SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 200
Baixar para ler offline
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 1
คํานํา
กิจการสปาเพื่อสุขภาพเปนกิจการที่ตองไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการตามกฎหมาย
วาดวยการสาธารณสุข ซึ่งกิจการสปากําลังไดรับความนิยมเปนอยางมากทั้งจากชาวไทย
และชาวตางชาติ เนื่องจากชวยผอนคลายความตึงเครียดและความเมื่อยลาจากการทํางาน
ปจจุบันในกรุงเทพมหานครมีจํานวนสปาเพื่อสุขภาพที่ไดรับอนุญาตจํานวน 194 แหง และ
ที่ยังไมไดรับอนุญาตอีกเปนจํานวนมาก โดยสวนใหญตั้งอยูในยานที่มีนักทองเที่ยวจํานวน
มาก จึงมีความจําเปนที่จะตองควบคุมดูแลสถานประกอบการเหลานี้ใหดําเนินการอยางถูก
สุขลักษณะ มีความปลอดภัยตอผูใชบริการ เพื่อปองกันโรคติดตอที่อาจเกิดขึ้นจากการใช
บริการ เชน โรคติดตอทางเดินหายใจ โรคผิวหนังจากการติดเชื้อที่ปนเปอนในวัสดุ อุปกรณที่
ไมสะอาด เปนตน ซึ่งโรคเหลานี้สามารถติดตอหรือแพรมายังผูรับบริการได หากไมมีการดูแล
สุขลักษณะภายในสถานประกอบกิจการและสุขวิทยาสวนบุคคลของผูใหบริการ ดวยเหตุดัง
กลาว ในปงบประมาณ 2554 สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร โดยกองสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม
จึงไดจัดทําโครงการ“พัฒนายกระดับมาตรฐานสุขลักษณะสถานประกอบกิจการบริการ” ขึ้น
เพื่อเฝาระวังและปองกันการเกิดโรคติดตอจากสถานประกอบกิจการบริการในกลุมกิจการสปา
สถานที่เสริมสวยและแตงผม และสระวายนํ้า ตลอดจนการสงเสริมสุขลักษณะที่ดีภายใน
สถานประกอบการรวมทั้งการจัดทําหนังสือคูมือเพื่อใชเผยแพรแกเจาหนาที่และผูประกอบการ
ใชเปนแนวทางการดําเนินกิจการ ซึ่งจะเปนการคุมครองสุขภาพของประชาชนผูใชบริการให
ปลอดภัย และเปนการสรางความเชื่อมั่นใหแกนักทองเที่ยวอีกทางหนึ่งดวย
หนังสือคูมือ “การสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ” จัดทําขึ้น
โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสปาเพื่อสุขภาพ การใชสมุนไพรไทยในสปา
การสรรสรางเอกลักษณสปาไทย การนวดเพื่อสุขภาพ การใชนํ้าเพื่อสุขภาพ การจัดการ
สุขาภิบาลสิ่งแวดลอม และการจัดการดานความปลอดภัยของผลิตภัณฑเครื่องมือและ
อุปกรณที่ใช สุขอนามัยของผูปฏิบัติงาน และกฎหมายที่เกี่ยวของกับกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือคูมือเลมนี้จะมีประโยชนตอผูที่เกี่ยวของ
และขอขอบคุณกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ที่เอื้อเฟอขอมูลเกี่ยวกับ
สปาเพื่อสุขภาพมา ณ โอกาสนี้
กองสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม
มิถุนายน 2554
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ2
สารบัญ
บทที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสปาเพื่อสุขภาพ 6
บทที่ 2 การใชสมุนไพรไทยในสปา 24
- อาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ 26
- ขอควรระวังในการใชสมุนไพร 27
บทที่ 3 การสรรสรางเอกลักษณสปาไทย 30
บทที่ 4 การนวดเพื่อสุขภาพ 35
- ประวัติการนวด 36
- วิธีการนวดพื้นฐาน 37
- ประเภทการนวดในสปา 40
บทที่ 5 การใชนํ้าและอุณภูมิเพื่อสุขภาพ 54
- หลักการทั่วไปของการใชนํ้าเพื่อสุขภาพ 58
- รูปแบบของการใชนํ้าเพื่อสุขภาพ 60
บทที่ 6 ผลิตภัณฑ เครื่องมือ และอุปกรณที่ใชในสปา 80
- การเลือกใชเครื่องสําอางอยางปลอดภัย 81
- อันตรายที่อาจเกิดจากการเลือกใชผลิตภัณฑ 87
- การจัดการดานความปลอดภัยของผลิตภัณฑ เครื่องมือ 93
และอุปกรณที่ใชในสปา
บทที่ 7 คันธบําบัด (Aromatherapy) 98
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 3
บทที่ 8 การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม 124
และสุขอนามัยของผูปฏิบัติงาน
- สุขอนามัยของผูใหบริการ 125
- โรคติดตอหรือโรคผิวหนังที่อาจเกิดขึ้นได 129
- การปองกันอุบัติเหตุและความปลอดภัยในสปา 137
- จรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพสปา 138
บทที่ 9 กฎหมายที่เกี่ยวของกับกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 143
ภาคผนวก 159
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ4
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 5
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ6
บทที่ 1
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสปาเพื่อสุขภาพ
(Introduction to Spa Business)
แนวคิด
ประเทศไทยถือไดวาเปนประเทศแรกที่มีการกําหนดมาตรฐานการบริการดาน
สปาเพื่อสุขภาพออกมาอยางชัดเจน โดยมีการกําหนดคําจํากัดความตามประกาศ
กระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องกําหนดสถานที่เพื่อสุขภาพและเสริมสวยตาม
พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ.2509 (แกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 4 พ.ศ.2546) มีใจความดังนี้
“กิจการสปาเพื่อสุขภาพ หมายความวา การประกอบกิจการที่ใหการดูแล
และเสริมสรางสุขภาพโดยบริการหลักที่จัดไวประกอบดวยการนวดเพื่อสุขภาพและ
การใชนํ้าเพื่อสุขภาพ โดยอาจมีบริการเสริมประกอบดวย เชน การอบเพื่อสุขภาพ
การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพโภชนาการบําบัดและการควบคุมอาหาร โยคะ และการ
ทําสมาธิ การใชสมุนไพร หรือผลิตภัณฑสุขภาพ ตลอดจนการแพทยทางเลือกอื่นๆ”
1.สปา คืออะไร
ความหมายที่ 1 สปา มาจากรากศัพทภาษาละตินวา “Sanitas Per
Aquas” หรือ Senare Per Aqua หรือ “Salus Per Aquam” หรือ
“Sanare Per Aquam” ซึ่งแปลไดความวา สุขภาพจากสายนํ้า การบําบัดดวย
นํ้า หรือการดูแลสุขภาพโดยการใชนํ้า (Health Through Waters or To Heal
Through Water)
ความหมายที่ 2 สปา มาจากชื่อของเมืองเล็กๆ ใกลกับเมืองลีห(Liege)
ทางตะวันออกเฉียงใตของประเทศเบลเยี่ยม ติดกับชายแดนของประเทศเยอรมันนี
เปนเมืองที่เปนแหลงของนํ้าพุที่มีแรเหล็กธรรมชาติ เชื่อกันวาในป 1326 ชางเหล็ก
ของเมือง Collin le loupe ไดยินชื่อเสียงของนํ้าพุดังกลาวเกี่ยวกับสรรพคุณใน
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 7
การรักษาโรคจึงดั้นดนเสาะหาจนพบ และนํ้าพุนั้นสามารถรักษาอาการปวยไข
ของเขาใหหายไปไดจริงๆ ภายหลังสถานที่นั้นถูกยกยองใหเปน health resort
ที่โดงดังและเปนที่ยอมรับในเรื่องของการรักษาสุขภาพและอาการเจ็บปวยตางๆ
ผูคนสวนใหญ รูจักในนามของ Espa ซี่งเปนรากศัพทที่หมายถึงนํ้าพุในปจจุบัน
คําดังกลาวถูกใชในภาษาอังกฤษวา spa ซึ่งใชกันอยางแพรหลายในความหมาย
ของสถานที่ตากอากาศเพื่อสุขภาพ (health resort)
ความหมายที่ 3 สปาอีกหนึ่งความเชื่อที่มีแนวคิดคลายคลึงกันก็คือ spa
เปนชื่อหมูบานเล็กๆ แหงหนึ่งในเบลเยี่ยม ที่ซึ่งมีแหลงนํ้าแร หรือนํ้าพุรอนตาม
ธรรมชาติปรากฏอยู และถูกคนพบโดยชาวโรมันโบราณ ทหารโรมันนิยมใช
นํ้าพุแหงนี้เปนที่รักษาอาการบาดเจ็บกลามเนื้อหรือบาดแผลที่ไดรับจากการสูรบ
ความหมายที่ 4 สปา หมายถึงการบําบัดดูแลสุขภาพแบบองครวมดวย
วิธีทางธรรมชาติที่ใชนํ้าเปนองคประกอบในการบําบัดควบคูไปกับวิธีทางการแพทย
ทางเลือกอื่นๆ โดยใชศาสตรสัมผัสทั้ง 5 ไดแก รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส
เปนปจจัยที่สรางภาวะสมดุลระหวางรางกาย จิตใจ จิตวิญญาณ อารมณ
ความหมายที่ 5 สปา เปนการบําบัด แบบองครวมที่เนนการปองกัน
การเจ็บปวยมากกวาการรักษา Wildwood,Chrissie, 1997 กลาววาการที่
อารมณแปรปรวนมีโอกาสทําใหเกิดการเจ็บปวย
จากความหมายขางตนจึงสามารถสรุปไดวา สปา คือ การบําบัดดวยนํ้า การ
ดูแลสุขภาพแบบองครวม ภายใตการดูแลของนักบําบัด ผูเชี่ยวชาญหรือแพทย รวมถึงเปน
สถานที่ๆใชในการพักผอน เพื่อใหไดมาซึ่งสุขภาพองครวมที่ดี(นภารัตน ศรีละพันธ , 2549)
ในเชิงความเชื่อตามประวัติศาสตร สปา หมายถึง สถานที่ที่มีนํ้าพุตามธรรมชาติที่
ซึ่งสามารถบรรเทา และรักษาอาการเจ็บปวยจากโรคภัยตางๆ ได ซึ่งนํ้าเหลานี้สรางศรัทธา
และความเชื่อทางจิตวิญญาณอยางมาก โดยยังคงความเปนปริศนาในการบําบัดโรคภัย
ในเชิงรวมสมัย เปนสถานที่อํานวยความสะดวก และทุมเทใหกับทั้งทาง
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ8
ดานการบําบัดทั้งกายภาพ จิตใจ และอารมณเพื่อใหไดมาซึ่งสุขภาพที่ดีและชีวิตที่
ผาสุก สปาตองใชนํ้าในแงของการใหการรักษาและบําบัด โดยมีพื้นฐานมาจากการ
ใชประโยชนของวิตามินและเกลือแรจากธรรมชาติ สปารวมสมัย ยังใหการบรรเทา
อาการบาดเจ็บจากการเลนกีฬา ผานการรักษาดวยวิธีทางการแพทยที่ครบครัน
ผอนคลายความตึงเครียด ใหการดูแลและทะนุถนอมทั้งความงามทางรางกายและ
อารมณ ความรูสึก ณ ปจจุบัน สปาไดสรางเอกลักษณขึ้นมาไดอยางเดนชัด ใน
เรื่องของสถานที่และการตกแตงที่คํานึงถึงการอนุรักษธรรมชาติ และรักษาสิ่งแวดลอม
2. องคประกอบของสปา
ตามคํานิยามของ The International Spa Association (ISPA)
สปาประกอบดวยปจจัยสําคัญ 10 ประการ ไดแก
1. นํ้า (Water) สามารถนําไปใชไดหลายรูปแบบทั้งภายใน เชน การ
ดื่ม การกิน และภายนอก เชน การอบ การแช หรือนํามาเปนสวน
ประกอบในการบริการและการตกแตงสถานที่
2. การบํารุง (Nourishment) เชน อาหารสุขภาพ เครื่องดื่มสมุนไพร
และสารอาหารบํารุงตางๆ
3. การเคลื่อนไหวและการออกกําลังกาย (Movement,Exercise &
Fitness) การเคลื่อนไหวในทาทางที่กอใหเกิดประโยชนตางๆ กัน
สรางความกระปรี้กระเปรา เพิ่มพลังงาน เชน การออกกําลังกาย
แบบตางๆ การผอนคลายกลามเนื้อ
4. การสัมผัส (Touch) เชน การนวดและการสัมผัสที่สื่อสารความรูสึก
ตาง ๆ ใหความรูสึกที่อบอุน ผอนคลาย และบําบัดอาการปวดเมื่อย
5. Integration กิจกรรมสุขภาพที่บูรณาการความสัมพันธที่สอดคลอง
กันระหวางกาย ความคิด จิตใจ จิตวิญญาณกับสภาพแวดลอม
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 9
6. ศาสตรดานความงาม (Aesthetics) การบํารุงรักษาความงามกับ
กระบวนการที่ใชผลิตภัณฑพืชพรรณธรรมชาติสมุนไพรตางๆ ที่มี
ผลกับรางกายมนุษย
7. สภาพแวดลอม (Environment) สถานที่ตั้ง ประกอบไปดวยสภาพ
แวดลอมที่ดี สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม การออกแบบตบแตง
รูปแบบบรรยากาศที่ดี ใหความรูสึกผอนคลาย
8. การแสดงออกถึงศิลปวัฒนธรรม (Art, Culture & Social ) เปน
ทั้งศาสตรและศิลปที่สรางความสุนทรียะและประทับใจ ในเวลาที่
ไดพักผอนและมีสังคมที่ดีกับมิตรสหาย
9. เวลา และจังหวะ (Time, Space, Rhythms) ตระหนักถึงการใช
เวลาและจังหวะชีวิตที่ไดดูแลสุขภาพใหแกตนเอง มีเวลาปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมที่ดีตอสุขภาพโดยสอดคลองกับวงจรธรรมชาติ
10. ระบบการบริหารจัดการที่ดี (Management and Operation
System) มีการบริหารงานอยางเปนระบบ
......................................................
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ10
3. การแบงประเภทสปา
ตามคํานิยามของประกาศกระทรวงสาธารณสุข วาดวยเรื่องกําหนด
สถานที่เพื่อสุขภาพและเสริมสวย ตามพระบัญญัติสถานบริการ พ.ศ.2509
แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4 ) พ.ศ. 2546 ไดกําหนดรูปแบบของธุรกิจเพื่อ
สุขภาพ ไว 3 แบบ ดังนี้
1. กิจการสปาเพื่อสุขภาพ
2. กิจการนวดเพื่อสุขภาพ
3. กิจการนวดเพื่อเสริมสวย
กิจการสปาเพื่อสุขภาพ คือ การประกอบกิจการที่ใหการดูแลเสริมสราง
สุขภาพ โดยประกอบไปดวยบริการหลักและบริการเสริมประเภทตางๆ
บริการหลัก ประกอบดวยการนวดเพื่อสุขภาพ และการใชนํ้าเพื่อสุขภาพ
บริการเสริม คือ กิจกรรมตางๆ ที่ควรจัดใหมีอยูในเมนูเพื่อเปนการดึงดูดให
ลูกคาสนใจมาใชบริการบอยขึ้น และมีความหลากหลายในสปามากขึ้น ตัวอยาง
ของกิจกรรมตางๆ เชน
1. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ
2. การทําสมาธิและโยคะ
3. การอบเพื่อสุขภาพ
4. การแพทยทางเลือก
5. โภชนบําบัดและการควบคุมอาหาร
ตามคํานิยามของ The International Spa Association (ISPA –
พ.ศ. 2538 ) แบงชนิดของสปาออกเปน 7 ประเภทดังนี้
1. Club Spa คือ สปาที่ตั้งขึ้นเพื่อใหบริการเฉพาะสมาชิก (Member)
โดยเนนการใหความสะดวกสบายและครบครันเกี่ยวกับวัตถุประสงคใน
การออกกําลังกายและดูแลสุขภาพรางกาย พรอมกับบริการดานอื่นๆ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 11
2. Day spa คือ สปาที่ตั้งอยูในทําเลที่สะดวกตอการเดินทาง
สําหรับลูกคามาใชบริการ เชน ในที่พักอาศัย อาคารพาณิชย
หางสรรพสินคา หรือตามสนามบิน โปรแกรมการบริการคอนขาง
หลากหลาย ลักษณะผูมาใชบริการจะเปนระยะเวลาสั้นๆ จากการ
สํารวจพบวา เปนสปาที่เปดใหบริการมากที่สุด
3. Hotel & Resort Spa คือ สปาที่ตั้งอยูภายในหรือในบริเวณเดียวกัน
กับโรงแรมหรือรีสอรท ที่มีสถานที่ออกกําลังกาย อาหาร โปรแกรม
บริการมักประกอบดวย การนวดแบบตางๆ เพื่อผอนคลายสําหรับ
ผูที่ตองการเปลี่ยนบรรยากาศ และหลีกหนีความจําเจในชีวิตประจํา
วัน มักจะมีขนาดใหญกวาเมื่อเทียบกับ Day spa ทั่วไป
4. Cruise Ship Spa คือ สปาที่ตั้งอยูในเรือ โปรแกรมการบริการ
ประกอบดวย การนวดแบบตางๆ การออกกําลังกาย กิจกรรมเพื่อ
สุขภาพ อาหารเพื่อสุขภาพ
5. Mineral Spring Spa คือ สปาที่ตั้งอยูในสถานที่ที่เปนแหลง
นํ้าพุรอน หรือ นํ้าแรธรรมชาติ โปรแกรมการบริการจะเนนการบําบัด
โดยการใชความรอนของนํ้า หรือ แรธาตุตางๆ เชน ใชเกลือมาเปน
สวนหนึ่งในการบําบัดรักษา ตัวอยางเชน สปาที่ตั้งอยูตามแหลง
บอนํ้ารอน ในประเทศญี่ปุนและรัสเซีย ประเทศไทยมีโอกาสที่จะ
พัฒนาแหลงนํ้าพุรอนธรรมชาติหลายแหงใหเปนแหลงทองเที่ยวได
เปนอยางดีในอนาคต เชน ที่จังหวัดเชียงใหม เชียงราย ระนอง
สุราษฏรธานี
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ12
6. Destination Spa คือ สปาที่ตั้งขึ้นเพื่อใหการดูแลสุขภาพเปนหลักโดย
มีที่พักอยูภายในมีกิจกรรมเพื่อสุขภาพครบวงจร อาหารเพื่อสุขภาพ
การออกกําลังกาย การใหความรูดานตางๆ ผูมาใชบริการสวนใหญ
มักจะมีความตองการพํานักอยูเปนระยะเวลานาน เพื่อผอนคลาย
และปรับปรุงวิถีชีวิตใหดีขึ้น ปรับความสมดุลของรางกายและจิตใจ
ลดนํ้าหนัก ออกกําลังกายที่ถูกตอง โดยทีมงานที่เชี่ยวชาญจะเปน
ผูพิจารณาจัดโปรแกรมใหเหมาะสมกับลักษณะสุขภาพแตละคน
มักตั้งอยูใกลแหลงทรัพยากรทางธรรมชาติโดยสวนใหญจะใช
ประโยชนจากแหลงธรรมชาตินั้นเขามาเปนตัวชวยในการจัดกิจกรรม
เชน ภูเขา ทะเล นํ้าพุรอน โคลน ฯลฯ
7. Medical Spa คือ สปาที่ตั้งโดยกฎหมายวาดวยสถานพยาบาลโดย
มีแพทยและพยาบาลดูแลกํากับ มีวัตถุประสงคเพื่อบําบัดรักษา
สุขภาพและความสวยงาม โปรแกรมการบริการประกอบดวย
โภชนาการบําบัดและอาหารเพื่อสุขภาพ มีบริการทางการแพทย
ใหเลือกทั้งแพทยแผนปจจุบันและการแพทยไทย แผนจีน ฯลฯ
มีโปรแกรมการนวดที่รักษาอาการเจ็บปวย เชน การนวดกดจุด การ
บําบัดดวยสมุนไพร การปรับโครงสรางรางกาย การสะกดจิต การฝง
เข็ม ศัลยกรรมผิวหนัง การตอตานริ้วรอย ผูมาใชบริการสวนใหญ
มักจะมีความตองการการพํานักระยะยาวและการบําบัดที่ชี้เฉพาะ
เชน การลดนํ้าหนัก การออกกําลังกายที่ถูกตอง การเลิกบุหรี่ เปนตน
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 13
4.ประเภทการบริการในสปา
เปนการจัดนําเสนอรายการทรีทเมนตตางๆ เพื่อใหผูมาใชบริการไดเลือก
โดยมีรายละเอียดแสดงใหทราบถึงประโยชนของการทําทรีทเมนตในแตละชนิด
สวนผสมของการใชผลิตภัณฑ ระยะเวลาที่ใชในการทําทรีทเมนต ราคา แนวทาง
ในการกําหนดรายกายในสปาเมนู (Spa Menu) ของแตละกิจการจะมีความแตก
ตางกันขึ้นอยูกับจุดเดนและความชํานาญของผูประกอบการ การบริการในสปา
แบงออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้
A. บริการหลัก
B. บริการเสริม
A. บริการหลัก หมายถึง การใหบริการทรีทเมนตที่จําเปนตองมีในสปา
ประเภทของการบริการหลักประกอบดวย การนวดเพื่อสุขภาพ และการใชนํ้า
เพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ14
1. การนวดเพื่อสุขภาพ
การนวดแบบตะวันออก ไดแก การนวดกดจุดแบบราชสํานัก การ
นวดไทยแบบเชลยศักดิ์ การนวดแบบญี่ปุน (Shiatsu) การนวดกดจุด
แบบจีน (Reflexology) การนวดแบบอินเดีย (Ayuravedic Massage)
และอื่นๆ
การนวดแบบตะวันตก ไดแก การนวด
อโรมาเทอราพี (Aromatherapy) การนวด
แบบสวีดิช(Swedish) และอื่น ๆ
ทรีทเมนตความงามและการนวดหนา
(Facial Massage) หลักเบื้องตนในการทํา
ทรีทเมนตหนาประกอบดวย 6 ขั้นตอน ดังนี้
การลางหนา/การปรับสภาพผิว/การขัดหนา/
การนวดหนา/การพอกหนา/การบํารุงผิวหนา
2. การใชนํ้าเพื่อสุขภาพ ไดแก การอบไอนํ้า การอาบแชนํ้า การประคบดวย
นํ้ารอน / นํ้าเย็น การบําบัดในอางนํ้าวน การออกกําลังกายในนํ้า ฯลฯ
B. บริการเสริม คือ กิจกรรมตาง ๆ ที่ควรจัดใหมีอยูในเมนู เพื่อเปนการ
ดึงดูดใหลูกคาสนใจใหมาใชบริการบอยขึ้นและมีความหลากหลายในสปามากขึ้น
ตัวอยางของกิจกรรมตาง ๆ เชน
1. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ
2. การทําสมาธิและโยคะ
3. การอบเพื่อสุขภาพ
4. การแพทยทางเลือก
5. โภชนบําบัดและการควบคุมอาหาร
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 15
1. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ
1.1 แอโรบิค (Aerobic) คือ การออกกําลังกายเพื่อเผาผลาญไขมันใน
รางกายโดยการใชงานของกลามเนื้อสวนตางๆ ประโยชนของการเตนแอโรบิคจะ
ชวยเพิ่มอัตราการเตนของหัวใจ 50 – 90 เปอรเซ็น
1.2 ฟตเนส (Fitness/ Gym) คือ วิธีการทดสอบความยืดหยุน และ
ความแข็งแรงของรางกายเปนโปรแกรมการออกกําลังกาย เพื่อปรับปรุงรูปราง
ลดไขมัน กระชับรูปทรง หรือเสริมสรางกลามเนื้อ
1.3 ฟตบอล (Fit Ball) เปนการออกกําลังกายที่จะชวยเนนการบริหาร
สวนบนของรางกายตั้งแตไหล หนาทอง แผนหลังไปจนถึงตนขา สะโพก และ
บั้นทาย การควบคุมแรงดีดกลับของลูกบอลขณะเลน จะชวยเสริมสรางความ
แข็งแรงใหกับกลามเนื้อ เพิ่มประสิทธิภาพการทรงตัว และการทํางานของอวัยวะ
แตละสวนใหสัมพันธกัน
1.4 ชิบอล ( Chi Ball) ประยุกตขึ้นจากความสมดุลของหยินหยาง
หัตถโยคะ และการทําสมาธิ โดยมีอุปกรณ คือ ลูกบอลนุมๆ ขนาดเสนรอบ
วง 15 เซนติเมตร ประโยชนของชิบอล ชวยปรับสมดุลและเสริมพลังใหแก
รางกาย จิตใจและวิญญาณ ชวยใหพลังไหลผานสวนตาง ๆ ของรางกาย ปรับ
สมดุลอยางชาๆ ชวยเพิ่มความยืดหยุนใหกับกลามเนื้อบริเวณซี่โครงและกระบัง
ลม ชวยลดนํ้าหนัก กระชับสัดสวนบริเวณบั้นเอว และสะโพก ปจจุบันภายใน
ลูกบอลจะบรรจุกลิ่นหอมลงไปดวยทําใหรูสึกสงบและผอนคลาย
1.5 พิลาทิส (Pilates) หลักการเลน “พิลาทิส” จะเนนการออกกําลัง
กลามเนื้อใหยืดหยุน กระชับ และแข็งแกรง เปนการผสมผสานการสรางพลัง
ใหแกรางกาย กับการมองความสงบคืนสูจิตใจ ชวยใหกลามเนื้อกระชับสวยงาม
แบบนักเตนรํา และมีบุคลิกทวงทางดงาม เปนการออกกําลังกายแนวใหมเปน
ที่นิยม หากเลนตอเนื่องครึ่งชั่วโมงเปนประจําจะชวยใหหลอดเลือดหัวใจ ปอด
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ16
และกระดูกสันหลัง แข็งแรง
1.6 การชกมวย (Boxing) เปนศิลปะการออกกําลังกายแบบไทยๆ ที่
เผาผลาญแคลอรี่ไดมากที่สุดประเภทหนึ่ง และยังเปนการเรียนรูในศิลปะปองกัน
ตัวอีกแขนงหนึ่งดวย
1.7 ไทชิ (Tai Chi) เปนศิลปะการตอสูแบบจีน โดยฝกความสัมพันธ
ระหวางกายหายใจลึกๆ กับการเคลื่อนไหวทวงทาของรางกายอยางชาๆ เปนการ
ทํางานที่ประสานกันระหวางกายกับจิต
1.8 กีฬาประเภทตางๆ
2. การทําสมาธิและโยคะ
2.1 การนั่งสมาธิ (Meditation) คือ การฝกปฏิบัติทางดานจิตใจ โดย
สามารถฝกไดหลากหลายวิธี เชน การกําหนดลมหายใจ การเดินจงกรม การ
ทําจิตใหวาง มีประโยชนคือ ชวยลดความเครียด และคลายความออนลา อีก
ทั้งยังสงเสริมสุขภาพทั่วทั้งรางกาย
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 17
2.2 ซี่กง (Qi gong) คือ ศาสตรการแพทยในการรักษาแบบจีน ซึ่งรวม
เอาการเคลื่อนไหวและการฝกหายใจไวดวยกัน เพื่อชวยเพิ่มความแข็งแรงใหกับ
รางกายและจิตใจ และหากมีการฝกอยางตอเนื่องในระดับหนึ่งจะสามารถชวย
บําบัดโรคได
2.3 เรกิ (Reiki) หมายถึง การใชพลังภายในรางกายไหลผานฝามือและ
ถายทอดสูอวัยวะอื่น ๆ เปนเทคนิคแบบญี่ปุน ชวยในการผอนคลาย และการไหล
เวียนพลังงานภายในรางกาย ทําใหจิตใจสงบ และชวยฟนฟูสภาพรางกายไดดี
2.4 โยคะ (Yoka) เปนศาสตรของฮินดูโบราณประกอบไปดวย การกําหนด
ลมหายใจ การยืดและการเหยียดอวัยวะสวนตางๆ ของรางกาย โดยมีทาทาง
หลากหลาย ชวยเพิ่มการไหลเวียน เพิ่มความยืดหยุน และความแข็งแรงของ
รางกาย โดยยึดหลักความสมดุลกันระหวางรางกายและจิตใจ
3. การอบเพื่อสุขภาพ
แบงออกไดเปน 2 ประเภท ไดแก
การอบเซานา หองเซานาจะมีลักษณะเหมือนกระทอมที่ทําดวยไมสน
เปนทอนๆ หรือเปนแผงที่ซอนกัน โดยมีเสนใยแกวใชเปนฉนวน เพื่อปองกัน
ความรอนไมใหออกไปนอกหองและชวยรักษาอากาศรอนในหองใหแหงอยูตลอด
เวลา ภายในหองจะมีชั้นตางระดับที่ทําดวยไมสนสําหรับนั่งพักขณะอยูในหอง
เซานา หองเซานาจะใหความรอนแบบแหง โดยไมสนจะชวยดูดซับความหนาแนน
ที่เกิดจากความรอนในหองเซานา ในหองเซานาจะมีถังใสนํ้าไวเพื่อใชราดกอนหินที่
อยูบนเตาซึ่งทําใหเกิดเปนไอนํ้า อุณหภูมิของเซานาจะอยูระหวาง 50 ํ – 80 ํC
การอบไอนํ้า การอบไอนํ้าจะใหความรอนแบบเปยก อุณหภูมิสูงสุด
ของทรีทเมนตอบไอนํ้า คือ 45 ํC ความชื้นสัมพัทธประมาณ 92 -97 %
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ18
การอบไอนํ้าแบงไดเปน 2 แบบ
1. ตูอบไอนํ้า (Steam cabinets)
2. หองอบไอนํ้า (Steam room)
Steam cabinets เปนลักษณะของตูอบไอนํ้าที่ออกแบบมาใหลูกคาเขาไป
นั่งไดเพียงคนเดียว และโผลสวนของศีรษะออกมาขางนอก
Steam room หองอบไอนํ้า เหมาะสําหรับการใหบริการแกลูกคาหลายๆ
คนในเวลาเดียวกัน ทรีทเมนตนี้ไดรับความนิยมมาก ระยะเวลาในการที่หองอบ
ไอนํ้าจะรอนจนไดที่ขึ้นอยูกับขนาดของหอง มีทั้งขนาดเล็กสําหรับลูกคาคนเดียว
ไปจนถึงขนาดใหญลูกคาสามารถใชบริการไดมากกวา 10 คน
4. การแพทยทางเลือก
การแพทยทางเลือก หมายถึง การรักษาโรคหรือความเจ็บปวยดวย
วิธีการอื่น ที่มีขั้นตอนการปฏิบัตินอกเหนือไปจากการรักษาที่ไดรับการยอมรับ
ในวงการวิทยาศาสตรการแพทย
วิธีที่รูจักกันโดยทั่วไป ไดแก การฝงเข็ม การบําบัดดวยนํ้ามันหอม-
ระเหย การสะกดจิต ฯลฯ
4.1 การฝงเข็ม คือ วิธีการรักษารูปแบบหนึ่งของจีน โดยการใชพลังงาน
ภายในรางกายรักษาตนเอง การฝงเข็มจะใชเข็มที่สะอาดเลมเล็กๆ หลายๆ เลม
ฝงลงไปที่ผิวหนังตามจุดสะทอนตางๆ ทั่วรางกาย
4.2 การบําบัดดวยนํ้ามันหอมระเหย คือ การนํานํ้ามันหอมระเหยที่
สกัดไดจากพืชไปใชในทางอายุรเวทเพื่อปรับสมดุลในรางกาย การใชพืชและสาร
สกัดที่ไดมาจากพืชแลวนํามาปรุงแตงเปนยารักษาโรค เปนสมุนไพร เพื่อสุขภาพ
และชวยบําบัดทางอารมณ
4.3 การสะกดจิต คือ การผสมผสานระหวางจิตวิทยา จิตเวชศาสตร
สรีรศาสตร หรือสาธารณสุขศาสตร และวิชาแพทยศาสตรเขาดวยกัน
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 19
ประโยชนของการสะกดจิตมีหลายดาน เชน
1. ดานสุขภาพความงาม เชน ลดความอวน เปนตน
2. ดานการศึกษา ทําใหสมาธิดีขึ้น เพิ่มความจําและความสามารถ
ในเชิงกีฬา
3. ขจัดนิสัยที่ไมดี เชน ติดบุหรี่ เปนโรคพิษสุราเรื้อรัง เปนตน
4. แกปญหาสมองอันเกี่ยวกับจิตใจ เชน นอนไมหลับ คิดมาก
เสนประสาทตึงเครียด
5. โภชนบําบัดและการควบคุมอาหาร
อาหารสําหรับสปาสวนใหญเนนไปที่อาหารที่มีไขมันและโคเลสเตอรอล
ตํ่า รสชาดออกไปทางจืดหรือหวานเล็กนอย แตจะไมเค็ม รายการอาหารใน
สปาจะตองปรับปรุง คิดคน อาหารที่งายตอการยอย แตใหพลังงานเพียงพอ
มีประโยชนในการบํารุงรางกาย สงเสริมผิวพรรณใหมีสุขภาพที่ดี อาหารใน
สปาสวนใหญจะแสดงปริมาณของแคลอรี่ โปรตีน คารโบไฮเดรต และไขมัน
ของอาหารไวชัดเจน วัตถุดิบที่นํามาใชโดยสวนใหญนิยมใชสมุนไพรและผักที่
ปลูกเองโดยปราศจากสารเคมี
สปาเมนู (Spa Menu or Sap A la Carte)
การเขียนสปาเมนูควรประกอบไปดวย
1. ชื่อทรีทเมนต
2. คําอธิบายเกี่ยวกับทรีทเมนต อันไดแก ที่มา ประโยชนที่ลูกคา
พึงไดรับและสาระสําคัญหากทรีทเมนตนั้นตองใชผลิตภัณฑเปนสวนประกอบ
3. เวลาที่ใหบริการ
4. ราคา
5. รูปภาพประกอบ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ20
ตัวอยางสปาเมนู
การนวด (Massage Therapy)
นวดไทย (Thai Massage) (60 Mins) ดวยเทคนิคการนวดไทยที่
ถูกวิธีและการจับเสนที่ถูกตองจะชวยทําใหเกิดผลที่ดีตอระบบของรางกาย ทําให
เลือดลมแลนไดดี ชวยคลายเสนคลายความปวดเมื่อยของกลามเนื้อ
นวดสวีดิช (Swedish Massage) (60 Mins) เปนการนวดดวยเทคนิค
การสับ ตบ ทุบ ตี เปนจังหวะโดยเนนการลงนํ้าหนัก ชวยใหของเหลวในรางกาย
ไหลเวียนดีขึ้น ทําใหผอนคลาย แกเมื่อยและลดเซลลูไลท
นวดอโรมา (Aroma Massage) ( 60 Mins) การใชนํ้ามันนวดที่มีสวน
สําคัญของนํ้ามันหอมระเหย ผสานดวยเทคนิคการนวดเฉพาะอยางที่ชวยสราง
ความสุนทรียทางอารมณ มีกลิ่นหอมติดผิวกาย ทําใหผิวกายนุมนวล ลดความ
เมื่อยลา แกปวดเมื่อยตามสวนตางๆ ของรางกาย
นวดกดจุดสะทอนฝาเทา (Reflexology) (45 Mins) การนวดกดจุด
ฝาเทาเปนการปรับสมดุลของระบบการทํางานภายในรางกาย ชวยสงเสริมการ
ไหลเวียนโลหิตบริเวณเทา สรางความสบายและผอนคลายความเมื่อยลาทั้งระบบ
นวดประคบสมุนไพร (Thai Herbal Massage Bag) (45 Mins)
ลูกประคบสมุนไพรบดละเอียดดวยสวนผสมของไพล มะกรูด ตะไคร ใบมะขาม
และการบูร สวนผสมทั้งหมดชวยกระตุนการไหลเวียนโลหิต บรรเทาอาการเจ็บ
ปวดและเมื่อยลาของกลามเนื้อ กลิ่มหอมของสมุนไพรชวยใหเกิดการผอนคลาย
ความเครียดไดเปนอยางดี
การขัดผิวดวยเกลือ (Salt glow) (30 Mins) การขัดผิวเปนวิธีที่ชวย
ทําใหผิวสะอาด สดใส เกลี้ยงเกลา ทําใหผิวเปลงปลั่งเปนสีชมพูและนุมนวล
ดวยคุณสมบัติของเกลือยังชวยในการสมานผิวดวย
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 21
การพอกบํารุงตัวดวยผลไมไทย (Thai Fruit) (30 Mins) การพอกตัวดวย
ผลไมไทยอุดมดวยวิตามินและเอนไซมชวยทําใหผิวขาวสดใส คืนความเปลงปลั่ง
ใหผิว ทําใหผิวชั้นบนสะอาด
การพอกบํารุงตัวดวยสมุนไพร (Thai Herbal Wrap) (30 Mins) ดวย
เทคนิคการหอตัวและคุณสมบัติจากสมุนไพรธรรมชาติ มีประโยชนชวยขจัดเซลล
ผิวที่เสื่อมสภาพ รักษาความชุมชื่นของผิวใหคงอยู อีกทั้งยังชวยบํารุงผิวให
ชุมชื่น แข็งแรง
การพอกตัวดวยโคลน (Mud Wrap) (30 Mins) เปนการนําเอาคุณสมบัติ
ของโคลนซึ่งมีที่มาจากหลายประเทศ เชน Dead Sea, Romania หรือภูโคลน
ในประเทศไทยนํามาขัดและพอกผิวชวยผลัดเปลี่ยนเซลลผิว ขจัดสารพิษที่ตกคาง
ทําใหผิวสะอาดและนุมนวลอยูเสมอ
ตัวอยางสปาเมนู
ตัวอยางโปรแกรมความงามหนา Spa Facial Treatment
ชุดทําความสะอาดอยางลํ้าลึก (Deep Cleansing Treatmenat) (50
Mins) ทรีทเมนตเพื่อการทําความสะอาดผิว ขจัดเซลลผิวที่เสื่อมสภาพ ทําให
ผิวหนาสะอาดสดใสและเรียบเนียน สีผิวสมํ่าเสมอทั่วใบหนา
ชุดบํารุงดวยสมุนไพรธรรมชาติ (Thai Herbal Treatment) (80 Mins)
ทรีทเมนตดูแลผิวบนใบหนาดวยคุณสมบัติสําคัญที่ไดจากสมุนไพรธรรมชาติ ชวย
ทําใหผิวเย็นสบาย ลดอาการระคายเคืองตอผิว บํารุงผิวใหชุมชื่น
ชุดบํารุงใหความชุมชื่นผิว ( Moisturizing Treatment) (80 Mins)
ทรีทเมนตคืนความชุมชื่นตามธรรมชาติโดยการใหนํ้าแกผิวทําใหผิวเปลงปลั่ง
เตงตึง สดใส
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ22
การบํารุงเล็บมือและเทา (Nail Treatment)
การทําเล็บมือ (Manicure) การทําเล็บเทา (Pedicure) มือและเทาเปน
อวัยวะที่มีการใชงานหนักอยูตลอดเวลา การทําเล็บมือและเล็บเทา จึงเปนทรีทเมนต
ที่ใหความทนุถนอมเล็บมือและเล็บเทาใหสะอาด นุมนวล มีกลิ่นหอมนาสัมผัส
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 23
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ24
บทที่ 2
การใชสมุนไพรไทยในสปา
สปา เปนคําที่อิงกับการใชนํ้าเพื่อการบําบัดรางกาย เพื่อใหเกิดความ
สมดุล ใหรูสึกผอนคลายและสบายตัว ซึ่งอาจมีการใชนํ้าในรูปแบบตางๆ เชน
อางนํ้าแร เปนตน ทั้งนี้เพื่อใหมีผลตอผิวหนังและรางกายชวยใหผิวพรรณดีขึ้น ชวยใน
การไหลเวียนโลหิตใหดีขึ้น โดยเฉพาะเมื่อมีการใชนํ้าอุน รูปแบบของสปาดั้งเดิม
เปนการใชนํ้าเพื่อการบําบัดและผอนคลายเปนหลัก ทําใหเกิดความรูสึกผอนคลาย
ทั้งรางกายและจิตใจ ในปจจุบันรูปแบบของสปาถูกปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับสิ่ง
แวดลอมและกาลเวลา เพื่อใหผูที่เขามาใชบริการในสปาไดรับและชื่นชมในประสาท
สัมผัสทั้ง 5 อยางคือ รูป รส กลิ่น เสียงและสัมผัส ซึ่งจะประกอบดวยสิ่งที่
เรียกวา ทรีทเมนต (Treatment) หลัก 4 อยาง คือ การนวดแบบตางๆ การทรีท
เมนตหนา การทรีทเมนตตัว หนาและลําตัว จะมีขั้นตอนตางๆ 10 ขั้นตอน ตาม
ลําดับ ประกอบดวย การลางและทําความสะอาด (cleanse) การขัด (scrub)
การบํารุงฟนฟู (tonic) การกดและการคลึง (compress) การนวด(massage)
การพอก (mask) การอบ (steam) การอาบ (bath) การแช (soak) และการ
เพิ่มความชุมชื่น (moisturize) จะเห็นไดวาทุกขั้นตอนจะมีการใชผลิตภัณฑอยาง
ใดอยางหนึ่งเสมอ และผลิตภัณฑจากสมุนไพรก็เปนผลิตภัณฑหนึ่งที่ไดรับความ
นิยมอยูในขณะนี้ โดยเฉพาะสมุนไพรที่มีคุณคาสูงและมีประโยชนตอรางกายและ
ผิวพรรณ ซึ่งประโยชนจากสมุนไพรเหลานี้มีการใชในเรื่องการนวดดวย และ
นอกจากนี้บทบาทสําคัญของสมุนไพรที่มีกลิ่นหอมทั้งหลาย คือ อโรมาเธอราป
(Aromatherapy) หรือศัพทราชบัณฑิตยสถานคือ “คันธบําบัด” ซึ่งจะชวยผอน
คลายทั้งรางกายและจิตใจ ประโยชนของสมุนไพรที่มีการใชมาตั้งแตโบราณและ
กําลังเปนที่นิยมในตอนนี้ คือการดื่มหรือรับประทานเพื่อบํารุงสุขภาพซึ่งสมุนไพร
ทั้งหมดจะถูกนํามาใชผสมผสานอยางลงตัวในสปา
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 25
ดังนั้น สปาจึงเปนแนวทางหนึ่งของระบบปองกันดูแลสุขภาพและสอดคลอง
กับหลักทฤษฎีการแพทยแผนไทยและการแพทยแผนตะวันออกทั้งหมด
สมุนไพรที่ใชในสปา
1. ผงหรือครีมสําหรับขัดหนา นวดตัวและพอกหนา สมุนไพรที่ใชเปน
หลักคือ ขมิ้นชัน ไพล ขมิ้นออย วานนางคํา แตงกวา และนํ้าผึ้ง
2. พอกตัว ขัดผิว ไดแก โคลนขาว ดินสอพอง ไพล ขมิ้นออย ขมิ้นชัน
มะขามเปยก มะขามปอม มะกรูด เกสรดอกไม นํ้าผึ้ง มะนาว งาดํา
3. ประคบตัว ไดแก ไพล ขมิ้นออย ขมิ้นชัน ตะไคร ใบมะขาม
ใบมะกรูด ใบสมปอย การบูร พิมเสน
4. อบตัว ไดแก เกสรดอกไมทั้ง 5 ชนิด คือ มะลิ กุหลาบ ดอกบัว
หลวง พิกุลและบุนนาค และอาจใชเกสรดอกไมอื่นที่มีกลิ่นหอม
เชน รสสุคนธ ผสมกับการบูร
5. เพิ่มความขาวใสใหกับผิวหนัง ไดแก หมอน มะขาม ชะเอมเทศ
ทานาคา พญารากเดียว โลดทะนง
6. ชะลอรอยเหี่ยวยน ไดแก ชาเขียว บัวบก
7. ทําใหผิวชุมชื้น ไดแก งาดํา หลินจือ
8. อางแชสมุนไพร สมุนไพรที่ใช ไดแก ผลมะกรูด ตะไคร ใบมะกรูด
ขา พิมเสน ทั้งนี้ตองใชนํ้าอุน เพื่อละลายสารที่มีคุณคาจากสมุนไพร
และไดสัมผัสกลิ่นหอมชื่นใจของการบูรและพิมเสน
9. นํ้ามันนวด ไดแก นํ้ามันดอกทานตะวัน ดอกคําฝอย นํ้ามันรํา
ดิบ และ sweet almond oil
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ26
10. นํ้ามันหอมระเหย นํ้ามันหอมระเหยที่ใชเปนหลัก เชน
- กลิ่นสดชื่น ไดแก มะลิ กุหลาบ
- กลิ่นผอนคลาย ไดแก มะลิ โหระพา มะนาว ไพล
- กลิ่นสงบ ไดแก กระดังงา (Ylang-Ylang) ลาเวนเดอร
- กลิ่นมีชีวิตชีวา ไดแก ขิง ขา
อาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
กระแสความนิยมของอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพไดเพิ่มขึ้นอยางมาก
ทั้งนี้เปนเพราะคนเริ่มหันมาสนใจดูแลสุขภาพตัวเองมากขึ้น อาหารไทยมีคุณคา
โภชนาการสูงพรอมกับมีไฟเบอรทําใหไมมีปญหาในเรื่องการขับถาย ดังนั้นจึงมี
การจัดเปนรายการอาหารสําหรับสปาขึ้น ที่ขาดไมไดคือ เครื่องดื่มสมุนไพรที่
มีคุณคาสูง สําหรับประเภทเครื่องดื่มสมุนไพร ควรเนนการใชชนิดที่มีสารตาน
อนุมูลอิสระสูง มีแคลอรี่ตํ่า ไมควรมีคาเฟอีน และแทนนิน ถาเปนไปไดควรงด
การใสนํ้าตาลเนื่องจากใหแคลอรี่สูง ชาสมุนไพรหลายชนิดที่มีคุณสมบัติเชนนี้
เชน ชาหมอน ชามะตูม ชากระเจี๊ยบ สําหรับเครื่องดื่มจากผลไมสดก็ลวนแต
มีคุณคา เชน สับปะรด มะขามปอม แตงโม และผลไมสดตามฤดูกาลชนิดตางๆ
สวนใหญ สมุนไพรที่ใชในสปามักใชในรูปของสด หรือชนิดที่ทําใหแหง
โดยไมไดสกัดใหเขมขน ถามีการพัฒนาผลิตภัณฑใหทันสมัย และสรางความ
นิยมมากขึ้น ควรนําสมุนไพรมาสกัดใหไดสารสกัดเขมขนและกําจัดพวกไฟเบอร
ออกไป แลวจึงไปทําผลิตภัณฑในรูปแบบตาง ๆ เชน โลชั่นและครีมบํารุงผิว
แชมพูสระผมและครีมนวด เครื่องดื่มและชาชงสําเร็จรูป เครื่องสําอางที่ทําให
ผิวขาวใส โดยเฉพาะชุดชะลอความแกทั้งหมดซึ่งประกอบดวย ลดรอยเหี่ยวยน
ทําใหผิวชุมชื่น ปองกันแสงยูวี ตานอนุมูลอิสระ เปนตน ก็จะทําใหไดผลิตภัณฑ
ที่นาใชและทันสมัย ซึ่งจําเปนตองตรวจสอบคุณภาพใหดี สามารถกําหนด
วันหมดอายุที่แนนอนได นอกจากนี้ยังตองมีการประเมินดานความปลอดภัย
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 27
เชน การระคายเคืองผิวหนัง การตรวจสอบเชื้อปนเปอน โลหะหนัก ยาฆาแมลง
เปนตน ทั้งนี้ การผลิตควรเปนไปตามหลักเกณฑที่ดีในการผลิต (Good Manu-
facturing Practice, GMP) เปนอยางนอย เพื่อความมั่นใจวาจะไดผลิตภัณฑที่
ดี มีความปลอดภัย และใชไดผลจริงๆ รวมถึงจัดทําฉลากตามประกาศกระทรวง
สาธารณสุข ปจจุบันมีการใชผลิตภัณฑสมุนไพรในสปามากขึ้น อยางไรก็ตาม
ตองใหแนใจวา ผลิตภัณฑเหลานี้มีความคงตัว สามารถเก็บรักษาไวนานจนถึง
วันหมดอายุ ซึ่งจะรูไดจากการตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพ โดยดูลักษณะ
จากภายนอกและการตรวจทางเคมีสําหรับสาระสําคัญในผลิตภัณฑ
ขอแนะนําในการใชสมุนไพร
1. ศึกษาหาขอมูลของสมุนไพรนั้นๆ กอนนํามาใช
2. ตองใชสมุนไพรใหตรงกับโรคที่ไดวินิจฉัยอยางถูกตองแลว
3. ตองใชสมุนไพรใหถูกตน
4. ตองใชสมุนไพรตามอายุของพืช
5. ตองเตรียมใหถูกวิธี
6. ตองทําความสะอาดทุกขั้นตอน โดยเฉพาะสวนหัวใตดิน
ขอควรระวังในการใชสมุนไพร
1. ใชสมุนไพรใหถูกตน ทั้งนี้เพราะชื่อพืชที่มีชื่อพอง และชื่อซํ้ากัน
มากมาย โดยเฉพาะชื่อที่เรียกกันในแตละทองถิ่นอาจแตกตางกันออกไป ทําให
เกิดการสับสนไดงาย ดังนั้น จึงตองระมัดระวังในการใชสมุนไพรผิดตน เพราะ
นอกจากจะไมไดผลแลวอาจจะมีอันตรายอีกดวย
2. ใชสมุนไพรใหถูกสวน สวนตางๆ ของพืช เชน ราก ตน ใบ
ดอก ผล ใหฤทธิ์ที่แตกตางกัน แมแตผลออน และผลแกของพืชชนิดเดียวกันอาจ
มีฤทธิ์ที่แตกตางกันได เชน กลวยดิบใชเปนยาแกทองเสีย กลวยสุกมีฤทธิ์เปนยา
ระบายออนๆ เปนตน
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ28
3. ใชสมุนไพรใหถูกขนาด การใชสมุนไพรควรใชใหถูกตองตามที่บงไว
ถาใชมากหรือนอยเกินไปอาจไมใหผลในการรักษา และยังอาจทําใหเกิดพิษได
เชน พืชที่มีคาดิแอคกลัยโคไซด ถาใชปริมาณนอยจะมีฤทธิ์บํารุงหัวใจ ถาใช
มากจะทําใหเกิดอันตรายได เปนตน
4. ใชสมุนไพรใหถูกวิธี การใชสมุนไพรแตละชนิดรักษาโรคนั้นมีวิธีใช
แตกตางกันออกไป เชน พืชบางชนิดตองใชใบสดจึงจะใหผลในการรักษา พืชบาง
ชนิดตองนํามาปงไฟกอน การใชที่ผิดวิธีทําใหไดผลในการรักษาไมเต็มที่และอาจ
ทําใหเกิดผลขางเคียงอีกดวย
5. ใชสมุนไพรใหถูกกับโรค คนไขทองผูกตองใชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ระบาย
ถาใชสมุนไพรที่มีฝาดสมานจะทําใหทองผูกมากยิ่งขึ้น
6. ไมควรใชยาเขมขนเกินไป ยาตมควรตมใหเหลือปริมาณนํ้าเทาที่
ระบุไวตามหลักการแพทยแผนโบราณ ถาเคี่ยวยาจนเหลือนอยเกินไปทําใหได
ยาที่มีความเขมขนมาก อาจมีอันตรายได
7. ไมควรใชยาสมุนไพรนานเกินความจําเปน หากใชไประยะหนึ่งแลว
อาการไมดีขึ้นควรไปปรึกษาแพทย อาจเปนไดวาใชยาไมถูกกับโรค
8. ควรระมัดระวังในเรื่องความสะอาด สมุนไพรที่ซื้อมาจากราน
ขายยา ถามีราขึ้นหรือมีแมลง ไมควรใชเพราะอาจทําใหเกิดโรคแทรกซอนได
9. ควรสังเกตอาการเมื่อเริ่มใชวามีอาการผิดปกติหรือไม การใช
สมุนไพรนั้นมีทั้งคุณและโทษ บางคนใชแลวอาจเกิดอาการแพได อาการแพที่อาจ
พบได เชน มีผื่นขึ้นตามตัวคลายลมพิษ เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน หูอื้อ ตามัว
มีอาการชาที่ลิ้น และผิวหนัง ใจสั่น หัวใจเตนเร็ว รูสึกวูบวาบคลายหัวใจจะหยุด
เตน ถามีอาการเหลานี้ ควรหยุดใชและถาแพมากควรรีบไปพบแพทย
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 29
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ30
บทที่ 3
การสรรสรางเอกลักษณสปาไทย
ประเทศไทยไดรับการยกยองจากชาวโลกในเรื่องศิลปะประเพณีที่งดงาม
สถาปตยกรรมที่อลังการรวมถึงเครื่องใชตางๆ ที่ถูกผลิตดวยความละเอียด
ประณีต ที่สําคัญชาวไทยมีความออนชอยออนหวาน และตอนรับชาวตางชาติได
อยางนาประทับใจ
จากขอไดเปรียบดังกลาว สามารถจําแนกเอกลักษณไทยออกไดเปน 2
หลักใหญคือ
1. เอกลักษณไทยที่ปรากฏขึ้นอยางมีหลักฐาน (Evident Identity)
เชน สถาปตยกรรมตางๆ
2. เอกลักษณไทยที่อยูในคนไทย (Habit Identity) เชน ความออนนอม
การเอาอกเอาใจ ทําใหประเทศไทยไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยว
ปละกวา 10 ลานคน เดินทางเขามาชมความเปนเอกลักษณไทยที่
ยิ่งใหญ
การผสมผสานกันระหวางเอกลักษณไทยทั้งสองประการ ไดสรางความ
เปนเอกลักษณเฉพาะตัวที่ไมสามารถหาเอกลักษณใดๆ มาเปรียบเทียบได และ
ไดกลายมาเปนจุดแข็งในดานอุตสาหกรรมบริการที่ไมมีที่ใดจะสามารถลอกเลียน
แบบได
ธุรกิจสปา เปนธุรกิจที่ผสมผสานระหวางภูมิปญญาตะวันออกและ
ภูมิปญญาตะวันตก นับเปนธุรกิจที่มีการเจริญเติบโตขึ้นอยางสูง และจากการ
ที่ธุรกิจมีการเติบโตเร็วกวาความสามารถในการควบคุมของหนวยงานที่รับผิด
ชอบ ทําใหในปจจุบันรูปแบบของสปามีความหลากหลายอยางมาก จนเปนรูป
แบบที่อาจกลาวไดวาไรทิศทางตางคนตางทํา และกอใหเกิดความสับสนวาสปา
ไทยที่ถูกตองควรเปนอยางไร
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 31
เพื่อใหประเทศไทย ซึ่งมีความโดดเดนเรื่องเอกลักษณ สามารถมีสปา
ที่แสดงความโดดเดนในความเปนไทยไดอยางภาคภูมิ หนวยงานและองคกรที่
เกี่ยวของจึงไดรวมกันกําหนดกรอบ และแนวคิดอยางกวางๆ ของเอกลักษณสปา
ไทย เพื่อเปนแนวทางสําหรับผูประกอบธุรกิจสปาในการนําไปประยุกตใช รวมถึง
สอดคลองกับทิศทางของธุรกิจสปาที่เนนภูมิปญญาตะวันออกมากขึ้น
หลักการกําหนดกรอบเอกลักษณสปาไทย
อาศัยการสัมผัสทั้งหาที่ลูกคาทุกคน เมื่อเดินเขาไปในสปาแลวจะสามารถ
สัมผัสไดเปนปจจัยตั้ง และพิจารณาถึงรายละเอียดของรูปแบบสินคาและบริการ
ที่จะสามารถสรางเอกลักษณสปาไทยได โดยการพิจารณาจะเนนถึงการสื่อความ
เปนไทย ไดแก
1. รูป รวมความหมายถึงทุกสิ่งทุกอยางที่สามารถมองเห็นไดดวยตา
สามารถขยายความออกไดเปนขอ ๆ ดังนี้
1.1 รูปแบบอาคาร สิ่งที่สามารถมองเห็นไดชัดเจนจากภายนอกคือ รูป
แบบอาคาร ซึ่งเปนสิ่งที่อาจสรางการรับรูถึงรูปแบบการใหบริการได โดยมาก
สปาทางภาคเหนือจะมีความชัดเจนในดานรูปแบบและรูปทรงของสถาปตยกรรม
เชน สามารถนําบานไมสักมาเปนสปาและสื่อถึงความเปนไทยไดอยางชัดเจน
สวนทางภาคใตนั้นอาจไมมีรูปทรงที่เปนเอกลักษณไทยชัดเจน ทั้งนี้เพราะไดรับ
อิทธิพลจากวัฒนธรรมมลายูมามากจนมีผูกลาววาสิ่งกอสรางทางใตคลายคลึงกับ
สิ่งกอสรางจากอินโดนีเซีย
1.2 การตกแตงสวน การสรางเอกลักษณไทยที่โดดเดนมากอยางหนึ่ง
คือ การตกแตงสวนโดยใชไมโบราณของไทย เชน โมกซอน แกว จําป จําปา
มาปลูกในสวน และสามารถหารูปปนที่สอดคลองกับความเชื่อแบบไทยมาประดับ
จะสามารถสะทอนความเปนไทยไดเปนอยางดี
1.3 การตกแตงภายใน เปนสวนที่สําคัญมากสําหรับการดํารงอยูของ
ธุรกิจ เนื่องจากลูกคาจะใชเวลาอยูในสปาประมาณ 1- 3 ชั่วโมง ดังนั้นการ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ32
ออกแบบภายในจึงมีความสําคัญมาก และการตกแตงภายในยังเปนสวนสําคัญ
มากในการสะทอนเอกลักษณไทย หรือสะทอนแนวความคิดของผูดําเนินการ
ธุรกิจสปานั้น สิ่งที่เปนไทยๆ จะสามารถเริ่มไดตั้งแตพื้น ซึ่งพื้นที่สะทอนความ
เปนไทย ไดแก พื้นไม หรือ พื้นกระเบื้องดินเผา สวนพื้นกระเบื้องแกรนิตนั้น
อาจดูตะวันตกมากเกินไป รวมถึงงานเฟอรนิเจอรที่เนนไปที่ไมมากกวาเหล็กหรือ
อลูมิเนียม การตกแตงผนังซึ่งสามารถทําไดโดยการนําเครื่องตกแตงแบบไทยๆ
หรือ ผาไหมใสกรอบ แมกระทั่งเครื่องจักสานที่สามารถนํามาประดับมุมหองได
สิ่งที่สามารถบอกเอกลักษณในแตละทองถิ่นไดเปนอยางดีคือ ผา ลวดลายการ
ทอผาจะไมเหมือนกันในแตละทองถิ่นนั้น
1.4 เครื่องแบบพนักงาน ซึ่งจะตองเนนเอกลักษณไทยโดยการนําลวดลาย
แบบไทยๆ มาผสมผสานกับผาไทย อยางไรก็ตามเครื่องแบบพนักงานจําเปนตอง
รัดกุม และไมหวือหวาจนเกินไป โดยรักษาความสวยงาม และความคลองตัว
ของพนักงานในการทํางาน
2. รส หมายถึง รสชาด และประโยชนของอาหารและเครื่องดื่ม
เพื่อสุขภาพแบบไทยๆ ที่จัดไวบริการสําหรับลูกคาที่เขามาใชบริการในสปา
สวนประกอบตาง ๆ ของพืชผัก ผลไม ธัญพืช จะถูกนํามาปรุงสดหรือแปรรูปให
เหมาะสมตามฤดูกาล และความนิยมของการบริโภค ปราศจากสารพิษและ
สารปรุงแตง มีกลิ่นและรสตามธรรมชาติ อีกทั้งยังถูกนํามาประยุกตใหเหมาะ
สมกับสภาวะสุขภาพของแตละบุคคล มุงประโยชนเพื่อบํารุงสุขภาพและความ
งดงามเปลงปลั่งของผิวพรรณ
3. กลิ่น หมายถึง การใชศาสตรและศิลปะแหงคันธบําบัด (Aroma-
therapy) ซึ่งเปนกระบวนการและวิธีการในการสงเสริมสุขภาพ และบําบัดรักษา
รางกาย จิตใจ อารมณของมนุษยดวยกลิ่นหอมและนํ้ามันระเหยที่สกัดไดจาก
สวนตางๆ ของพืชสมุนไพรไทย เชน ดอก ใบ ราก ผล เปลือกไม ยางไม และ
กลิ่นหอมที่ไดจากสัตว
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 33
4. เสียง ดนตรีไทยมีความไพเราะครบถวนของอรรถรส ทั้ง เครื่อง
สาย ดีด สี ตีเปา ดนตรีไทยที่ใชบรรเลงในสปาไทย ควรเปนดนตรีของแตละ
ทองถิ่น เพื่อเสริมสรางบรรยากาศใหสอดคลองกลมกลืน รูสึกผอนคลายกับ
ทวงทํานอง โดยในแตละทองถิ่นมีความเปนเอกลักษณเฉพาะที่แตกตางใน 4 ภาค
ดังนี้
4.1 ภาคเหนือ เปนดนตรีที่ประกอบดวยเครื่องสาย เชน สะลอ ซอ
ซึง หรือ พิณเปยะ เปนตน ที่บงถึงความเปนเอกลักษณของชาวลานนา ซึ่งเปน
ทํานองที่ใหอรรถรส ไพเราะและโนมนาวความรูสึกในบทและทํานอง สามารถ
นําชีวิตและจิตใจไปสูสุนทรียภาพ เพราะทวงทํานอง อารมณเพลงที่สอดคลอง
ตอเนื่องกันอยางสมบูรณ
4.2 ภาคอีสาน ประกอบดวยเครื่องเปา เครื่องสาย เครื่องตี เชน
แคน โปงลาง พิณ เปนตน ความพื้นบานแบบงายๆ ที่ผสมผสานกัน ทําใหเกิด
ทวงทํานองที่มีความไพเราะตามแบบฉบับของวัฒนธรรมและทองถิ่น
4.3 ภาคกลาง การนําเอาเครื่องดนตรีหลายอยางๆ มาบรรเลงรวมกัน
เปนวง เชน ขิม ระนาด ซออู ซอดวง ฆองวง เปนตน ทําใหเกิดทวงทํานอง
ที่นาฟงยิ่งนัก
4.4 ภาคใต เสียงเครื่องดนตรีพื้นบานที่มีความไพเราะบงถึงความเปน
เอกลักษณของวัฒนธรรมและทองถิ่น เชน ซอ กลอง เปนตน
5. สัมผัส หมายถึง สัมผัสจากมือในการใหบริการนวด การทําทรีทเมนต
ตางๆ โดยถายทอดความออนโยนแบบไทยๆ ผานการใชลีลาและทาทางตามศาสตร
ศิลปะ และมารยาทแหงการนวด ผลที่ไดตอสุขภาพอันเกิดจากการนวดและการทํา
ทรีทเมนต คือความผอนคลาย เลือดลมเดินสะดวก สงเสริมสุขภาพและความงาม
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ34
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ
คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว Terapong Piriyapan
 
กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือnn ning
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)Kriangkasem
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสSupaluk Juntap
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaNattakorn Sunkdon
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มkunkrooyim
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
Spa Business in Thailand
Spa Business in ThailandSpa Business in Thailand
Spa Business in ThailandThenet Asia
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)Thanuphong Ngoapm
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 

Mais procurados (20)

หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
หน่วยที่ 1 การวางแผนดูเเลสุขภาพของตนเองเเละครอบครัว
 
กรด เบส เกลือ
 กรด เบส เกลือ กรด เบส เกลือ
กรด เบส เกลือ
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบส
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
Spa Business in Thailand
Spa Business in ThailandSpa Business in Thailand
Spa Business in Thailand
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
เมทริกซ์_9วิชาสามัญ(55-58)
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 

Semelhante a คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ

การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง
การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียงการดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง
การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียงCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
พื้นฐานชีวิต 44.pptx
พื้นฐานชีวิต 44.pptxพื้นฐานชีวิต 44.pptx
พื้นฐานชีวิต 44.pptxSunnyStrong
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60Paradee Plodpai
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สินSorasak Tongon
 
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สินSorasak Tongon
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขVorawut Wongumpornpinit
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7ss
 
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทยจู ล่ง
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม Utai Sukviwatsirikul
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกpitsanu duangkartok
 

Semelhante a คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ (20)

Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง
การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียงการดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง
การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง
 
พื้นฐานชีวิต 44.pptx
พื้นฐานชีวิต 44.pptxพื้นฐานชีวิต 44.pptx
พื้นฐานชีวิต 44.pptx
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
 
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
In side-100 story-001-248[1][19]
In side-100 story-001-248[1][19]In side-100 story-001-248[1][19]
In side-100 story-001-248[1][19]
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7
 
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ

  • 1.
  • 2. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 1 คํานํา กิจการสปาเพื่อสุขภาพเปนกิจการที่ตองไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการตามกฎหมาย วาดวยการสาธารณสุข ซึ่งกิจการสปากําลังไดรับความนิยมเปนอยางมากทั้งจากชาวไทย และชาวตางชาติ เนื่องจากชวยผอนคลายความตึงเครียดและความเมื่อยลาจากการทํางาน ปจจุบันในกรุงเทพมหานครมีจํานวนสปาเพื่อสุขภาพที่ไดรับอนุญาตจํานวน 194 แหง และ ที่ยังไมไดรับอนุญาตอีกเปนจํานวนมาก โดยสวนใหญตั้งอยูในยานที่มีนักทองเที่ยวจํานวน มาก จึงมีความจําเปนที่จะตองควบคุมดูแลสถานประกอบการเหลานี้ใหดําเนินการอยางถูก สุขลักษณะ มีความปลอดภัยตอผูใชบริการ เพื่อปองกันโรคติดตอที่อาจเกิดขึ้นจากการใช บริการ เชน โรคติดตอทางเดินหายใจ โรคผิวหนังจากการติดเชื้อที่ปนเปอนในวัสดุ อุปกรณที่ ไมสะอาด เปนตน ซึ่งโรคเหลานี้สามารถติดตอหรือแพรมายังผูรับบริการได หากไมมีการดูแล สุขลักษณะภายในสถานประกอบกิจการและสุขวิทยาสวนบุคคลของผูใหบริการ ดวยเหตุดัง กลาว ในปงบประมาณ 2554 สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร โดยกองสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม จึงไดจัดทําโครงการ“พัฒนายกระดับมาตรฐานสุขลักษณะสถานประกอบกิจการบริการ” ขึ้น เพื่อเฝาระวังและปองกันการเกิดโรคติดตอจากสถานประกอบกิจการบริการในกลุมกิจการสปา สถานที่เสริมสวยและแตงผม และสระวายนํ้า ตลอดจนการสงเสริมสุขลักษณะที่ดีภายใน สถานประกอบการรวมทั้งการจัดทําหนังสือคูมือเพื่อใชเผยแพรแกเจาหนาที่และผูประกอบการ ใชเปนแนวทางการดําเนินกิจการ ซึ่งจะเปนการคุมครองสุขภาพของประชาชนผูใชบริการให ปลอดภัย และเปนการสรางความเชื่อมั่นใหแกนักทองเที่ยวอีกทางหนึ่งดวย หนังสือคูมือ “การสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ” จัดทําขึ้น โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสปาเพื่อสุขภาพ การใชสมุนไพรไทยในสปา การสรรสรางเอกลักษณสปาไทย การนวดเพื่อสุขภาพ การใชนํ้าเพื่อสุขภาพ การจัดการ สุขาภิบาลสิ่งแวดลอม และการจัดการดานความปลอดภัยของผลิตภัณฑเครื่องมือและ อุปกรณที่ใช สุขอนามัยของผูปฏิบัติงาน และกฎหมายที่เกี่ยวของกับกิจการสปาเพื่อสุขภาพ คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือคูมือเลมนี้จะมีประโยชนตอผูที่เกี่ยวของ และขอขอบคุณกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ที่เอื้อเฟอขอมูลเกี่ยวกับ สปาเพื่อสุขภาพมา ณ โอกาสนี้ กองสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม มิถุนายน 2554
  • 3. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ2 สารบัญ บทที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสปาเพื่อสุขภาพ 6 บทที่ 2 การใชสมุนไพรไทยในสปา 24 - อาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ 26 - ขอควรระวังในการใชสมุนไพร 27 บทที่ 3 การสรรสรางเอกลักษณสปาไทย 30 บทที่ 4 การนวดเพื่อสุขภาพ 35 - ประวัติการนวด 36 - วิธีการนวดพื้นฐาน 37 - ประเภทการนวดในสปา 40 บทที่ 5 การใชนํ้าและอุณภูมิเพื่อสุขภาพ 54 - หลักการทั่วไปของการใชนํ้าเพื่อสุขภาพ 58 - รูปแบบของการใชนํ้าเพื่อสุขภาพ 60 บทที่ 6 ผลิตภัณฑ เครื่องมือ และอุปกรณที่ใชในสปา 80 - การเลือกใชเครื่องสําอางอยางปลอดภัย 81 - อันตรายที่อาจเกิดจากการเลือกใชผลิตภัณฑ 87 - การจัดการดานความปลอดภัยของผลิตภัณฑ เครื่องมือ 93 และอุปกรณที่ใชในสปา บทที่ 7 คันธบําบัด (Aromatherapy) 98
  • 4. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 3 บทที่ 8 การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม 124 และสุขอนามัยของผูปฏิบัติงาน - สุขอนามัยของผูใหบริการ 125 - โรคติดตอหรือโรคผิวหนังที่อาจเกิดขึ้นได 129 - การปองกันอุบัติเหตุและความปลอดภัยในสปา 137 - จรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพสปา 138 บทที่ 9 กฎหมายที่เกี่ยวของกับกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 143 ภาคผนวก 159
  • 7. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ6 บทที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสปาเพื่อสุขภาพ (Introduction to Spa Business) แนวคิด ประเทศไทยถือไดวาเปนประเทศแรกที่มีการกําหนดมาตรฐานการบริการดาน สปาเพื่อสุขภาพออกมาอยางชัดเจน โดยมีการกําหนดคําจํากัดความตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่องกําหนดสถานที่เพื่อสุขภาพและเสริมสวยตาม พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ.2509 (แกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 4 พ.ศ.2546) มีใจความดังนี้ “กิจการสปาเพื่อสุขภาพ หมายความวา การประกอบกิจการที่ใหการดูแล และเสริมสรางสุขภาพโดยบริการหลักที่จัดไวประกอบดวยการนวดเพื่อสุขภาพและ การใชนํ้าเพื่อสุขภาพ โดยอาจมีบริการเสริมประกอบดวย เชน การอบเพื่อสุขภาพ การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพโภชนาการบําบัดและการควบคุมอาหาร โยคะ และการ ทําสมาธิ การใชสมุนไพร หรือผลิตภัณฑสุขภาพ ตลอดจนการแพทยทางเลือกอื่นๆ” 1.สปา คืออะไร ความหมายที่ 1 สปา มาจากรากศัพทภาษาละตินวา “Sanitas Per Aquas” หรือ Senare Per Aqua หรือ “Salus Per Aquam” หรือ “Sanare Per Aquam” ซึ่งแปลไดความวา สุขภาพจากสายนํ้า การบําบัดดวย นํ้า หรือการดูแลสุขภาพโดยการใชนํ้า (Health Through Waters or To Heal Through Water) ความหมายที่ 2 สปา มาจากชื่อของเมืองเล็กๆ ใกลกับเมืองลีห(Liege) ทางตะวันออกเฉียงใตของประเทศเบลเยี่ยม ติดกับชายแดนของประเทศเยอรมันนี เปนเมืองที่เปนแหลงของนํ้าพุที่มีแรเหล็กธรรมชาติ เชื่อกันวาในป 1326 ชางเหล็ก ของเมือง Collin le loupe ไดยินชื่อเสียงของนํ้าพุดังกลาวเกี่ยวกับสรรพคุณใน
  • 8. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 7 การรักษาโรคจึงดั้นดนเสาะหาจนพบ และนํ้าพุนั้นสามารถรักษาอาการปวยไข ของเขาใหหายไปไดจริงๆ ภายหลังสถานที่นั้นถูกยกยองใหเปน health resort ที่โดงดังและเปนที่ยอมรับในเรื่องของการรักษาสุขภาพและอาการเจ็บปวยตางๆ ผูคนสวนใหญ รูจักในนามของ Espa ซี่งเปนรากศัพทที่หมายถึงนํ้าพุในปจจุบัน คําดังกลาวถูกใชในภาษาอังกฤษวา spa ซึ่งใชกันอยางแพรหลายในความหมาย ของสถานที่ตากอากาศเพื่อสุขภาพ (health resort) ความหมายที่ 3 สปาอีกหนึ่งความเชื่อที่มีแนวคิดคลายคลึงกันก็คือ spa เปนชื่อหมูบานเล็กๆ แหงหนึ่งในเบลเยี่ยม ที่ซึ่งมีแหลงนํ้าแร หรือนํ้าพุรอนตาม ธรรมชาติปรากฏอยู และถูกคนพบโดยชาวโรมันโบราณ ทหารโรมันนิยมใช นํ้าพุแหงนี้เปนที่รักษาอาการบาดเจ็บกลามเนื้อหรือบาดแผลที่ไดรับจากการสูรบ ความหมายที่ 4 สปา หมายถึงการบําบัดดูแลสุขภาพแบบองครวมดวย วิธีทางธรรมชาติที่ใชนํ้าเปนองคประกอบในการบําบัดควบคูไปกับวิธีทางการแพทย ทางเลือกอื่นๆ โดยใชศาสตรสัมผัสทั้ง 5 ไดแก รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส เปนปจจัยที่สรางภาวะสมดุลระหวางรางกาย จิตใจ จิตวิญญาณ อารมณ ความหมายที่ 5 สปา เปนการบําบัด แบบองครวมที่เนนการปองกัน การเจ็บปวยมากกวาการรักษา Wildwood,Chrissie, 1997 กลาววาการที่ อารมณแปรปรวนมีโอกาสทําใหเกิดการเจ็บปวย จากความหมายขางตนจึงสามารถสรุปไดวา สปา คือ การบําบัดดวยนํ้า การ ดูแลสุขภาพแบบองครวม ภายใตการดูแลของนักบําบัด ผูเชี่ยวชาญหรือแพทย รวมถึงเปน สถานที่ๆใชในการพักผอน เพื่อใหไดมาซึ่งสุขภาพองครวมที่ดี(นภารัตน ศรีละพันธ , 2549) ในเชิงความเชื่อตามประวัติศาสตร สปา หมายถึง สถานที่ที่มีนํ้าพุตามธรรมชาติที่ ซึ่งสามารถบรรเทา และรักษาอาการเจ็บปวยจากโรคภัยตางๆ ได ซึ่งนํ้าเหลานี้สรางศรัทธา และความเชื่อทางจิตวิญญาณอยางมาก โดยยังคงความเปนปริศนาในการบําบัดโรคภัย ในเชิงรวมสมัย เปนสถานที่อํานวยความสะดวก และทุมเทใหกับทั้งทาง
  • 9. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ8 ดานการบําบัดทั้งกายภาพ จิตใจ และอารมณเพื่อใหไดมาซึ่งสุขภาพที่ดีและชีวิตที่ ผาสุก สปาตองใชนํ้าในแงของการใหการรักษาและบําบัด โดยมีพื้นฐานมาจากการ ใชประโยชนของวิตามินและเกลือแรจากธรรมชาติ สปารวมสมัย ยังใหการบรรเทา อาการบาดเจ็บจากการเลนกีฬา ผานการรักษาดวยวิธีทางการแพทยที่ครบครัน ผอนคลายความตึงเครียด ใหการดูแลและทะนุถนอมทั้งความงามทางรางกายและ อารมณ ความรูสึก ณ ปจจุบัน สปาไดสรางเอกลักษณขึ้นมาไดอยางเดนชัด ใน เรื่องของสถานที่และการตกแตงที่คํานึงถึงการอนุรักษธรรมชาติ และรักษาสิ่งแวดลอม 2. องคประกอบของสปา ตามคํานิยามของ The International Spa Association (ISPA) สปาประกอบดวยปจจัยสําคัญ 10 ประการ ไดแก 1. นํ้า (Water) สามารถนําไปใชไดหลายรูปแบบทั้งภายใน เชน การ ดื่ม การกิน และภายนอก เชน การอบ การแช หรือนํามาเปนสวน ประกอบในการบริการและการตกแตงสถานที่ 2. การบํารุง (Nourishment) เชน อาหารสุขภาพ เครื่องดื่มสมุนไพร และสารอาหารบํารุงตางๆ 3. การเคลื่อนไหวและการออกกําลังกาย (Movement,Exercise & Fitness) การเคลื่อนไหวในทาทางที่กอใหเกิดประโยชนตางๆ กัน สรางความกระปรี้กระเปรา เพิ่มพลังงาน เชน การออกกําลังกาย แบบตางๆ การผอนคลายกลามเนื้อ 4. การสัมผัส (Touch) เชน การนวดและการสัมผัสที่สื่อสารความรูสึก ตาง ๆ ใหความรูสึกที่อบอุน ผอนคลาย และบําบัดอาการปวดเมื่อย 5. Integration กิจกรรมสุขภาพที่บูรณาการความสัมพันธที่สอดคลอง กันระหวางกาย ความคิด จิตใจ จิตวิญญาณกับสภาพแวดลอม
  • 10. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 9 6. ศาสตรดานความงาม (Aesthetics) การบํารุงรักษาความงามกับ กระบวนการที่ใชผลิตภัณฑพืชพรรณธรรมชาติสมุนไพรตางๆ ที่มี ผลกับรางกายมนุษย 7. สภาพแวดลอม (Environment) สถานที่ตั้ง ประกอบไปดวยสภาพ แวดลอมที่ดี สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม การออกแบบตบแตง รูปแบบบรรยากาศที่ดี ใหความรูสึกผอนคลาย 8. การแสดงออกถึงศิลปวัฒนธรรม (Art, Culture & Social ) เปน ทั้งศาสตรและศิลปที่สรางความสุนทรียะและประทับใจ ในเวลาที่ ไดพักผอนและมีสังคมที่ดีกับมิตรสหาย 9. เวลา และจังหวะ (Time, Space, Rhythms) ตระหนักถึงการใช เวลาและจังหวะชีวิตที่ไดดูแลสุขภาพใหแกตนเอง มีเวลาปรับเปลี่ยน พฤติกรรมที่ดีตอสุขภาพโดยสอดคลองกับวงจรธรรมชาติ 10. ระบบการบริหารจัดการที่ดี (Management and Operation System) มีการบริหารงานอยางเปนระบบ ......................................................
  • 11. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ10 3. การแบงประเภทสปา ตามคํานิยามของประกาศกระทรวงสาธารณสุข วาดวยเรื่องกําหนด สถานที่เพื่อสุขภาพและเสริมสวย ตามพระบัญญัติสถานบริการ พ.ศ.2509 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4 ) พ.ศ. 2546 ไดกําหนดรูปแบบของธุรกิจเพื่อ สุขภาพ ไว 3 แบบ ดังนี้ 1. กิจการสปาเพื่อสุขภาพ 2. กิจการนวดเพื่อสุขภาพ 3. กิจการนวดเพื่อเสริมสวย กิจการสปาเพื่อสุขภาพ คือ การประกอบกิจการที่ใหการดูแลเสริมสราง สุขภาพ โดยประกอบไปดวยบริการหลักและบริการเสริมประเภทตางๆ บริการหลัก ประกอบดวยการนวดเพื่อสุขภาพ และการใชนํ้าเพื่อสุขภาพ บริการเสริม คือ กิจกรรมตางๆ ที่ควรจัดใหมีอยูในเมนูเพื่อเปนการดึงดูดให ลูกคาสนใจมาใชบริการบอยขึ้น และมีความหลากหลายในสปามากขึ้น ตัวอยาง ของกิจกรรมตางๆ เชน 1. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ 2. การทําสมาธิและโยคะ 3. การอบเพื่อสุขภาพ 4. การแพทยทางเลือก 5. โภชนบําบัดและการควบคุมอาหาร ตามคํานิยามของ The International Spa Association (ISPA – พ.ศ. 2538 ) แบงชนิดของสปาออกเปน 7 ประเภทดังนี้ 1. Club Spa คือ สปาที่ตั้งขึ้นเพื่อใหบริการเฉพาะสมาชิก (Member) โดยเนนการใหความสะดวกสบายและครบครันเกี่ยวกับวัตถุประสงคใน การออกกําลังกายและดูแลสุขภาพรางกาย พรอมกับบริการดานอื่นๆ
  • 12. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 11 2. Day spa คือ สปาที่ตั้งอยูในทําเลที่สะดวกตอการเดินทาง สําหรับลูกคามาใชบริการ เชน ในที่พักอาศัย อาคารพาณิชย หางสรรพสินคา หรือตามสนามบิน โปรแกรมการบริการคอนขาง หลากหลาย ลักษณะผูมาใชบริการจะเปนระยะเวลาสั้นๆ จากการ สํารวจพบวา เปนสปาที่เปดใหบริการมากที่สุด 3. Hotel & Resort Spa คือ สปาที่ตั้งอยูภายในหรือในบริเวณเดียวกัน กับโรงแรมหรือรีสอรท ที่มีสถานที่ออกกําลังกาย อาหาร โปรแกรม บริการมักประกอบดวย การนวดแบบตางๆ เพื่อผอนคลายสําหรับ ผูที่ตองการเปลี่ยนบรรยากาศ และหลีกหนีความจําเจในชีวิตประจํา วัน มักจะมีขนาดใหญกวาเมื่อเทียบกับ Day spa ทั่วไป 4. Cruise Ship Spa คือ สปาที่ตั้งอยูในเรือ โปรแกรมการบริการ ประกอบดวย การนวดแบบตางๆ การออกกําลังกาย กิจกรรมเพื่อ สุขภาพ อาหารเพื่อสุขภาพ 5. Mineral Spring Spa คือ สปาที่ตั้งอยูในสถานที่ที่เปนแหลง นํ้าพุรอน หรือ นํ้าแรธรรมชาติ โปรแกรมการบริการจะเนนการบําบัด โดยการใชความรอนของนํ้า หรือ แรธาตุตางๆ เชน ใชเกลือมาเปน สวนหนึ่งในการบําบัดรักษา ตัวอยางเชน สปาที่ตั้งอยูตามแหลง บอนํ้ารอน ในประเทศญี่ปุนและรัสเซีย ประเทศไทยมีโอกาสที่จะ พัฒนาแหลงนํ้าพุรอนธรรมชาติหลายแหงใหเปนแหลงทองเที่ยวได เปนอยางดีในอนาคต เชน ที่จังหวัดเชียงใหม เชียงราย ระนอง สุราษฏรธานี
  • 13. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ12 6. Destination Spa คือ สปาที่ตั้งขึ้นเพื่อใหการดูแลสุขภาพเปนหลักโดย มีที่พักอยูภายในมีกิจกรรมเพื่อสุขภาพครบวงจร อาหารเพื่อสุขภาพ การออกกําลังกาย การใหความรูดานตางๆ ผูมาใชบริการสวนใหญ มักจะมีความตองการพํานักอยูเปนระยะเวลานาน เพื่อผอนคลาย และปรับปรุงวิถีชีวิตใหดีขึ้น ปรับความสมดุลของรางกายและจิตใจ ลดนํ้าหนัก ออกกําลังกายที่ถูกตอง โดยทีมงานที่เชี่ยวชาญจะเปน ผูพิจารณาจัดโปรแกรมใหเหมาะสมกับลักษณะสุขภาพแตละคน มักตั้งอยูใกลแหลงทรัพยากรทางธรรมชาติโดยสวนใหญจะใช ประโยชนจากแหลงธรรมชาตินั้นเขามาเปนตัวชวยในการจัดกิจกรรม เชน ภูเขา ทะเล นํ้าพุรอน โคลน ฯลฯ 7. Medical Spa คือ สปาที่ตั้งโดยกฎหมายวาดวยสถานพยาบาลโดย มีแพทยและพยาบาลดูแลกํากับ มีวัตถุประสงคเพื่อบําบัดรักษา สุขภาพและความสวยงาม โปรแกรมการบริการประกอบดวย โภชนาการบําบัดและอาหารเพื่อสุขภาพ มีบริการทางการแพทย ใหเลือกทั้งแพทยแผนปจจุบันและการแพทยไทย แผนจีน ฯลฯ มีโปรแกรมการนวดที่รักษาอาการเจ็บปวย เชน การนวดกดจุด การ บําบัดดวยสมุนไพร การปรับโครงสรางรางกาย การสะกดจิต การฝง เข็ม ศัลยกรรมผิวหนัง การตอตานริ้วรอย ผูมาใชบริการสวนใหญ มักจะมีความตองการการพํานักระยะยาวและการบําบัดที่ชี้เฉพาะ เชน การลดนํ้าหนัก การออกกําลังกายที่ถูกตอง การเลิกบุหรี่ เปนตน
  • 14. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 13 4.ประเภทการบริการในสปา เปนการจัดนําเสนอรายการทรีทเมนตตางๆ เพื่อใหผูมาใชบริการไดเลือก โดยมีรายละเอียดแสดงใหทราบถึงประโยชนของการทําทรีทเมนตในแตละชนิด สวนผสมของการใชผลิตภัณฑ ระยะเวลาที่ใชในการทําทรีทเมนต ราคา แนวทาง ในการกําหนดรายกายในสปาเมนู (Spa Menu) ของแตละกิจการจะมีความแตก ตางกันขึ้นอยูกับจุดเดนและความชํานาญของผูประกอบการ การบริการในสปา แบงออกไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ A. บริการหลัก B. บริการเสริม A. บริการหลัก หมายถึง การใหบริการทรีทเมนตที่จําเปนตองมีในสปา ประเภทของการบริการหลักประกอบดวย การนวดเพื่อสุขภาพ และการใชนํ้า เพื่อสุขภาพ
  • 15. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ14 1. การนวดเพื่อสุขภาพ การนวดแบบตะวันออก ไดแก การนวดกดจุดแบบราชสํานัก การ นวดไทยแบบเชลยศักดิ์ การนวดแบบญี่ปุน (Shiatsu) การนวดกดจุด แบบจีน (Reflexology) การนวดแบบอินเดีย (Ayuravedic Massage) และอื่นๆ การนวดแบบตะวันตก ไดแก การนวด อโรมาเทอราพี (Aromatherapy) การนวด แบบสวีดิช(Swedish) และอื่น ๆ ทรีทเมนตความงามและการนวดหนา (Facial Massage) หลักเบื้องตนในการทํา ทรีทเมนตหนาประกอบดวย 6 ขั้นตอน ดังนี้ การลางหนา/การปรับสภาพผิว/การขัดหนา/ การนวดหนา/การพอกหนา/การบํารุงผิวหนา 2. การใชนํ้าเพื่อสุขภาพ ไดแก การอบไอนํ้า การอาบแชนํ้า การประคบดวย นํ้ารอน / นํ้าเย็น การบําบัดในอางนํ้าวน การออกกําลังกายในนํ้า ฯลฯ B. บริการเสริม คือ กิจกรรมตาง ๆ ที่ควรจัดใหมีอยูในเมนู เพื่อเปนการ ดึงดูดใหลูกคาสนใจใหมาใชบริการบอยขึ้นและมีความหลากหลายในสปามากขึ้น ตัวอยางของกิจกรรมตาง ๆ เชน 1. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ 2. การทําสมาธิและโยคะ 3. การอบเพื่อสุขภาพ 4. การแพทยทางเลือก 5. โภชนบําบัดและการควบคุมอาหาร
  • 16. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 15 1. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ 1.1 แอโรบิค (Aerobic) คือ การออกกําลังกายเพื่อเผาผลาญไขมันใน รางกายโดยการใชงานของกลามเนื้อสวนตางๆ ประโยชนของการเตนแอโรบิคจะ ชวยเพิ่มอัตราการเตนของหัวใจ 50 – 90 เปอรเซ็น 1.2 ฟตเนส (Fitness/ Gym) คือ วิธีการทดสอบความยืดหยุน และ ความแข็งแรงของรางกายเปนโปรแกรมการออกกําลังกาย เพื่อปรับปรุงรูปราง ลดไขมัน กระชับรูปทรง หรือเสริมสรางกลามเนื้อ 1.3 ฟตบอล (Fit Ball) เปนการออกกําลังกายที่จะชวยเนนการบริหาร สวนบนของรางกายตั้งแตไหล หนาทอง แผนหลังไปจนถึงตนขา สะโพก และ บั้นทาย การควบคุมแรงดีดกลับของลูกบอลขณะเลน จะชวยเสริมสรางความ แข็งแรงใหกับกลามเนื้อ เพิ่มประสิทธิภาพการทรงตัว และการทํางานของอวัยวะ แตละสวนใหสัมพันธกัน 1.4 ชิบอล ( Chi Ball) ประยุกตขึ้นจากความสมดุลของหยินหยาง หัตถโยคะ และการทําสมาธิ โดยมีอุปกรณ คือ ลูกบอลนุมๆ ขนาดเสนรอบ วง 15 เซนติเมตร ประโยชนของชิบอล ชวยปรับสมดุลและเสริมพลังใหแก รางกาย จิตใจและวิญญาณ ชวยใหพลังไหลผานสวนตาง ๆ ของรางกาย ปรับ สมดุลอยางชาๆ ชวยเพิ่มความยืดหยุนใหกับกลามเนื้อบริเวณซี่โครงและกระบัง ลม ชวยลดนํ้าหนัก กระชับสัดสวนบริเวณบั้นเอว และสะโพก ปจจุบันภายใน ลูกบอลจะบรรจุกลิ่นหอมลงไปดวยทําใหรูสึกสงบและผอนคลาย 1.5 พิลาทิส (Pilates) หลักการเลน “พิลาทิส” จะเนนการออกกําลัง กลามเนื้อใหยืดหยุน กระชับ และแข็งแกรง เปนการผสมผสานการสรางพลัง ใหแกรางกาย กับการมองความสงบคืนสูจิตใจ ชวยใหกลามเนื้อกระชับสวยงาม แบบนักเตนรํา และมีบุคลิกทวงทางดงาม เปนการออกกําลังกายแนวใหมเปน ที่นิยม หากเลนตอเนื่องครึ่งชั่วโมงเปนประจําจะชวยใหหลอดเลือดหัวใจ ปอด
  • 17. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ16 และกระดูกสันหลัง แข็งแรง 1.6 การชกมวย (Boxing) เปนศิลปะการออกกําลังกายแบบไทยๆ ที่ เผาผลาญแคลอรี่ไดมากที่สุดประเภทหนึ่ง และยังเปนการเรียนรูในศิลปะปองกัน ตัวอีกแขนงหนึ่งดวย 1.7 ไทชิ (Tai Chi) เปนศิลปะการตอสูแบบจีน โดยฝกความสัมพันธ ระหวางกายหายใจลึกๆ กับการเคลื่อนไหวทวงทาของรางกายอยางชาๆ เปนการ ทํางานที่ประสานกันระหวางกายกับจิต 1.8 กีฬาประเภทตางๆ 2. การทําสมาธิและโยคะ 2.1 การนั่งสมาธิ (Meditation) คือ การฝกปฏิบัติทางดานจิตใจ โดย สามารถฝกไดหลากหลายวิธี เชน การกําหนดลมหายใจ การเดินจงกรม การ ทําจิตใหวาง มีประโยชนคือ ชวยลดความเครียด และคลายความออนลา อีก ทั้งยังสงเสริมสุขภาพทั่วทั้งรางกาย
  • 18. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 17 2.2 ซี่กง (Qi gong) คือ ศาสตรการแพทยในการรักษาแบบจีน ซึ่งรวม เอาการเคลื่อนไหวและการฝกหายใจไวดวยกัน เพื่อชวยเพิ่มความแข็งแรงใหกับ รางกายและจิตใจ และหากมีการฝกอยางตอเนื่องในระดับหนึ่งจะสามารถชวย บําบัดโรคได 2.3 เรกิ (Reiki) หมายถึง การใชพลังภายในรางกายไหลผานฝามือและ ถายทอดสูอวัยวะอื่น ๆ เปนเทคนิคแบบญี่ปุน ชวยในการผอนคลาย และการไหล เวียนพลังงานภายในรางกาย ทําใหจิตใจสงบ และชวยฟนฟูสภาพรางกายไดดี 2.4 โยคะ (Yoka) เปนศาสตรของฮินดูโบราณประกอบไปดวย การกําหนด ลมหายใจ การยืดและการเหยียดอวัยวะสวนตางๆ ของรางกาย โดยมีทาทาง หลากหลาย ชวยเพิ่มการไหลเวียน เพิ่มความยืดหยุน และความแข็งแรงของ รางกาย โดยยึดหลักความสมดุลกันระหวางรางกายและจิตใจ 3. การอบเพื่อสุขภาพ แบงออกไดเปน 2 ประเภท ไดแก การอบเซานา หองเซานาจะมีลักษณะเหมือนกระทอมที่ทําดวยไมสน เปนทอนๆ หรือเปนแผงที่ซอนกัน โดยมีเสนใยแกวใชเปนฉนวน เพื่อปองกัน ความรอนไมใหออกไปนอกหองและชวยรักษาอากาศรอนในหองใหแหงอยูตลอด เวลา ภายในหองจะมีชั้นตางระดับที่ทําดวยไมสนสําหรับนั่งพักขณะอยูในหอง เซานา หองเซานาจะใหความรอนแบบแหง โดยไมสนจะชวยดูดซับความหนาแนน ที่เกิดจากความรอนในหองเซานา ในหองเซานาจะมีถังใสนํ้าไวเพื่อใชราดกอนหินที่ อยูบนเตาซึ่งทําใหเกิดเปนไอนํ้า อุณหภูมิของเซานาจะอยูระหวาง 50 ํ – 80 ํC การอบไอนํ้า การอบไอนํ้าจะใหความรอนแบบเปยก อุณหภูมิสูงสุด ของทรีทเมนตอบไอนํ้า คือ 45 ํC ความชื้นสัมพัทธประมาณ 92 -97 %
  • 19. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ18 การอบไอนํ้าแบงไดเปน 2 แบบ 1. ตูอบไอนํ้า (Steam cabinets) 2. หองอบไอนํ้า (Steam room) Steam cabinets เปนลักษณะของตูอบไอนํ้าที่ออกแบบมาใหลูกคาเขาไป นั่งไดเพียงคนเดียว และโผลสวนของศีรษะออกมาขางนอก Steam room หองอบไอนํ้า เหมาะสําหรับการใหบริการแกลูกคาหลายๆ คนในเวลาเดียวกัน ทรีทเมนตนี้ไดรับความนิยมมาก ระยะเวลาในการที่หองอบ ไอนํ้าจะรอนจนไดที่ขึ้นอยูกับขนาดของหอง มีทั้งขนาดเล็กสําหรับลูกคาคนเดียว ไปจนถึงขนาดใหญลูกคาสามารถใชบริการไดมากกวา 10 คน 4. การแพทยทางเลือก การแพทยทางเลือก หมายถึง การรักษาโรคหรือความเจ็บปวยดวย วิธีการอื่น ที่มีขั้นตอนการปฏิบัตินอกเหนือไปจากการรักษาที่ไดรับการยอมรับ ในวงการวิทยาศาสตรการแพทย วิธีที่รูจักกันโดยทั่วไป ไดแก การฝงเข็ม การบําบัดดวยนํ้ามันหอม- ระเหย การสะกดจิต ฯลฯ 4.1 การฝงเข็ม คือ วิธีการรักษารูปแบบหนึ่งของจีน โดยการใชพลังงาน ภายในรางกายรักษาตนเอง การฝงเข็มจะใชเข็มที่สะอาดเลมเล็กๆ หลายๆ เลม ฝงลงไปที่ผิวหนังตามจุดสะทอนตางๆ ทั่วรางกาย 4.2 การบําบัดดวยนํ้ามันหอมระเหย คือ การนํานํ้ามันหอมระเหยที่ สกัดไดจากพืชไปใชในทางอายุรเวทเพื่อปรับสมดุลในรางกาย การใชพืชและสาร สกัดที่ไดมาจากพืชแลวนํามาปรุงแตงเปนยารักษาโรค เปนสมุนไพร เพื่อสุขภาพ และชวยบําบัดทางอารมณ 4.3 การสะกดจิต คือ การผสมผสานระหวางจิตวิทยา จิตเวชศาสตร สรีรศาสตร หรือสาธารณสุขศาสตร และวิชาแพทยศาสตรเขาดวยกัน
  • 20. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 19 ประโยชนของการสะกดจิตมีหลายดาน เชน 1. ดานสุขภาพความงาม เชน ลดความอวน เปนตน 2. ดานการศึกษา ทําใหสมาธิดีขึ้น เพิ่มความจําและความสามารถ ในเชิงกีฬา 3. ขจัดนิสัยที่ไมดี เชน ติดบุหรี่ เปนโรคพิษสุราเรื้อรัง เปนตน 4. แกปญหาสมองอันเกี่ยวกับจิตใจ เชน นอนไมหลับ คิดมาก เสนประสาทตึงเครียด 5. โภชนบําบัดและการควบคุมอาหาร อาหารสําหรับสปาสวนใหญเนนไปที่อาหารที่มีไขมันและโคเลสเตอรอล ตํ่า รสชาดออกไปทางจืดหรือหวานเล็กนอย แตจะไมเค็ม รายการอาหารใน สปาจะตองปรับปรุง คิดคน อาหารที่งายตอการยอย แตใหพลังงานเพียงพอ มีประโยชนในการบํารุงรางกาย สงเสริมผิวพรรณใหมีสุขภาพที่ดี อาหารใน สปาสวนใหญจะแสดงปริมาณของแคลอรี่ โปรตีน คารโบไฮเดรต และไขมัน ของอาหารไวชัดเจน วัตถุดิบที่นํามาใชโดยสวนใหญนิยมใชสมุนไพรและผักที่ ปลูกเองโดยปราศจากสารเคมี สปาเมนู (Spa Menu or Sap A la Carte) การเขียนสปาเมนูควรประกอบไปดวย 1. ชื่อทรีทเมนต 2. คําอธิบายเกี่ยวกับทรีทเมนต อันไดแก ที่มา ประโยชนที่ลูกคา พึงไดรับและสาระสําคัญหากทรีทเมนตนั้นตองใชผลิตภัณฑเปนสวนประกอบ 3. เวลาที่ใหบริการ 4. ราคา 5. รูปภาพประกอบ
  • 21. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ20 ตัวอยางสปาเมนู การนวด (Massage Therapy) นวดไทย (Thai Massage) (60 Mins) ดวยเทคนิคการนวดไทยที่ ถูกวิธีและการจับเสนที่ถูกตองจะชวยทําใหเกิดผลที่ดีตอระบบของรางกาย ทําให เลือดลมแลนไดดี ชวยคลายเสนคลายความปวดเมื่อยของกลามเนื้อ นวดสวีดิช (Swedish Massage) (60 Mins) เปนการนวดดวยเทคนิค การสับ ตบ ทุบ ตี เปนจังหวะโดยเนนการลงนํ้าหนัก ชวยใหของเหลวในรางกาย ไหลเวียนดีขึ้น ทําใหผอนคลาย แกเมื่อยและลดเซลลูไลท นวดอโรมา (Aroma Massage) ( 60 Mins) การใชนํ้ามันนวดที่มีสวน สําคัญของนํ้ามันหอมระเหย ผสานดวยเทคนิคการนวดเฉพาะอยางที่ชวยสราง ความสุนทรียทางอารมณ มีกลิ่นหอมติดผิวกาย ทําใหผิวกายนุมนวล ลดความ เมื่อยลา แกปวดเมื่อยตามสวนตางๆ ของรางกาย นวดกดจุดสะทอนฝาเทา (Reflexology) (45 Mins) การนวดกดจุด ฝาเทาเปนการปรับสมดุลของระบบการทํางานภายในรางกาย ชวยสงเสริมการ ไหลเวียนโลหิตบริเวณเทา สรางความสบายและผอนคลายความเมื่อยลาทั้งระบบ นวดประคบสมุนไพร (Thai Herbal Massage Bag) (45 Mins) ลูกประคบสมุนไพรบดละเอียดดวยสวนผสมของไพล มะกรูด ตะไคร ใบมะขาม และการบูร สวนผสมทั้งหมดชวยกระตุนการไหลเวียนโลหิต บรรเทาอาการเจ็บ ปวดและเมื่อยลาของกลามเนื้อ กลิ่มหอมของสมุนไพรชวยใหเกิดการผอนคลาย ความเครียดไดเปนอยางดี การขัดผิวดวยเกลือ (Salt glow) (30 Mins) การขัดผิวเปนวิธีที่ชวย ทําใหผิวสะอาด สดใส เกลี้ยงเกลา ทําใหผิวเปลงปลั่งเปนสีชมพูและนุมนวล ดวยคุณสมบัติของเกลือยังชวยในการสมานผิวดวย
  • 22. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 21 การพอกบํารุงตัวดวยผลไมไทย (Thai Fruit) (30 Mins) การพอกตัวดวย ผลไมไทยอุดมดวยวิตามินและเอนไซมชวยทําใหผิวขาวสดใส คืนความเปลงปลั่ง ใหผิว ทําใหผิวชั้นบนสะอาด การพอกบํารุงตัวดวยสมุนไพร (Thai Herbal Wrap) (30 Mins) ดวย เทคนิคการหอตัวและคุณสมบัติจากสมุนไพรธรรมชาติ มีประโยชนชวยขจัดเซลล ผิวที่เสื่อมสภาพ รักษาความชุมชื่นของผิวใหคงอยู อีกทั้งยังชวยบํารุงผิวให ชุมชื่น แข็งแรง การพอกตัวดวยโคลน (Mud Wrap) (30 Mins) เปนการนําเอาคุณสมบัติ ของโคลนซึ่งมีที่มาจากหลายประเทศ เชน Dead Sea, Romania หรือภูโคลน ในประเทศไทยนํามาขัดและพอกผิวชวยผลัดเปลี่ยนเซลลผิว ขจัดสารพิษที่ตกคาง ทําใหผิวสะอาดและนุมนวลอยูเสมอ ตัวอยางสปาเมนู ตัวอยางโปรแกรมความงามหนา Spa Facial Treatment ชุดทําความสะอาดอยางลํ้าลึก (Deep Cleansing Treatmenat) (50 Mins) ทรีทเมนตเพื่อการทําความสะอาดผิว ขจัดเซลลผิวที่เสื่อมสภาพ ทําให ผิวหนาสะอาดสดใสและเรียบเนียน สีผิวสมํ่าเสมอทั่วใบหนา ชุดบํารุงดวยสมุนไพรธรรมชาติ (Thai Herbal Treatment) (80 Mins) ทรีทเมนตดูแลผิวบนใบหนาดวยคุณสมบัติสําคัญที่ไดจากสมุนไพรธรรมชาติ ชวย ทําใหผิวเย็นสบาย ลดอาการระคายเคืองตอผิว บํารุงผิวใหชุมชื่น ชุดบํารุงใหความชุมชื่นผิว ( Moisturizing Treatment) (80 Mins) ทรีทเมนตคืนความชุมชื่นตามธรรมชาติโดยการใหนํ้าแกผิวทําใหผิวเปลงปลั่ง เตงตึง สดใส
  • 23. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ22 การบํารุงเล็บมือและเทา (Nail Treatment) การทําเล็บมือ (Manicure) การทําเล็บเทา (Pedicure) มือและเทาเปน อวัยวะที่มีการใชงานหนักอยูตลอดเวลา การทําเล็บมือและเล็บเทา จึงเปนทรีทเมนต ที่ใหความทนุถนอมเล็บมือและเล็บเทาใหสะอาด นุมนวล มีกลิ่นหอมนาสัมผัส
  • 25. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ24 บทที่ 2 การใชสมุนไพรไทยในสปา สปา เปนคําที่อิงกับการใชนํ้าเพื่อการบําบัดรางกาย เพื่อใหเกิดความ สมดุล ใหรูสึกผอนคลายและสบายตัว ซึ่งอาจมีการใชนํ้าในรูปแบบตางๆ เชน อางนํ้าแร เปนตน ทั้งนี้เพื่อใหมีผลตอผิวหนังและรางกายชวยใหผิวพรรณดีขึ้น ชวยใน การไหลเวียนโลหิตใหดีขึ้น โดยเฉพาะเมื่อมีการใชนํ้าอุน รูปแบบของสปาดั้งเดิม เปนการใชนํ้าเพื่อการบําบัดและผอนคลายเปนหลัก ทําใหเกิดความรูสึกผอนคลาย ทั้งรางกายและจิตใจ ในปจจุบันรูปแบบของสปาถูกปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับสิ่ง แวดลอมและกาลเวลา เพื่อใหผูที่เขามาใชบริการในสปาไดรับและชื่นชมในประสาท สัมผัสทั้ง 5 อยางคือ รูป รส กลิ่น เสียงและสัมผัส ซึ่งจะประกอบดวยสิ่งที่ เรียกวา ทรีทเมนต (Treatment) หลัก 4 อยาง คือ การนวดแบบตางๆ การทรีท เมนตหนา การทรีทเมนตตัว หนาและลําตัว จะมีขั้นตอนตางๆ 10 ขั้นตอน ตาม ลําดับ ประกอบดวย การลางและทําความสะอาด (cleanse) การขัด (scrub) การบํารุงฟนฟู (tonic) การกดและการคลึง (compress) การนวด(massage) การพอก (mask) การอบ (steam) การอาบ (bath) การแช (soak) และการ เพิ่มความชุมชื่น (moisturize) จะเห็นไดวาทุกขั้นตอนจะมีการใชผลิตภัณฑอยาง ใดอยางหนึ่งเสมอ และผลิตภัณฑจากสมุนไพรก็เปนผลิตภัณฑหนึ่งที่ไดรับความ นิยมอยูในขณะนี้ โดยเฉพาะสมุนไพรที่มีคุณคาสูงและมีประโยชนตอรางกายและ ผิวพรรณ ซึ่งประโยชนจากสมุนไพรเหลานี้มีการใชในเรื่องการนวดดวย และ นอกจากนี้บทบาทสําคัญของสมุนไพรที่มีกลิ่นหอมทั้งหลาย คือ อโรมาเธอราป (Aromatherapy) หรือศัพทราชบัณฑิตยสถานคือ “คันธบําบัด” ซึ่งจะชวยผอน คลายทั้งรางกายและจิตใจ ประโยชนของสมุนไพรที่มีการใชมาตั้งแตโบราณและ กําลังเปนที่นิยมในตอนนี้ คือการดื่มหรือรับประทานเพื่อบํารุงสุขภาพซึ่งสมุนไพร ทั้งหมดจะถูกนํามาใชผสมผสานอยางลงตัวในสปา
  • 26. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 25 ดังนั้น สปาจึงเปนแนวทางหนึ่งของระบบปองกันดูแลสุขภาพและสอดคลอง กับหลักทฤษฎีการแพทยแผนไทยและการแพทยแผนตะวันออกทั้งหมด สมุนไพรที่ใชในสปา 1. ผงหรือครีมสําหรับขัดหนา นวดตัวและพอกหนา สมุนไพรที่ใชเปน หลักคือ ขมิ้นชัน ไพล ขมิ้นออย วานนางคํา แตงกวา และนํ้าผึ้ง 2. พอกตัว ขัดผิว ไดแก โคลนขาว ดินสอพอง ไพล ขมิ้นออย ขมิ้นชัน มะขามเปยก มะขามปอม มะกรูด เกสรดอกไม นํ้าผึ้ง มะนาว งาดํา 3. ประคบตัว ไดแก ไพล ขมิ้นออย ขมิ้นชัน ตะไคร ใบมะขาม ใบมะกรูด ใบสมปอย การบูร พิมเสน 4. อบตัว ไดแก เกสรดอกไมทั้ง 5 ชนิด คือ มะลิ กุหลาบ ดอกบัว หลวง พิกุลและบุนนาค และอาจใชเกสรดอกไมอื่นที่มีกลิ่นหอม เชน รสสุคนธ ผสมกับการบูร 5. เพิ่มความขาวใสใหกับผิวหนัง ไดแก หมอน มะขาม ชะเอมเทศ ทานาคา พญารากเดียว โลดทะนง 6. ชะลอรอยเหี่ยวยน ไดแก ชาเขียว บัวบก 7. ทําใหผิวชุมชื้น ไดแก งาดํา หลินจือ 8. อางแชสมุนไพร สมุนไพรที่ใช ไดแก ผลมะกรูด ตะไคร ใบมะกรูด ขา พิมเสน ทั้งนี้ตองใชนํ้าอุน เพื่อละลายสารที่มีคุณคาจากสมุนไพร และไดสัมผัสกลิ่นหอมชื่นใจของการบูรและพิมเสน 9. นํ้ามันนวด ไดแก นํ้ามันดอกทานตะวัน ดอกคําฝอย นํ้ามันรํา ดิบ และ sweet almond oil
  • 27. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ26 10. นํ้ามันหอมระเหย นํ้ามันหอมระเหยที่ใชเปนหลัก เชน - กลิ่นสดชื่น ไดแก มะลิ กุหลาบ - กลิ่นผอนคลาย ไดแก มะลิ โหระพา มะนาว ไพล - กลิ่นสงบ ไดแก กระดังงา (Ylang-Ylang) ลาเวนเดอร - กลิ่นมีชีวิตชีวา ไดแก ขิง ขา อาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ กระแสความนิยมของอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพไดเพิ่มขึ้นอยางมาก ทั้งนี้เปนเพราะคนเริ่มหันมาสนใจดูแลสุขภาพตัวเองมากขึ้น อาหารไทยมีคุณคา โภชนาการสูงพรอมกับมีไฟเบอรทําใหไมมีปญหาในเรื่องการขับถาย ดังนั้นจึงมี การจัดเปนรายการอาหารสําหรับสปาขึ้น ที่ขาดไมไดคือ เครื่องดื่มสมุนไพรที่ มีคุณคาสูง สําหรับประเภทเครื่องดื่มสมุนไพร ควรเนนการใชชนิดที่มีสารตาน อนุมูลอิสระสูง มีแคลอรี่ตํ่า ไมควรมีคาเฟอีน และแทนนิน ถาเปนไปไดควรงด การใสนํ้าตาลเนื่องจากใหแคลอรี่สูง ชาสมุนไพรหลายชนิดที่มีคุณสมบัติเชนนี้ เชน ชาหมอน ชามะตูม ชากระเจี๊ยบ สําหรับเครื่องดื่มจากผลไมสดก็ลวนแต มีคุณคา เชน สับปะรด มะขามปอม แตงโม และผลไมสดตามฤดูกาลชนิดตางๆ สวนใหญ สมุนไพรที่ใชในสปามักใชในรูปของสด หรือชนิดที่ทําใหแหง โดยไมไดสกัดใหเขมขน ถามีการพัฒนาผลิตภัณฑใหทันสมัย และสรางความ นิยมมากขึ้น ควรนําสมุนไพรมาสกัดใหไดสารสกัดเขมขนและกําจัดพวกไฟเบอร ออกไป แลวจึงไปทําผลิตภัณฑในรูปแบบตาง ๆ เชน โลชั่นและครีมบํารุงผิว แชมพูสระผมและครีมนวด เครื่องดื่มและชาชงสําเร็จรูป เครื่องสําอางที่ทําให ผิวขาวใส โดยเฉพาะชุดชะลอความแกทั้งหมดซึ่งประกอบดวย ลดรอยเหี่ยวยน ทําใหผิวชุมชื่น ปองกันแสงยูวี ตานอนุมูลอิสระ เปนตน ก็จะทําใหไดผลิตภัณฑ ที่นาใชและทันสมัย ซึ่งจําเปนตองตรวจสอบคุณภาพใหดี สามารถกําหนด วันหมดอายุที่แนนอนได นอกจากนี้ยังตองมีการประเมินดานความปลอดภัย
  • 28. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 27 เชน การระคายเคืองผิวหนัง การตรวจสอบเชื้อปนเปอน โลหะหนัก ยาฆาแมลง เปนตน ทั้งนี้ การผลิตควรเปนไปตามหลักเกณฑที่ดีในการผลิต (Good Manu- facturing Practice, GMP) เปนอยางนอย เพื่อความมั่นใจวาจะไดผลิตภัณฑที่ ดี มีความปลอดภัย และใชไดผลจริงๆ รวมถึงจัดทําฉลากตามประกาศกระทรวง สาธารณสุข ปจจุบันมีการใชผลิตภัณฑสมุนไพรในสปามากขึ้น อยางไรก็ตาม ตองใหแนใจวา ผลิตภัณฑเหลานี้มีความคงตัว สามารถเก็บรักษาไวนานจนถึง วันหมดอายุ ซึ่งจะรูไดจากการตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพ โดยดูลักษณะ จากภายนอกและการตรวจทางเคมีสําหรับสาระสําคัญในผลิตภัณฑ ขอแนะนําในการใชสมุนไพร 1. ศึกษาหาขอมูลของสมุนไพรนั้นๆ กอนนํามาใช 2. ตองใชสมุนไพรใหตรงกับโรคที่ไดวินิจฉัยอยางถูกตองแลว 3. ตองใชสมุนไพรใหถูกตน 4. ตองใชสมุนไพรตามอายุของพืช 5. ตองเตรียมใหถูกวิธี 6. ตองทําความสะอาดทุกขั้นตอน โดยเฉพาะสวนหัวใตดิน ขอควรระวังในการใชสมุนไพร 1. ใชสมุนไพรใหถูกตน ทั้งนี้เพราะชื่อพืชที่มีชื่อพอง และชื่อซํ้ากัน มากมาย โดยเฉพาะชื่อที่เรียกกันในแตละทองถิ่นอาจแตกตางกันออกไป ทําให เกิดการสับสนไดงาย ดังนั้น จึงตองระมัดระวังในการใชสมุนไพรผิดตน เพราะ นอกจากจะไมไดผลแลวอาจจะมีอันตรายอีกดวย 2. ใชสมุนไพรใหถูกสวน สวนตางๆ ของพืช เชน ราก ตน ใบ ดอก ผล ใหฤทธิ์ที่แตกตางกัน แมแตผลออน และผลแกของพืชชนิดเดียวกันอาจ มีฤทธิ์ที่แตกตางกันได เชน กลวยดิบใชเปนยาแกทองเสีย กลวยสุกมีฤทธิ์เปนยา ระบายออนๆ เปนตน
  • 29. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ28 3. ใชสมุนไพรใหถูกขนาด การใชสมุนไพรควรใชใหถูกตองตามที่บงไว ถาใชมากหรือนอยเกินไปอาจไมใหผลในการรักษา และยังอาจทําใหเกิดพิษได เชน พืชที่มีคาดิแอคกลัยโคไซด ถาใชปริมาณนอยจะมีฤทธิ์บํารุงหัวใจ ถาใช มากจะทําใหเกิดอันตรายได เปนตน 4. ใชสมุนไพรใหถูกวิธี การใชสมุนไพรแตละชนิดรักษาโรคนั้นมีวิธีใช แตกตางกันออกไป เชน พืชบางชนิดตองใชใบสดจึงจะใหผลในการรักษา พืชบาง ชนิดตองนํามาปงไฟกอน การใชที่ผิดวิธีทําใหไดผลในการรักษาไมเต็มที่และอาจ ทําใหเกิดผลขางเคียงอีกดวย 5. ใชสมุนไพรใหถูกกับโรค คนไขทองผูกตองใชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ระบาย ถาใชสมุนไพรที่มีฝาดสมานจะทําใหทองผูกมากยิ่งขึ้น 6. ไมควรใชยาเขมขนเกินไป ยาตมควรตมใหเหลือปริมาณนํ้าเทาที่ ระบุไวตามหลักการแพทยแผนโบราณ ถาเคี่ยวยาจนเหลือนอยเกินไปทําใหได ยาที่มีความเขมขนมาก อาจมีอันตรายได 7. ไมควรใชยาสมุนไพรนานเกินความจําเปน หากใชไประยะหนึ่งแลว อาการไมดีขึ้นควรไปปรึกษาแพทย อาจเปนไดวาใชยาไมถูกกับโรค 8. ควรระมัดระวังในเรื่องความสะอาด สมุนไพรที่ซื้อมาจากราน ขายยา ถามีราขึ้นหรือมีแมลง ไมควรใชเพราะอาจทําใหเกิดโรคแทรกซอนได 9. ควรสังเกตอาการเมื่อเริ่มใชวามีอาการผิดปกติหรือไม การใช สมุนไพรนั้นมีทั้งคุณและโทษ บางคนใชแลวอาจเกิดอาการแพได อาการแพที่อาจ พบได เชน มีผื่นขึ้นตามตัวคลายลมพิษ เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน หูอื้อ ตามัว มีอาการชาที่ลิ้น และผิวหนัง ใจสั่น หัวใจเตนเร็ว รูสึกวูบวาบคลายหัวใจจะหยุด เตน ถามีอาการเหลานี้ ควรหยุดใชและถาแพมากควรรีบไปพบแพทย
  • 31. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ30 บทที่ 3 การสรรสรางเอกลักษณสปาไทย ประเทศไทยไดรับการยกยองจากชาวโลกในเรื่องศิลปะประเพณีที่งดงาม สถาปตยกรรมที่อลังการรวมถึงเครื่องใชตางๆ ที่ถูกผลิตดวยความละเอียด ประณีต ที่สําคัญชาวไทยมีความออนชอยออนหวาน และตอนรับชาวตางชาติได อยางนาประทับใจ จากขอไดเปรียบดังกลาว สามารถจําแนกเอกลักษณไทยออกไดเปน 2 หลักใหญคือ 1. เอกลักษณไทยที่ปรากฏขึ้นอยางมีหลักฐาน (Evident Identity) เชน สถาปตยกรรมตางๆ 2. เอกลักษณไทยที่อยูในคนไทย (Habit Identity) เชน ความออนนอม การเอาอกเอาใจ ทําใหประเทศไทยไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยว ปละกวา 10 ลานคน เดินทางเขามาชมความเปนเอกลักษณไทยที่ ยิ่งใหญ การผสมผสานกันระหวางเอกลักษณไทยทั้งสองประการ ไดสรางความ เปนเอกลักษณเฉพาะตัวที่ไมสามารถหาเอกลักษณใดๆ มาเปรียบเทียบได และ ไดกลายมาเปนจุดแข็งในดานอุตสาหกรรมบริการที่ไมมีที่ใดจะสามารถลอกเลียน แบบได ธุรกิจสปา เปนธุรกิจที่ผสมผสานระหวางภูมิปญญาตะวันออกและ ภูมิปญญาตะวันตก นับเปนธุรกิจที่มีการเจริญเติบโตขึ้นอยางสูง และจากการ ที่ธุรกิจมีการเติบโตเร็วกวาความสามารถในการควบคุมของหนวยงานที่รับผิด ชอบ ทําใหในปจจุบันรูปแบบของสปามีความหลากหลายอยางมาก จนเปนรูป แบบที่อาจกลาวไดวาไรทิศทางตางคนตางทํา และกอใหเกิดความสับสนวาสปา ไทยที่ถูกตองควรเปนอยางไร
  • 32. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 31 เพื่อใหประเทศไทย ซึ่งมีความโดดเดนเรื่องเอกลักษณ สามารถมีสปา ที่แสดงความโดดเดนในความเปนไทยไดอยางภาคภูมิ หนวยงานและองคกรที่ เกี่ยวของจึงไดรวมกันกําหนดกรอบ และแนวคิดอยางกวางๆ ของเอกลักษณสปา ไทย เพื่อเปนแนวทางสําหรับผูประกอบธุรกิจสปาในการนําไปประยุกตใช รวมถึง สอดคลองกับทิศทางของธุรกิจสปาที่เนนภูมิปญญาตะวันออกมากขึ้น หลักการกําหนดกรอบเอกลักษณสปาไทย อาศัยการสัมผัสทั้งหาที่ลูกคาทุกคน เมื่อเดินเขาไปในสปาแลวจะสามารถ สัมผัสไดเปนปจจัยตั้ง และพิจารณาถึงรายละเอียดของรูปแบบสินคาและบริการ ที่จะสามารถสรางเอกลักษณสปาไทยได โดยการพิจารณาจะเนนถึงการสื่อความ เปนไทย ไดแก 1. รูป รวมความหมายถึงทุกสิ่งทุกอยางที่สามารถมองเห็นไดดวยตา สามารถขยายความออกไดเปนขอ ๆ ดังนี้ 1.1 รูปแบบอาคาร สิ่งที่สามารถมองเห็นไดชัดเจนจากภายนอกคือ รูป แบบอาคาร ซึ่งเปนสิ่งที่อาจสรางการรับรูถึงรูปแบบการใหบริการได โดยมาก สปาทางภาคเหนือจะมีความชัดเจนในดานรูปแบบและรูปทรงของสถาปตยกรรม เชน สามารถนําบานไมสักมาเปนสปาและสื่อถึงความเปนไทยไดอยางชัดเจน สวนทางภาคใตนั้นอาจไมมีรูปทรงที่เปนเอกลักษณไทยชัดเจน ทั้งนี้เพราะไดรับ อิทธิพลจากวัฒนธรรมมลายูมามากจนมีผูกลาววาสิ่งกอสรางทางใตคลายคลึงกับ สิ่งกอสรางจากอินโดนีเซีย 1.2 การตกแตงสวน การสรางเอกลักษณไทยที่โดดเดนมากอยางหนึ่ง คือ การตกแตงสวนโดยใชไมโบราณของไทย เชน โมกซอน แกว จําป จําปา มาปลูกในสวน และสามารถหารูปปนที่สอดคลองกับความเชื่อแบบไทยมาประดับ จะสามารถสะทอนความเปนไทยไดเปนอยางดี 1.3 การตกแตงภายใน เปนสวนที่สําคัญมากสําหรับการดํารงอยูของ ธุรกิจ เนื่องจากลูกคาจะใชเวลาอยูในสปาประมาณ 1- 3 ชั่วโมง ดังนั้นการ
  • 33. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ32 ออกแบบภายในจึงมีความสําคัญมาก และการตกแตงภายในยังเปนสวนสําคัญ มากในการสะทอนเอกลักษณไทย หรือสะทอนแนวความคิดของผูดําเนินการ ธุรกิจสปานั้น สิ่งที่เปนไทยๆ จะสามารถเริ่มไดตั้งแตพื้น ซึ่งพื้นที่สะทอนความ เปนไทย ไดแก พื้นไม หรือ พื้นกระเบื้องดินเผา สวนพื้นกระเบื้องแกรนิตนั้น อาจดูตะวันตกมากเกินไป รวมถึงงานเฟอรนิเจอรที่เนนไปที่ไมมากกวาเหล็กหรือ อลูมิเนียม การตกแตงผนังซึ่งสามารถทําไดโดยการนําเครื่องตกแตงแบบไทยๆ หรือ ผาไหมใสกรอบ แมกระทั่งเครื่องจักสานที่สามารถนํามาประดับมุมหองได สิ่งที่สามารถบอกเอกลักษณในแตละทองถิ่นไดเปนอยางดีคือ ผา ลวดลายการ ทอผาจะไมเหมือนกันในแตละทองถิ่นนั้น 1.4 เครื่องแบบพนักงาน ซึ่งจะตองเนนเอกลักษณไทยโดยการนําลวดลาย แบบไทยๆ มาผสมผสานกับผาไทย อยางไรก็ตามเครื่องแบบพนักงานจําเปนตอง รัดกุม และไมหวือหวาจนเกินไป โดยรักษาความสวยงาม และความคลองตัว ของพนักงานในการทํางาน 2. รส หมายถึง รสชาด และประโยชนของอาหารและเครื่องดื่ม เพื่อสุขภาพแบบไทยๆ ที่จัดไวบริการสําหรับลูกคาที่เขามาใชบริการในสปา สวนประกอบตาง ๆ ของพืชผัก ผลไม ธัญพืช จะถูกนํามาปรุงสดหรือแปรรูปให เหมาะสมตามฤดูกาล และความนิยมของการบริโภค ปราศจากสารพิษและ สารปรุงแตง มีกลิ่นและรสตามธรรมชาติ อีกทั้งยังถูกนํามาประยุกตใหเหมาะ สมกับสภาวะสุขภาพของแตละบุคคล มุงประโยชนเพื่อบํารุงสุขภาพและความ งดงามเปลงปลั่งของผิวพรรณ 3. กลิ่น หมายถึง การใชศาสตรและศิลปะแหงคันธบําบัด (Aroma- therapy) ซึ่งเปนกระบวนการและวิธีการในการสงเสริมสุขภาพ และบําบัดรักษา รางกาย จิตใจ อารมณของมนุษยดวยกลิ่นหอมและนํ้ามันระเหยที่สกัดไดจาก สวนตางๆ ของพืชสมุนไพรไทย เชน ดอก ใบ ราก ผล เปลือกไม ยางไม และ กลิ่นหอมที่ไดจากสัตว
  • 34. คู่มือการสุขาภิบาลสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพ 33 4. เสียง ดนตรีไทยมีความไพเราะครบถวนของอรรถรส ทั้ง เครื่อง สาย ดีด สี ตีเปา ดนตรีไทยที่ใชบรรเลงในสปาไทย ควรเปนดนตรีของแตละ ทองถิ่น เพื่อเสริมสรางบรรยากาศใหสอดคลองกลมกลืน รูสึกผอนคลายกับ ทวงทํานอง โดยในแตละทองถิ่นมีความเปนเอกลักษณเฉพาะที่แตกตางใน 4 ภาค ดังนี้ 4.1 ภาคเหนือ เปนดนตรีที่ประกอบดวยเครื่องสาย เชน สะลอ ซอ ซึง หรือ พิณเปยะ เปนตน ที่บงถึงความเปนเอกลักษณของชาวลานนา ซึ่งเปน ทํานองที่ใหอรรถรส ไพเราะและโนมนาวความรูสึกในบทและทํานอง สามารถ นําชีวิตและจิตใจไปสูสุนทรียภาพ เพราะทวงทํานอง อารมณเพลงที่สอดคลอง ตอเนื่องกันอยางสมบูรณ 4.2 ภาคอีสาน ประกอบดวยเครื่องเปา เครื่องสาย เครื่องตี เชน แคน โปงลาง พิณ เปนตน ความพื้นบานแบบงายๆ ที่ผสมผสานกัน ทําใหเกิด ทวงทํานองที่มีความไพเราะตามแบบฉบับของวัฒนธรรมและทองถิ่น 4.3 ภาคกลาง การนําเอาเครื่องดนตรีหลายอยางๆ มาบรรเลงรวมกัน เปนวง เชน ขิม ระนาด ซออู ซอดวง ฆองวง เปนตน ทําใหเกิดทวงทํานอง ที่นาฟงยิ่งนัก 4.4 ภาคใต เสียงเครื่องดนตรีพื้นบานที่มีความไพเราะบงถึงความเปน เอกลักษณของวัฒนธรรมและทองถิ่น เชน ซอ กลอง เปนตน 5. สัมผัส หมายถึง สัมผัสจากมือในการใหบริการนวด การทําทรีทเมนต ตางๆ โดยถายทอดความออนโยนแบบไทยๆ ผานการใชลีลาและทาทางตามศาสตร ศิลปะ และมารยาทแหงการนวด ผลที่ไดตอสุขภาพอันเกิดจากการนวดและการทํา ทรีทเมนต คือความผอนคลาย เลือดลมเดินสะดวก สงเสริมสุขภาพและความงาม