิ่ม จากการกระตุนเศรษฐกิจ ระดับรากหญาโดยผลักดันโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) เพื่อใหชุมชนคิดคนสินคา จากทองถิ่น ที่มีเอกลักษณ สามารถพัฒนาคุณภาพตรงใจตลาดและเพิ่มมูลคาใหกับสินคาจน สามารถนําสงออกไปขายตางประเทศได โดยมีหนวยงานของรัฐเขามาสนับสนุนในเรื่องวิชาการ เทคโนโลยี ชองทางการตลาด และขยายโอกาสใหชุมชนเขาถึงแหลงทุน เปาหมายที่วาดฝนไวของ นโยบายนี้ ก็เพื่อใหชุมชนไดปรับเปลี่ยนตนเอง ยกระดับฐานะผูผลิตสินคาขึ้นมาเปนบริษัทยอยๆ ครบวงจรทั้งการบริหารจัดการ ดูแลระบบการเงิน และระบบบัญชี ควบคุมการผลิตใหไดมาตรฐาน ออกแบบบรรจุภัณฑใหมีความทันสมัย มีความคลองตัวในการติดตอตลาดไดดวยตัวเอง ทําให รายไดจากการขายสินคา หมุนเวียนในชุมชน เศรษฐกิจของชุมชนเขมแข็ง สมาชิกในชุมชน พึ่งตนเองได (OTOP 4 ปสราง 4 ปซอม, 2548) นโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑนี้ไดทําขึ้นตั้งแต นายกทักษิณ ชินวัตร และไดสืบเนื่อง ตอจนถึงปจจุบัน ที่พล.อ สุรยุทธ จุลานนท ไดกาวขึ้นเปนนายกรัฐมนตรี ทานไดใหการสนับสนุน นโยบายนี้ โดยไดประกาศจะนําหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการบริหารเศรษฐกิจดวยวิธี บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และผลักดันใหเม็ดเงินจํานวนนี้ไปใชในการขับเคลื่อนธุรกิจของ ภาคชุมชนอยางจริงจัง นายจักรมนฑ ผาสุกวนิช ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กลาววา แนวนโยบาย ของกระทรวงอุตสาหกรรมจะเนนใหความสําคัญ ในการสงเสริมผลิตภัณฑของชุมชน หรือโอท็อบ ใหมากขึ้น และดําเนินการอยางตอเนื่อง เนื่องจากผูประกอบการเหลานี้ ถือเปนเศรษฐกิจพอเพียง ในขณะเดียวกันก็พยายาม สรางเสริมใหผูประกอบการหรือชุมชน มีรายไดเพิ่มขึ้นและเติบโตอยาง ยั่งยืน โดยจะใชกลยุทธในการสราง value of money รูปแบบในการพัฒนาสินคา otop และกาวไปสู OTOP Village. (โอท็อปปรับทิศใหม เนนเศรษฐกิจพอเพียง/ดึงมหาลัยรวม, 2549)
  • 7. แตถึงแมวาเศรษฐกิจชุมชนจะไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐบาล แตก็ยังคงประสบปญหา ในดานของการพัฒนาใหธุรกิจชุมชนเกิดความเขมแข็ง เนื่องจากมีขอจํากัดตางๆ ดังนี้ 1. สินคาจากชุมชนไมสามารถสูกับคุณภาพสินคาที่เปนของกลุม SMEs ได 2. ชุมชนยังขาดความสามารถในการบริหารจัดการไมผานมาตรฐานสินคาที่โครงการตั้งตามขั้นของ ระดับดาว 3. ผูประกอบการขาดขอมูลทางการตลาด รวมถึงไมมีการพัฒนา รูปแบบของผลิตภัณฑ และบรรจุภัณฑ 4. ผูประกอบการขาดเงินทุนที่ใชในการผลิต รวมถึงไมสามารถหาแหลงเงินทุนได 5. เนื่องจากผูประกอบการไมสามารถพัฒนาสินคาใหตรงกับความตองการของลูกคาซึ่ง เปนกลุมที่มีอํานาจการซื้อทั้งในเมืองและตางชาติได “ยุทธศาสตรเศรษฐกิจภาพรวม.”.(2549) ดังนั้นในการที่จะทําใหเศรษฐกิจของประเทศเขมแข็งและเติบโตไดอยางยั่งยืนนั้น ควรที่ จะตองเริ่มจากการสรางชุมชนที่เปนรากฐานของประเทศใหมีความเขมแข็งกอน จากนโยบายหนึ่ง ตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ ตําบลอุโมงคก็ถือวาเปนตําบลหนึ่งที่ใหความสําคัญและมีการสานตอนโยบาย นี้อยางตอเนื่อง โดยมีผลิตภัณฑแปรรูปที่นาสนใจไดแก ไวน สุราแช ลําใยอบแหงเนื้อสีทอง ดอกไมจากผาใยบัว ผลิตภัณฑแปรรูปเห็ดหอม(ขาวเกรียบเห็ดหอม) น้ําผึ่งรวง น้ําหอมสมุนไพร กระเทียมดอง ซึ่งผลิตภัณฑที่ไดรับความนิยมจากผูบริโภค โดยเฉพาะนักทองเที่ยวนั้นคือไวนซึ่งจัด ไดวาเปนไวนที่มีคุณภาพ และมีใหเลือกหลายชนิด เชน ไวนลําใย ไวนกระชายดํา ไวนสตรอเบอรี่ ไวนมะขามปอม เปนตน สวนลําใยอบแหงสีทอง ซึ่งเปนผลิตภัณฑที่ขึ้นชื่อของตําบลอุโมงคอีก ชนิดหนึ่ง ผลิตภัณฑเหลานี้ลวนเปนที่ตองการของตลาดและผูบริโภค โดยเฉพาะนักทองเที่ยวที่ได เขามาเที่ยวในจังหวัดลําพูนเปนอยางมาก ทําใหประชาชนสวนใหญในตําบลอุโมงคใหความสนใจ และไดรวมกันสืบทอดกรรมวิธีการทําไวนจากรุนบรรพบุรุษใหคงอยูตอไป ในการสงเสริมนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑทําใหมีการจัดฝกอบรมแกประชาชนที่ สนใจเพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ มีการใหความรูในดานการแปรรูปผลิตภัณฑตางๆใหแก ประชาชน และมีการสงเสริมใหมีการนําเอาภูมิปญญาชาวบานมาใชควบคูไปกับเทคโนโลยี สมัยใหมเพื่อใชในการผลิตผลิตภัณฑ สิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับ รายไดใหแกประชาชนในตําบล จนทําใหตําบลอุโมงคมีความเขมแข็ง พึ่งตนเองได และเปนการ ขยายตลาดผลิตภัณฑแปรรูปทั้งภายในและตางประเทศดวย (สํานักงานเทศบาลตําบลอุโมงค, 2549) ดังนั้นการศึกษาในครั้งนี้จึงเปนการศึกษาถึงพฤติกรรมของผูบริโภคและปจจัยที่มีตอการ ตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพรของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน ที่มี จําหนายจากสหกรณ บริษัท กลุมแมบาน และรานคาตางๆ ภายในตําบล เพื่อศึกษาวาปจจัยที่มีผลตอ การตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร และพฤติกรรมในการเลือกซื้อของผูบริโภคเปน อยางไร ซึ่งผลการศึกษาในครั้งนี้จะไดเปนประโยชนตอผูประกอบการ ผลิตภัณฑแปรรูปจาก
  • 8. สมุนไพร และผูที่เกี่ยวของเพื่อเปนแนวทางในการนําไปปรับปรุงผลิตภัณฑ รูปแบบผลิตภัณฑ และ กลยุทธทางการตลาด เพื่อใหตรงกับความตองการของผูบริโภค เพื่อใหผลิตภัณฑแปรรูปจาก สมุนไพรของตําบลอุโมงค ไดรับความสนใจมากขึ้น 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมในการเลือกบริโภคผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร ในนโยบาย หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน 2. เพื่อตองการศึกษาถึงปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร ในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน 3. เพื่อศึกษาถึงความพึงพอใจและทัศนคติของผูบริโภคที่มีตอผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร ใน นโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน 1.3 ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษา จากการศึกษาครั้งนี้ทําใหทราบถึงพฤติกรรมในการเลือกบริโภคของผูบริโภค ปจจัยที่มีผล ตอการเลือกซื้อผลิตภัณฑ ความพึงพอใจ และทัศนคติของผูบริโภคที่มีตอผลิตภัณฑแปรรูปจาก สมุนไพร ในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน ซึ่งผลที่ ไดจากการศึกษาจะเปนประโยชนตอ ผูประกอบการ ชุมชน หนวยงานตางๆที่เกี่ยวของ สามารถ นําไปเปนแนวทาง ในการพัฒนาและปรับปรุงผลิตภัณฑ ใหตรงกับความตองการของผูบริโภคได 1.4 ขอบเขตการศึกษา การศึกษาครั้งนี้มุงศึกษาถึงพฤติกรรมของผูบริโภคและปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือก ซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร ในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอ เมือง จังหวัดลําพูน ตลอดจนความพึงพอใจและทัศนะคติของผูบริโภคที่มีตอผลิตภัณฑแปรรูปจาก สมุนไพร รวมถึงแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑเพื่อใหเกิดประโยชนตอผูประกอบการ และผูที่เกี่ยวของ โดยใชขอมูลปฐมภูมิที่ไดจากการกรอกแบบสอบถามของลูกคาที่มาซื้อผลิตภัณฑ แปรรูปจากสมุนไพร ในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัด ลําพูน จํานวน 200 รายซึ่งแบงเปน 2 กลุม คือ กลุมผูบริโภคในจังหวัดลําพูน และกลุมนักทองเที่ยว จากจังหวัดอื่นที่ไดเลือกซื้อผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพร ในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ ของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน ในสหกรณ บริษัท กลุมแมบาน และรานคาที่ตั้งอยู ภายในบริเวณตําบลอุโมงค อําเภอเมืองจังหวัดลําพูน จํานวน 12 กลุม คือ 1. บริษัทลําพูนสุราพื้นบาน จํากัด 2. บริษัทศักดิ์ทองพูน จํากัด 3. กลุมประดับดิษฐดอกไมจากใย ผาใยบัว (นาง ศรีเรือน ไชยวรรณ) 4. กลุมแปรรูปเห็ดหอม (นาง เทียมตา ปนตาโมงค ) 5. กลุม
  • 9. ลําใยอบแหงเนื้อสีทอง (นางสาว ศดานันท มะโนใจ) 6. กลุมน้ําผึ้งรวง (นาง จรินรัตน วิเศษวัชร เจริญ) 7. กลุมสหกรณไวนอุโมงค จํากัด (นาย ไพรัตน แสงตัน) 8. กลุมสมุนไพรแสนดีตําบล อุโมงค (นางสาว ลัดดา สุริยะ) 9. กลุมน้ําหอมสมุนไพร (นาง มะลิวัลย อิริจา) 10. กลุมขนมแตน บัวลําใย (นาย อินทรเนตร ขันสิ) 11. กลุมกระเทียมดอง (นาง จันทรทอง ศรีธิหลา) 12. กลุมจักร สานผักตบชวา (นาง จิราพร ขันทมาส)
  • 10. บทที่2 การทบทวนวรรณกรรม 2.1 ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของ ในการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาพฤติกรรมการซื้อและปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกซื้อ ผลิตภัณฑแปรรูปจากสมุนไพรในนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลอุโมงค อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน โดยไดนําแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ และงานวิจัยอื่นๆ ที่สอดคลองกับการศึกษา มาเปนแนวทางสําหรับการศึกษาดังนี้ 1) ทฤษฎีอุปสงค อุปสงค (Demand) ในทางดานเศรษฐศาสตรไดใหคําจํากัดความวาอุปสงคสําหรับสินคา และบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง หมายถึง จํานวนตางๆ ของสินคาและบริการที่ผูบริโภคตองการซื้อ ภายในระยะเวลาที่กําหนดให ณ ระดับราคาตางๆ กันของสินคาชนิดนั้นๆ หรือ ณ ระดับรายได ตางๆ กันของผูบริโภค หรือ ณ ระดับราคาตางๆ ของสินคาและบริการที่เกี่ยวของในแงของการ ทดแทนหรือใชประกอบกัน และความตองการซื้อ หมายถึง ความปรารถนาอยากจะซื้อหรือความ เต็มใจอยากจะซื้อและความสามารถที่จะซื้อหรืออํานาจซื้อ ปจจัยที่เปนตัวกําหนดอุปสงค หมายถึง ตัวแปรหรือปจจัยตางๆ ซึ่งมีอิทธิพลตอจํานวน สินคาและบริการที่ผูบริโภคปรารถนาจะซื้อ ปจจัยเหลานี้มีอิทธิพลตอปริมาณซื้อมากนอยไมเทากัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับพฤติกรรมการบริโภคของแตละบุคคลและกาลเวลา ปจจัยเหลานั้นไดแก 1. ราคาสินคาที่ผูบริโภคตองการซื้อ โดยทั่วไปปริมาณสินคาที่ผูบริโภคตองการจะซื้อ ขึ้นอยูกับราคาของสินคาและบริการนั้นๆ นั่นคือ ถาราคาสินคาชนิดนั้นแพงหรือมีราคาสูงขึ้น ผูบริโภคก็จะตองการซื้อนอยลง ตรงกันขาม ถาราคาสินคานั้นต่ําลงผูบริโภคก็จะมีความตองากรซื้อ มากขึ้น นั่นคือความสัมพันธระหวางราคาและปริมาณซื้อจะเปลี่ยนแปลงในทางตรงกันขามกัน 2. ระดับรายไดของผูบริโภค กรณีสินคาปกติ ความสัมพันธระหวางปริมาณเสนอซื้อ และรายไดจะเปนไปในทางทิศทางเดียวกัน คือ เมื่อผูบริโภคมีรายไดสูงขึ้นจะบริโภคสินคานั้นมาก ขึ้น และหากผูบริโภคมีรายไดต่ําลงจะบริโภคสินคาชนิดนั้นๆ ลดลง และกรณีสินคาเปนสินคาดอย คุณภาพเมื่อรายไดของผูบริโภคสูงขึ้น ผูบริโภคจะหันไปบริโภคสินคาชนิดอื่นที่มีคุณภาพดีกวา และหากผูบริโภคมีรายไดต่ําลงผูบริโภคจะบริโภคสินคาดอยคุณภาพเพิ่มขึ้น 3. รสนิยมของผูบริโภค ความนิยมของคนสวนใหญในสังคมซึ่งเปนความรูสึกนิยม ชมชอบในขณะหนึ่ง จะทําใหมีความตองการบริโภคสินคาในชนิดนั้นๆ เพิ่มขึ้น บางทีก็มีการ เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว เชน แบบเสื้อ สีสันที่นําสมัย เปนตน แตบางทีรสนิยมก็อยูนาน เชน สิ่งกอสราง บาน รถยนต เปนตน รสนิยมมีความสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจ
  • 11. นักธุรกิจยอมทุมเทเงินจํานวนมากในการโฆษณาเพื่อจะเปลี่ยนรสนิยมของผุบริโภคใหหันมาสนใจ ในสินคาของตน 4. ราคาสินคาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ในกรณีที่สินคาชนิดนั้นเปนสินคาที่มีสินคาอื่นทดแทน ได เมื่อราคาสินคาชนิดหนึ่งสูงขึ้น ผูบริโภคก็จะซื้อสินคานั้นนอยลงและหันไปซื้อสินคาอีกชนิด หนึ่งที่ทดแทนได เชน เมื่อราคาเนื้อหมูสูงขึ้น ผูบริโภคจะบริโภคเนื้อหมูนอยลงและหันไปบริโภค เนื้อไก เนื้อวัว และอื่นๆ ทดแทน กรณีสินคาที่ตองใชรวมกับสินคาชนิดอื่นหรือประกอบกันเมื่อ ราคาสินคาชนิดนั้นสูงขึ้น ผูบริโภคจะซื้อสินคาชนิดนั้นนอยลง และผูบริโภคก็จะซื้อสินคาที่ใช รวมกันนอยลงดวย เชน น้ําตาลกับกาแฟ เมื่อกาแฟมีราคาสูงขึ้นผูบริโภคก็จะมีความตองการกาแฟ ลดลง ในขณะเดียวกันก็จะมีความตองการน้ําตาลนอยลงดวย 5. จํานวนผูบริโภคในตลาด เมื่อประชากรเพิ่มจํานวนมากขึ้น ความตองการสินคาและ บริการก็เพิ่มขึ้นดวย 6. การคาดคะเนราคาสินคาในอนาคต ถาผูบริโภคมีการคาดคะเนวาราคาสินคาและ บริการชนิดใดจะสูงขึ้นในอนาคตแลว ผูบริโภค จะเสนอซื้อสินคาและบริการชนิดนั้นในปจจุบัน เพิ่มมากขึ้น แมวาระดับสินคาสินคาและบริการชนิดนั้นในปจจุบันไมเปลี่ยนแปลง หากผูบริโภคมี การคาดคะเนวาระดับราคาสินคาและบริการชนิดใดจะลดลงในอนาคตแลว ผูบริโภคจะชะลอการ ซื้อสินคาและบริการชนิดนั้นจนกวาราคาสินคาและบริการชนิดนั้นจะลดลงจนถึงในที่สุด 7. ปริมาณการซื้อขึ้นอยูกับฤดูกาล สินคาและบริการบางชนิดมีปริมาณการซื้อขึ้นอยู กับฤดูกาล เชน ในฤดูหนาวเสื้อกันหนาวจะขายไดดี ในฤดูรอนพัดลมหรือเครื่องปรับอากาศจะขาย ดี เปนตน 2) ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค พฤติกรรมผูบริโภค (Consumer Behavior) หมายถึง พฤติกรรมของผูบริโภคในการ คนหา ซื้อใช ประเมิน และกําจัดสินคาและบริการ ซึ่งผูบริโภคคาดวาจะสามารถสนองความ ตองการของเขาได ดังนั้นการศึกษาถึงพฤติกรรมผูบริโภคจึงเปนการศึกษาวา บุคคลจะทําการ ตัดสินใจอยางไรในการใชทรัพยากร (เงิน เวลา ความพยายาม) ตอสิ่งที่เกี่ยวของกับการบริโภค ซึ่ง ประกอบไปดวยการศึกษาถึงสิ่งที่ซื้อ เหตุผลของการซื้อ วิธีการซื้อ สถานที่ซื้อ และความบอยใน การซื้อ (พิชิต สุจริตจินดานนทร,2537) กระบวนการตัดสินใจของผูบริโภค เปนกระบวนการที่ผูบริโภคใชในการตัดสินใจซื้อ โดยในที่นี้ จะยึดตามแนวคิดของ Engel-Blackwell-Miniard Model ที่มองกระบวนการตัดสินใจ ของผูบริโภคในลักษณะของการแกปญหา ซึ่งประกอบไปดวยขั้นตอนตางๆ ดังนี้
  • 12. 1. การตระหนักถึงความตองการ (Need Recognition) หมายถึง การรับรูถึงความแตกตาง ระหวางสิ่งที่ตองการ และเหตุการณที่เปนอยู ซึ่งมากพอที่จะกอใหเกิดแรงกระตุนและกระบวนการ ตัดสินใจ 2. การคนหาขอมูล (Search for Information) หมายถึง การกระตุนเราความรูที่มีอยูใน ความทรงจํา หรือการจัดหาขอมูลจากสิ่งแวดลอม ซึ่งการคนหานี้อาจเกิดขึ้นไดทั้งจากภายใน ซึ่ง เปนการสํารวจจากความทรงจําอยางคราวๆ ถาพบวามีขอมูลไมเพียงพอหรือไมมีคุณภาพ ก็จะทํา การคนหาจากภายนอก ซึ่งเปนการคนหาขอมูลจากสิ่งแวดลอม 3. การประเมินทางเลือกกอนการซื้อ (Pre- Purchase Alternative Evaluation) หมายถึง กระบวนการซึ่งทางเลือกทางหนึ่งจะถูกประเมินและเลือกเพื่อใหตรงกับความตองการของผูบริโภค ซึ่งจะกระทําควบคูไปกับการคนหาขอมูลระหวางการตัดสินใจ 4. การซื้อ (Purchase) การซื้อจะประกอบไปดวยการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องตางๆ ไดแก 1. จะซื้อหรือไม 2. จะซื้อเมื่อใด 3. จะซื้ออยางไร 4. จะซื้อที่ไหน 5. จะจายเงินอยางไร 5. การบริโภค (Consumption) การตัดสินใจวาจะบริโภคหรือไมบริโภค เมื่อซื้อสินคา แลว ผูบริโภคจะมีการใช หรือการบริโภคสินคาอยางไร 6. การประเมินหลังการบริโภค (Post-Consumption Alternative Evaluation) หมายถึง การประเมินถึงระดับของความพอใจที่ไดรับจากประสบการณในการบริโภค 7. การจัดการกับสิ่งของเหลือใช (Divestment) หมายถึง การจัดการกับสิ่งที่เหลือจากการ ใชหรือสิ่งที่เลิกใช ตัวอยางเชน ขยะ หรือของที่อยูในสภาพที่ยังใชงานไดแตผูบริโภคไมไดใชแลว ดวยสาเหตุตางๆ เชน ลาสมัย ไมเหมาะสมกับผูบริโภค ปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภค มี 3 ประการ ไดแก ปจจัยสวน บุคคล (Person factors) ปจจัยที่อยูภายในของบุคคล (internal variables) หรือปจจัยดานจิตวิทยา (psychological factors) และปจจัยที่มีอยูภายนอกของบุคคล (external determinants) หรือ อิทธิพล ของสิ่งแวดลอม (environmental determinants or influences) ซึ่งมีรายละเอียดพอสังเขปดังนี้ 1. ปจจัยสวนบุคคล เปนปจจัยที่เกี่ยวของกับคุณสมบัติสวนบุคคลตางๆ เชน อายุของผู ซื้อ อาชีพ รายได แบบของการใชชีวิต บุคลิกภาพและแนวความคิดเกี่ยวกับตนเอง 2. ปจจัยที่อยูภายในของบุคคล หรือ ปจจัยทางดานจิตวิทยา เปนปจจัยที่มีอิทธิพล โดยตรงตอการตัดสินใจของผูบริโภค เนื่องจากเปนปจจัยที่ควบคุมกระบวนการติดภายในทั้งหมด ของผูบริโภค ปจจัยทางดานจิตวิทยามีอยูดวยกัน 4 ประการ ดังนี้ 2.1 แรงจูงใจ (motivation) หมายถึง สิ่งกระตุน หรือ ความรูสึกที่เปนสาเหตุที่ทําให บุคคลมีการกระทํา หรือ มีพฤติการณรมในรูปแบบที่แนนอน 2.2 การรับรู (perception) หมายถึง การตีความหมายของบุคคลตอสิ่งของหรือ ความคิดที่สังเกตเห็นได
  • 13. 2.3 การเรียนรู (learning) หมายถึง ความรูที่ไดจากกการรับรูถึงสิ่งที่ไมเคยรูจักมากอน 2.4 ความเชื่อและทัศนคติ (attitude) หมายถึง กลุมกวางๆ ของความรูสึกที่มีอยูภายใน ตัวมนุษยหรือความเห็นที่เปนรูปแบบของพฤติกรรมของบุคคล ปจจัยตางๆ ขางตนจะมีความสัมพันธเกี่ยวของซึ่งกันและกัน และมีผลตอผูบริโภคไป พรอมๆกัน โดยที่ไมมีปจจัยใดมีความสําคัญมากไปกวากัน แตละปจจัยมีบทบาทเปนสวนหนึ่งของ ผูบริโภค และทั้งหมดมีความสัมพันธที่เปนเงื่อนไขใหผูบริโภคมีพฤติกรรมในรูปแบบใดรูปแบบ หนึ่ง 3. ปจจัยที่อยูภายนอกของบุคคล หรือ อิทธิพลของสิ่งแวดลอม ปจจัยสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภคแบงออกอยางกวางๆ ได 5 ปจจัย ไดแก อิทธิพลของปจจัยวัฒนธรรม (cultural factors) อิทธิพลของครอบครัว (family influences)อิทธิพลของปจจัยทางสังคม (social factors) อิทธิพลของปจจัยทางสถานการณ (situational influences) และอิทธิพลทางการตลาด (marketing influences) 3.1 อิทธิพลของปจจัยวัฒนธรรม เปนเรื่องของความเชื่อที่มีอยูในตัวของบุคคลและ การลงโทษในสังคมที่ไดมีการพัฒนาอยูตลอดเวลาดวยระบบของสังคมนั้น 3.2 อิทธิพลครอบครัว เปนอิทธิพลที่เกิดจากสมาชิกในครอบครัว 3.3 อิทธิพลของปจจัยทางสังคม เปนผลลัพธที่ไดมาจากการติดตอกันของบุคคลทุก คนกับบุคคลอื่นๆ ที่นอกเหนือจากครอบครัวและหนวยธุรกิจ 3.4 อิทธิพลของปจจัยทางสถานการณ เปนอิทธิพลอันเนื่องมากจากเหตุการณที่ เกิดขึ้นกอนตัดสินใจซื้อสินคา หรือ ระหวางที่ตัดสินใจซื้อสินคา หรือ หลังจากที่ตัดสินใจซื้อสินคา แลว 3.5 อิทธิพลทางการตลาด หมายถึง องคประกอบของสวนผสมทางการตลาดอันไดแก ผลิตภัณฑ (product) การวางราคา (price) ชองทางการจัดจําหนาย (placement channel of distribution) และการสงเสริมการตลาด (promotion) ซึ่งมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภค ปจจัยสิ่งแวดลอมดังกลาวขางตน ผูบริโภคไมสามารถควบคุมไดเชนเดียวกันกับ ปจจัยดานจิตวิทยาที่ไดกลาวมาแลว ถึงแมวาบุคคลจะสามารถมีอิทธิพลเหนือสิ่งแวดลอมใน บางครั้งก็ตาม แตมักเปนระยะเวลาสั้นๆ ดังนั้น ผูบริโภคแตละคนจึงตองรับอิทธิพลของสิ่งแวดลอม เขามาในการดําเนินชีวิตดวย โดยสิ่งแวดลอมนี้จะสงผลรุนแรงตอผูบริโภคโดยผานทางปจจัยดาน จิตวิทยา และจะสงผลกระทบโดยตรงมากที่สุดตอการรับรูของบุคคล ทั้งนี้เนื่องจากการรับรูทําให บุคคลไดสามารถมองเห็นและเขาใจสิ่งแวดลอมได เมื่อบุคคลรับรูถึงสิ่งแวดลอมแลวก็จะทําการ ประมวลขอมูลสําหรับสงไปยังปจจัยดานจิตวิทยาอื่นๆ เชน แรงจูงใจ ความเชื่อ และทัศนคติ เปนตน
  • 14. ประเภทของพฤติกรรมการซื้อ การตัดสินใจของผูบริโภคจะมีความหลากหลายเกี่ยวกับประเภทของการตัดสินใจในการ ซื้อ ซึ่งมีความแตกตางอยางมากระหวางการซื้อแปรงสีฟน ไมเทนนิส เครื่องคอมพิวเตอรและ รถยนตใหม การซื้อสินคาที่มีความซับซอน และราคาแพงยิ่งมีมากเทาใด การซื้อก็ยิ่งจะตองมีความ รอบคอบมากขึ้นพฤติกรรมพื้นฐานในการซื้อของผูบริโภค แบงออกเปน 4 ชนิด โดยขึ้นอยูกับความ ยุงยากในการซื้อละความแตกตางระหวางตราสินคาและของสินคานั้นๆ 1. พฤติกรรมการซื้อที่ซับซอน (complex buying behavior) ผูบริโภคที่จะผานพฤติกรรม การซื้อที่ซับซอน ก็ตอเมื่อมีความยุงยากในการซื้อสูง และรูถึงความแตกตางระหวางตราสินคามาก ผูบริโภคจะมีความยุงยากในการซื้อสูงเมื่อผลิตภัณฑมีราคาแพง ซื้อไมบอยนัก หายาก และใหความ พอใจสูง ชนิดของผูบริโภคประเภทนี้จะไมมีความรูมากนักเกี่ยวกับผลิตภัณฑและตองเรียนรูให มากขึ้น อยางเชน บุคคลที่จะซื้อคอมพิวเตอรสวนบุคคล ก็อาจจะไมทราบถึงคุณสมบัติของเครื่อง คอมพิวเตอรสวนบุคคลที่ตนเองตองการซื้อ วาเหมาะสมกับความตองการของตนเองหรือไม ผูซื้อเหลานี้จะตองผานขบวนการเรียนรู โดยขั้นแรกจะตองมีการพัฒนาความเชื่อเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ ตอมาก็จะกลายเปนทัศนคติ และสุดทายจะทําการเลิกซื้อ นักการตลาดของผลิตภัณฑที่มี ความยุงยากในการซื้อสูงจะตองมีความเขาใจในขอมูลและการประเมินพฤติกรรมของผูบริโภคกลุม นี้ นักการตลาดจะตองมีการพัฒนากลยุทธในการชวยเหลือผูซื้อ ในดารเรียนรูเกี่ยวกับคุณสมบัติของ ผลิตภัณฑ ความสัมพันธที่สําคัญและตราสินคาของบริษัท ซึ่งเปนสวนที่สําคัญที่สุดฉะนั้นนักการ ตลาดตองแสดงใหเห็นความแตกตางในลักษณะของตราสินคา โดยใชสื่อสิ่งพิมพเพื่อที่จะอธิบายถึง ขอดีของตราสินคา และสรางแรงจูงใจใหกับรานคาปลีก และความคุนเคยใหกับผูซื้อ ซึ่งสิ่งเหลานี้ จะเปนอิทธิพลในการเลือกซื้อสินคาในขั้นตอนสุดทาย 2. พฤติกรรมการซื้อที่ลดความลังเลใจ (Dissonance – reducing Buying Behavior) บางครั้ง ผูบริโภคที่มีความยุงยากในการซื้อสูง แตจะเห็นความแตกตางเล็กนอยในดานตราสินคา ซึ่งความ ยุงยากในการซื้อสูงจะเปนพื้นฐานของความจริงนากรซื้อสินคาที่มีราคาแพงซื้อไมคอยบอย และหา ไดยาก ในพฤติกรรมแบบนี้ ผูซื้อจะตองเลือกดูสินคาจากหลายๆที่ เพื่อที่จะเรียนรูและกอใหเกิด ประโยชนแกตนเองแตเมื่อถึงเวลาจะซื้อ จะเลือกซื้อโดยใชเวลาไมมากนัก เพราะความแตกตางของ ตราสินคาจะไมแตกตางกันเทาไหร สําหรับปจจัยที่ผูซื้อจะใหความสนใจในดานราคาและความ สะดวกสบายในการซื้อเปนขั้นแรก เชน การซื้อพรมจะมีความยุงยากในการซื้อสูง เพราะมีราคาแพง และขึ้นอยูกับความพอใจของแตละคน แตเมื่อดูถึงดานราคาของแตละตราสินคา ผูซื้อจะพบวาแต ละตราสินคาจะมีราคาใกลเคียงกัน ซึ่งก็คือความแตกตางในดานตราสินคานั่นเอง ภายหลังการซื้อ ผูบริโภคจะมีประสบการณเกี่ยวกับความลังเลใจ อันเนื่องมากจากไดรับ ขอมูลจากคนอื่นเกี่ยวกับพรมตราสินคาอื่นๆ เชน พรมตราสินคาที่ผูซื้อมาใชไดไมได ในขณะที่
  • 15. พรมตราสินคาอื่นดีกวา ดังนั้นนักการตลาดควรจะใหขาวสารที่สรางความมั่นใจใหกับผูซื้อที่ได เลือกซื้อสินคาตราสินคานั้นๆ ไปแลว เพื่อจะทําใหความลังเลใจของผูซื้อลดนอยลง 3. พฤติกรรมการซื้อที่เปนความเคยชิน (Habitual Buying Behavior) ผลิตภัณฑหลายๆ ชนิดจะถูกซื้อภายใตเงื่อนไขความยุงยากนากรซื้อต่ํา และไมมีความแตกตางของตราสินคาเชน การ เลือกซื้อเกลือจะไมมีการสนใจวาเปนตราอะไรเพียงแตจะซื้อตราที่เคยซื้อเปนประจําพฤติกรรมแบบ นี้จะซื้อโดยความเคยชินซึ่งสินคาพวกนี้จะเปนสินคาที่มีราคาต่ํา หรือใชเปนประจํา พฤติกรรมของผุบริโภคแบบนี้ จะไมคอยสนใจขาวสารที่เกี่ยวกับตราสินคา หรือลักษณะ ของสินคามากนัก แตการตัดสินใจในการซื้อจะมาจากการดูโฆษณาทางทีวี หรือโปสเตอร โฆษณา ตางๆ ที่เห็นอยูบอยๆ ซึ่งการโฆษณาบอยๆ จะสรางความคุนเคยในตราสินคามากกวาความเชื่อถือ ในตราสินคานั้น โดยผูบริโภคจะไมยึดติดกับทัศนคติเกี่ยวกับตราสินคา แตจะเลือกซื้อสินคาเพราะ ความคุนเคยหรือความเคยชินมากกวา ดังนั้นนักการตลาดพยายามใชการเสนอดานราคาและการสงเสริมการขายเพื่อที่จะกระตุน การทดลองซื้อ เนื่องจากผูซื้อไมคอยผูกพันกับตราสินคามากนัก ในดานการโฆษณาของสินคา ประเภทนี้ จะตองทําใหแลดูเปนที่นาสังเกตและนาสนใจ โดยการใชสัญลักษณตางๆ ซึ่งเปนสิ่งที่ สําคัญเพราะงายตอการจดจํา และเกี่ยวของไปถึงตราสินคานั้น 4. พฤติกรรมการซื้อที่เสาะแสวงหาความหลากหลาย (Variety – Seeking Buying Behavior) พฤติกรรมการซื้อแบบนี้ จะเปนแบบที่ผูซื้อมีความยุงยากในการซื้อนอย แตใหความ แตกตางในดานตราสินคามาก ดังนั้นผูบริโภคจะใชการพิจารณาเปนพิเศษ เพราะมีความแตกตางสูง ในตราสินคาโดยจะมีตราสินคาตางๆ ใหเลือกมากมายในสินคาชนิดเดียวกัน เชน การซื้อสินคาที่ ผูบริโภคจะเลือกซื้อโดยใชความเชื่อถือและซื้อโดยไมคํานึงถึงคุณคาเทาใดนัก แตครั้งตอไป ผูบริโภคอาจจะไปทดลองซื้อตราสินคาอื่น เพราะเบื่อตราสินคาเดิมและอยากลองรสชาติใหมๆ การ เลือกซื้อของพฤติการณรมแบบนี้จะเกิดจากการเสาะแสวงหาความหลากหลายมากกวาที่จะเลือกซื้อ เพราะความพอใจหรือไมพอใจ กลยุทธทางการตลาด คือควรจะมีหลายๆ ตราสินคาในผลิตภัณฑชนิดเดียวกันจะตองมี ตัวนําทางการตลาดและมีตัวสํารอง ตัวนํานี้ทางบริษัทจะตองทําใหเดนและครองตลาด โดยพยายาม ไมใหสินคาขาดตลาด และตองโฆษณาบอยๆ เพื่อทําใหผูซื้อจําได ในดานการแขงขั้นทางการตลาด ก็จะตองกระตุนใหเห็นถึงความหลากหลายในดานการเสาะแสวงหา โดยเสนอราคาที่ต่ํา มีการลด แลก แจก แถม และ โฆษณาเกี่ยวกับสิ่งใหมๆ ที่เพิ่มเติมเขาไป โมเดลพฤติกรรมผูบริโภค ทฤษฎีโมเดลพฤติกรรมผูบริโภค (Consumer Behavior Model) (ศิริวรรณ เสรีรัตน และ คณะ, 2451: 128 – 150) เปนการศึกษาถึงเหตุจูงใจที่ทําใหเกิดการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ โดยมี
  • 16. จุดเริ่มตนจากการที่เกิดสิ่งกระตุน (stimulus) ที่ทําใหเกิดความตองการ สิ่งกระตุนผานเขามาใน ความรูสึกนึกคิดของผูซื้อ ซึ่งเปรียบเทียบเสมือนกลองดําซึ่งผูผลิตหรือผูขายไมสามารถคาดคะเนได ความรูสึกนึกคิดของผูซื้อจะไดรับอิทธิพลจากลักษณะตางๆ ของผูซื้อแลว จะมีการตอบสนองของผู ซื้อ หรือการตัดสินใจของผูซื้อ ดังภาพที่ 5 แสดงรูปแบบพฤติกรรมผูบริโภค 1. สิ่งกระตุนภายนอก (Stimulus) ถือวาเปนเหตุจูงใจใหเกิดการซื้อสินคา (buying motive) ซึ่งอาจใชเหตุจูงใจซื้อดานเหตุผล และใชเหตุจูงใจใหซื้อดานจิตวิทยา (อารมณ) ก็ได สิ่งกระตุน ภายนอกประกอบดวย 2 สวน คือ 1.1 สิ่งกระตุนดานผลิตภัณฑเชนออกแบบผลิตภัณฑใหสวยงามเพื่อกระตุนความตองการ 1.1.1 สิ่งกระตุนดานราคา เชน การกําหนดราคาสินคาใหเหมาะสมกับผลิตภัณฑ โดย พิจารณาลูกคาเปาหมาย 1.1.2 สิ่งกระตุนราคา เชน การกําหนดราคาสินคาใหเหมาะสมกับผลิตภัณฑ โดย พิจารณาลูกคาเปาหมาย 1.1.3 สิ่งกระตุนดานการจัดชองทางการจําหนาย เชน จัดจําหนายผลิตภัณฑใหทั่วถึง เพื่อใหความสะดวกแกผูบริโภค ถือวาเปนการกระตุนความตองการซื้อ 1.1.4 สิ่งกระตุนดานการจัดชองทางการจําหนาย เชน จัดจําหนายผลิตภัณฑใหทั่วถึง เพื่อความสะดวกแกผูบริโภคถือวาเปนการกระตุนความตองการซื้อ 1.2 สิ่งกระตุนอื่นๆ (Other stimulus) เปนสิ่งกระตุนความตองการของผูบริโภคที่อยู ภายนอกองคการที่ซึ่งบริษัทควบคุมไมได สิ่งกระตุนเหลานี้ไดแก 1.2.1 สิ่งกระตุนทางเศรษฐกิจ (Economic) เชน รายไดของผูบริโภค ภาวะเศรษฐกิจ เหลานี้มีอิทธิพลตอความตองการของบุคคล เปนตน 1.2.2 สิ่งกระตุนทางเทคโนโลยี (Technological) เชน เทคโนโลยีใหมดานฝากถอน เงินอัตโนมัติสามารถกระตุนความตองการใหใชบริการของธนาคารมากขึ้น 1.2.3 สิ่งกระตุนทางกฎหมายและการเมือง (Law and political) เชน กฎหมาย เพิ่ม หรือลดภาษีสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งจะมีผลกระตุนใหผูบริโภคเกิดความตองการซื้อสินคาใน เทศกาลนั้น 2. กลองดําหรือความรูสํานึกคิดของผูซื้อ ความรูสึกนึกคิดของผูซื้อเปรียบเสมือนกลองดํา (Black box) ซึ่งผูผลิตหรือผูขายไมสามารถทราบได จึงจําเปนตองพยายามคนหาความรูสึกนึกคิด ของผูซื้อ ความรูสึกนึกคิดของผูซื้อ 2.1.1 ปจจัยทางวัฒนธรรม (Culture factor) เปนสัญลักษณ และสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นโดย เปนที่ยอมรับจากคนรุนหนึ่งถึงอีกรุนหนึ่ง และเปนตัวกําหนดควบคุมพฤติกรรมของมนุษยใน สังคมหนึ่ง คานิยมในวัฒนธรรมเปนสิ่งกําหนดความตองการและพฤติกรรมของบุคคล ซึ่งนักการ
  • 17. ตลาดตองคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม และนําลักษณะการเปลี่ยนแปลงเหลานั้นไปใช ในการกําหนดโปรแกรมการตลาด วัฒนธรรมแบงออกเปน 2.1.1.1 วัฒนธรรมพื้นฐาน (Culture) เปนลักษณะพื้นฐานของบุคคลในสังคม เชน ลักษณะนิสัยของคนไทย ซึ่งเกิดจากการหลอหลอมพฤติกรรมของสังคมไทย ทําใหมีลักษณะ พฤติกรรมที่คลายคลึงกัน 2.1.1.2 วัฒนธรรมยอย (Subculture) เปนวัฒนธรรมของแตละกลุมที่มี ลักษณะเฉพาะแตกตางกันที่มีอยูภายในสังคมขนาดใหญและสลับซับซอน วัฒนธรรมยอยเกิดจาก พื้นฐานทางภูมิศาสตรและลักษณะพื้นฐานของมนุษย 2.1.1.3 ชั้นของสังคม (Social class) หมายถึง การแบงสมาชิกของสังคมออกเปน ระดับฐานะที่แตกตางกันโดยที่สมาชิกในแตละชั้นสังคมจะมีสถานะอยางเดียวกันและสมาชิกใน ชั้นสังคมที่แตกตางกันจะมีลักษณะที่แตกตาง 2.1.2 ปจจัยทางดานสังคม (Social factor) เปนปจจัยที่เกี่ยวของในชีวิตประจําวันและมี อิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อ ลักษณะทางสังคมประกอบดวย 2.1.2.1 กลุมอางอิง (Reference groups) เปนกลุมบุคคลที่เขาไปเกี่ยวของดวย กลุม นี้จะมีอิทธิพลตอทัศนคติ ความคิดเห็นและคานิยมของบุคคลในกลุมอางอิน กลุมอางอิงจะมี อิทธิพลตอบุคคลในกลุมทางดานการเลือกพฤติกรรม และการดํารงชีวิตรวมทั้งทัศนคติ และ แนวความคิดของบุคคล เนื่องจากบุคคลตองากรใหเปนที่ยอมรับของกลุม จึงตองปฏิบัติตามและ ยอมรับความคิดเห็นตางๆ จากกลุมอิทธิพลนักการตลาดควรทราบวากลุมอางอิงที่มีอิทธิพลตอการ ตัดสินใจของผูบริโภคอยางไร 2.1.2.2 ครอบครัว (Family) บุคคลใดที่ครอบครัวถือวามีอิทธิพลมากที่สุดตอ ทัศนคติ ความคิดเห็นและคานิยมของบุคคล สิ่งเหลานี้มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของครอบครัว 2.1.2.3 บทบาทและสถานะ (Roles and statuses) ของบุคคลที่เกี่ยวของกับหลาย กลุม เชน ครอบครัว กลุมอางอิง องคการและสถาบันตางๆ บุคคลจะมีบทบาทและสถานะที่แตกตาง กันในแตละบุคคล 2.1.3 ปจจัยสวนบุคคล (Personal factors) การตัดสินใจของผูซื้อไดรับอิทธิพลจาก ลักษณะสวนบุคคล ดังนี้ 2.1.3.1 อายุและวงจรชีวิต (Age and family life cycle) อายุที่แตกตางกันจะมีความ ตองการผลิตภัณฑที่ตางกัน และถาวงจรชีวิตซึ่งเปนขั้นตอนเปนสิ่งที่มีอิทธิพลตอความตองการทศ นคติและคานิยมของบุคคลทําใหเกิดความตองการในผลิตภัณฑและพฤติกรรมการซื้อที่แตกตางกัน 2.1.3.2 อาชีพ (Occupation) อาชีพของแตละบุคคลจะนําไปสูความจําเปนและ ความตองการสินคาและบริการที่แตกตางกัน
  • 18. 2.1.3.3 สิ่งแวดลอมทางเศรษฐกิจ (Economic circumstances) สิ่งแวดลอมทาง เศรษฐกิจของบุคคลจะกระทบตอสินคาและบริการที่เขาตัดสินใจซื้อ ซึ่งสิ่งแวดลอมเหลานี้ ประกอบดวย รายได การออมสินทรัพย อํานาจการซื้อ และทัศนคติเกี่ยวกับการจายเงิน นักการ ตลาดตองสนใจแนวโนมของรายไดสวนบุคคล การออม และอัตราดอกเบี้ย 2.1.3.4 วิถีชีวิต (Life style) วิถีชีวิตขึ้นอยูกับวัฒนธรรม ชั้นของสังคมและกลุม อาชีพของแตละบุคคล นักการตลาดเชื่อวา การเลือกผลิตภัณฑของบุคคลขึ้นอยูกับวิถีชีวิต บุคลิกภาพและความเห็นสวนตัว (Personality and self concept) บุคลิกภาพและ ความเห็นสวนตัวของแตละคนมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อ นักการตลาดตองพยายามสราง ผลิตภัณฑใหสอดคลองกับบุคลิกภาพและความเห็นสวนตัวของลูกคาของกลุมเปาหมาย บุคลิกภาพ เปนรูปแบบลักษณะของบุคคลที่จะเปนตัวกําหนดพฤติกรรมการตอบสนองแนวคิดของตนเอง หมายถึง ความรูสึกนึกคิดที่บุคคลมีตอตนเองหรือความคิดที่บุคคลคิดวาบุคคลอื่นมีความคิดเห็นตอ ตนอยางไร 2.14 ปจจัยทางจิตวิทยา (Psychological factors) การเลือกซื้อของบุคคลไดรับอิทธิพล จากปจจัยดานจิตวิทยาซึ่งถือวาเปนปจจัยภายในตัวผูบริโภคที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อละการ ใชสินคา 2.1.4.1 การจูงใจ (Motivation) หมายถึง พลังสิ่งกระตุนที่อยูภายในตัวบุคคลซึ่ง กระตุนใหบุคคลปฏิบัติ การจูงใจเกิดภายในตัวบุคคลแตอาจจะถูกกระทบจากปจจัยภายนอก เชน วัฒนธรรม ชั้นทางสังคม หรือสิ่งกระตุนที่นักการตลาดใชเครื่องมือทางการตลาดเพื่อกระตุนใหเกิด ความตองการของตน 2.1.4.2 การรับรู (Perception) เปนกระบวนการซึ่งแตละบุคคลไดรับการเลือกสรร จัดระเบียบ และตีความหมายขอมูลเพื่อที่จะสรางภาพที่มีความหมาย หรืออาจหมายถึงขบวนการ ของความเขาใจของบุคคลที่มีตอโลกที่เขาอาศัยอยู การรับรูจะแสดงถึงความรูสึก จากประสาท สัมผัสทั้ง 5 ไดแก การไดเห็น การไดยิน การไดกลิ่น การไดรสชาติ และการไดรูสึก 2.1.4.3 การเรียนรู (Learning) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมหรือความ โนมเอียงของพฤติกรรมจากประสบการณที่ผานมา การเรียนรูของบุคคลเกิดขึ้นเมื่อบุคคลไดรับสิ่ง กระตุนและจะเกิดการตอบสนอง 2.1.4.4 ความเชื่อ (Belief) เปนความคิดที่บุคคลยึดถือเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเปน ผลมาจากประสบการณในอดีต 2.1.4.5 ทัศนคติ (Attitude) หมายถึง ความรูสึกนึกคิดของบุคคลที่มีตอสิ่งหนึ่งสิ่ง ใด ทัศนคตินั้นเกิดจากขอมูลที่แตละคนไดรับ กลาวคือ เกิดจากประสบการณการเรียนรูในอดีต เกี่ยวกับสินคาหรือความนึกคิดของบุคคลและเกิดจากความสัมพันธที่มีตอกลุมอางอิง 2.2 ขั้นตอนการตัดสินใจของผูซื้อ (Buyer Decision Process)
  • 19. 2.2.1 การรับรูปญหา (Problem Recognition) การที่บุคคลรับรูถึงความตองการภายใน ของตนซึ่งอาจเกิดจากสิ่งกระตุน เชน ความหิว ความกระหาย ความตองการทางเพศ ความเจ็บปวด เปนตน สิ่งเหลานี้เกิดขึ้นเมื่อถึงระดับหนึ่งจะกลายเปนสิ่งกระตุน บุคคลจะเรียนรูถึงวิธีที่จะจัดการ กับสิ่งกระตุนจากประสบการณในอดีต ทําใหรูวาจะตอบสนองตอสิ่งกระตุนอยางไร 2.2.2 การคนหาขอมูล (Information Search) เมื่อผูบริโภครับรูถึงความจําเปนและตองการ ที่อยูอาศัย จึงคนหาขอมูลดวยวิธีการตางๆ จากแหลงขอมูลภายใน (Internal Search) หรือ แหลงขอมูลโดยอาศัยของเขตดานจิตวิทยาและแหลงขอมูลภายนอก (External Search) เปนขอมูล จากสื่อมวลชน พนักงานขาย ฯลฯ 2.2.3 การประเมินทางเลือก (Alternative Evaluation) ทางเลือกตางๆ จะถูกประเมิน และ เลือกเพื่อตอบสนองความตองการผูบริโภค ซึ่งตองอาศัยเกณฑการประเมินที่ผูบริโภคใช เปรียบเทียบระหวาตราหรือคุณลักษณะผลิตภัณฑ 2.2.4 การตัดสินใจซื้อ (Purchase Decision) จากการประเมินผลพฤติกรรมในขั้นที่ 3 จะ ชวยใหผูบริโภคกําหนดความพอใจระหวางผลิตภัณฑตางๆ ที่เปนทางเลือก โดยทั่วไปผูบริโภคจะ ตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑที่เขาชอบมากที่สุด และปจจัยตางๆที่เกิดขึ้นระหวางการประเมินผล พฤติกรรมและการตัดสินใจซื้อ 3 ประการ คือ หลังจากประเมินทางเลือกกอนที่จะเกิดความตั้งใจซื้อ และเกิดการตัดสินใจซื้อ 2.2.5 พฤติกรรมหลังการตัดสินใจ (Post purchase Evaluation) หลังจากซื้อและทดลองใช ผลิตภัณฑไปแลว ผูบริโภคจะมีประสบการณเกี่ยวกับความพอใจหรือไมพอใจผลิตภัณฑ ซึ่งนักการ ตลาดจะตองพยายามทราบถึงระดับความพอใจของผูบริโภคภายหลังการซื้อ ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับ เรื่องนี้ คือ ความพอใจของผูบริโภค 3. การตอบสนองของผูซื้อ (Buyer’s Response) หรือการตัดสินใจของผูบริโภคหรือผูซื้อ (Buyer’s Purchase Decision) ผูบริโภคจะมีการตัดสินใจในประเด็นตางๆ ดังนี้ 3.1 การเลือกผลิตภัณฑ (Product Choice) 3.2 การเลือกตราสินคา (Brand Choice) 3.3 การเลือกผูขาย (Dealer Choice) 3.4 การเลือกซื้อเวลาในการซื้อ (Purchase Timing) 3.5 การเลือกปริมาณในการซื้อ (Purchase Amount) 3) ทฤษฎีอรรถประโยชน (Utility Theory) ทฤษฎีอรรถประโยชน เปนทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรที่พยายามอธิบายพฤติกรรมของ ผูบริโภคใหเห็นวาในสถานการณหนึ่งๆ ที่ผูบริโภคเผชิญอยู ดวยเงินจํานวนจํากัดและราคาสินคาที่ เปนอยู ผูบริโภคจะจับจายใชสอยเงินซื้อสินคาเปนจํานวนเทาใด และถาเขาจําเปนตองเลือกที่จะใช