SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 110
Baixar para ler offline
ชื่อหนังสือ : หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
เขตตรวจราชการที่ 17 : กระทรวงสาธารณสุข
วิเคราะหและเรียบเรียงโดย : นายแพทยวีระชัย สิทธิปยะสกุล ผูอํานวยการศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก
นางสาวลีลานุช สุเทพารักษ นางคมขํา สิงหะ นางสาวกรรณิการ สุวรรณ
นางลฎาภา อุตสม นางสาวนิศรา พงษพานิช นางสาวพูนศิริ ฤทธิรอน
และ นายพิพัฒนา หาแกว ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก
ISBN : 978-616-11-0399-6
จํานวนที่พิมพ : 750 เลม
พิมพครั้งที่ 1 : สิงหาคม 2553
พิมพที่ : เกวลีการพิมพ 60/4 ตําบลวัดเกต อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม
โทร.0-5330-6508
ภาพประกอบ : นางสวกรรณิการ สุวรรณ นายพิพัฒนา หาแกว
ปก : นางสาวปฏิญญา ศรีสุข
ออกแบบและจัดหนา : นางสาวกรรณิการ สุวรรณ นายพิพัฒน หาแกว
1หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
คํานิยาม
โดยนายแพทยวีระชัย สิทธิปยะสกุล
ผูอํานวยการศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก
หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะโรคอวน
เลมนี้เกิดจากความพยายามของทีม DPAC ของศูนยอนามัยที่ 9
พิษณุโลก หลังจากรับนโยบายจากกรมอนามัยดานยุทธศาสตรแกไข
ปญหาโรคอวนคนไทย (คนไทยไรพุง) ตั้งแต พ.ศ.2550 การพัฒนาเริ่ม
จากการลองผิดลองถูก แตก็มีหลักในการพัฒนาหลักสูตรวาตองฟงงาย
และเขาใจ สามารถนําไปปฏิบัติใชในชีวิตประจําวัน เพื่อสรางความ
ตระหนักดานสุขภาพ ในการกิน การออกกําลังกายที่ตรงตามวิถีชีวิตของ
ชาวบานจริง ๆ ผมถือวาเปนเรื่องสําคัญและใหการติดตาม ถามไถ
ความกาวหนาตลอดมา ประกอบกับผมไดรับความรูใหมๆดาน “Eating and Exercise Strategy” เมื่อครั้งผม
ไปฝกอบรม “Advance Executive Program ที่ Kellogg School of Management , North western University
ในชวงมิถุนายน 2550 ผมไดนํา concept และความรูใหมๆที่เกี่ยวของกับการออกกําลังกายและการกินและที่
เพิ่มเติมใหกับทีมงาน DPAC คือ เรื่องของ “น้ํา” การดื่มน้ําของพวกเราในแตละวัน ถาวิเคราะหจริง ๆ แลว
อาจไมเพียงพอกับความตองการของรางกายในแตละวัน ทําใหมีผลกระทบเปนลูกโซ กับการทํางานของระบบ
และอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย และมีผลเสียทําใหเกิดโรค หรือมีผลกระทบตอสุขภาวะ ของสุขภาพแนนอน
ยิ่งถาปฏิบัติมาจนเปนนิสัยลวงเลยมาเปน 30-40 ป แลวทํากับการฝกรางกายใหอยูในสภาพ “ขาดน้ํา”
(Relative dehydration) ซึ่งในสภาพนี้รางกายจะไมรับตอสัญญาณการลดน้ําหนักลดไขมัน เพราะรางกายอยู
ในสภาวะเตรียมพรอมตอการขาดน้ําจะไมสนใจตอกระบวนการออกกําลัง เพื่อการสลายไขมันแนนอน จึงเปน
ที่มาของหลักสูตรนี้คือ เรื่องของ “3 อ. 1 น.” 1น. คือเรื่องของน้ําดื่มประจําวันที่รางกายตองการ ที่เราไม
คอยไดยินไดพูดถึงกัน แตถือเปนเรื่องสําคัญพื้นฐานทีเดียวที่ตองมีสวน 3 อ.คือ อาหาร ออกกําลังกาย
และอารมณ ซึ่งเรื่องของอาหารและออกกําลังกาย ทีมงาน DPAC ไดปรับปรุงหลายครั้งจากประสบการณการ
สอนที่มากขึ้น นําขอผิดพลาดหรือขอดอยของหลักสูตรมาพัฒนา จนไดหลักสูตรที่เหมาะกับการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเขากับวิถีชีวิต โดยผมใหหลักการไววาไมควรเนนแตเรื่องการบรรยาย แตใหแบง
สัดสวนเปนดังนี้ คือ การบรรยาย : การเปนพี่เลี้ยง (Coach) : การมอบหมายหนาที่ใหมีประสบการณได
ปฏิบัติเปนสัดสวน 10 : 20 : 70 ตามลําดับเพราะจะชวยใหหลักสูตรสามารถติดตัวผูรับการอบรมกลับไป
ปฏิบัติและสามารถเปน change agent เหนี่ยวนําใหชุมชนเกิดการขับเคลื่อนของการเปลี่ยนแปลงไดดีกวา ก็
ถือวาเปนจุดเดนของหลักสูตรนี้ ซึ่งใหความรูที่สามารถเอาไปปฏิบัติจริงและลึกพอที่จะอธิบายเหตุผลความ
จําเปนที่ตองปรับพฤติกรรมนั้นๆ และสิ่งสะทอนความเปนประโยชนตอสุขภาพ และเปนการสอนแบบสอง
2หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
ทางสื่อสารกันดวยบรรยากาศกันเอง ไมเนนการบรรยายแตเนน Coach และการมอบหมายแลวใหปฏิบัติ
ดวยตนเอง เพราะเปนเรื่องของสุขภาพสวนบุคคลที่ตองทําเอง ไมสามารถใหคนอื่นทําแทนได
สวนเรื่อง อ.ที่ 3 คืออารมณจริง ๆ ผมเห็นวาสําคัญมากเพราะความหมายไมใชแคอารมณดีเทานั้น
แตมีความหมายลึกกวาคือ เรื่องของ “สติ” ทั้งคอยควบคุมการตัดสินใจของบุคคลในการเลือกจะเอาหรือไม
เอาในการปฏิบัติพฤติกรรมตางๆทั้งเรื่องการกินและการออกกําลังกายมี “สติ” รับรูการกระทําวาควรกินมาก
นอยแคไหน ไมหลงติดกับความอรอย ความสะดวกสบายมากเกินไปจนมีผลตอสุขภาพ หลักสูตรนี้ก็พูดถึง
“อ.อารมณ” ไวแตยังไมมากพอและผมคิดวาจะมอบใหงาน DPAC พัฒนาสวนนี้ใหมากขึ้นในโอกาสตอไป
เพราะเปนสวนที่ยากมากในการพัฒนาตองใชเวลา, ความเขาใจและความพยายามอยางมาก แตถาถึงเวลาใน
การใช ในการตัดสินใจ “สติ” ตองเปนสิ่งแรกที่สมองตองนํามาใชกอนเพื่อไมให “หลง” กับอารมณที่เกิด
จากการสัมผัสดวยสิ่งที่รับรูของรางกาย “สติ” จะชวยประคองใหเรามีพฤติกรรมไปในสิ่งที่ถูกตองตอสุขภาพ
มากกวาปลอยตามเลยในความพึงพอใจที่เกิดขึ้นในอารมณ
ผมขอแสดงความยินดีกับทีมงาน DPAC ทุกคน และผูมีสวนเกี่ยวของใชความพยายามอยางมาก
ในการชวยกันผลิต “นวตกรรม” หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวนนี้ออกมา และ
ถายทอดเผยแพรเพื่อเปนประโยชนตอประชาชน, ชุมชนใน 5 จังหวัด ในเขตตรวจราชการที่ 17 และสวนอื่นๆ
ของประเทศไทย ซึ่งแนนอนหลักสูตรยังมีจุดตองพัฒนาอีกบาง โดยเฉพาะสวนของ “อารมณ” หรือ “สติ”
ซึ่งทีมงาน DPAC ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก คงตองพัฒนาตอไป เพื่อพัฒนาสิ่งดีๆ ใหกับสังคม โดยหวังและ
ใหชวยลดปญหาโรคเรื้อรังที่เกิดจากภาวะอวนลงพุงที่มีผลเสียตอชีวิต, สังคม, ชุมชน และเศรษฐกิจ
ประเทศชาติตอไป
3หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
คํานํา
ภาวะอวนลงพุง ถือเปนปญหาสําคัญที่ทั่วโลกที่กําลังจับตามอง และเรงแกไขปญหา จากการ
รายงานขององคการอนามัยโลกพบวา ภาวะอวนลงพุงเปนสาเหตุของการสูญเสียทางเศรษฐกิจที่สําคัญโดย
คิดเปนสัดสวน 2 - 6 % ของงบประมาณดานสุขภาพของประเทศเพราะภาวะอวนลงพุง จะเพิ่มโอกาสการ
เกิดโรคไมติดตอที่สําคัญ คือ โรคเบาหวาน 3 - 5 เทา อันเปนที่มาของโรครายนานาชนิด ไดแก โรคหลอด
เลือดหัวใจ ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดในสมองอุดตัน หรือโรคหัวใจ ซึ่งโรคดังกลาว
ลวนเปนโรค ที่ตองรับการดูแลรักษาอยางตอเนื่องเปนผลใหรัฐตองสูญเสียคาใชจายเปนจํานวนมาก ซึ่งโรค
ดังกลาวถือวาเปนโรควิถีชีวิต คือ ไมไดเกิดจากการติดเชื้อโรค แตเกิดมาจากสาเหตุการใชวิถีชีวิตแบบสังคม
คนเมืองสมัยใหม ที่มีพฤติกรรมการกินที่เปลี่ยนแปลงไป โดยบริโภคอาหารหวาน มัน เค็มเพิ่มขึ้น กินผัก
ผลไมนอย และขาดการเคลื่อนไหวออกกําลังกาย จึงสงผลใหคนไทยมีภาวะน้ําหนักเกินและอวนเพิ่มขึ้น
ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก ไดรับมอบหมายใหเปนผูรับผิดหลักในการดําเนินการแกไขปญหาอวน
ในพื้นที่รับผิดชอบตามนโยบายยุทธศาสตรคนไทยไรพุง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขซึ่งศูนยอนามัยที่ 9
พิษณุโลกไดดําเนินการแกไขปญหาอยางตอเนื่องตลอดมา จนมีการผลักดันใหเกิดการจัดบริการคลินิกไรพุง
(DPAC) ตนแบบในสถานบริการสาธารณสุข ซึ่งถือเปนการดําเนินงานแกไขภาวะอวนแคเพียงจุดเล็กๆ แตยัง
ไมมีการกระจายลงสูชุมชน ดังนั้นเพื่อใหการดําเนินการแกไขปญหาโรคอวนในพื้นที่ขยายวงกวางมากขึ้น
ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก จึงมีการพัฒนารูปแบบการใหความรูลงสูอาสาสมัครสาธารณสุขเพื่อขยายเครือขาย
สูประชาชนในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ โดยไดจัดทําหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวน
รูปแบบใหม ตามหลักการ 3 อ. 1 น. ทีมผูจัดทําหวังเปนยิ่งวาหลักสูตรฉบับนี้จะเปนประโยชนสําหรับ
เจาหนาที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนทั่วไปในการจัดอบรมเพื่อเปนแนวทางในการ
ดําเนินงานสนับสนุนใหคนไทยไรพุงอยางยั่งยืนตอไป
ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก
4หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
สารบัญ
หนา
บทนํา
หัวขอ/เนื้อหาหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน 6
วัตถุประสงคของหลักสูตร 9
จุดเดนของหลักสูตร 10
กระบวนการหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน 11
ตารางการอบรมหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน 13
ผังการอบรมหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน 14
แผนการสอนที่ 1-12 15-97
แผนการสอนที่ 1 บันไดสูการมีสุขภาพ 15
แผนการสอนที่ 2 รูจัก รูใจ กับ สรางแรงบันดาลใจ 21
แผนการสอนที่ 3 เรื่อง พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง 25
ใบความรูเรื่อง พิษภัยภาวะอวนลงพุง 28
ใบความรูเรื่อง การสาธิตและฝกปฏิบัติการวัดรอบเอว การคํานวณคาดัชนีมวลกาย 30
แผนการสอนที่ 4 เรื่อง น้ํา น้ํามะพราวดื่มแลวดีอยางไร 31
ใบความรูเรื่อง น้ําและน้ํามะพราว 34
แผนการสอนที่ 5 เรื่อง โปรตีนและไขมัน นี่ซิดี 37
ใบความรูเรื่อง โปรตีนนี่ซิดี 42
ใบความรูเรื่อง ไขมัน นี่ซิดี 43
แผนการสอนที่ 6 เรื่อง มารูจักแปง และไฟเบอรกันเถอะ 45
ใบความรูเรื่อง มารูจักแปงกันเถอะ 48
ใบความรูเรื่อง เสนใยดีอยางไร 51
แผนการสอนที่ 7 เรื่อง เติมรสชาติใหกับชีวิตดวยหวาน มัน เค็ม 55
ใบความรูเรื่อง เติมรสชาติใหชีวิต 59
ใบความรูเรื่อง เค็มไปหัวใจตีบตีน 64
แผนการสอนที่ 8 เรื่อง การเตรียมตัวกอนออกกําลังกาย 66
ใบความรูเรื่อง เตรียมตัวอยางไรกอนออกกําลังกาย 69
แผนการสอนที่ 9 เรื่อง หลักการออกกําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอวที่ถูกตอง 71
ใบความรูเรื่อง หลักการออกกําลังกายเพื่อลดน้ําหนัก และรอบเอวที่ถูกตอง 74
5หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
หนา
แผนการสอนที่ 10 เรื่องฝกการออกกําลังกาย 76
ใบความรูเรื่อง การยืดเหยียดกลามเนื้อ (Stretching) 82
ใบความรูเรื่อง วิธีการฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อ 84
ใบความรูเรื่อง การฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อแบบไมใชอุปกรณ 85
ใบความรูเรื่อง การฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อดวยดัมเบลล 86
ใบความรูเรื่อง การฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อดวยยางยืด 87
ใบความรูเรื่อง การฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อดวยลูกบอล (Fitball) 90
แผนการสอนที่ 11 เรื่อง วางแผนการดําเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวน 92
แผนการสอนที่ 12 เรื่อง หัวใจแหงความฝนสูความหวัง 95
อภิปรายและวิจารณ 98
จุดเดน 98
ขอเสนอแนะ 98
ภาคผนวก 99
แบบทดสอบความรูกอนและหลังการอบรม 100
แบบประเมินความพึงพอใจ 103
บรรณานุกรม 104
รายนามคณะทํางาน
6หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
บทนํา
จากใจทีมงาน DPAC กวาจะมาเปนหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เพื่อแกไขภาวะอวน ของศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก
กวาจะถึงฝง.......
หลักสูตรเริ่มตนจาก
การรับนโยบายจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขในป 2551 ตามยุทธศาสตรคนไทยไรพุง โดย
ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก ไดรับมอบหมายใหเปนผูรับผิดชอบหลักในการดําเนินการแกไขปญหาอวนใน
พื้นที่รวมกับการแกไขปญหาโรคอวนคนไทยก็เปนนโยบายของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขที่ตอง
ดําเนินการ ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก จึงไดจัดทําโครงการ “พัฒนาแนวทางการปฏิบัติการดานการ
ใหบริการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะอวนของประชากรในพื้นที่เขต 2” วัตถุประสงคเพื่อปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน (คนไทยไรพุง) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ทีมจึงไดมีการจัดตั้งคลินิกไรพุง
(Diet Physical Activity Clinic) ในสถานพยาบาล โดยเนนในเจาหนาที่ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลกกอนเพื่อ
เปนสถานที่ในการใหคําแนะนํา/ปรึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดานอาหารและโภชนาการแกผูรับบริการที่
มีภาวะรอบเอวเกินหรืออวนลงพุงที่เหมาะสม เพื่อหารูปแบบการใหบริการคลินิกไรพุงที่เหมาะสมกอนจะ
ขยายการใหบริการไปสูประชาชนทั่วไป ซึ่งถือเปนการดําเนินงานแกไขภาวะอวนแคเพียงจุดเล็กๆ แตยังไมมี
การกระจายลงสูชุมชน ดังนั้นเพื่อใหการดําเนินการแกไขปญหาโรคอวนในพื้นที่ขยายวงกวางมากขึ้น
ประกอบดวยขณะนั้นรับเชิญใหไปจัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แกกลุมสวัสดิการขาราชการเครือขาย
ของโรงพยาบาลบางระกํา, โรงพยาบาลวังทอง, โรงพยาบาลคายทหาร จังหวัดพิษณุโลก คูขนานกันไป.....
รูปแบบการจัดอบรมจบภายใน 1 วัน โดยยึดหลัก 3 อ. โดยเนนการบรรยาย สาธิตออกกําลังกาย และฝก
ปฏิบัติ ไมมีการสรุปวางแผนใหกับผูเขารับการอบรม แลวจบไมไดเนนความยั่งยืนในระยะแรกเปนการลอง
ผิดลองถูกในการจัดอบรมหลักสูตร หลังจากนั้นทีมไดมีการประชุมสรุปปญหาดําเนินงานในแตละหนวยงานมี
การปรับเปลี่ยนกระบวนการตลอดเวลา ในที่สุดไดขอสรุปวาหลักสูตรไมควรเนนการบรรยายอยางเดียว ควร
มีรูปแบบการแบงเปนฐานโดยผูเรียนมีสวนรวม ไดดําเนินการทดลองนําไปใชกับหนวยงานที่รับเชิญมา ซึ่ง
ผลตอบรับในชวงนั้นเปนไปไดดี มีหนวยงานราชการติดตอมากพอสมควร ทีมเริ่มมีประสบการณมากขึ้น จึง
ทําใหทีมพัฒนาตัวเองมากขึ้นเพื่อหารูปแบบที่สมบูรณมีคุณภาพเพิ่มมากขึ้นในการใหความรูแกเครือขาย
ตอไปอยางตอเนื่องจนไดรูปแบบที่มีกระบวนการ การทํางานมากขึ้น จึงไดมีการขยายหลักสูตรการอบรมจาก
1 วัน เปน 2 วัน มีฐานประเมินตนเอง ฐานธงโภชนาการ และออกกําลังกายแตละชวงสอดแทรกดวย
กิจกรรมสัมพันธละลายพฤติกรรมของผูเขารวมอบรม เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีการผอนคลาย มีความเปน
กันเอง ใชกระบวนการแบงกลุมสรุปวางแผนเพื่อนําไปใชตอไป ทําใหกระแสความตองการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม (คนไทยไรพุง) มีหนวยงานราชการในเขตจังหวัดพิษณุโลกสนใจมากขึ้น จากปากตอปาก มีการ
รองขอใหไปจัดอบรมเพิ่มมากขึ้น เปนสาเหตุใหทีมเกิดการผลักดันพัฒนาหลักสูตรอยางตอเนื่อง
7หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
เห็นฝงแลวใน ป 52……….
มุงเนนการพัฒนาหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะอวน โดยทีมไดระดมรวบรวมความคิด
โดยนําปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานและปรับขั้นตอนกระบวนการหลักสูตร เพื่อใหเหมาะสม ตลอดจน
พัฒนาในดานของเครื่องมือ สื่อตางๆที่ใชในหลักสูตรใหครอบคลุมเพิ่มมากขึ้น และไดรางหลักสูตรการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวน ตามแนวคิดของผูอํานวยการศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก โดยยึด
หลักการ 3 อ. 1 น. จนไดหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวน รูปแบบเนื้อหาฉบับ
ชาวบานที่งายตอความเขาใจ จําได ทําได ถายทอดได นําไปใชไดในวิถีชีวิตประจําวัน โดยเนื้อหาหลักสูตรมี
หัวขอตอไปนี้
หัวขอวิชา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวน โดยยึดหลัก 3 อ. 1 น.
คําอธิบายเนื้อหาวิชาโดยสังเขป :
การมีสุขภาพดีโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกําลังกายเริ่มตนจาก
การประเมินภาวะสุขภาพ โดยการทดสอบสมรรถภาพทางกาย วัดรอบเอว คํานวณคาดัชนีมวลกายดวยตัวเอง
กระบวนการสรางแรงจูงใจ เรียนรูเนื้อหาความรูดานพิษภัยอวนลงพุง สนุกกับการเรียนรูอาหารควรกิน
อยางไรไรพุง และหลักการออกกําลังกายเพื่อควบคุมน้ําหนักและการลดรอบพุงที่ถูกตอง พรอมฝกปฏิบัติ
Brian storming วางแผนดําเนินงานเพื่อแกไขภาวะอวนลงพุง
การมีสุขภาพที่ดี สิ่งสําคัญสองประการ ที่ตองคํานึงถึงเสมอ คือ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และ
การออกกําลังกายที่ถูกตองเหมาะสม เพราะสองสิ่งนี้ จะเปนกลจักรสําคัญที่ชวยใหทุกคนมีสุขภาพดี
โครงสรางวิชา :
(1) ความหมายและสาเหตุพิษภัยจากภาวะอวนลงพุง
1.1 การประเมินภาวะอวนและการวินิจฉัยภาวะอวนลงพุง
- การคํานวณคาดัชนีมวลกาย
- วิธีการวัดรอบเอว
1.2 การปองกันและแกไขภาวะอวนลงพุง : ภารกิจ 3 อ.
(2) หลักการบริโภคอาหารเพื่อควบคุมน้ําหนัก และลดน้ําหนักที่ถูกตอง เรียนรูดวยฐาน
4 ฐาน
2.1 ฐานเรียนรูเรื่อง น้ํา น้ํามะพราว
2.2 ฐานเรียนรูเรื่อง โปรตีน และไขมันนี่ซิดี
2.3 ฐานเรียนรูเรื่อง มารูจักแปง และไฟเบอร(ผัก&ผลไม) กันเถอะ
2.4 ฐานเรียนรูเรื่อง เติมรสชาติใหกับชีวิต
(3) การเตรียมความพรอมกอนออกกําลังกายและหลักการออกกําลังกาย เพื่อลดน้ําหนักและรอบเอว
ที่ถูกตอง
8หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
(4) ฝกทักษะการออกกําลังกาย 3 ดาน คือ
4.1 ดานความยืดหยุนของกลามเนื้อ
4.2 ดานระบบหัวใจและหลอดเลือด
4.3 ดานความแข็งแรงของกลามเนื้อ
(5) ประเมินความรูกอน – หลังการอบรม และประเมินความพึงพอใจ
(6) ประเมินภาวะสุขภาพและทดสอบสมรรถภาพทางกายกอนการอบรม
(7) กลุมสัมพันธ
(8) การสรางแรงบันดาลใจ
(9) วางแผนการดําเนินงาน
(10) หัวใจแหงความหวังสูความฝน
ไดดําเนินการทดลองกับอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ เขต17 ซึ่งไดแก พิษณุโลก สุโขทัย ตาก
อุตรดิตถ เพชรบูรณ ผลการตอบที่ดีจากการประเมินความพึงพอใจพบวา ผูเขารับการอบรมมีความพึงพอใจ
รอยละ 93 หลักสูตรไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง จนไดสินคาของหลักสูตรคือ เสนทางการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมดานอาหาร และออกกําลังกายที่งายไดผล และปรับใชใหเขากับในวิถีชีวิตของตนเองได หลักสูตร
สรางขึ้นมาตอบสนอง เพื่อแกไขภาวะอวนลงพุง โดยเนนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดานอาหาร และการ
ออกกําลังกาย
เรียนรูดานอาหาร
9หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
ฝกทักษะการออกกําลังกาย
ภาพรวมกิจกรรมการอบรม
วัตถุประสงคของหลักสูตร
วัตถุประสงคทั่วไป
เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีความรู ความสามารถและทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะอวน
สามารถนําไปปรับเปลี่ยนตนเอง และถายทอดไปยังครอบครัว ชุมชนที่รับผิดชอบไดอยางถูกตอง
วัตถุประสงคเฉพาะ
3.1 อธิบายผลกระทบจากภาวะอวนลงพุง วิธีการประเมินและการปองกันแกไขภาวะอวนลงพุงได
อยางถูกตอง
3.2 มีทักษะการวัดรอบเอวที่ถูกตอง
3.3 มีความรู ความเขาใจหลักการบริโภคอาหารเพื่อควบคุมน้ําหนักและลดน้ําหนักที่ถูกตอง
3.4 มีความรู ความเขาใจและทักษะในการออกกําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอวที่ถูกตอง
10หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
หลักสูตรนี้มีจุดเดน คือ
ดานเนื้อหา
1. สินคาของหลักสูตรคือ เสนทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดานอาหาร และออกกําลังกายที่งาย
ไดผล และปรับใชใหเขากับในวิถีชีวิตของตนเองได
2. เนื้อหาสาระ เขาใจงาย จํางาย ใชในวิถีชีวิตประจําวันได
3. มีกระบวนการ Brain storming เพื่อวางแผนแกไขปญหาภาวะอวนลงพุง เพื่อไดแนวทางการ
ดําเนินงานในชุมชน
กระบวนการ
1. กิจกรรมการเรียนรูดึงดูด นาสนใจ
2. เนนการเรียนดวยฐานเปนแบบ Walk Rally เห็นของจริง ฝกปฏิบัติจริง มีกิจกรรม เลนเกมส
และมี Trip สนุกๆ นําไปใชไดในชีวิตประจําวัน
3. สนุกสนาน นาสนใจ และเพลิดเพลิดกับการเรียนรู ยืนยันโดยผูเขารับการอบรมการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม อางอิงจาก : แบบประเมินความพึงพอใจความประทับใจตอการเรียนรู
4. กระบวนการของหลักสูตรเนนบรรยากาศการอบรมมีความเปนกันเอง
5. เนนการเรียนรูแบบมีสวนรวม ใหผูเขารับการอบรมไดแสดงความคิดเห็น
11หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
กระบวนการหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
เนื้อหาหลักสูตร ระยะเวลาการอบรม 3 วัน 2 คืน (20 ชั่วโมง)
ประเภทหลักสูตร ประกอบดวย
• ภาคทฤษฎี (บรรยาย) 10 %
• ภาคปฏิบัติ (พี้เลี้ยง) 20 %
• เบ็ดเตล็ด (ติดตามผลการดําเนินงาน) 70 %
ภาคทฤษฎี 5 ชั่วโมง ประกอบดวย
1. พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง 2 ชั่วโมง
2. หลักการบริโภคอาหารเพื่อควบคุมน้ําหนัก 2 ชั่วโมง
และลดน้ําหนักที่ถูกตอง
3. การเตรียมความพรอมกอนออกกําลังกาย 1 ชั่วโมง
และหลักการออกกําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอวที่ถูกตอง
ภาคปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ประกอบดวย
ฝกทักษะการออกกําลังกาย 3 ดาน คือ
1. ดานความยืดหยุนของกลามเนื้อ .5 ชั่วโมง
2. ดานระบบหัวใจและหลอดเลือด 1 ชั่วโมง
3. ดานความแข็งแรงของกลามเนื้อ .5 ชั่วโมง
เบ็ดเตล็ด 13 ชั่วโมง ประกอบดวย
1. พิธีเปด – ปดการอบรม 1 ชั่วโมง
2. ประเมินความรูกอน – หลังการอบรม 1 ชั่วโมง
และประเมินความพึงพอใจ
3. ประเมินภาวะสุขภาพและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 2 ชั่วโมง
กอนอบรม
4. กลุมสัมพันธ (รูจัก รูใจ) 2.5 ชั่วโมง
5. การสรางแรงบันดาลใจ 1.5 ชั่วโมง
6. สรุปบทเรียน 1.5 ชั่วโมง
7. วางแผนการดําเนินงาน 2 ชั่วโมง
8. หัวใจแหงความหวัง 1.5 ชั่วโมง
12หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
ผูเขารับการอบรม
เจาหนาที่สาธารณสุข ผูนําชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนทั่วไป
คุณสมบัติผูเขารับการอบรม
1. น้ําหนักเกินมาตรฐาน หรือ รอบเอวเกิน
2. สมัครใจเขารวมการอบรมและสามารถเขารับการอบรมไดครบตามเวลาที่กําหนดในหลักสูตร
3. มีภาวะผูนํา มีทักษะการประชาสัมพันธที่ดี
4. ชุมชนที่รับผิดชอบมีปญหาอวน โรคเรื้อรังที่เกี่ยวของ เชน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
อัมพฤกษ/อัมพาต เปนตน
วิธีการฝกอบรม
1. ใชรูปแบบการเรียนรูแบบมีสวนรวม
2 การบรรยาย
3. การสาธิต
4. การฝกปฏิบัติ
5. เลนเกมส
6. กลุมสัมพันธ
7. การอภิปราย
อุปกรณการอบรม
1. Power point presentation พรอมทั้งคอมพิวเตอร และ LCD
2. ชุดโมเดลอาหารสาธิต
3. สื่อไวนิล
4. อุปกรณการออกกําลังกาย ประกอบดวย ยางยืด ฟตบอล ดัมเบลล และหวงฮูลาฮูป
5. ชุดเครื่องมือทดสอบสมรรถภาพทางกาย
6. สายวัดรอบเอว
7. แผนประเมินคาดัชนีมวลกาย
8. เอกสารประกอบการฝกอบรม
9. กระดาน Flip chart พรอมกระดาษและปากกาเคมี
10. แบบประเมินความรู
11. ซีดีเพลงประกอบการฝกปฏิบัติ
การประเมินผลการฝกอบรม
1. ประเมินความรูกอน-หลังการฝกอบรม
2. ประเมินความพึงพอใจ
3. สังเกตปฏิกิริยาของผูเขารับการอบรม และการซักถามระหวางอบรม
13หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
เวลา
วันที่
06.00–07.00น. 07.00–08.00น. 08.00–08.30น. 09.00–09.30 น. 09.30–10.00น. 10.00–11.00น. 11.00–12.00น.
12.00-13.00น.
13.00–13.30 น. 13.30–15.00น. 15.00–16.30น.
1
ลงทะเบียน พิธีเปด
แนะนําทีมงาน
ชี้แจงกําหนดการ
ประเมินความรู ประเมินภาวะสุขภาพ และทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย
รับประทานอาหารกลางวันเพื่อสุขภาพ
กลุมสัมพันธ รูจัก รูใจ สรางแรง
บันดาลใจ
2
ออกกําลังกาย
ยามเชา
- ภารกิจสวนตัว
- อาหารเชา
เพื่อสุขภาพ
กลุมสัมพันธ
บรรยาย
เรื่อง พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง
ชอปปง
ฐานความรู
กลุมสัมพันธ
ชอปปง
ฐานความรู
สรุปบทเรียน
3
ออกกําลังกาย
ยามเชา
- ภารกิจสวนตัว
- อาหารเชา
เพื่อสุขภาพ
กลุมสัมพันธ การเตรียมความพรอมกอน
ออกกําลังกาย และหลักการออก
กําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบ
เอวที่ถูกตอง
ฝกปฏิบัติ Aerobic Exercise
ฝกปฏิบัติความแข็งแรงของ
กลามเนื้อ และฝกปฏิบัติเสริมสราง
ความยืดหยุนของกลามเนื้อ
วางแผนการดําเนินงานปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวน
หัวใจแหง
ความหวังสู
ความฝน
หมายเหตุ : รับประทานอาหารวางและ Healthy Break by enjoy Stretching เวลา 10.30 น. และเวลา 14.30 น.
ตตาารรางการอบรมหลักสูตรางการอบรมหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวนเพื่อแกไขภาวะอวน
14หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
กิจกรรมรูจัก รูใจ
กลุมแลกเปลี่ยนเรียนรู
-แรงบันดาลใจ
-ตนไมสูความหวัง
ออกกําลังกายยามเชา
สรุปการเรียนรูดานอาหาร
ฝกปฏิบัติ Step ออกกําลังกาย
สรุปการเรียนรูดานออกกําลังกาย
ปฏิบัติการวางแผนการดําเนินงาน
1 2 3
วันที่วันที่ วันที่วันที่
หัวใจแหงความหวังสูฝนที่เปนจริง
ยิ้ม ยิ้มยิ้ม
บรรยาย
เรื่อง ออกกําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอว
เรื่อง เตรียมความพรอมกอนออกกําลังกาย
ชอปปงฐานความรู
1. ฐาน น้ํา และน้ํามะพราวดื่มแลวดีอยางไร
2. ฐานมารูจักแปง และไฟเบอรกันเถอะ
3. ฐาน โปรตีนและไขมันนี่ซิดี
4. ฐาน เติมรสชาติใหกับชีวิตดวยหวาน มัน
เค็ม
บรรยาย
เรื่อง พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง
วันที่วันที่
เช็คหุน/ความฟตของทานกันเถอะ
ผัผังการอบรมหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมงการอบรมหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
15หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
แผนการสอนที่ 1
บันไดสูการมีสุขภาพดี
• แผนการสอน
16หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
แผนการสอนที่ 1
บันไดสูการมีสุขภาพดี
วัตถุประสงคการเรียนรู
วัตถุประสงคทั่วไป
เพื่อประเมินภาวะสุขภาพเบื้องตนของผูเขารับการอบรม
วัตถุประสงคเฉพาะ
1. เพื่อประเมินภาวะอวน หรืออวนลงพุงของผูเขารับการอบรม
2. เพื่อประเมินสมรรถภาพทางกายของผูเขารับการอบรม
ระยะเวลา 2 ชั่วโมง
ประเด็นเนื้อหา
1. การประเมินภาวะอวนหรืออวนลงพุง โดย
- วัดรอบเอว
- การชั่งน้ําหนัก
- วัดสวนสูง
2. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
- กาวขึ้นลง 3 นาที (Step - Test)
- ดันพื้น (Push up)
- นั่ง - งอตัว
การประเมินผล
- ผลวัดรอบเอว
- ผลคาดัชนีมวลกาย
- ผลทดสอบสมรรถภาพทางกาย
17หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
แผนการสอนที่ 1 บันไดสูการมีสุขภาพดี
วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อประเมินภาวะสุขภาพเบื้องตนของผูเขารับการอบรม
เวลา 2 ชั่วโมง
วัตถุประสงคเฉพาะ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน เวลา สื่อการสอน ประเมินผล
1. เพื่อประเมินภาวะอวน หรือ
อวนลงพุงของผูเขารับการ
อบรม
การประเมินภาวะอวนหรืออวนลง
พุง โดย
- การวัดเสนรอบเอว
- ชั่งน้ําหนัก วัดสวนสูง
- คิดคาดัชนีมวลกาย (BMI)
1. วิทยากรชี้แจงวัตถุประสงคของการ
ประเมินภาวะอวน หรืออวนลงพุง
2. แจกสมุดบันทึกน้ําหนักและรอบเอวใหผู
เขารับการอบรม
3. วิทยากรชั่งน้ําหนัก วัดรอบเอว และ
คํานวณคาดัชนีมวลกายผูเขารับการอบรม
4. ลงผลในสมุดบันทึกสุขภาพ
30 นาที - ตาชั่งแบบดิจิตอล
- สายวัดรอบเอว
- เครื่องคิดเลข
- สมุดบันทึกสุขภาพ
1. ผลวัดรอบเอว
คาปกติ
- รอบเอวผูหญิง
นอยกวา 80 ซม.
- รอบเอวผูชายนอยกวา
90 ซม.
2. ผลคาดัชนีมวลกาย
คาปกติ
- ดัชนีมวลกาย
≤ 22.99
2. เพื่อประเมินสมรรถภาพ
ทางกายของผูเขารับการ
อบรม
สมรรถภาพทางกาย หมายถึง
ความสามารถของรางกายในการ
ประกอบกิจกรรมตางๆ รวมถึงการ
ทํางานในชีวิตประจําวัน การออกกําลัง
กายและการเลนกีฬาไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายโดยการ
ทดสอบอยางงายประกอบดวยรายการ
ทดสอบ 3 รายการ ดังนี้
1. ชี้แจงวัตถุประสงคของการทดสอบการ
เตรียมความพรอมกอนการทดสอบและ
วิธีการทดสอบแกผูเขารับการอบรม
2. แจกแบบบันทึกสมรรถภาพทางกาย
แกผูเขารับการอบรม
3. แบงผูเขารับการอบรมเปน (3 กลุม)
4. ทดสอบสมรรถภาพทางกายตามลําดับ
ดังนี้
1.30
ชั่วโมง
- แบบบันทึก สมรรถภาพ
- กลองกาวขึ้นลง
- นาฬิกาจับเวลาหรือ
นาฬิกาที่มีเข็มวินาที
- ไมบรรทัดยาว
ไมนอยกวา 60 ซม.
- แลคซีน
- ผลสมรรถภาพทางกาย
18หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
วัตถุประสงคเฉพาะ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน เวลา สื่อการสอน ประเมินผล
1. กาวขึ้นลง 3 นาที
(Step - Test) ใชวัดความทนทานของ
ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ
2. ดันพื้น(Push up)ใชวัดความ
แข็งแรงและความทนทานของ
กลามเนื้อแขนและหัวไหล
3. นั่ง – งอตัว ใชทดสอบความ
ยืดหยุนของกลามเนื้อ
4.1 กาวขึ้นลง 3 นาที
4.2 ดันพื้น
4.3 นั่ง – งอตัว
5. แปลผลสมรรถภาพใหผูเขาอบรม
รับทราบ
19หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
กิจกรรมรูจัก รูใจ
แแลกเปลี่ยนลกเปลี่ยน เรียนรูเรียนรู
ตนไมแหงความหวังแรงบันดาลใจ
20หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
กกลุมสัมพันธลุมสัมพันธ
21หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
แผนการสอนที่ 2
เรื่อง รูจัก รูใจ กับ สรางแรงบันดาลใจ
• แผนการสอน
22หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
แผนการสอนที่ 2
เรื่อง รูจัก รูใจ กับ สรางแรงบันดาลใจ
วัตถุประสงคการเรียนรู
วัตถุประสงคทั่วไป
เพื่อหาความคาดหวังและเกิดแรงบันดาลใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องอาหารและการออก
กําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอวของผูเขารับการอบรม
วัตถุประสงคเฉพาะ
1. เพื่อหาความคาดหวังและเกิดแรงบันดาลใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องอาหารและการออก
กําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอวของผูเขารับการอบรม
ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
ประเด็นเนื้อหา
กระบวนการสรางแรงจูงใจ
- บุคคลตนแบบลดน้ําหนักไดสําเร็จมาพูดคุยแลกเปลี่ยนใหแกผูเขารับการอบรม
- การตั้งเปาหมายสูความสําเร็จ
วิธีการฝกอบรม
- ใชรูปแบบการเรียนรูแบบมีสวนรวม
- กระบวนการสรางแรงจูงใจ โดย บุคคลตนแบบพูดคุยแลกเปลี่ยน
การประเมินผล
- สังเกตการมีสวนรวม
- การซักถามระหวางการอบรม
23หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
แผนการสอนที่ 2 รูจัก รูใจ กับสรางแรงบันดาลใจ
วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อหาความคาดหวังและเกิดแรงบันดาลใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องอาหารและการออกกําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอว
เวลา 3 ชั่วโมง
วัตถุประสงคเฉพาะ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน เวลา สื่อการสอน ประเมินผล
1. เพื่อหาความคาดหวังและ
เกิดแรงบันดาลใจในการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่อง
อาหารและการออกกําลังกาย
เพื่อลดน้ําหนักและรอบเอว
ของผูเขาอบรม
กระบวนการสรางแรงจูงใจ
- บุคคลตนแบบลดน้ําหนักไดสําเร็จมา
พูดคุยแลกเปลี่ยนใหแกผูเขารับการ
อบรม
- ตั้งเปาหมายสูความสําเร็จ
1. วิทยากรนําเขาสูกิจกรรมโดยกิจกรรม
กลุมสัมพันธ “รูจักรูใจ”
2. แบงกลุมผูเขารับการอบรม เปน 4 กลุม
โดยมอบหมายใหแตละกลุมจัดตั้งประธาน
และรองประธานกลุม
3. แจกใบงานโดยมีประเด็น คือ
ใหตั้งเปาหมายเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เพื่อแกไขภาวะอวน พรอมนําเสนอ
4. วิทยากรรวบรวมและสรุปในประเด็นที่
นาสนใจและแตกตางกัน
1.5ชั่วโมง
5 นาที
10 นาที
5 นาที
- กระดาษA4
- กระดาษ Flip chart
- เพลงประกอบ
- ปากกาเคมีสีดํา สีแดง
และสีน้ําเงิน
- กระดาษกาวหนังยน
- สังเกตการมีสวนรวมใน
กิจกรรม
5. ใหตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุขที่
สามารถลดน้ําหนักไดสําเร็จมาพูดคุย
แลกเปลี่ยนใหแกผูเขารับการอบรม
6.ทีมวิทยากรสรุปสิ่งที่ไดจากการสรางแรง
บันดาลใจ สูความสําเร็จ
1 ชั่วโมง
10 นาที
24หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
ชอปปงฐานความรู
1. ฐาน น้ํา น้ํามะพราวดื่มแลวดีอยางไร
2. ฐานมารูจักแปง และไฟเบอรกันเถอะ
3. ฐาน โปรตีนและไขมันนี่ซิดี
4. ฐาน เติมรสชาติใหกับชีวิตดวยหวาน มัน เค็ม
25หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
แผนการสอนที่ 3
พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง
• แผนการสอน
• ใบความรู
26หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
แผนการสอนที่ 3
พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง
วัตถุประสงคการเรียนรู
วัตถุประสงคทั่วไป
เพื่อสรางความตระหนักถึงภาวะพิษภัยอวนลงพุง
วัตถุประสงคเฉพาะ
1. อธิบายพิษภัยจากภาวะอวนหรืออวนลงพุง
2. บอกวิธีการประเมินภาวะอวน และเกณฑการวินิจฉัยภาวะอวนลงพุง
3. บอกแนวทางการปองกันและแกไขภาวะอวนลงพุง
4. มีทักษะการวัดรอบเอวที่ถูกตอง
ระยะเวลา 2 ชั่วโมง
ประเด็นเนื้อหา
1. ความหมายและสาเหตุภาวะอวนลงพุง
2. พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง
3. การประเมินภาวะอวนและการวินิจฉัยภาวะอวนลงพุง
- การคํานวณคาดัชนีมวลกาย
- วิธีการวัดรอบเอว
4. การปองกันและแกไขภาวะอวนลงพุง
- ภารกิจ 3 อ.
วิธีการฝกอบรม
- ใชรูปแบบการเรียนรูแบบมีสวนรวม
- การบรรยาย
- การสาธิต
- การฝกปฏิบัติ
การประเมินผล
- สังเกตการณมีสวนรวมในการทํากิจกรรม
- การซักถามระหวางการอบรม
- การสาธิตยอนกลับในการวัดรอบเอวและการคํานวณคาดัชนีมวลกาย
27หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
แผนการสอนที่ 3 พิษภัยอวนลงพุง
วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อสรางความตระหนักถึงภาวะพิษภัยอวนลงพุง
เวลา 2 ชั่วโมง
วัตถุประสงคเฉพาะ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน เวลา สื่อการสอน ประเมินผล
1. เพื่อใหผูเขาอบรมอธิบาย
พิษภัยอันตรายจากภาวะอวน
ลงพุงได
1. ความหมายและสาเหตุภาวะอวน
ลงพุง
2. พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง
1. วิทยากรนําเขาสูเนื้อหา โดยถามผูเขารับการ
อบรมวา”ภาวะอวนลงพุงเปนเหตุใหเกิดโรค
อะไรบาง”
2. สุมถาม 4 - 5 คน
3. วิทยากรรวบรวมคําตอบเขียนลงบนกระดาษ
4. วิทยากรบรรยายเนื้อหาพิษภัยอวนลงพุง
5. เปดโอกาสใหผูเขาอบรมซักถาม
1
ชั่วโมง
1. การบรรยาย
2. สื่อนําเสนอ Power point
87 สไลด
3. เอกสารประกอบการ
บรรยาย
4. แผนภาพอวนลงพุง
5. ใบความรู
- ผูเขารับการอบรมบอก
โรคที่เกี่ยวของกับภาวะ
อวนลงพุงได
2. เพื่อใหผูเขารับการอบรม
มีความรูและสามารถประเมิน
ภาวะอวนลงพุงได
3. ผูเขารับการอบรมมีทักษะ
การวัดรอบเอวที่ถูกตอง
การประเมินภาวะอวนและการวินิจฉัย
ภาวะอวนลงพุง
- การคํานวณคาดัชนีมวลกาย
- วิธีการวัดรอบเอว
1. วิทยากรสาธิตการวัดรอบเอวที่ถูกตองและ
อธิบายวิธีการคิดคาดัชนีมวลกาย
2. ใหผูเขารับการอบรมสาธิตยอนกลับโดยให
จับคูกัน เพื่อทดลองวัดรอบเอวตามที่วิทยากร
สาธิตและการคิดคาดัชนีมวลกาย
30
นาที
- สายวัด
- แผนประเมินคาดัชนีมวล
กาย
- ผูเขารับการอบรมวัด
รอบเอวไดถูกตอง
- ผูเขารับการอบรมคิดคา
ดัชนีมวลกาย
4. เพื่อใหผูเขารับการอบรม
บอกหลักการปองกันภาวะ
อวน และอวนลงพุงได
การปองกันและแกไขภาวะอวนลงพุง
- ภารกิจ 3 อ.
1.วิทยากรนําเขาสูเนื้อหา โดยถามผูเขารับการ
อบรมวา “วิธีปองกันไมใหเกิดภาวะอวน หรือ
อวนลงพุงมีอะไรบาง” สุมถาม 4 - 5 คน
2. วิทยากรรวบรวมคําตอบ เขียนลงบน
กระดาษ
3. วิทยากรบรรยายเนื้อหาหลักการปองกัน
ภาวะอวน และอวนลงพุง
4. เปดโอกาสใหผูเขาอบรมซักถาม
30
นาที
1. การบรรยาย
2. เอกสารประกอบการ
บรรยาย
- ผูเขารับการอบรม
บอกหลักการปองกันโรค
อวน และอวนลงพุงได
ถูกตอง
28หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
ใบความรู
เรื่อง ภาวะอวนลงพุง
ฆาตรกรเงียบที่คุณไมรู
เมตาบอลิกซินโดรม หรือโรคอวนลงพุง
คือกลุมของอาการประกอบดวยอวนลงพุง (ไขมันในชองทองมากเกินไป) ระดับน้ําตาลในเลือดสูง
ความดันโลหิตสูง และระดับไขมันในเลือดสูง ที่จะเพิ่มโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน โรคหัวใจ และ
หลอดเลือด
ไขมันในชองทองมากเกิน เปนฆาตรกรเงียบที่คุณคาดไมถึง
คนที่อวนลงพุงจะมีไขมันสะสมในชองทองปริมาณมาก ยิ่งรอบเอวมากเทาไหรไขมันยิ่งสะสมในชอง
ทองมากเทานั้น ไขมันที่สะสมนี้จะแตกตัวเปนกรดไขมันอิสระ เขาสูตับมีผลใหอินซูลินออกฤทธิ์ไดไมดีเกิด
เปน “ภาวะอวนลงพุง” ซึ่งเปนเหตุผลของโรคเรื้อรังตางๆ เชน น้ําตาลในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง โรค
ไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โดยเอวที่เพิ่มขึ้นทุกๆ 5 ซม.
โอกาสเกิดโรคเบาหวาน 3-5 เทา
สาเหตุของภาวะอวนและอวนลงพุง
เกิดจากการขาดสมดุลระหวาง พลังงานที่ไดรับ และพลังงานที่ใชไป
เกณฑการวินิจฉัยโรคอวนลงพุง (Metabolic Syndrome)
คนที่มีกลุมอาการเมตะบอลิก ( โรคอวนลงพุง ) คือ คนที่อวนลงพุง
Ø ผูชายวัดรอบเอวไดมากกวา 90 ซม.
Ø ผูหญิงวัดรอบเอวไดมากกวา 80 ซม.
บวกกับปจจัยเสี่ยงอีก 2 ใน 4 อยางตอไปนี้
1. ความดันโลหิตสูง 130 / 85 มิลลิเมตรปรอท ขึ้นไป
2. น้ําตาลในเลือดขณะอดอาหารสูง 100 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร ขึ้นไป
3. ระดับไขมันไตรกลีเซอไรดสูง 150 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร ขึ้นไป
4. ระดับไขมัน HDL นอยกวา 40 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร สําหรับผูชาย
และนอยกวา 50 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร สําหรับผูหญิง
29หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง
ไขมันในชองทองมากเกิน เปนฆาตรกรเงียบที่คุณคาดไมถึง
คนที่อวนลงพุงจะมีไขมันสะสมในชองทองปริมาณมาก ยิ่งรอบเอวมากเทาไหรไขมันยิ่งสะสมในชอง
ทองมากเทานั้น ไขมันที่สะสมนี้จะแตกตัวเปนกรดไขมันอิสระ เขาสูตับมีผลใหอินซูลินออกฤทธิ์ไดไมดีเกิด
เปน “ภาวะอวนลงพุง” ซึ่งเปนเหตุผลของโรคเรื้อรังตางๆ ไดแก
• รอบเอวเพิ่มทุกๆ 5 ซม. เพิ่มโอกาสเปนเบาหวาน 3-5 เทา
• อวนลงพุงรวมกับเบาหวาน เสี่ยงโรคหัวใจหลอดเลือด 5 เทา
• พบวาผูที่มีปจจัยเสี่ยง 3 ขอจะมีอัตราการเกิดโรคหัวใจเพิ่มขึ้น 2 เทา พบวาผูที่มีปจจัยเสี่ยง 4 ขอ
จะมีอัตราเสี่ยงตอการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองเพิ่ม 3 เทา
หลักการปองกันโรคอวนและอวนลงพุง
ใบความรูที่ 1.2
“ยิ่งพุงใหญเทาไร ยิ่งตายเร็วเทานั้น”
30หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
ใบความรู
การสาธิตและฝกปฏิบัติการวัดรอบเอว การคํานวณคาดัชนีมวลกาย
และการใชแผนหมุนประเมินคาดัชนีมวลกาย
การวัดรอบเอวที่ถูกตอง
1. วัดรอบเอว
วิธีวัดเสนรอบเอวมีวิธีการวัดคือ
1. อยูในทายืน
2. ใชสายวัด วัดรอบเอวโดยวัดผานสะดือ
3. วัดในชวงหายใจออก (ทองแฟบ) โดยใหสายวัดแนบลําตัว ไมรัดแนนและใหระดับของสายวัดที่
วัดรอบเอววางอยูในแนวขนานกับพื้น
การแปลผล
คาปกติ
รอบเอวผูหญิงนอยกวา 80 ซม. และรอบเอวผูชายนอยกวา 90 ซม.
2. การคํานวณคาดัชนีมวลกาย
การคํานวณคาดัชนีมวลกาย
คาดัชนีมวลกาย = น้ําหนัก (กิโลกรัม)
สวนสูง (เมตร) X สวนสูง (เมตร)
หนวยเปน กิโลกรัมตอตารางเมตร หรือ กก./ ม.2
ตัวอยางการคํานวณ
คุณนิชามีน้ําหนักตัว 55 กิโลกรัมและสวนสูง 1.6 เมตร (160 ซม.)
คํานวณไดดังนี้ 55 = 21.48 กิโลกรัมตอตารางเมตร
1.6 X 1.6
แสดงวาตัวคุณนิชา มีน้ําหนักตัวปกติ ตามเกณฑขางลางนี้
การอานคาโดยประมาณสําหรับคาดัชนีมวลกาย
คาดัชนีมวลกาย
( กิโลกรัมตอตารางเมตร )
ผลทางสุขภาพ
< 18.5 ผอมไป อาจจะเกี่ยวกับการมีปญหาสุขภาพ
18.5 – 22.9 น้ําหนักตัวเหมาะสม
* ถามากกวา 23 ขึ้นไป เริ่มมีความเสี่ยงตอการ
เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดแลว
น้ําหนักตัวที่เหมาะสมสําหรับคนสวนใหญ
23 – 24.9 น้ําหนักเกิน มีโอกาสเสี่ยงสูงมากขึ้นตอการเกิดปญหาการโรคหัวใจและ
หลอดเลือดและโรคอื่นๆ
> 25 ขึ้นไป เพิ่มความเสี่ยงตอการมีปญหาสุขภาพรุนแรงขึ้น
31หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
แผนการสอนที่ 4
เรื่อง น้ํา น้ํามะพราวดื่มแลวดีอยางไร
• แผนการสอน
• ใบความรู
32หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
แผนการสอนที่ 4
เรื่อง น้ํา น้ํามะพราวดื่มแลวดีอยางไร
วัตถุประสงคการเรียนรู
วัตถุประสงคทั่วไป
เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีความรู ความเขาใจในเรื่องของน้ําและน้ํามะพราว
วัตถุประสงคเฉพาะ
1. อธิบายความสําคัญของของน้ําที่มีตอรางกายได
2. อธิบายความสําคัญของน้ําตอการลดน้ําหนักได
3. บอกปริมาณของน้ําที่รากายตองไดรับในแตละวันได
4. บอกประโยชนของน้ํามะพราวได
ระยะเวลา 30 นาที
ประเด็นเนื้อหา
1. น้ํา
- น้ําสําคัญอยางไรตอรางกาย
- ประโยชนของน้ํา
- น้ําสงผลอยางไรตอการลดน้ําหนัก
- ปริมาณน้ําที่รางกายตองการในแตแตละวัน
2. น้ํามะพราว
- ประโยชนของน้ํามะพราว
- ปริมาณที่ควรดื่ม
- ขอหามในการดื่มน้ํามะพราว
วิธีการฝกอบรม
- ใชรูปแบบการเรียนรูแบบมีสวนรวม
- เรียนรูดวยฐาน : การบรรยายกลุม
- สื่อโมเดลเครื่องดื่ม ประกอบดวย ขวดน้ําขนาด 850 มล., แกวน้ําขนาด 250 มล., น้ําอัดลม,
เบียรกระปอง, กาแฟกระปอง น้ําผลไม และมะพราว
การประเมินผล
- สังเกตการมีสวนรวม
- การซักถามระหวางการอบรม
- แบบประเมินความรูหลังการอบรม
33หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน
แผนการสอนที่ 4 น้ํา น้ํามะพราวดื่มแลวดีอยางไร
วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีความรู ความเขาใจในเรื่องของน้ําและน้ํามะพราว
เวลา 30 นาที
วัตถุประสงคเฉพาะ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน เวลา สื่อการสอน ประเมินผล
1.เพื่อใหผูเขาอบรม
อธิบายความสําคัญของ
ของน้ําที่มีตอรางกายได
2. อธิบายความสําคัญ
ของน้ําตอการลดน้ําหนัก
ได
3. บอกปริมาณของน้ําที่รา
กายตองไดรับในแตละวัน
ได
น้ํา
1. น้ําสําคัญอยางไรตอรางกาย
2. ประโยชนของน้ํา
3. น้ําสงผลอยางไรตอการลด
น้ําหนัก
4. ปริมาณน้ําที่รางกายตองการใน
แตละวัน
1. วิทยากรนําเขาสูเนื้อหา โดยถามผูเขารับการอบรมวา “ใน 1วัน
ใครดื่มน้ําถึง 8 แกวบาง”
2. สุมถาม 4 - 5 คน
3. วิทยากรรวบรวมคําตอบ เขียนลงบนกระดาษ
4. วิทยากรบรรยายเนื้อหาประโยชนของน้ําเทียบกับน้ําชนิดตางๆที่
นํามาวางแสดงใหเห็นและปริมาณความตองการน้ําของรางกายแต
ละวัน
5. เปดโอกาสใหผูเขาอบรมซักถาม
15
นาที
1. สื่อโมเดลเครื่องดื่ม
- ขวดน้ําขนาด 850 มล.
- แกวน้ําขนาด 250 มล.
- น้ําอัดลม
- เบียรกระปอง
- นมเย็น
- กาแฟเย็น
3. เอกสารประกอบการ
บรรยาย
4 .ใบความรู
5. สื่อวายนิล
1. สังเกตความ
สนใจใน
กิจกรรม
2. ผูเขารับการ
อบรมบอกไดวา
1 วันตองดื่มน้ํา
กี่แกว
เพื่อใหผูเขาอบรมบอก
ประโยชนของน้ํามะพราว
ได
น้ํามะพราว
1. ประโยชนของน้ํามะพราว
2. ปริมาณที่ควรดื่ม
3. ขอหามในการดื่มน้ํามะพราว
1. วิทยากรนําเขาสูเนื้อหาเรื่องน้ํามะพราวโดยถามวา “ถามีน้ํา
ผลไมใหทานเลือกดื่มไดแก น้ําสม น้ําฝรั่ง น้ําแอปเปลและน้ํา
มะพราว ทานจะเลือกดื่มน้ําชนิดไหน เพราะอะไร”
2. สุมถาม 4- 5 คน
3. วิทยากรทบทวนคําตอบของผูเขารับการอบรม
4. วิทยากรบรรยายเนื้อหาประโยชนของน้ํามะพราวเทียบกับน้ํา
ผลไมและเครื่องดื่มชนิดตางๆที่นํามาวางแสดงไวและปริมาณ
การของน้ํามะพราวที่เหมาะสมเพื่อควบคุมน้ําหนักและเกิด
ประโยชนตอรางกาย
7. เปดโอกาสใหผูเขาอบรมซักถาม
15
นาที
1. โมเดลเครื่องดื่ม
- น้ํามะพราว
- น้ําแอปเปล
- น้ําสม
- น้ําหวาน
- น้ําเกกฮวย
- น้ําเฉากวย
- น้ําขาวกลอง
2. สื่อวายนิล
1. สังเกตความ
สนใจใน
กิจกรรม
2. ผูเขารับการ
อบรมบอก
ประโยชนของ
น้ํามะพราวได
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...CAPD AngThong
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKDPha C
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนSukanya Polratanamonkol
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 

Mais procurados (20)

Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 

Destaque

กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงtechno UCH
 
แคลลอรี่อาหาร
แคลลอรี่อาหารแคลลอรี่อาหาร
แคลลอรี่อาหารWirika Samee
 
ตารางนับแคลลอรี่ Calories table
ตารางนับแคลลอรี่ Calories tableตารางนับแคลลอรี่ Calories table
ตารางนับแคลลอรี่ Calories tableKruKaiNui
 
Calories for 5 different 10K workouts
Calories for 5 different 10K workouts Calories for 5 different 10K workouts
Calories for 5 different 10K workouts Oor Runningblog
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนaousarach
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือดโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือดA'jumma WK
 
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้าปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้าJenjira1996
 
อ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงอ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงUtai Sukviwatsirikul
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการKhannikar Elle
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 

Destaque (15)

กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
แคลลอรี่อาหาร
แคลลอรี่อาหารแคลลอรี่อาหาร
แคลลอรี่อาหาร
 
ตารางนับแคลลอรี่ Calories table
ตารางนับแคลลอรี่ Calories tableตารางนับแคลลอรี่ Calories table
ตารางนับแคลลอรี่ Calories table
 
Calories for 5 different 10K workouts
Calories for 5 different 10K workouts Calories for 5 different 10K workouts
Calories for 5 different 10K workouts
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วนโครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือดโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
 
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้าปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
ปัญหาการไม่นิยมรับประทานอาหารเช้า
 
Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 
อ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงอ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุง
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 
Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 

Semelhante a การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"

ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189Raveewin Bannsuan
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559Klangpanya
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารThira Woratanarat
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดVorawut Wongumpornpinit
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนNooa Love
 
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘Fah Chimchaiyaphum
 
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdfคู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdfVorawut Wongumpornpinit
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุVorawut Wongumpornpinit
 
เว็ปไซต์และแอพพลิเคชั่น หมอชาวบ้าน
เว็ปไซต์และแอพพลิเคชั่น หมอชาวบ้านเว็ปไซต์และแอพพลิเคชั่น หมอชาวบ้าน
เว็ปไซต์และแอพพลิเคชั่น หมอชาวบ้านYui Nawaporn
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังหนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังโรงพยาบาลสารภี
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 

Semelhante a การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" (20)

ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือด
 
Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
 
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
hepatotoxicity
hepatotoxicityhepatotoxicity
hepatotoxicity
 
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdfคู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
 
เว็ปไซต์และแอพพลิเคชั่น หมอชาวบ้าน
เว็ปไซต์และแอพพลิเคชั่น หมอชาวบ้านเว็ปไซต์และแอพพลิเคชั่น หมอชาวบ้าน
เว็ปไซต์และแอพพลิเคชั่น หมอชาวบ้าน
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
Hom 2014 th_update_june_fullversion
Hom 2014 th_update_june_fullversionHom 2014 th_update_june_fullversion
Hom 2014 th_update_june_fullversion
 
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังหนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"

  • 1.
  • 2. ชื่อหนังสือ : หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน เขตตรวจราชการที่ 17 : กระทรวงสาธารณสุข วิเคราะหและเรียบเรียงโดย : นายแพทยวีระชัย สิทธิปยะสกุล ผูอํานวยการศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก นางสาวลีลานุช สุเทพารักษ นางคมขํา สิงหะ นางสาวกรรณิการ สุวรรณ นางลฎาภา อุตสม นางสาวนิศรา พงษพานิช นางสาวพูนศิริ ฤทธิรอน และ นายพิพัฒนา หาแกว ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก ISBN : 978-616-11-0399-6 จํานวนที่พิมพ : 750 เลม พิมพครั้งที่ 1 : สิงหาคม 2553 พิมพที่ : เกวลีการพิมพ 60/4 ตําบลวัดเกต อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม โทร.0-5330-6508 ภาพประกอบ : นางสวกรรณิการ สุวรรณ นายพิพัฒนา หาแกว ปก : นางสาวปฏิญญา ศรีสุข ออกแบบและจัดหนา : นางสาวกรรณิการ สุวรรณ นายพิพัฒน หาแกว
  • 3. 1หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน คํานิยาม โดยนายแพทยวีระชัย สิทธิปยะสกุล ผูอํานวยการศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะโรคอวน เลมนี้เกิดจากความพยายามของทีม DPAC ของศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก หลังจากรับนโยบายจากกรมอนามัยดานยุทธศาสตรแกไข ปญหาโรคอวนคนไทย (คนไทยไรพุง) ตั้งแต พ.ศ.2550 การพัฒนาเริ่ม จากการลองผิดลองถูก แตก็มีหลักในการพัฒนาหลักสูตรวาตองฟงงาย และเขาใจ สามารถนําไปปฏิบัติใชในชีวิตประจําวัน เพื่อสรางความ ตระหนักดานสุขภาพ ในการกิน การออกกําลังกายที่ตรงตามวิถีชีวิตของ ชาวบานจริง ๆ ผมถือวาเปนเรื่องสําคัญและใหการติดตาม ถามไถ ความกาวหนาตลอดมา ประกอบกับผมไดรับความรูใหมๆดาน “Eating and Exercise Strategy” เมื่อครั้งผม ไปฝกอบรม “Advance Executive Program ที่ Kellogg School of Management , North western University ในชวงมิถุนายน 2550 ผมไดนํา concept และความรูใหมๆที่เกี่ยวของกับการออกกําลังกายและการกินและที่ เพิ่มเติมใหกับทีมงาน DPAC คือ เรื่องของ “น้ํา” การดื่มน้ําของพวกเราในแตละวัน ถาวิเคราะหจริง ๆ แลว อาจไมเพียงพอกับความตองการของรางกายในแตละวัน ทําใหมีผลกระทบเปนลูกโซ กับการทํางานของระบบ และอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย และมีผลเสียทําใหเกิดโรค หรือมีผลกระทบตอสุขภาวะ ของสุขภาพแนนอน ยิ่งถาปฏิบัติมาจนเปนนิสัยลวงเลยมาเปน 30-40 ป แลวทํากับการฝกรางกายใหอยูในสภาพ “ขาดน้ํา” (Relative dehydration) ซึ่งในสภาพนี้รางกายจะไมรับตอสัญญาณการลดน้ําหนักลดไขมัน เพราะรางกายอยู ในสภาวะเตรียมพรอมตอการขาดน้ําจะไมสนใจตอกระบวนการออกกําลัง เพื่อการสลายไขมันแนนอน จึงเปน ที่มาของหลักสูตรนี้คือ เรื่องของ “3 อ. 1 น.” 1น. คือเรื่องของน้ําดื่มประจําวันที่รางกายตองการ ที่เราไม คอยไดยินไดพูดถึงกัน แตถือเปนเรื่องสําคัญพื้นฐานทีเดียวที่ตองมีสวน 3 อ.คือ อาหาร ออกกําลังกาย และอารมณ ซึ่งเรื่องของอาหารและออกกําลังกาย ทีมงาน DPAC ไดปรับปรุงหลายครั้งจากประสบการณการ สอนที่มากขึ้น นําขอผิดพลาดหรือขอดอยของหลักสูตรมาพัฒนา จนไดหลักสูตรที่เหมาะกับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเขากับวิถีชีวิต โดยผมใหหลักการไววาไมควรเนนแตเรื่องการบรรยาย แตใหแบง สัดสวนเปนดังนี้ คือ การบรรยาย : การเปนพี่เลี้ยง (Coach) : การมอบหมายหนาที่ใหมีประสบการณได ปฏิบัติเปนสัดสวน 10 : 20 : 70 ตามลําดับเพราะจะชวยใหหลักสูตรสามารถติดตัวผูรับการอบรมกลับไป ปฏิบัติและสามารถเปน change agent เหนี่ยวนําใหชุมชนเกิดการขับเคลื่อนของการเปลี่ยนแปลงไดดีกวา ก็ ถือวาเปนจุดเดนของหลักสูตรนี้ ซึ่งใหความรูที่สามารถเอาไปปฏิบัติจริงและลึกพอที่จะอธิบายเหตุผลความ จําเปนที่ตองปรับพฤติกรรมนั้นๆ และสิ่งสะทอนความเปนประโยชนตอสุขภาพ และเปนการสอนแบบสอง
  • 4. 2หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน ทางสื่อสารกันดวยบรรยากาศกันเอง ไมเนนการบรรยายแตเนน Coach และการมอบหมายแลวใหปฏิบัติ ดวยตนเอง เพราะเปนเรื่องของสุขภาพสวนบุคคลที่ตองทําเอง ไมสามารถใหคนอื่นทําแทนได สวนเรื่อง อ.ที่ 3 คืออารมณจริง ๆ ผมเห็นวาสําคัญมากเพราะความหมายไมใชแคอารมณดีเทานั้น แตมีความหมายลึกกวาคือ เรื่องของ “สติ” ทั้งคอยควบคุมการตัดสินใจของบุคคลในการเลือกจะเอาหรือไม เอาในการปฏิบัติพฤติกรรมตางๆทั้งเรื่องการกินและการออกกําลังกายมี “สติ” รับรูการกระทําวาควรกินมาก นอยแคไหน ไมหลงติดกับความอรอย ความสะดวกสบายมากเกินไปจนมีผลตอสุขภาพ หลักสูตรนี้ก็พูดถึง “อ.อารมณ” ไวแตยังไมมากพอและผมคิดวาจะมอบใหงาน DPAC พัฒนาสวนนี้ใหมากขึ้นในโอกาสตอไป เพราะเปนสวนที่ยากมากในการพัฒนาตองใชเวลา, ความเขาใจและความพยายามอยางมาก แตถาถึงเวลาใน การใช ในการตัดสินใจ “สติ” ตองเปนสิ่งแรกที่สมองตองนํามาใชกอนเพื่อไมให “หลง” กับอารมณที่เกิด จากการสัมผัสดวยสิ่งที่รับรูของรางกาย “สติ” จะชวยประคองใหเรามีพฤติกรรมไปในสิ่งที่ถูกตองตอสุขภาพ มากกวาปลอยตามเลยในความพึงพอใจที่เกิดขึ้นในอารมณ ผมขอแสดงความยินดีกับทีมงาน DPAC ทุกคน และผูมีสวนเกี่ยวของใชความพยายามอยางมาก ในการชวยกันผลิต “นวตกรรม” หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวนนี้ออกมา และ ถายทอดเผยแพรเพื่อเปนประโยชนตอประชาชน, ชุมชนใน 5 จังหวัด ในเขตตรวจราชการที่ 17 และสวนอื่นๆ ของประเทศไทย ซึ่งแนนอนหลักสูตรยังมีจุดตองพัฒนาอีกบาง โดยเฉพาะสวนของ “อารมณ” หรือ “สติ” ซึ่งทีมงาน DPAC ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก คงตองพัฒนาตอไป เพื่อพัฒนาสิ่งดีๆ ใหกับสังคม โดยหวังและ ใหชวยลดปญหาโรคเรื้อรังที่เกิดจากภาวะอวนลงพุงที่มีผลเสียตอชีวิต, สังคม, ชุมชน และเศรษฐกิจ ประเทศชาติตอไป
  • 5. 3หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน คํานํา ภาวะอวนลงพุง ถือเปนปญหาสําคัญที่ทั่วโลกที่กําลังจับตามอง และเรงแกไขปญหา จากการ รายงานขององคการอนามัยโลกพบวา ภาวะอวนลงพุงเปนสาเหตุของการสูญเสียทางเศรษฐกิจที่สําคัญโดย คิดเปนสัดสวน 2 - 6 % ของงบประมาณดานสุขภาพของประเทศเพราะภาวะอวนลงพุง จะเพิ่มโอกาสการ เกิดโรคไมติดตอที่สําคัญ คือ โรคเบาหวาน 3 - 5 เทา อันเปนที่มาของโรครายนานาชนิด ไดแก โรคหลอด เลือดหัวใจ ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดในสมองอุดตัน หรือโรคหัวใจ ซึ่งโรคดังกลาว ลวนเปนโรค ที่ตองรับการดูแลรักษาอยางตอเนื่องเปนผลใหรัฐตองสูญเสียคาใชจายเปนจํานวนมาก ซึ่งโรค ดังกลาวถือวาเปนโรควิถีชีวิต คือ ไมไดเกิดจากการติดเชื้อโรค แตเกิดมาจากสาเหตุการใชวิถีชีวิตแบบสังคม คนเมืองสมัยใหม ที่มีพฤติกรรมการกินที่เปลี่ยนแปลงไป โดยบริโภคอาหารหวาน มัน เค็มเพิ่มขึ้น กินผัก ผลไมนอย และขาดการเคลื่อนไหวออกกําลังกาย จึงสงผลใหคนไทยมีภาวะน้ําหนักเกินและอวนเพิ่มขึ้น ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก ไดรับมอบหมายใหเปนผูรับผิดหลักในการดําเนินการแกไขปญหาอวน ในพื้นที่รับผิดชอบตามนโยบายยุทธศาสตรคนไทยไรพุง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขซึ่งศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลกไดดําเนินการแกไขปญหาอยางตอเนื่องตลอดมา จนมีการผลักดันใหเกิดการจัดบริการคลินิกไรพุง (DPAC) ตนแบบในสถานบริการสาธารณสุข ซึ่งถือเปนการดําเนินงานแกไขภาวะอวนแคเพียงจุดเล็กๆ แตยัง ไมมีการกระจายลงสูชุมชน ดังนั้นเพื่อใหการดําเนินการแกไขปญหาโรคอวนในพื้นที่ขยายวงกวางมากขึ้น ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก จึงมีการพัฒนารูปแบบการใหความรูลงสูอาสาสมัครสาธารณสุขเพื่อขยายเครือขาย สูประชาชนในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ โดยไดจัดทําหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวน รูปแบบใหม ตามหลักการ 3 อ. 1 น. ทีมผูจัดทําหวังเปนยิ่งวาหลักสูตรฉบับนี้จะเปนประโยชนสําหรับ เจาหนาที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนทั่วไปในการจัดอบรมเพื่อเปนแนวทางในการ ดําเนินงานสนับสนุนใหคนไทยไรพุงอยางยั่งยืนตอไป ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก
  • 6. 4หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน สารบัญ หนา บทนํา หัวขอ/เนื้อหาหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน 6 วัตถุประสงคของหลักสูตร 9 จุดเดนของหลักสูตร 10 กระบวนการหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน 11 ตารางการอบรมหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน 13 ผังการอบรมหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน 14 แผนการสอนที่ 1-12 15-97 แผนการสอนที่ 1 บันไดสูการมีสุขภาพ 15 แผนการสอนที่ 2 รูจัก รูใจ กับ สรางแรงบันดาลใจ 21 แผนการสอนที่ 3 เรื่อง พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง 25 ใบความรูเรื่อง พิษภัยภาวะอวนลงพุง 28 ใบความรูเรื่อง การสาธิตและฝกปฏิบัติการวัดรอบเอว การคํานวณคาดัชนีมวลกาย 30 แผนการสอนที่ 4 เรื่อง น้ํา น้ํามะพราวดื่มแลวดีอยางไร 31 ใบความรูเรื่อง น้ําและน้ํามะพราว 34 แผนการสอนที่ 5 เรื่อง โปรตีนและไขมัน นี่ซิดี 37 ใบความรูเรื่อง โปรตีนนี่ซิดี 42 ใบความรูเรื่อง ไขมัน นี่ซิดี 43 แผนการสอนที่ 6 เรื่อง มารูจักแปง และไฟเบอรกันเถอะ 45 ใบความรูเรื่อง มารูจักแปงกันเถอะ 48 ใบความรูเรื่อง เสนใยดีอยางไร 51 แผนการสอนที่ 7 เรื่อง เติมรสชาติใหกับชีวิตดวยหวาน มัน เค็ม 55 ใบความรูเรื่อง เติมรสชาติใหชีวิต 59 ใบความรูเรื่อง เค็มไปหัวใจตีบตีน 64 แผนการสอนที่ 8 เรื่อง การเตรียมตัวกอนออกกําลังกาย 66 ใบความรูเรื่อง เตรียมตัวอยางไรกอนออกกําลังกาย 69 แผนการสอนที่ 9 เรื่อง หลักการออกกําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอวที่ถูกตอง 71 ใบความรูเรื่อง หลักการออกกําลังกายเพื่อลดน้ําหนัก และรอบเอวที่ถูกตอง 74
  • 7. 5หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน หนา แผนการสอนที่ 10 เรื่องฝกการออกกําลังกาย 76 ใบความรูเรื่อง การยืดเหยียดกลามเนื้อ (Stretching) 82 ใบความรูเรื่อง วิธีการฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อ 84 ใบความรูเรื่อง การฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อแบบไมใชอุปกรณ 85 ใบความรูเรื่อง การฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อดวยดัมเบลล 86 ใบความรูเรื่อง การฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อดวยยางยืด 87 ใบความรูเรื่อง การฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อดวยลูกบอล (Fitball) 90 แผนการสอนที่ 11 เรื่อง วางแผนการดําเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวน 92 แผนการสอนที่ 12 เรื่อง หัวใจแหงความฝนสูความหวัง 95 อภิปรายและวิจารณ 98 จุดเดน 98 ขอเสนอแนะ 98 ภาคผนวก 99 แบบทดสอบความรูกอนและหลังการอบรม 100 แบบประเมินความพึงพอใจ 103 บรรณานุกรม 104 รายนามคณะทํางาน
  • 8. 6หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน บทนํา จากใจทีมงาน DPAC กวาจะมาเปนหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน ของศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก กวาจะถึงฝง....... หลักสูตรเริ่มตนจาก การรับนโยบายจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขในป 2551 ตามยุทธศาสตรคนไทยไรพุง โดย ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก ไดรับมอบหมายใหเปนผูรับผิดชอบหลักในการดําเนินการแกไขปญหาอวนใน พื้นที่รวมกับการแกไขปญหาโรคอวนคนไทยก็เปนนโยบายของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขที่ตอง ดําเนินการ ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก จึงไดจัดทําโครงการ “พัฒนาแนวทางการปฏิบัติการดานการ ใหบริการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะอวนของประชากรในพื้นที่เขต 2” วัตถุประสงคเพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน (คนไทยไรพุง) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ทีมจึงไดมีการจัดตั้งคลินิกไรพุง (Diet Physical Activity Clinic) ในสถานพยาบาล โดยเนนในเจาหนาที่ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลกกอนเพื่อ เปนสถานที่ในการใหคําแนะนํา/ปรึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดานอาหารและโภชนาการแกผูรับบริการที่ มีภาวะรอบเอวเกินหรืออวนลงพุงที่เหมาะสม เพื่อหารูปแบบการใหบริการคลินิกไรพุงที่เหมาะสมกอนจะ ขยายการใหบริการไปสูประชาชนทั่วไป ซึ่งถือเปนการดําเนินงานแกไขภาวะอวนแคเพียงจุดเล็กๆ แตยังไมมี การกระจายลงสูชุมชน ดังนั้นเพื่อใหการดําเนินการแกไขปญหาโรคอวนในพื้นที่ขยายวงกวางมากขึ้น ประกอบดวยขณะนั้นรับเชิญใหไปจัดอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แกกลุมสวัสดิการขาราชการเครือขาย ของโรงพยาบาลบางระกํา, โรงพยาบาลวังทอง, โรงพยาบาลคายทหาร จังหวัดพิษณุโลก คูขนานกันไป..... รูปแบบการจัดอบรมจบภายใน 1 วัน โดยยึดหลัก 3 อ. โดยเนนการบรรยาย สาธิตออกกําลังกาย และฝก ปฏิบัติ ไมมีการสรุปวางแผนใหกับผูเขารับการอบรม แลวจบไมไดเนนความยั่งยืนในระยะแรกเปนการลอง ผิดลองถูกในการจัดอบรมหลักสูตร หลังจากนั้นทีมไดมีการประชุมสรุปปญหาดําเนินงานในแตละหนวยงานมี การปรับเปลี่ยนกระบวนการตลอดเวลา ในที่สุดไดขอสรุปวาหลักสูตรไมควรเนนการบรรยายอยางเดียว ควร มีรูปแบบการแบงเปนฐานโดยผูเรียนมีสวนรวม ไดดําเนินการทดลองนําไปใชกับหนวยงานที่รับเชิญมา ซึ่ง ผลตอบรับในชวงนั้นเปนไปไดดี มีหนวยงานราชการติดตอมากพอสมควร ทีมเริ่มมีประสบการณมากขึ้น จึง ทําใหทีมพัฒนาตัวเองมากขึ้นเพื่อหารูปแบบที่สมบูรณมีคุณภาพเพิ่มมากขึ้นในการใหความรูแกเครือขาย ตอไปอยางตอเนื่องจนไดรูปแบบที่มีกระบวนการ การทํางานมากขึ้น จึงไดมีการขยายหลักสูตรการอบรมจาก 1 วัน เปน 2 วัน มีฐานประเมินตนเอง ฐานธงโภชนาการ และออกกําลังกายแตละชวงสอดแทรกดวย กิจกรรมสัมพันธละลายพฤติกรรมของผูเขารวมอบรม เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีการผอนคลาย มีความเปน กันเอง ใชกระบวนการแบงกลุมสรุปวางแผนเพื่อนําไปใชตอไป ทําใหกระแสความตองการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม (คนไทยไรพุง) มีหนวยงานราชการในเขตจังหวัดพิษณุโลกสนใจมากขึ้น จากปากตอปาก มีการ รองขอใหไปจัดอบรมเพิ่มมากขึ้น เปนสาเหตุใหทีมเกิดการผลักดันพัฒนาหลักสูตรอยางตอเนื่อง
  • 9. 7หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน เห็นฝงแลวใน ป 52………. มุงเนนการพัฒนาหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะอวน โดยทีมไดระดมรวบรวมความคิด โดยนําปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานและปรับขั้นตอนกระบวนการหลักสูตร เพื่อใหเหมาะสม ตลอดจน พัฒนาในดานของเครื่องมือ สื่อตางๆที่ใชในหลักสูตรใหครอบคลุมเพิ่มมากขึ้น และไดรางหลักสูตรการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวน ตามแนวคิดของผูอํานวยการศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก โดยยึด หลักการ 3 อ. 1 น. จนไดหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวน รูปแบบเนื้อหาฉบับ ชาวบานที่งายตอความเขาใจ จําได ทําได ถายทอดได นําไปใชไดในวิถีชีวิตประจําวัน โดยเนื้อหาหลักสูตรมี หัวขอตอไปนี้ หัวขอวิชา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวน โดยยึดหลัก 3 อ. 1 น. คําอธิบายเนื้อหาวิชาโดยสังเขป : การมีสุขภาพดีโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกําลังกายเริ่มตนจาก การประเมินภาวะสุขภาพ โดยการทดสอบสมรรถภาพทางกาย วัดรอบเอว คํานวณคาดัชนีมวลกายดวยตัวเอง กระบวนการสรางแรงจูงใจ เรียนรูเนื้อหาความรูดานพิษภัยอวนลงพุง สนุกกับการเรียนรูอาหารควรกิน อยางไรไรพุง และหลักการออกกําลังกายเพื่อควบคุมน้ําหนักและการลดรอบพุงที่ถูกตอง พรอมฝกปฏิบัติ Brian storming วางแผนดําเนินงานเพื่อแกไขภาวะอวนลงพุง การมีสุขภาพที่ดี สิ่งสําคัญสองประการ ที่ตองคํานึงถึงเสมอ คือ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และ การออกกําลังกายที่ถูกตองเหมาะสม เพราะสองสิ่งนี้ จะเปนกลจักรสําคัญที่ชวยใหทุกคนมีสุขภาพดี โครงสรางวิชา : (1) ความหมายและสาเหตุพิษภัยจากภาวะอวนลงพุง 1.1 การประเมินภาวะอวนและการวินิจฉัยภาวะอวนลงพุง - การคํานวณคาดัชนีมวลกาย - วิธีการวัดรอบเอว 1.2 การปองกันและแกไขภาวะอวนลงพุง : ภารกิจ 3 อ. (2) หลักการบริโภคอาหารเพื่อควบคุมน้ําหนัก และลดน้ําหนักที่ถูกตอง เรียนรูดวยฐาน 4 ฐาน 2.1 ฐานเรียนรูเรื่อง น้ํา น้ํามะพราว 2.2 ฐานเรียนรูเรื่อง โปรตีน และไขมันนี่ซิดี 2.3 ฐานเรียนรูเรื่อง มารูจักแปง และไฟเบอร(ผัก&ผลไม) กันเถอะ 2.4 ฐานเรียนรูเรื่อง เติมรสชาติใหกับชีวิต (3) การเตรียมความพรอมกอนออกกําลังกายและหลักการออกกําลังกาย เพื่อลดน้ําหนักและรอบเอว ที่ถูกตอง
  • 10. 8หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน (4) ฝกทักษะการออกกําลังกาย 3 ดาน คือ 4.1 ดานความยืดหยุนของกลามเนื้อ 4.2 ดานระบบหัวใจและหลอดเลือด 4.3 ดานความแข็งแรงของกลามเนื้อ (5) ประเมินความรูกอน – หลังการอบรม และประเมินความพึงพอใจ (6) ประเมินภาวะสุขภาพและทดสอบสมรรถภาพทางกายกอนการอบรม (7) กลุมสัมพันธ (8) การสรางแรงบันดาลใจ (9) วางแผนการดําเนินงาน (10) หัวใจแหงความหวังสูความฝน ไดดําเนินการทดลองกับอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ เขต17 ซึ่งไดแก พิษณุโลก สุโขทัย ตาก อุตรดิตถ เพชรบูรณ ผลการตอบที่ดีจากการประเมินความพึงพอใจพบวา ผูเขารับการอบรมมีความพึงพอใจ รอยละ 93 หลักสูตรไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง จนไดสินคาของหลักสูตรคือ เสนทางการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมดานอาหาร และออกกําลังกายที่งายไดผล และปรับใชใหเขากับในวิถีชีวิตของตนเองได หลักสูตร สรางขึ้นมาตอบสนอง เพื่อแกไขภาวะอวนลงพุง โดยเนนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดานอาหาร และการ ออกกําลังกาย เรียนรูดานอาหาร
  • 11. 9หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน ฝกทักษะการออกกําลังกาย ภาพรวมกิจกรรมการอบรม วัตถุประสงคของหลักสูตร วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีความรู ความสามารถและทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะอวน สามารถนําไปปรับเปลี่ยนตนเอง และถายทอดไปยังครอบครัว ชุมชนที่รับผิดชอบไดอยางถูกตอง วัตถุประสงคเฉพาะ 3.1 อธิบายผลกระทบจากภาวะอวนลงพุง วิธีการประเมินและการปองกันแกไขภาวะอวนลงพุงได อยางถูกตอง 3.2 มีทักษะการวัดรอบเอวที่ถูกตอง 3.3 มีความรู ความเขาใจหลักการบริโภคอาหารเพื่อควบคุมน้ําหนักและลดน้ําหนักที่ถูกตอง 3.4 มีความรู ความเขาใจและทักษะในการออกกําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอวที่ถูกตอง
  • 12. 10หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน หลักสูตรนี้มีจุดเดน คือ ดานเนื้อหา 1. สินคาของหลักสูตรคือ เสนทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดานอาหาร และออกกําลังกายที่งาย ไดผล และปรับใชใหเขากับในวิถีชีวิตของตนเองได 2. เนื้อหาสาระ เขาใจงาย จํางาย ใชในวิถีชีวิตประจําวันได 3. มีกระบวนการ Brain storming เพื่อวางแผนแกไขปญหาภาวะอวนลงพุง เพื่อไดแนวทางการ ดําเนินงานในชุมชน กระบวนการ 1. กิจกรรมการเรียนรูดึงดูด นาสนใจ 2. เนนการเรียนดวยฐานเปนแบบ Walk Rally เห็นของจริง ฝกปฏิบัติจริง มีกิจกรรม เลนเกมส และมี Trip สนุกๆ นําไปใชไดในชีวิตประจําวัน 3. สนุกสนาน นาสนใจ และเพลิดเพลิดกับการเรียนรู ยืนยันโดยผูเขารับการอบรมการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม อางอิงจาก : แบบประเมินความพึงพอใจความประทับใจตอการเรียนรู 4. กระบวนการของหลักสูตรเนนบรรยากาศการอบรมมีความเปนกันเอง 5. เนนการเรียนรูแบบมีสวนรวม ใหผูเขารับการอบรมไดแสดงความคิดเห็น
  • 13. 11หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน กระบวนการหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน เนื้อหาหลักสูตร ระยะเวลาการอบรม 3 วัน 2 คืน (20 ชั่วโมง) ประเภทหลักสูตร ประกอบดวย • ภาคทฤษฎี (บรรยาย) 10 % • ภาคปฏิบัติ (พี้เลี้ยง) 20 % • เบ็ดเตล็ด (ติดตามผลการดําเนินงาน) 70 % ภาคทฤษฎี 5 ชั่วโมง ประกอบดวย 1. พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง 2 ชั่วโมง 2. หลักการบริโภคอาหารเพื่อควบคุมน้ําหนัก 2 ชั่วโมง และลดน้ําหนักที่ถูกตอง 3. การเตรียมความพรอมกอนออกกําลังกาย 1 ชั่วโมง และหลักการออกกําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอวที่ถูกตอง ภาคปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ประกอบดวย ฝกทักษะการออกกําลังกาย 3 ดาน คือ 1. ดานความยืดหยุนของกลามเนื้อ .5 ชั่วโมง 2. ดานระบบหัวใจและหลอดเลือด 1 ชั่วโมง 3. ดานความแข็งแรงของกลามเนื้อ .5 ชั่วโมง เบ็ดเตล็ด 13 ชั่วโมง ประกอบดวย 1. พิธีเปด – ปดการอบรม 1 ชั่วโมง 2. ประเมินความรูกอน – หลังการอบรม 1 ชั่วโมง และประเมินความพึงพอใจ 3. ประเมินภาวะสุขภาพและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 2 ชั่วโมง กอนอบรม 4. กลุมสัมพันธ (รูจัก รูใจ) 2.5 ชั่วโมง 5. การสรางแรงบันดาลใจ 1.5 ชั่วโมง 6. สรุปบทเรียน 1.5 ชั่วโมง 7. วางแผนการดําเนินงาน 2 ชั่วโมง 8. หัวใจแหงความหวัง 1.5 ชั่วโมง
  • 14. 12หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน ผูเขารับการอบรม เจาหนาที่สาธารณสุข ผูนําชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนทั่วไป คุณสมบัติผูเขารับการอบรม 1. น้ําหนักเกินมาตรฐาน หรือ รอบเอวเกิน 2. สมัครใจเขารวมการอบรมและสามารถเขารับการอบรมไดครบตามเวลาที่กําหนดในหลักสูตร 3. มีภาวะผูนํา มีทักษะการประชาสัมพันธที่ดี 4. ชุมชนที่รับผิดชอบมีปญหาอวน โรคเรื้อรังที่เกี่ยวของ เชน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ/อัมพาต เปนตน วิธีการฝกอบรม 1. ใชรูปแบบการเรียนรูแบบมีสวนรวม 2 การบรรยาย 3. การสาธิต 4. การฝกปฏิบัติ 5. เลนเกมส 6. กลุมสัมพันธ 7. การอภิปราย อุปกรณการอบรม 1. Power point presentation พรอมทั้งคอมพิวเตอร และ LCD 2. ชุดโมเดลอาหารสาธิต 3. สื่อไวนิล 4. อุปกรณการออกกําลังกาย ประกอบดวย ยางยืด ฟตบอล ดัมเบลล และหวงฮูลาฮูป 5. ชุดเครื่องมือทดสอบสมรรถภาพทางกาย 6. สายวัดรอบเอว 7. แผนประเมินคาดัชนีมวลกาย 8. เอกสารประกอบการฝกอบรม 9. กระดาน Flip chart พรอมกระดาษและปากกาเคมี 10. แบบประเมินความรู 11. ซีดีเพลงประกอบการฝกปฏิบัติ การประเมินผลการฝกอบรม 1. ประเมินความรูกอน-หลังการฝกอบรม 2. ประเมินความพึงพอใจ 3. สังเกตปฏิกิริยาของผูเขารับการอบรม และการซักถามระหวางอบรม
  • 15. 13หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน เวลา วันที่ 06.00–07.00น. 07.00–08.00น. 08.00–08.30น. 09.00–09.30 น. 09.30–10.00น. 10.00–11.00น. 11.00–12.00น. 12.00-13.00น. 13.00–13.30 น. 13.30–15.00น. 15.00–16.30น. 1 ลงทะเบียน พิธีเปด แนะนําทีมงาน ชี้แจงกําหนดการ ประเมินความรู ประเมินภาวะสุขภาพ และทดสอบ สมรรถภาพทางกาย รับประทานอาหารกลางวันเพื่อสุขภาพ กลุมสัมพันธ รูจัก รูใจ สรางแรง บันดาลใจ 2 ออกกําลังกาย ยามเชา - ภารกิจสวนตัว - อาหารเชา เพื่อสุขภาพ กลุมสัมพันธ บรรยาย เรื่อง พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง ชอปปง ฐานความรู กลุมสัมพันธ ชอปปง ฐานความรู สรุปบทเรียน 3 ออกกําลังกาย ยามเชา - ภารกิจสวนตัว - อาหารเชา เพื่อสุขภาพ กลุมสัมพันธ การเตรียมความพรอมกอน ออกกําลังกาย และหลักการออก กําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบ เอวที่ถูกตอง ฝกปฏิบัติ Aerobic Exercise ฝกปฏิบัติความแข็งแรงของ กลามเนื้อ และฝกปฏิบัติเสริมสราง ความยืดหยุนของกลามเนื้อ วางแผนการดําเนินงานปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเพื่อแกไขภาวะอวน หัวใจแหง ความหวังสู ความฝน หมายเหตุ : รับประทานอาหารวางและ Healthy Break by enjoy Stretching เวลา 10.30 น. และเวลา 14.30 น. ตตาารรางการอบรมหลักสูตรางการอบรมหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวนเพื่อแกไขภาวะอวน
  • 16. 14หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน กิจกรรมรูจัก รูใจ กลุมแลกเปลี่ยนเรียนรู -แรงบันดาลใจ -ตนไมสูความหวัง ออกกําลังกายยามเชา สรุปการเรียนรูดานอาหาร ฝกปฏิบัติ Step ออกกําลังกาย สรุปการเรียนรูดานออกกําลังกาย ปฏิบัติการวางแผนการดําเนินงาน 1 2 3 วันที่วันที่ วันที่วันที่ หัวใจแหงความหวังสูฝนที่เปนจริง ยิ้ม ยิ้มยิ้ม บรรยาย เรื่อง ออกกําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอว เรื่อง เตรียมความพรอมกอนออกกําลังกาย ชอปปงฐานความรู 1. ฐาน น้ํา และน้ํามะพราวดื่มแลวดีอยางไร 2. ฐานมารูจักแปง และไฟเบอรกันเถอะ 3. ฐาน โปรตีนและไขมันนี่ซิดี 4. ฐาน เติมรสชาติใหกับชีวิตดวยหวาน มัน เค็ม บรรยาย เรื่อง พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง วันที่วันที่ เช็คหุน/ความฟตของทานกันเถอะ ผัผังการอบรมหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมงการอบรมหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  • 18. 16หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน แผนการสอนที่ 1 บันไดสูการมีสุขภาพดี วัตถุประสงคการเรียนรู วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อประเมินภาวะสุขภาพเบื้องตนของผูเขารับการอบรม วัตถุประสงคเฉพาะ 1. เพื่อประเมินภาวะอวน หรืออวนลงพุงของผูเขารับการอบรม 2. เพื่อประเมินสมรรถภาพทางกายของผูเขารับการอบรม ระยะเวลา 2 ชั่วโมง ประเด็นเนื้อหา 1. การประเมินภาวะอวนหรืออวนลงพุง โดย - วัดรอบเอว - การชั่งน้ําหนัก - วัดสวนสูง 2. ทดสอบสมรรถภาพทางกาย - กาวขึ้นลง 3 นาที (Step - Test) - ดันพื้น (Push up) - นั่ง - งอตัว การประเมินผล - ผลวัดรอบเอว - ผลคาดัชนีมวลกาย - ผลทดสอบสมรรถภาพทางกาย
  • 19. 17หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน แผนการสอนที่ 1 บันไดสูการมีสุขภาพดี วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อประเมินภาวะสุขภาพเบื้องตนของผูเขารับการอบรม เวลา 2 ชั่วโมง วัตถุประสงคเฉพาะ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน เวลา สื่อการสอน ประเมินผล 1. เพื่อประเมินภาวะอวน หรือ อวนลงพุงของผูเขารับการ อบรม การประเมินภาวะอวนหรืออวนลง พุง โดย - การวัดเสนรอบเอว - ชั่งน้ําหนัก วัดสวนสูง - คิดคาดัชนีมวลกาย (BMI) 1. วิทยากรชี้แจงวัตถุประสงคของการ ประเมินภาวะอวน หรืออวนลงพุง 2. แจกสมุดบันทึกน้ําหนักและรอบเอวใหผู เขารับการอบรม 3. วิทยากรชั่งน้ําหนัก วัดรอบเอว และ คํานวณคาดัชนีมวลกายผูเขารับการอบรม 4. ลงผลในสมุดบันทึกสุขภาพ 30 นาที - ตาชั่งแบบดิจิตอล - สายวัดรอบเอว - เครื่องคิดเลข - สมุดบันทึกสุขภาพ 1. ผลวัดรอบเอว คาปกติ - รอบเอวผูหญิง นอยกวา 80 ซม. - รอบเอวผูชายนอยกวา 90 ซม. 2. ผลคาดัชนีมวลกาย คาปกติ - ดัชนีมวลกาย ≤ 22.99 2. เพื่อประเมินสมรรถภาพ ทางกายของผูเขารับการ อบรม สมรรถภาพทางกาย หมายถึง ความสามารถของรางกายในการ ประกอบกิจกรรมตางๆ รวมถึงการ ทํางานในชีวิตประจําวัน การออกกําลัง กายและการเลนกีฬาไดอยางมี ประสิทธิภาพ ทดสอบสมรรถภาพทางกายโดยการ ทดสอบอยางงายประกอบดวยรายการ ทดสอบ 3 รายการ ดังนี้ 1. ชี้แจงวัตถุประสงคของการทดสอบการ เตรียมความพรอมกอนการทดสอบและ วิธีการทดสอบแกผูเขารับการอบรม 2. แจกแบบบันทึกสมรรถภาพทางกาย แกผูเขารับการอบรม 3. แบงผูเขารับการอบรมเปน (3 กลุม) 4. ทดสอบสมรรถภาพทางกายตามลําดับ ดังนี้ 1.30 ชั่วโมง - แบบบันทึก สมรรถภาพ - กลองกาวขึ้นลง - นาฬิกาจับเวลาหรือ นาฬิกาที่มีเข็มวินาที - ไมบรรทัดยาว ไมนอยกวา 60 ซม. - แลคซีน - ผลสมรรถภาพทางกาย
  • 20. 18หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน วัตถุประสงคเฉพาะ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน เวลา สื่อการสอน ประเมินผล 1. กาวขึ้นลง 3 นาที (Step - Test) ใชวัดความทนทานของ ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ 2. ดันพื้น(Push up)ใชวัดความ แข็งแรงและความทนทานของ กลามเนื้อแขนและหัวไหล 3. นั่ง – งอตัว ใชทดสอบความ ยืดหยุนของกลามเนื้อ 4.1 กาวขึ้นลง 3 นาที 4.2 ดันพื้น 4.3 นั่ง – งอตัว 5. แปลผลสมรรถภาพใหผูเขาอบรม รับทราบ
  • 24. 22หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน แผนการสอนที่ 2 เรื่อง รูจัก รูใจ กับ สรางแรงบันดาลใจ วัตถุประสงคการเรียนรู วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อหาความคาดหวังและเกิดแรงบันดาลใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องอาหารและการออก กําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอวของผูเขารับการอบรม วัตถุประสงคเฉพาะ 1. เพื่อหาความคาดหวังและเกิดแรงบันดาลใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องอาหารและการออก กําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอวของผูเขารับการอบรม ระยะเวลา 3 ชั่วโมง ประเด็นเนื้อหา กระบวนการสรางแรงจูงใจ - บุคคลตนแบบลดน้ําหนักไดสําเร็จมาพูดคุยแลกเปลี่ยนใหแกผูเขารับการอบรม - การตั้งเปาหมายสูความสําเร็จ วิธีการฝกอบรม - ใชรูปแบบการเรียนรูแบบมีสวนรวม - กระบวนการสรางแรงจูงใจ โดย บุคคลตนแบบพูดคุยแลกเปลี่ยน การประเมินผล - สังเกตการมีสวนรวม - การซักถามระหวางการอบรม
  • 25. 23หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน แผนการสอนที่ 2 รูจัก รูใจ กับสรางแรงบันดาลใจ วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อหาความคาดหวังและเกิดแรงบันดาลใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่องอาหารและการออกกําลังกายเพื่อลดน้ําหนักและรอบเอว เวลา 3 ชั่วโมง วัตถุประสงคเฉพาะ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน เวลา สื่อการสอน ประเมินผล 1. เพื่อหาความคาดหวังและ เกิดแรงบันดาลใจในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเรื่อง อาหารและการออกกําลังกาย เพื่อลดน้ําหนักและรอบเอว ของผูเขาอบรม กระบวนการสรางแรงจูงใจ - บุคคลตนแบบลดน้ําหนักไดสําเร็จมา พูดคุยแลกเปลี่ยนใหแกผูเขารับการ อบรม - ตั้งเปาหมายสูความสําเร็จ 1. วิทยากรนําเขาสูกิจกรรมโดยกิจกรรม กลุมสัมพันธ “รูจักรูใจ” 2. แบงกลุมผูเขารับการอบรม เปน 4 กลุม โดยมอบหมายใหแตละกลุมจัดตั้งประธาน และรองประธานกลุม 3. แจกใบงานโดยมีประเด็น คือ ใหตั้งเปาหมายเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน พรอมนําเสนอ 4. วิทยากรรวบรวมและสรุปในประเด็นที่ นาสนใจและแตกตางกัน 1.5ชั่วโมง 5 นาที 10 นาที 5 นาที - กระดาษA4 - กระดาษ Flip chart - เพลงประกอบ - ปากกาเคมีสีดํา สีแดง และสีน้ําเงิน - กระดาษกาวหนังยน - สังเกตการมีสวนรวมใน กิจกรรม 5. ใหตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุขที่ สามารถลดน้ําหนักไดสําเร็จมาพูดคุย แลกเปลี่ยนใหแกผูเขารับการอบรม 6.ทีมวิทยากรสรุปสิ่งที่ไดจากการสรางแรง บันดาลใจ สูความสําเร็จ 1 ชั่วโมง 10 นาที
  • 26. 24หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน ชอปปงฐานความรู 1. ฐาน น้ํา น้ํามะพราวดื่มแลวดีอยางไร 2. ฐานมารูจักแปง และไฟเบอรกันเถอะ 3. ฐาน โปรตีนและไขมันนี่ซิดี 4. ฐาน เติมรสชาติใหกับชีวิตดวยหวาน มัน เค็ม
  • 28. 26หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน แผนการสอนที่ 3 พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง วัตถุประสงคการเรียนรู วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อสรางความตระหนักถึงภาวะพิษภัยอวนลงพุง วัตถุประสงคเฉพาะ 1. อธิบายพิษภัยจากภาวะอวนหรืออวนลงพุง 2. บอกวิธีการประเมินภาวะอวน และเกณฑการวินิจฉัยภาวะอวนลงพุง 3. บอกแนวทางการปองกันและแกไขภาวะอวนลงพุง 4. มีทักษะการวัดรอบเอวที่ถูกตอง ระยะเวลา 2 ชั่วโมง ประเด็นเนื้อหา 1. ความหมายและสาเหตุภาวะอวนลงพุง 2. พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง 3. การประเมินภาวะอวนและการวินิจฉัยภาวะอวนลงพุง - การคํานวณคาดัชนีมวลกาย - วิธีการวัดรอบเอว 4. การปองกันและแกไขภาวะอวนลงพุง - ภารกิจ 3 อ. วิธีการฝกอบรม - ใชรูปแบบการเรียนรูแบบมีสวนรวม - การบรรยาย - การสาธิต - การฝกปฏิบัติ การประเมินผล - สังเกตการณมีสวนรวมในการทํากิจกรรม - การซักถามระหวางการอบรม - การสาธิตยอนกลับในการวัดรอบเอวและการคํานวณคาดัชนีมวลกาย
  • 29. 27หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน แผนการสอนที่ 3 พิษภัยอวนลงพุง วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อสรางความตระหนักถึงภาวะพิษภัยอวนลงพุง เวลา 2 ชั่วโมง วัตถุประสงคเฉพาะ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน เวลา สื่อการสอน ประเมินผล 1. เพื่อใหผูเขาอบรมอธิบาย พิษภัยอันตรายจากภาวะอวน ลงพุงได 1. ความหมายและสาเหตุภาวะอวน ลงพุง 2. พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง 1. วิทยากรนําเขาสูเนื้อหา โดยถามผูเขารับการ อบรมวา”ภาวะอวนลงพุงเปนเหตุใหเกิดโรค อะไรบาง” 2. สุมถาม 4 - 5 คน 3. วิทยากรรวบรวมคําตอบเขียนลงบนกระดาษ 4. วิทยากรบรรยายเนื้อหาพิษภัยอวนลงพุง 5. เปดโอกาสใหผูเขาอบรมซักถาม 1 ชั่วโมง 1. การบรรยาย 2. สื่อนําเสนอ Power point 87 สไลด 3. เอกสารประกอบการ บรรยาย 4. แผนภาพอวนลงพุง 5. ใบความรู - ผูเขารับการอบรมบอก โรคที่เกี่ยวของกับภาวะ อวนลงพุงได 2. เพื่อใหผูเขารับการอบรม มีความรูและสามารถประเมิน ภาวะอวนลงพุงได 3. ผูเขารับการอบรมมีทักษะ การวัดรอบเอวที่ถูกตอง การประเมินภาวะอวนและการวินิจฉัย ภาวะอวนลงพุง - การคํานวณคาดัชนีมวลกาย - วิธีการวัดรอบเอว 1. วิทยากรสาธิตการวัดรอบเอวที่ถูกตองและ อธิบายวิธีการคิดคาดัชนีมวลกาย 2. ใหผูเขารับการอบรมสาธิตยอนกลับโดยให จับคูกัน เพื่อทดลองวัดรอบเอวตามที่วิทยากร สาธิตและการคิดคาดัชนีมวลกาย 30 นาที - สายวัด - แผนประเมินคาดัชนีมวล กาย - ผูเขารับการอบรมวัด รอบเอวไดถูกตอง - ผูเขารับการอบรมคิดคา ดัชนีมวลกาย 4. เพื่อใหผูเขารับการอบรม บอกหลักการปองกันภาวะ อวน และอวนลงพุงได การปองกันและแกไขภาวะอวนลงพุง - ภารกิจ 3 อ. 1.วิทยากรนําเขาสูเนื้อหา โดยถามผูเขารับการ อบรมวา “วิธีปองกันไมใหเกิดภาวะอวน หรือ อวนลงพุงมีอะไรบาง” สุมถาม 4 - 5 คน 2. วิทยากรรวบรวมคําตอบ เขียนลงบน กระดาษ 3. วิทยากรบรรยายเนื้อหาหลักการปองกัน ภาวะอวน และอวนลงพุง 4. เปดโอกาสใหผูเขาอบรมซักถาม 30 นาที 1. การบรรยาย 2. เอกสารประกอบการ บรรยาย - ผูเขารับการอบรม บอกหลักการปองกันโรค อวน และอวนลงพุงได ถูกตอง
  • 30. 28หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน ใบความรู เรื่อง ภาวะอวนลงพุง ฆาตรกรเงียบที่คุณไมรู เมตาบอลิกซินโดรม หรือโรคอวนลงพุง คือกลุมของอาการประกอบดวยอวนลงพุง (ไขมันในชองทองมากเกินไป) ระดับน้ําตาลในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง และระดับไขมันในเลือดสูง ที่จะเพิ่มโอกาสเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน โรคหัวใจ และ หลอดเลือด ไขมันในชองทองมากเกิน เปนฆาตรกรเงียบที่คุณคาดไมถึง คนที่อวนลงพุงจะมีไขมันสะสมในชองทองปริมาณมาก ยิ่งรอบเอวมากเทาไหรไขมันยิ่งสะสมในชอง ทองมากเทานั้น ไขมันที่สะสมนี้จะแตกตัวเปนกรดไขมันอิสระ เขาสูตับมีผลใหอินซูลินออกฤทธิ์ไดไมดีเกิด เปน “ภาวะอวนลงพุง” ซึ่งเปนเหตุผลของโรคเรื้อรังตางๆ เชน น้ําตาลในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง โรค ไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โดยเอวที่เพิ่มขึ้นทุกๆ 5 ซม. โอกาสเกิดโรคเบาหวาน 3-5 เทา สาเหตุของภาวะอวนและอวนลงพุง เกิดจากการขาดสมดุลระหวาง พลังงานที่ไดรับ และพลังงานที่ใชไป เกณฑการวินิจฉัยโรคอวนลงพุง (Metabolic Syndrome) คนที่มีกลุมอาการเมตะบอลิก ( โรคอวนลงพุง ) คือ คนที่อวนลงพุง Ø ผูชายวัดรอบเอวไดมากกวา 90 ซม. Ø ผูหญิงวัดรอบเอวไดมากกวา 80 ซม. บวกกับปจจัยเสี่ยงอีก 2 ใน 4 อยางตอไปนี้ 1. ความดันโลหิตสูง 130 / 85 มิลลิเมตรปรอท ขึ้นไป 2. น้ําตาลในเลือดขณะอดอาหารสูง 100 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร ขึ้นไป 3. ระดับไขมันไตรกลีเซอไรดสูง 150 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร ขึ้นไป 4. ระดับไขมัน HDL นอยกวา 40 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร สําหรับผูชาย และนอยกวา 50 มิลลิกรัมตอเดซิลิตร สําหรับผูหญิง
  • 31. 29หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน พิษภัยจากภาวะอวนลงพุง ไขมันในชองทองมากเกิน เปนฆาตรกรเงียบที่คุณคาดไมถึง คนที่อวนลงพุงจะมีไขมันสะสมในชองทองปริมาณมาก ยิ่งรอบเอวมากเทาไหรไขมันยิ่งสะสมในชอง ทองมากเทานั้น ไขมันที่สะสมนี้จะแตกตัวเปนกรดไขมันอิสระ เขาสูตับมีผลใหอินซูลินออกฤทธิ์ไดไมดีเกิด เปน “ภาวะอวนลงพุง” ซึ่งเปนเหตุผลของโรคเรื้อรังตางๆ ไดแก • รอบเอวเพิ่มทุกๆ 5 ซม. เพิ่มโอกาสเปนเบาหวาน 3-5 เทา • อวนลงพุงรวมกับเบาหวาน เสี่ยงโรคหัวใจหลอดเลือด 5 เทา • พบวาผูที่มีปจจัยเสี่ยง 3 ขอจะมีอัตราการเกิดโรคหัวใจเพิ่มขึ้น 2 เทา พบวาผูที่มีปจจัยเสี่ยง 4 ขอ จะมีอัตราเสี่ยงตอการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองเพิ่ม 3 เทา หลักการปองกันโรคอวนและอวนลงพุง ใบความรูที่ 1.2 “ยิ่งพุงใหญเทาไร ยิ่งตายเร็วเทานั้น”
  • 32. 30หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน ใบความรู การสาธิตและฝกปฏิบัติการวัดรอบเอว การคํานวณคาดัชนีมวลกาย และการใชแผนหมุนประเมินคาดัชนีมวลกาย การวัดรอบเอวที่ถูกตอง 1. วัดรอบเอว วิธีวัดเสนรอบเอวมีวิธีการวัดคือ 1. อยูในทายืน 2. ใชสายวัด วัดรอบเอวโดยวัดผานสะดือ 3. วัดในชวงหายใจออก (ทองแฟบ) โดยใหสายวัดแนบลําตัว ไมรัดแนนและใหระดับของสายวัดที่ วัดรอบเอววางอยูในแนวขนานกับพื้น การแปลผล คาปกติ รอบเอวผูหญิงนอยกวา 80 ซม. และรอบเอวผูชายนอยกวา 90 ซม. 2. การคํานวณคาดัชนีมวลกาย การคํานวณคาดัชนีมวลกาย คาดัชนีมวลกาย = น้ําหนัก (กิโลกรัม) สวนสูง (เมตร) X สวนสูง (เมตร) หนวยเปน กิโลกรัมตอตารางเมตร หรือ กก./ ม.2 ตัวอยางการคํานวณ คุณนิชามีน้ําหนักตัว 55 กิโลกรัมและสวนสูง 1.6 เมตร (160 ซม.) คํานวณไดดังนี้ 55 = 21.48 กิโลกรัมตอตารางเมตร 1.6 X 1.6 แสดงวาตัวคุณนิชา มีน้ําหนักตัวปกติ ตามเกณฑขางลางนี้ การอานคาโดยประมาณสําหรับคาดัชนีมวลกาย คาดัชนีมวลกาย ( กิโลกรัมตอตารางเมตร ) ผลทางสุขภาพ < 18.5 ผอมไป อาจจะเกี่ยวกับการมีปญหาสุขภาพ 18.5 – 22.9 น้ําหนักตัวเหมาะสม * ถามากกวา 23 ขึ้นไป เริ่มมีความเสี่ยงตอการ เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดแลว น้ําหนักตัวที่เหมาะสมสําหรับคนสวนใหญ 23 – 24.9 น้ําหนักเกิน มีโอกาสเสี่ยงสูงมากขึ้นตอการเกิดปญหาการโรคหัวใจและ หลอดเลือดและโรคอื่นๆ > 25 ขึ้นไป เพิ่มความเสี่ยงตอการมีปญหาสุขภาพรุนแรงขึ้น
  • 33. 31หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน แผนการสอนที่ 4 เรื่อง น้ํา น้ํามะพราวดื่มแลวดีอยางไร • แผนการสอน • ใบความรู
  • 34. 32หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน แผนการสอนที่ 4 เรื่อง น้ํา น้ํามะพราวดื่มแลวดีอยางไร วัตถุประสงคการเรียนรู วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีความรู ความเขาใจในเรื่องของน้ําและน้ํามะพราว วัตถุประสงคเฉพาะ 1. อธิบายความสําคัญของของน้ําที่มีตอรางกายได 2. อธิบายความสําคัญของน้ําตอการลดน้ําหนักได 3. บอกปริมาณของน้ําที่รากายตองไดรับในแตละวันได 4. บอกประโยชนของน้ํามะพราวได ระยะเวลา 30 นาที ประเด็นเนื้อหา 1. น้ํา - น้ําสําคัญอยางไรตอรางกาย - ประโยชนของน้ํา - น้ําสงผลอยางไรตอการลดน้ําหนัก - ปริมาณน้ําที่รางกายตองการในแตแตละวัน 2. น้ํามะพราว - ประโยชนของน้ํามะพราว - ปริมาณที่ควรดื่ม - ขอหามในการดื่มน้ํามะพราว วิธีการฝกอบรม - ใชรูปแบบการเรียนรูแบบมีสวนรวม - เรียนรูดวยฐาน : การบรรยายกลุม - สื่อโมเดลเครื่องดื่ม ประกอบดวย ขวดน้ําขนาด 850 มล., แกวน้ําขนาด 250 มล., น้ําอัดลม, เบียรกระปอง, กาแฟกระปอง น้ําผลไม และมะพราว การประเมินผล - สังเกตการมีสวนรวม - การซักถามระหวางการอบรม - แบบประเมินความรูหลังการอบรม
  • 35. 33หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแกไขภาวะอวน แผนการสอนที่ 4 น้ํา น้ํามะพราวดื่มแลวดีอยางไร วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการอบรมมีความรู ความเขาใจในเรื่องของน้ําและน้ํามะพราว เวลา 30 นาที วัตถุประสงคเฉพาะ เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน เวลา สื่อการสอน ประเมินผล 1.เพื่อใหผูเขาอบรม อธิบายความสําคัญของ ของน้ําที่มีตอรางกายได 2. อธิบายความสําคัญ ของน้ําตอการลดน้ําหนัก ได 3. บอกปริมาณของน้ําที่รา กายตองไดรับในแตละวัน ได น้ํา 1. น้ําสําคัญอยางไรตอรางกาย 2. ประโยชนของน้ํา 3. น้ําสงผลอยางไรตอการลด น้ําหนัก 4. ปริมาณน้ําที่รางกายตองการใน แตละวัน 1. วิทยากรนําเขาสูเนื้อหา โดยถามผูเขารับการอบรมวา “ใน 1วัน ใครดื่มน้ําถึง 8 แกวบาง” 2. สุมถาม 4 - 5 คน 3. วิทยากรรวบรวมคําตอบ เขียนลงบนกระดาษ 4. วิทยากรบรรยายเนื้อหาประโยชนของน้ําเทียบกับน้ําชนิดตางๆที่ นํามาวางแสดงใหเห็นและปริมาณความตองการน้ําของรางกายแต ละวัน 5. เปดโอกาสใหผูเขาอบรมซักถาม 15 นาที 1. สื่อโมเดลเครื่องดื่ม - ขวดน้ําขนาด 850 มล. - แกวน้ําขนาด 250 มล. - น้ําอัดลม - เบียรกระปอง - นมเย็น - กาแฟเย็น 3. เอกสารประกอบการ บรรยาย 4 .ใบความรู 5. สื่อวายนิล 1. สังเกตความ สนใจใน กิจกรรม 2. ผูเขารับการ อบรมบอกไดวา 1 วันตองดื่มน้ํา กี่แกว เพื่อใหผูเขาอบรมบอก ประโยชนของน้ํามะพราว ได น้ํามะพราว 1. ประโยชนของน้ํามะพราว 2. ปริมาณที่ควรดื่ม 3. ขอหามในการดื่มน้ํามะพราว 1. วิทยากรนําเขาสูเนื้อหาเรื่องน้ํามะพราวโดยถามวา “ถามีน้ํา ผลไมใหทานเลือกดื่มไดแก น้ําสม น้ําฝรั่ง น้ําแอปเปลและน้ํา มะพราว ทานจะเลือกดื่มน้ําชนิดไหน เพราะอะไร” 2. สุมถาม 4- 5 คน 3. วิทยากรทบทวนคําตอบของผูเขารับการอบรม 4. วิทยากรบรรยายเนื้อหาประโยชนของน้ํามะพราวเทียบกับน้ํา ผลไมและเครื่องดื่มชนิดตางๆที่นํามาวางแสดงไวและปริมาณ การของน้ํามะพราวที่เหมาะสมเพื่อควบคุมน้ําหนักและเกิด ประโยชนตอรางกาย 7. เปดโอกาสใหผูเขาอบรมซักถาม 15 นาที 1. โมเดลเครื่องดื่ม - น้ํามะพราว - น้ําแอปเปล - น้ําสม - น้ําหวาน - น้ําเกกฮวย - น้ําเฉากวย - น้ําขาวกลอง 2. สื่อวายนิล 1. สังเกตความ สนใจใน กิจกรรม 2. ผูเขารับการ อบรมบอก ประโยชนของ น้ํามะพราวได