SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 58
Baixar para ler offline
1 
 
คํานํา
บทเรียบเรียง “การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อและขอ” จัดทําขึ้น
เพื่อใชในการประกอบการเรียนการสอนวิชา 501202 แนวคิดพื้นฐานและ
หลักการพยาบาล 2 และเปนแนวทางใหนิสิตสามารถประเมินระบบกระดูก
กลามเนื้อและขอของผูใชบริการไดอยางถูกตอง อันจะเปนสวนหนึ่งของการให
การพยาบาลผูใชบริการอยางมีประสิทธิภาพ
ผูเรียบเรียงขอขอบพระคุณผูเรียบเรียงตําราที่ผูเขียนไดอางอิง และ
ขอขอบพระคุณครู อาจารยทุกทานที่ไดใหความรู คําแนะนําในการจัดทําบท
เรียบเรียงนี้
ผ.ศ.แสงหลา พลนอก
คณะพยาบาลศาสตร
มหาวิทยาลัยนเรศวร
เมษายน 2552
2 
 
สารบาญ
หนา
กายวิภาคศาสตร
การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ ขอ
การซักประวัติ
การตรวจรางกาย
การตรวจกลามเนื้อ ขอ
การตรวจขอไหล
การตรวจขอศอก
การตรวจนิ้วมือและขอนิ้ว
การตรวจขอตะโพก
การตรวจขอเขา
การตรวจขอเทาและนิ้วเทา
การตรวจพิเศษ
สรุป
คําถามทายบท
บรรณานุกรม
การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ
3 
 
ผูชวยศาสตราจารยแสงหลา พลนอก
แนวคิด
ระบบกระดูก กลามเนื้อและขอ จะทําหนาที่เปนโครงสรางและชวยใน
การเคลื่อนไหวของรางกายและยังปองกันอวัยวะภายในที่ออนนุมดวย
นอกจากนั้นระบบนี้ยังสรางเม็ดเลือดและเปนที่สะสมของเกลือแรตางๆ ไดแก
แคลเซียมและฟอสฟอรัส การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ สามารถ
แบงออกไดสามวิธี ไดแก การซักประวัติ การตรวจรางกาย และ การตรวจพิเศษ
ตางๆ
วัตถุประสงค เมื่อจบบทเรียนนี้แลวผูเรียนสามารถ
1.บอกกายวิภาคศาสตรระบบกระดูก กลามเนื้อและขอได
2.อธิบายการซักประวัติเพื่อประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อและขอได
2.อธิบายการตรวจรางกายเพื่อประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และ
ขอได
3.ระบุวิธีการตรวจพิเศษที่เกี่ยวของกับการประเมินระบบกระดูก
กลามเนื้อ และขอได
กายวิภาคศาสตรระบบกระดูก กลามเนื้อ และ ขอ
4 
 
กระดูก (Skeleton)
กระดูกรางกายของมนุษยมีทั้งหมด 206 ชิ้น หนาที่จะเปนตัวกําหนด
รูปรางและผิวหนาของกระดูก เชน กระดูกยาว (Long bone) จะทําหนาที่เปน
คาน จึงมีผิวหนาที่เรียบแบนเพื่องายในการเกาะยึดของเอ็นหรือเสนประสาท
(Wilson & Giddens, 2009. p. 311) เชน กระดูกตนแขน (Humerus) กระดูก
ตนขา (Femur) กระดูกปลายแขน (Fibula) กระดูกนิ้วมือและเทา (Phalanges)
สวนกระดูกสั้น (Short bone) จะมีรูปรางคลายลูกบาศก (Cube shaped) เชน
กระดูกขอมือ (Carpal) กระดูกขอเทา (Tarsal) เปนตน
กลามเนื้อลาย (Skeletal muscles)
กลามเนื้อลายประกอบดวย เสนใยกลามเนื้อซึ่งยึดจับกับกระดูกเพื่อ
ชวยในการเคลื่อนไหว กลามเนื้อสวนใหญเคลื่อนไหวตามที่สมองสั่ง
(Voluntary control) แตกลามเนื้อบางมัดเคลื่อนไหวเองดวยรีเฟล็กซ (Reflex)
ใยของกลามเนื้อลายจะถูกจัดเรียงใหวางขนานกับความยาวของกระดูกหรือถูก
จัดเรียงใหอยูในแนวเฉียงของกระดูก
ขอ (Joints)
ขอ คือ เนื้อเยื่อสวนที่เชื่อมตอระหวางกระดูกตั้งแต 2 ชิ้น ขึ้นไป ชวยให
มีความมั่นคงของขอขณะที่มีการเคลื่อนไหว ขอแบงออกได 2 แบบดังนี้
1. แบงตามชนิดของสวนประกอบของขอไดแก เสนใย (Fibrous)
กระดูกออน (Cartilaginous) เยื่อหุมขอ (Synovial)
5 
 
2. แบงตามระดับของการเคลื่อนไหวได 3 แบบ คือ
2.1 เคลื่อนไหวไมไดเลย เรียกวา Synarthrodial เชน รอยตอของ
กระดูกกะโหลกศีรษะ (The Suture of the skull) เปนตน
2.2 เคลื่อนไหวไดเล็กนอย เรียกวา Amphiarthrodial เชน กระดูกหัว
เหนา (Symphysis pubis) เปนตน
2.3 เคลื่อนไหวไดเต็มที่ เรียกวา Diarthrodial joints เชน หัวเขา ขอ
นิ้วมือ เปนตน ซึ่ง Diarthrodial joints ยังสามารถแบงยอยตามชนิดของการ
เคลื่อนไหว เชน แบบบานพับ (Hinge joint) ซึ่งเคลื่อนไหวไดเฉพาะเหยียดและ
งอ (Extension and flexion) เชน หัวเขา ขอศอกและขอนิ้ว เปนตน และ แบบ
Ball-and-socket ซึ่งจะมีเบาในกระดูกเขาไปสวม ไดแก ขอตะโพกและขอไหล
เปนตน ขอชนิดนี้จะมีการเคลื่อนไหวไดหลายทิศทาง Diarthrodial joints มีชื่อ
เรียกอีกอยางหนึ่งวา Synovial joints เพราะจะมีน้ําลอมรอบเยื่อหุมขอ
(Synovial fluid) ซึ่งมีหนาที่หลอลื่นใหขอสามารถเคลื่อนไหวไดหลายทิศทาง
ขอชนิดนี้บางแหง เชน ขอเขาจะมีแผนกระดูกออนเรียกวา Meniscus รองอยู
เพื่อปองกันการกระแทกอันกอใหเกิดการบาดเจ็บของขอ เปนตน
เอ็น (Ligaments or tendons)
เปนเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เชื่อมระหวางกระดูกและกระดูก หรือ ระหวาง
กลามเนื้อและกระดูก ทําหนาที่ชวยประคับประคองขอไมใหบาดเจ็บในขณะ
เคลื่อนไหว โดยการเรียงตัวในหลายทิศทาง ไดแก ลอมรอบขอ ยึดขอในแนว
เฉียงหรือเรียงตัวไปตามแนวยาว และยังชวยนําแรงที่เกิดจากการหดตัวของ
กลามเนื้อลายไปยังขอ ทําใหเกิดการเคลื่อนไหว
6 
 
กระดูกออนและเยื่อหุมขอ (Cartilage and bursa)
กระดูกออน เปนเนื้อเยื่อแผนคอนขางเรียบลื่นแผปกคลุมรอบ ๆ ปลาย
กระดูก ทําใหบริเวณผิวของขอเรียบ กระดูกออนจะรับแรงและน้ําหนักที่เกิด
ขึ้นกับขอ กระดูกออนไมมีเสนเลือดมาเลี้ยงจึงไดรับอาหารที่ผานมาจาก
Synovial fluid ในขณะมีการเคลื่อนไหวและรับน้ําหนักของขอ
ชองระหวางเยื่อหุมขอ (Bursa) คือ ถุงเล็กๆ หรือชองที่อยูในเนื้อเยื่อ
เกี่ยวพันที่อยูรอบๆ ขอเฉพาะบางแหง ไดแก ขอไหล และขอเขา Synovial Fluid
ซึ่งทําหนาที่หลอลื่นขอบรรจุอยู Bursa จะถูกสรางขึ้นเองเมื่อมีแรงกดหรือการ
เสียดสีของขอ (ดังภาพที่ 1)
โครงสรางของกระดูก โครงสรางของกระดูกแบงเปน 2 แบบคือ กระดูก
สวนกลาง (Axial skeleton) และกระดูกรยางค (Appendicular skeleton)
ภาพที่ 1 แสดงสวนตางๆ
ของขอกระดูกออน
และเยื่อหุมขอ
7 
 
1. กระดูกสวนกลาง กระดูกสวนกลาง ไดแก กะโหลกศีรษะและลําคอ
(Skull and neck) กระดูกสวนลําตัวและเชิงกราน (Trunk and pelvis)
กะโหลกศีรษะประกอบดวยกระดูกจํานวน 6 ชิ้น ซึ่งจะเชื่อมติดกัน
กระดูกใบหนาประกอบดวยกระดูกทั้งหมด 14 ชิ้น มีเพียงหนึ่งชิ้นที่เคลื่อนไหว
ไดคือ กระดูกคาง สวนลําคอจะถูกประคองดวยกระดูกสันหลังสวนคอ
(Cervical vertebrae: C) เอ็น และกลามเนื้อคอ (Sternocleidomastoid) และ
กลามเนื้อไหล (Trapezius) ซึ่งจะชวยในการเคลื่อนไหวในระดับ C 4-5 หรือ C
5-6 การเคลื่อนไหวของลําคอจะสามารถทําไดทั้ง กมหนา (Flexion) เงยหนา
(Extension) แหงนหนาไปดานหลัง (Hypertension) เอียงคอ (Lateral) และ
หมุนคอ (Rotation)
ลําตัวและเชิงกราน ลําตัวจะตั้งตรงและคงรูปรางไดจะตองอาศัย
กระดูกซี่โครง (Ribs) และกระดูกหนาอก (Sternum) กระดูกไหปลารา
(Clavicle) และกระดูกสะบัก (Scapula) สําหรับกระดูกสันหลังประกอบดวย
กระดูกสันหลังสวนคอ (Cervical) จํานวน 7 ชิ้น สวนอก (Thoracic) จํานวน 12
ชิ้น สวนเอว (Lumbar) จํานวน 5 ชิ้น และสวนกระเบนเหน็บ (Sacral) กระดูก
สันหลังจะสามารถเคลื่อนไหวไดทั้งกมไปขางหนา (Flexion) แอนไปขางหลัง
(Hyperextension) เอียงตัว (Lateral Bending) และหมุนตัว (Rotation)
กระดูกสันหลังที่เคลื่อนไหวไดมากที่สุดคือ สวนคอ
2. กระดูกระยางค กระดูกระยางค ไดแก สวนบนคือ ไหลและแขน
สวนบน (Shoulder and upper arm) ขอศอก ปลายแขน และขอมือ (Elbow,
forearm, and wrist) มือ (Hand) และสวนลางคือ สะโพกและตนขา (Hip and
8 
 
thigh) เขาและขาสวนลาง (Knee and lower leg) ขอเทาและเทา (Ankle and
foot)
ไหลและแขนสวนบน ขอไหลจะเปนขอแบบ Glenohumeral Joint
(Ball-and-socket) สามารถเคลื่อนไหวไดทั้ง งอ (Flexion) เหยียด (Extension)
เหยียดออกไปขางหลัง (Hyperextension) กางออก (Abduction) หุบเขา
(Adduction) หมุนเขาดานใน (Internal rotation) และ หมุนออกดานนอก
(External rotation)
ขอศอก ปลายแขน และขอมือ ขอศอกประกอบดวยกระดูกตนแขน
(Humerus) กระดูกปลายแขน (Radius and ulna) ขอศอกจะเปนขอแบบ
Hinge joint ซึ่งจะเคลื่อนไหวแบบเหยียดแขน (Extension) งอแขน (Flexion)
และ แอนแขนไปดานหลัง (Hyperextension) คว่ํามือ (Pronation) และ หงาย
มือ (Supination) ขอมือจะประกอบดวย กระดูกปลายแขนและกระดูกฝามือ
ขอมือจะเคลื่อนไหวแบบ กระดกมือลง (Flexion) เหยียดขอมือ (Extension)
กระดกขอมือขึ้น (Hyperextension) บิดขอมือไปทางหัวแมมือ (Radial flexion)
บิดขอมือไปทางนิ้วกอย (Ulnar flexion)
มือ นิ้วมือจะสามารถเคลื่อนไหว แบบ งอ (Flexion) เหยียด
(Extension) กาง (Abduction) และหุบ (Adduction)
สะโพกและตนขา ขอสะโพกจะประกอบดวยเบากระดูก
(Acetabulum) และสวนหัวกระดูกตนขา (Femur) ซึ่งจะหอหุมดวยเยื่อหุม
ลักษณะของขอจะคลายกับขอเขาคือ Ball-and-socket joint ทําใหสามารถ
เคลื่อนไหวไดหลายทิศทาง คือ งอขา (Flexion) เหยียดขา (Extension) และ
9 
 
เหยียดขาไปดานหลัง (Hyperextension) กางขา (Abduction) และหุบขา
(Adduction) หมุนขาเขาดานใน (Internal rotation) หมุนขาออกดานนอก
(External rotation) และ แกวงเปนวงกลม (Circumduction)
ขอเขาและขาสวนลาง ขอเขาจะเปนขอแบบบานพับ การเคลื่อนไหวจะ
เปนแบบ งอ (Flexion) เหยียด (Extension) และเหยียดไปทางดานหลัง
(Hyperextension)
ขอเทาและเทา ขอเทาจะเปนแบบบานพับ มีการเคลื่อนไหวแบบงอคือ
กระดกปลายเทาขึ้น (Dorsiflexion) กดปลายเทาลง (Plantar Flexion) บิด
ปลายเทาเขา (Inversion) บิดปลายเทาออก (Eversion) หุบนิ้วเทา
(Adduction) กางนิ้วเทา (Abduction)
การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ
การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ ประกอบดวยการซัก
ประวัติ การตรวจรางกาย และ การตรวจพิเศษ
การซักประวัติ (History taking) ควรซักประวัติใหครอบคลุมหัวขอตอไปนี้
1. อาการสําคัญที่นํามาโรงพยาบาล (Chief compliant) การซัก
ประวัติถึงอาการสําคัญที่นํามาโรงพยาบาลอยางละเอียดและถูกตอง จะทําให
ไดขอมูลที่มีความสําคัญ นําไปสูการวินิจฉัยและเปนแนวทางในการรักษาได
ถึงแมวาจะยังไมไดตรวจรางกาย อาการที่สําคัญที่นําผูรับบริการมาพบแพทย
จะอยูใน 3 กลุม ไดแก
10 
 
1.1 มีความรูสึกผิดปกติ มักจะเปนอาการปวด (Pain) หรืออาการ
ชา (Numbness)
1.2 ดูผิดปกติ เชน สังเกตวามีกระดูกสันหลังคดหรือโกง คอมหลัง
แอน ขาโกงหรือปดออก เดินแลวมีปลายเทาปดเขาหรือปดออก กอนตามแขน
ขา กลามเนื้อลีบ บวม แดง รอนและปวด
1.3 การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ และสังเกตพบได ไดแก การเดิน
กะเผลก (Limping) การเคลื่อนไหวออนแรง (Weaken) ไมมั่นคง (Instability)
มีอาการสั่น (Tremors) ขอติดแข็ง (Stiffness) ขยับแขน ขา ไมได (Paralysis)
2. ขอมูลพื้นฐานของผูรับบริการ (Basic information of clients) ดังนี้
2.1 อายุ (Age) และเพศ (Gender) มีความสัมพันธกับโรคหรือ
ความผิดปกติที่เกิด ในเด็กเล็กมักจะเกิดจากความพิการแตกําเนิด วัยรุนหรือวัย
ผูใหญมักจะเกิดจากอุบัติเหตุ อาชีพ หรือกีฬาที่เลนเปนประจํา สวนในวัย
ผูสูงอายุมักจะเกิดความเสื่อมของกระดูก กลามเนื้อ และขอ เมื่ออายุมากกวา
35 ปขึ้นไปกระดูกมักจะบางลง (Wilson & Giddens, 2009. p. 319)
โรคขออักเสบ (Osteoarthritis) มักจะเกิดในผูหญิงที่มีอายุ
มากกวา 45 ปขึ้นไปมากกวาผูชาย แตในทางกลับกัน จะเกิดขึ้นมากในผูชาย
อายุกวา 45 ลงไปมากกวาผูหญิง (Wilson & Giddens, 2009. p. 319) ผูหญิง
มักจะมีกระดูกบางและมีการสลายของมวลกระดูกมากกวาผูชาย (Wilson &
Giddens, 2009. p. 319)
2.2 อาชีพและกีฬาที่เลนเปนประจํา (Job and usual exercise)
11 
 
อาชีพของผูรับบริการอาจเกี่ยวของกับการบาดเจ็บของกระดูก
กลามเนื้อและขอได เชน อาชีพทํานา ที่ตองกม ๆ เงย ๆ ในการดํานา หรือ เก็บ
เกี่ยวเปนเวลานาน ๆ ผูรับบริการมักมาดวยอาการปวดหลัง สวนงานที่ตองงอ
เขาหรือคุกเขาเปนประจําทําใหเกิดการเสื่อมของขอเขาไดเร็ว เปนตน
กีฬาบางประเภทที่ใชกลามเนื้อเฉพาะบางมัด เชน บาสเกตบอลทําให
เกิดแรงกระแทกแรงๆ เปนเวลานาน จะเกิดการอักเสบของกลามเนื้อและเอ็น
บริเวณหัวเขา เทนนิสจะทําใหเกิดการอักเสบของกลามเนื้อและเอ็นบริเวณ
ขอศอก เปนตน
2.3 กิจวัตรประจําวัน (Activity of daily living) ถามถึงกิจวัตร
ประจําวันที่ผูรับบริการทําไดเอง และถาทําไมไดชวยเหลือตัวเองอยางไร เนื่อง
ดวยความเจ็บปวยของโรคกระดูก กลามเนื้อ และขอ ทําใหเคลื่อนไหวไดนอยลง
สงผลตอการดูแลตนเอง นอกจากนั้นควรจะถามถึงการดําเนินชีวิตประจําวันที่
สัมพันธกับอาการเจ็บปวย เชน การนั่ง ผูที่มีอาการปวดเขา ควรถามถึงวิธีการ
นั่ง ถานั่งกับพื้น หรือ การนั่งสวมซึมซึ่งตองนั่งยองๆ จะทําใหปวดเขา เปนตน
2.4 ประวัติการเจ็บปวยในอดีต (Past history)
2.4.1 โรคเกี่ยวกับกระดูก กลามเนื้อและขอ รวมทั้งสิ่งที่เปน
สาเหตุของโรคเหลานั้น เนื่องจากความเจ็บปวยในอดีตอาจสงผลสําเร็จถึง
ปจจุบัน เชน เกิดอาการขอติดแข็ง (Stiff joints) หรือการเคลื่อนไหวเต็มพิกัด
ลดลง (Decrease range of motion)
2.4.2 ความพิการแตกําเนิดของกระดูก กลามเนื้อและขอ และ
ประวัติการรักษา
12 
 
2.4.3 ประวัติการผาตัดกระดูก กลามเนื้อและขอ รวมทั้งอาการ
ภายหลังการผาตัด
2.5 โรคเรื้อรังหรือปญหาสุขภาพในระบบอื่น (Chronic disease
or problem) โรคเรื้อรัง เชน ระดับไขมันในเลือดสูง เบาหวาน และเสนเลือด
แดงแข็งและหนา (Arteriosclerosis) อาจจะเปนสาเหตุของอาการปวดขอจาก
โรคเกาท (Gout) ได ซึ่งจะสงผลการเคลื่อนไหวและการทํากิจวัตรประจําวันทํา
ไดนอยลง เปนตน (Wilson & Giddens, 2009. p. 319)
2.6 ประวัติการใชยา (Drugs history) การรับประทานยาบางชนิด
เชน แอสไพริน ไอโซโพรเพน (Isoprofen) ยาบรรเทาปวด ยากลอมประสาท
และยานอนหลับ อาจทําใหผูรับบริการมีอาการดีขึ้น จึงบดบังอาการที่แทจริง
2.7 ประวัติครอบครัว (Family history) ความเจ็บปวยของบุคคล
ในครอบครัวที่เกี่ยวกับกระดูก กลามเนื้อ และขอ เชน Rheumatoid,
Osteoarthritis, Gout เพราะทําใหผูรับบริการมีโอกาสเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรค
เหลานี้ เปนตน
3. ประวัติอาการสําคัญที่พบ (Problem-based history)
โดยสวนใหญอาการสําคัญของผูรับบริการโรคกระดูก กลามเนื้อ และ
ขอ คือ อาการปวด จึงควรซักประวัติเกี่ยวกับอาการปวดใหละเอียด ดังนี้
3.1 บริเวณที่เริ่มปวด และลักษณะของอาการปวด เชน ปวดแปลบ
ปวดตื้อๆ ปวดลึกๆ หรือตื้น ๆ ระยะเวลาของอาการปวดตั้งแตเริ่มจนถึงปจจุบัน
3.2 ระดับความรุนแรงของอาการปวด โดยใชแบบประเมินอาการ
ปวด (Pain scale)
13 
 
3.3 ชวงระยะเวลาของวันที่เกิดอาการปวด เชน ถามีอาการปวดใน
ตอนเชารวมกับอาการขอติดแข็งอาจจะเกิดจาก Rheumatoid arthritis ปวด
ตอนกลางวันขณะทํางาน เปนตน
3.4 มีการปวดราวไปที่ใดหรืออวัยวะใด อะไรทําใหปวดมากขึ้น
หรือบรรเทาลง เชน การขยับอวัยวะหรือขอในผูที่เปน Rheumatoid arthritis จะ
ทําใหอาการปวดบรรเทาลง เปนตน การเคลื่อนไหวแบบไหนสัมพันธกับอาการ
ปวด ความรุนแรงของอาการปวดขึ้นกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม
เชน ผูที่เปนโรคขออักเสบ จะปวดรุนแรงขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของความกด
อากาศ เปนตน (Wilson & Giddens, 2009. p. 321)
3.5 เคยเปนไขหวัดลงคอมากอนที่มีอาการปวดขอนั้นหรือไม เชน
การเจ็บปวยจากเชื้อไวรัส จะมีอาการปวดกลามเนื้อ (Myalgia) (Wilson &
Giddens, 2009. p. 321)
3.6 อาการปวดมีผลตอผูรับบริการอยางไรบาง เชน ตื่นกลางดึก
จากอาการปวดหรือชา ความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง ความสามารถใน
การดูแลตนเองลดลง เชน โรคเกาท หรือ โรคขออักเสบ จะทําใหเกิดการอักเสบ
แบบเฉียบพลัน (Acute inflammation) ซึ่งจะมีอาการบวม แดง รอน และทําให
ขอนั้นๆ ไมสามารถเคลื่อนไหวไดอยางเต็มที่ เปนตน (Wilson & Giddens,
2009. p. 321)
3.7 เคยไดรับอุบัติเหตุมากอนหรือใชงานอวัยวะสวนนั้นมากและ
เปนเวลานานๆ แลวเกิดอาการปวดหรือ อาการปวดเกิดขึ้นเองโดยไมทราบ
สาเหตุ
14 
 
การตรวจรางกายระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ
การตรวจรางกายระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ ประกอบดวยขั้นตอน
การดู การคลําหรือการวัด ดังนี้
การดู (Inspection)
สังเกตโครงสรางรางกายโดยสังเกตลักษณะการยืนตรง โดยใหดูทั้ง
ดานหนา หลัง และดานขาง เปรียบเทียบความสมมาตรของรางกายซีกซายและ
ขวา หลังตั้งตรงและมีความโคงของกระดูกสันหลังตามปรกติ คือ สวนของคอ
จะเวา (Cervical concave) สวนหลังจะนูน (Thoracic convex) และสวนเอ
วจะเวา (Lumbar concave) (ดังภาพที่ 2)
สังเกตขนาดและความสมมาตรของกลามเนื้อ ถามีกลามเนื้อลีบทั้ง
สองขางจะบงบอกถึงการขาดเสนประสาทไปเลี้ยงบริเวณนั้น เชน ไดรับ
บาดเจ็บบริเวณไขสันหลัง หรือ ภาวะขาดสารอาหาร เปนตน การลีบเพียงขาง
เดียวจะบงบอกถึงการใชงานนอย เคลื่อนไหวนอยลงอันเนื่องมาจากอาการ
ปวด หรือ หลังจากไดรับการใสเฝอกมาเปนเวลานาน กลามเนื้อกระตุก
(Fasciculation) อาจแสดงถึง ผลจากอาการขางเคียงของยา ความสามารถใน
การเดินตัวตรงหรือเดินดวยความออนแรงของกลามเนื้อมัดตางๆ ความโคงของ
กระดูกสันหลัง เชน หลังคอม (Humpback) ในโรค Kyphosis หรือกระดูกสัน
หลังคดไปทางดานขางในโรค Scoliosis ผิวหนังใหสังเกตระดับสี แผลเปน มี
บาดแผลที่มีลักษณะเปนแผลถลอกที่ผิวหนังหรือแผลฉีกขาดหรือไม สังเกต
ลักษณะวามีอาการบวมหรือลักษณะผิดรูปรางหรือไม (Harkreader, Hogen,
& Thobaben, 2007. p. 177)
15 
 
ภาพที่ 2 แสดงการดูรูปรางของรางกายทั้งหมด โดยดูระดับของ
ไหล (Scapula) ทั้งสองขาง ระดับของสะบักและแนวสันกระดูกเชิงกราน (Iliac
crest) ความสมมาตรของรางกายทั้งสองขาง A. ดานหนา B. ดานหลัง และ C.
ดานขาง แสดงถึงความเวาของกระดูกสันหลังในระดับตางๆ
การคลํา (Palpation) หรือ การวัด (Measurement) คลําบริเวณ
ผิวหนังเพื่อสัมผัสใหทราบถึงอุณหภูมิ ความรูสึก ความออนนุม (Texture) และ
ความตึงตัว (Tone) คลําดูลักษณะการเจ็บปวด บวม และรอน ตรวจลักษณะ
ขนาดผิดรูปรางหรือความสั้นยาวของกระดูก
การตรวจความเคลื่อนไหวของขอ (Range of movement) การตรวจ
การเคลื่อนไหวของขอตางๆ เริ่มจากใหผูรับบริการทําเอง (Active
movement) กอน แลวเปรียบเทียบกับการตรวจโดยใหพยาบาลทํา (Passive
Cervical Concave
Thoracic Convex
Lumbar Concave
16 
 
movement) หากพบวาไมเทากันอาจบอกถึงพยาธิสภาพของขอนั้น ขณะตรวจ
การเคลื่อนไหวของขอ พยาบาลควรสังเกตอาการเจ็บปวด การเคลื่อนไหวของ
ขอ มีอยู 7 ทิศทาง ไดแก Abduction, Adduction, Flexion, Extension,
Internal rotation, External rotation และ Circumduction
การวัดเปนการตรวจวิธีหนึ่งเพื่อใหไดทราบขนาดของแขน ขา ความ
ยาวของแขน ขาและขนาดมุมของการเคลื่อนไหวของขอ
1. การวัดขนาดรอบวง เพื่อใหทราบขนาดของกอนเนื้องอกหรือขนาด
ของแขน ขา วาเทากันหรือไมเทากัน โดยการวัดเปรียบเทียบ 2 ขาง ที่ตําแหนง
เดียวกัน เชน ที่ตําแหนง 5 เซนติเมตรใตลูกสะบา (Patella) หรือ 5 และ 10
เซนติเมตร เหนือลูกสะบา นอกจากนั้นควรวัดเปรียบเทียบขนาดตามระยะเวลา
วามีการเปลี่ยนแปลงอยางไร ยุบลงหรือบวมขึ้น (ดังภาพที่ 3)
2. การวัดความยาวของขา วัดจาก Anterior superior iliac spine ไปที่
Medial malleolus ในทาขอสะโพกและเขาเหยียดตรง (ดังภาพที่ 4)
ภาพที่ 4 การวัดความยาว
ของขาทั้งหมด
ภาพที่ 3 แสดงการวัดขนาด
เสนรอบวงของตนขา
17 
 
2.1 ความยาวของขาทอนบน วัดจาก Anterior superior iliac
spine ไปที่ Joint line ดานในหรือดานนอกของเขา (ดังภาพที่ 5)
2.2 การวัดความยาวของขาทอนลาง วัดจาก Joint line ดานในหรือ
ดานนอกของเขา ไปที่ Medial malleolus (ดังภาพที่ 6)
3. การวัดมุมขอ โดยใชเครื่องวัดมุมหรือ Goniometer (ดังภาพที่ 7)
วิธีการวัดมุมของขอทํา
ไดโดยการ วางทาบ Goniometer ลงบนมุม
ของขอที่จะวัด แลวกางขาดานหนึ่งใหอยูในแนวกลางสวนตนขาดานหนึ่ง และ
กางขาอีกขางหนึ่งวางทาบลงบนแนวกลางของสวนปลายขาอีกดานหนึ่ง ใหมุม
ตัด (มุม 0) วางอยูบริเวณอยูตรงกลางของขอ อานคาที่ไดทั้งในขณะ งอ เหยียด
ภาพที่ 6 แสดงการวัดความ
ยาวของขาทอนลาง
ภาพที่ 7 แสดงการวัดมุมขอ
(Avaronrehap.com, 2010)
ภาพที่ 5 การวัดความยาว
ของขาทอนบน
18 
 
และแอนไปดานหลัง การเคลื่อนไหวของแตละขอไมเหมือนกัน ซึ่งอาจมีการ
เคลื่อนไหวไมครบตามกําหนดที่กลาวมาขางตน การวัดความ สามารถในการ
เคลื่อนไหวของขอ จะวัดออกมาเปนองศา เชน ขอศอกขณะงอได 135O
เปนตน
การสังเกตการเคลื่อนไหวเต็มพิกัด (Range of motion)
การสังเกตการเคลื่อนไหวเต็มพิกัดของขอตางๆ เพื่อทดสอบวามีอาการ
เจ็บปวดกลามเนื้อขณะเคลื่อนไหว (Pain on movement) ความมั่นคงของขอ
(Joint stability) และความผิดรูป (Deformity) วิธีการคือ ใหผูรับบริการ
เคลื่อนไหวสวนตางๆ ของรางกาย ตามที่พยาบาลบอก ขณะเคลื่อนไหวถามี
อาการ เจ็บ รอน บวม มีเสียงกรอบแกรบ ผิดรูป หรือ ติด แสดงถึงอาการ
ผิดปกติของขอนั้น ๆ ซึ่งควรไดรับการตรวจในขั้นตอนตอไป
ลําคอ
-Flexion:กมใหคางจรดอก
-Extension:เงยหนาตรง
-Hyperextension: แหงนหนาไปดาน
หลังใหมากที่สุด
-Lateral flexion:เอียงศีรษะไปชิด
กับไหลซายและขวาใหมากที่สุด
-Rotation: หมุนศีรษะไปทางซาย
และขวา
ขอไหล-Flexion: ยืนตรงแขนแนบลําตัวแกวง
แขนขึ้นเหนือศีรษะ
-Extension: เอาแขนลงมาแนบขาง
ลําตัวเหมือนเดิม
-Hyperextension: แกวงแขนไป
ดานหลังลําตัวโดยไมงอขอศอก
Flexion
Extension
19 
 
ขอศอก
-Flexion: งอขอศอก
-Extension: เหยียดขอศอกออกให
แขนเหยียดตรง
-Internal rotation:
งอขอศอกหมุนแขนลง
-External rotation:
งอขอศอกหมุนแขนขึ้น
Flexion
Extension
-Abduction: กางแขนออกไปดานขาง
ลําตัวแลวยกขึ้นเหนือศีรษะ
-Adduction:ลดแขนมา
แนบลําตัวแลวแกวงแขนไขว
ไปดานตรงขามใหมากที่สุด
Abduction
Adduction
Hyperextension
External rotation
Internal rotation
20 
 
นิ้วมือ
-Flexion: กํามือ
-Extension: เหยียดมือ
-Hyperextension: แอนนิ้วมือขึ้นให
มากที่สุด
-Abduction: กางนิ้วออก
ปลายแขน
-Pronation: คว่ําฝามือลง
-Supination: หงายฝามือขึ้น
-Circumduction:
เหยียดแขน แลวแกวงแขนเปนวง
โดยรอบ
Pronation
Supination
21 
 
ขอมือ
-Flexion: งอมือลง
-Extension: เหยียดขอมือตรง
-Hyperextension: กระดกมือขึ้นให
มากที่สุด
-Flexion: ยกขาไปขางหนา
-Extension: แกวงขากลับมาชิดกัน
-Radial flexion: เอียงมือไปดาน
หัวแมมือ
-Ulnar flexion: เอียงมือไปดาน
นิ้วกอยขอสะโพกRadial Flexion  Ulna flexion
Flexion
22 
 
-Internal rotation: บิดเขาเขา
หาลําตัว
-External rotation: บิดเขา
ออกนอกลําตัว
Extension
23 
 
-Circumduction: หมุนขาเปน
วงกลม
เทา
-Dorsiflexion: กระดกขอเทาขึ้น
-Plantar flexion: กดปลายเทาลง
-Inversion: หมุนเทาเขาดานใน
-Eversion: หมุนเทาออกดานขาง
ขอเขา
-Flexion: งอเขายกสนเทาขึ้น
-Extension: เอาสนเทาไปแตะ
พื้น
24 
 
การทดสอบความแข็งแรงของกลามเนื้อ (Test of muscle strength)
ทดสอบความแข็งของกลามเนื้อ โดยการใหผูรับบริการเคลื่อนไหวขอ
นั้นๆ เต็มที่ แลวออกแรงตานกับแรงของพยาบาล เปรียบเทียบความแข็งแรง
ของอวัยวะทั้ง 2 ขาง มักจะพบวาขางที่ผูรับบริการถนัดมักจะมีความแข็งแรง
มากกวาขางที่ไมถนัด แตไมควรใชแรงทดสอบมาก ณ บริเวณที่มีอาการ
เจ็บปวด
วิธีการทดสอบกําลังของกลามเนื้อ
1. Isometric testing คือ การทดสอบโดยผูรับบริการ เกร็งกลามเนื้อ
ไวหลังจากเกิดการเคลื่อนไหวอยางเต็มที่แลว พยาบาลพยายามเอาชนะการหด
ตัวของกลามเนื้อนั้น
นิ้วเทา
- Flexion: งอนิ้วเทาขึ้น และลง
-Extension: เหยียดนิ้วเทา
-Abduction: กางนิ้วเทาออก
-Adduction: หุบนิ้วเทาเขา
25 
 
2. Isotonic testing คือ การทดสอบโดยผูรับบริการพยายามออกแรง
การเคลื่อนไหวขอในขณะที่พยาบาลออกแรงตานเพื่อขัดขวางการเคลื่อนไหว
ดังกลาว วิธีนี้ชวยใหตรวจสอบกลามเนื้อออนแรงได ขณะที่ทดสอบกําลังของ
กลามเนื้อ ใหสังเกตและคลํากลามเนื้อที่กําลังหดตัวนั้น ๆ ดวย การแบง
ระดับกําลังของกลามเนื้อ ดังตอไปนี้
Grade 0 ไมมีการหดตัวของกลามเนื้อเลย
Grade 1 มีการหดตัวของกลามเนื้อเกิดขึ้นพอเห็นได
Grade 2 เคลื่อนไหวตามแนวราบได เมื่อไมมีความโนมถวงตานไว
Grade 3 ตานความโนมถวงไดแตตานแรงทานไมได
Grade 4 ออกแรงตานทานไดแตนอยกวาปกติ
Grade 5 เคลื่อนไหวและตานแรงไดตามปกติ
การตรวจกลามเนื้อและขอแตละสวน
1. Temporo mandibular joint (TMJ)
1.1 ตรวจการเคลื่อนไหว โดยการทําดังตอไปนี้
- ใหผูรับบริการนั่ง พยาบาลใชนิ้วชี้และนิ้วกลางวางหนาหู บอกให
ผูรับบริการอาปากออกใหกวางมากที่สุด ปกติจะอาไดกวาง 1-2 นิ้ว คลําดู
บริเวณรอยตอของกระดูก Temporal และ Mandibular
-ใหผูรับบริการขยับขากรรไกรจากซายไปขวา ขวาไปซาย ปกติจะ
เคลื่อนไปได 1-2 เซนติเมตร (ดังภาพที่ 8)
26 
 
-ใหผูรับบริการขยับขากรรไกรยื่นออกมาและดันเขาไป ปกติจะ
เคลื่อนไหวไดดีไมสะดุด
-ความผิดปกติที่พบได คือ อาปากไมได หรือ ไดนอย อาจ
เนื่องมาจากการไดรับบาดเจ็บ หรือมีการอักเสบของขอ (Arthritis), ขอตอบวม,
บาดเจ็บหรือมีเสียงกรอบแกรบ พบไดใน Arthritis หรือใน TMJ dysfunction
(ดังภาพที่ 8)
1.2 ทดสอบกําลังของกลามเนื้อ
-ใหผูรับบริการอาปากคางไว ออกแรงตานกับมือพยาบาล ใน
ขณะเดียวกันพยาบาลคลําดูการหดเกร็งของกลามเนื้อ Temporal และ
Masseter ปกติจะหดเกร็งดี ไมเจ็บและไมกระดก แสดงถึงการทํางานของ
เสนประสาทสมองคูที่ 5 (Trigeminal nerve) ปกติ (ดังภาพที่ 9)
2. ขอตอบริเวณกระดูกหนาอกและไหปลารา (Sternoclavicular joint)
โดยใหผูรับบริการนั่ง สังเกตบริเวณ Sternoclavicular joint วาอยูในแนวกลาง
ภาพที่ 8 แสดงการ
เคลื่อนไหวของ TMJ
ภาพที่ 9 แสดงกําลัง
กลามเนื้อของ Temporal
และ Masseter
27 
 
ลําตัวหรือไม สีผิว บวม หรือมีกอน แลวคลําดูวากดเจ็บหรือปวดหรือไม ถามี
การอักเสบจะมีการบวมแดงหรือกดเจ็บ
3. กระดูกสันหลังสวนคอ (Cervical spine)
3.1 ทดสอบการเคลื่อนไหวกระดูกและกลามเนื้อรอบกระดูกสัน
หลังสวนคอ
ความผิดปกติที่อาจพบ ไดแก
1. เจ็บเวลากม เงย หรือเอียงจากกลามเนื้อบริเวณคอตึง อาจเกิดจาก
การนอนผิดทา หิ้วกระเปาหนัก หรือ ตกจากที่สูง
2. การเคลื่อนไหวทําไดไมเต็มที่รวมกับมีอาการปวดราวไปยังหลัง ไหล
หรือแขน เกิดจากกระดูกเสื่อมหรือมีกอนเนื้อ
3. เจ็บบริเวณคอรวมกับชาบริเวณขาอาจเกิดจากไขสันหลังถูกกดทับ
-หมุนศีรษะใหไปขางซายและ
ขวาใหมากที่สุด (Rotation)
-กมหนาเอาคางจรดอก (Flexion)
-เงยหนาตั้งตรง Extension)
-เงยหนาไปขางหลังใหมาก
ที่สุด (Hyperextension)
-เอียงคอใหหูเขาใกลไหลให
มากที่สุดทั้งซายและขวา
(Lateral bending)
28 
 
4. เคลื่อนไหวไมไดเต็มที่รวมกับมีไข หนาวสั่น อาจเกิดจากการติดเชื้อ
เชน เยื่อหุมสมองอักเสบ (Meningitis) เปนตน
3.2 การทดสอบกําลังกลามเนื้อ Sternocleidomastoid muscle
วิธีที่ 1 โดยการบอกใหผูรับบริการหันหนาไป
ทิศทางตรงกันขามกับแรงพยาบาล
วิธีที่ 2 ใหผูบริการกมหนาตานแรงพยาบาล
ที่พยายามกดหนาผากใหหนาผูรับบริการแหงน
ขณะเดียวกันพยาบาลจับดูความแข็งเกร็งของ
Sternocleidomastoid muscle
วิธีที่ 3 ใหผูรับบริการแหงนขึ้นและเกร็งตาน
กับแรงพยาบาลที่พยายามกดใหหนาแหงน
ขึ้นอีก ถากลามเนื้อมีความแข็งแรงพอจะไม
สามารถใหหนาแหงนขึ้นมากกวาเดิมที่
ผูรับบริการเกร็งไวเปนการทดสอบกําลังของ
Trapezius
ความผิดปกติอาจพบได คือ ผูรับบริการไมสามารถเกร็งตานแรง
พยาบาลได อาจเกิดจากกลามเนื้อออนแรง
4. กระดูกสันหลังสวนอกและเอว (Thoracic and lumbar spine)
การดู สังเกตลักษณะกระดูกสันหลัง ใหผูบริการยืนตัวตรง ดูดานหนา
ดานหลัง และดานขาง ในคนปกติจะตองยืนตัวตรง มีความสมมาตรของอวัยวะ
29 
 
ดานซายและขวา เมื่อมองทางดานหลังกระดูกสันหลังเปนแนวตรง ความ
ผิดปกติที่พบได คือ กระดูกสันหลังคด พบไดใน Scoliosis และเมื่อมองทาง
ดานขางมีสวนโคงถูกตอง เขาอยูในแนวตรง เทาวางราบกับพื้น และชี้ตรงไป
ขางหนา ถามีการโปงนูนของกระดูกสันหลังสวนอกมาก เรียกวา Kyphosis มัก
เกิดเมื่อมีการเสื่อมของกระดูกในวัยชรา โคงของกระดูกสันหลังบริเวณเอว
ลดลง มักจะพบไดในหมอนของกระดูกสันหลังเสื่อม (Herniated lumbar disc
or ankylosing spondylitis) แตโคงของกระดูกสันหลังสวนเอวเพิ่มมากขึ้นใน
เรียกวา Lordosis พบในหญิงตั้งครรภและคนอวน (ดังภาพที่ 10)
ภาพที่ 10 แสดงความผิดปกติของกระดูกสันหลัง
A Normal Spine B Kyphosis C Lordosis D Normal spine
E Mild scoliosis F Severe scoliosis G Rib hump and lank asymmetry
การคลํา พยาบาลยืนดานหลังผูรับบริการที่นั่งกมศีรษะเล็กนอย คลํา
บริเวณดานหลังลําคอ กระดูก สันหลัง เพื่อหาแนวของกระดูกสันหลังและ
อาการกดเจ็บ ปกติกระดูกสันกําลังจะอยูในแนวตรง และกดไมเจ็บ ถากดเจ็บ
A C D E F GB
30 
 
แสดงถึงอาการอักเสบ เชน กลามเนื้ออักเสบ (Myositis) หรือหมอนรองกระดูก
สันหลังเลื่อน (Herniated vertebral disk) (ดังภาพที่ 11)
สังเกตการเคลื่อนไหวของ Thoracic and lumbar spine
- ใหกมแตะเทา (Flexion)
-ใหแอนตัวไปดานหลัง
(Hyperextension)
-ใหเอียงตัวไปดานซายและขวา
(Lateral Bending)
ภาพที่ 11 แสดงการคลํากระดูกสันหลัง
31 
 
-ใหเอียงตัวหมุนลําตัวสวนบนไป
ทางดานซายและขวา (Rotation)
การทดสอบกําลังของกลามเนื้อหลัง
การทดสอบอาการปวดของหลังและขา
การตรวจขอไหล (Shoulder Joint)
การดูและการคลํา
ใหผูรับบริการนั่ง สังเกตดูความสมมาตรของไหล แขน ทั้ง 2 ขาง
สังเกตสี อาการบวม และกอน อาการลีบของกลามเนื้อ คลําบริเวณที่ขอกระดูก
ใหนอนคว่ําแลวพยายามยกเกร็งศีรษะและ
ไหลขึ้นจากที่นอน ถาไมสามารถทําได
แสดงถึงการออนแรงของกลามเนื้อที่ทํา
หนาที Extension ของกระดูกสันหลัง  
ถาผูรับบริการมีอาการปวดหลัง (Low back
pain) และปวดราวไปยังขาใหทดสอบดวยวิธี
Losegue’s test หรือ Straightจนกระทั่งรูสึกเจ็บ
พยาบาลดันปลายเทาผูรับบริการขึ้น ถามีอาการ
ปวดเพิ่มขึ้นแสดงวามีการเสื่อมของหมอนรอง
กระดูก (Weber & kelly, 2003. P. 516)
32 
 
ทั้งสองขางมาบรรจบกันและปุมกระดูกหัวไหลเทากัน อาจเกิดจาก Scoliosis
ความผิดปกติที่พบ ไดแก ไหลกลวง ยุบลงไปอาจเกิดการเคลื่อนของหัวกระดูก
(Dislocation) กลามเนื้อลีบเกิดจากเสนประสาทกลามเนื้อบาดเจ็บหรือขาด
การออกกําลังกายสวนนี้ อาการกดเจ็บ บวม แดงและรอน เกิดจากกลามเนื้อ
ตึง อักเสบ
ทดสอบการเคลื่อนไหวของขอไหล
ใหผูรับบริการยืนตรงแขน
แนบลําตัว ยกแขนขึ้นไป
ดานหนาลําตัว ขอศอก
เหยียดตรง ลดแขนลงมา
แนบลําตัว เหยียดแขนเลย
ไปขางหลัง โดยที่ขอศอก
เหยียดตรง
กางแขนออก (Abduction)
ยกขึ้นเหนือศีรษะ
หุบแขนเขาหาลําตัว
(Adduction) หรือไขวมือไป
ดานตรงขาม
33 
 
วางมือไวที่ทายทอยให
ขอศอกกางมากที่สุด
(External rotation)
ไขวมือทั้งสองขางที่บริเวณ
หลัง (Internal rotation)
แกวงแขนใหเปนวงกลมรอบ
(Circumduction)
การเคลื่อนไหวของหัวไหลปกติจะหมุนไดโดยรอบ นอกจากดานที่ติด
กับลําตัวหรือดานหลัง ถาเกิดการปวดเฉียบพลันของหัวไหลขางใด แขนขางนั้น
จะแนบติดกับลําตัว การเคลื่อนไหวโดยเฉพาะทากางแขนหรือปดออกจาก
ลําตัวทําไดยาก เนื่องจากจะเจ็บปวดมาก พบไดในผูปวยที่มีการจับของหิดปูน
รอบหัวไหล รวมกับการอักเสบอยางเฉียบพลัน
การทดสอบกําลังของกลามเนื้อไหล
ใหผูรับบริการกางแขนออก (Abduction)
เกร็งแขนตานแรงพยาบาลที่พยายามกดลง
ใหแขนผูรับบริการลงแนบตัว
34 
 
ใหผูบริการกางแขนออก แลวพยายามหุบ
แขนลงแนบลําตัว (Adduction) ตานกับแรง
พยาบาลที่พยายามยกแขนผูรับบริการขึ้น
การตรวจขอศอก (Elbow point)
การดูและการคลํา สังเกตดูสี อาการบวม กอนของบริเวณ
ขอศอก การผิดรูปของขอ คลําวามีอาการ
ปวด บวม รอน กดเจ็บหรือไม คลําเอ็นยึด
กอน คลําปุมกระดูก Olecranon process,
Epicondyle ของกระดูกตนแขนดานขางของ
ผูรับบริการ โดยใชหัวแมมือตรวจคลําที่
Lateral epicondyle, นิ้วชี้อยูที่ Olecranon
process และนิ้วกลางอยูที่ Medial
epicondyle ถามีอาการบวมแดงและกดเจ็บ ก็แสดงวามี Oleranon bursitis
35 
 
การตรวจการเคลื่อนไหวของขอศอก
งอขอศอก (Flexion)
เหยียดขอศอก (Extension)
งอขอศอก หงายฝามือขึ้น
(Supination)
งอขอศอก คว่ําฝามือลง
(Pronation)
การตรวจกําลังกลามเนื้อของขอศอก
พยาบาลประคองแขนสวน
ตนแลว ใหผูรับบริการงอ
ขอศอก ดันปลายแขน
ออกมา (Extension) ตาน
กับแรงพยาบาลเปนการ
ตรวจหาความแข็งแรงของ
Triceps muscle
Supination
Pronatio
Flexion
Extension
36 
 
พยาบาลประคองแขนสวน
ตนใหผูรับบริการงอขอศอก
ดึงแขนเขาหาตัว(Flexion)
ตานกันกับแรงพยาบาลที่
พยายามดึงออก เปนการ
ตรวจความแข็งแรงของ
Biceps Muscle
ใหผูรับบริการพยายามงอ
ขอศอก โดยใหหัวแมมือหัน
เขาตัวผูรับบริการ เกร็งตาน
แรงพยาบาลที่พยายามดึง
แขนออก เปนการทดสอบกําลัง
ของกลามเนื้อ Brachioradialis
ใหผูรับบริการเหยียดขอศอก
พยายามหงายมือขึ้นตานแรง
พยาบาลที่พยายามจับดึงไวใน
ทิศทางตรงกันขาม เปนการ
ทดสอบกําลังของกลามเนื้อที่ทํา
หนาที่ Supination
37 
 
ใหผูรับบริการเหยียดแขนออก
พยายาม คว่ํามือลงตานแรง
พยาบาลที่พยายามดันไวใน
ทิศทางตรงกันขาม เปนการ
ทดสอบกําลังของกลามเนื้อที่ทํา
หนาที่ Pronation
การตรวจนิ้วมือและขอนิ้ว (Wrist Joints and Hand Joints)
การดูและการคลํา
ดูลักษณะการบวมแดง ตลอดจนการผิดรูปของขอ ขอที่มีการเบี่ยงเบน
ไปของ Ulnar หรือ Radial มากเกินไป (Ulnar or radial deviation) พบไดบอย
ในผูรับบริการที่เปน Rheumatoid Arthritis
คลําบริเวณขอมือและขอนิ้ว เมื่อพบวา
บวม รอน กดเจ็บหรือไม ถามีการกดเจ็บ
แสดงถึงการอักเสบของขอ ณ บริเวณ
นั้น ในการคลํานิ้วพยาบาลใชนิ้วชี้และ
นิ้วหัวแมมือ คลําบริเวณขอทั้ง 2 ดาน
คลําบริเวณ Interphalangeal joints,
Metacarpophalangeal joints และ
Radiocarpal groove
38 
 
ถาพบขอนิ้วมือมีขนาดใหญมากและอาจมีอาการหงิกงอรวมดวย แข็ง
แตไมเจ็บปวด มักพบในวัยกลางคนและผูสูงอายุ อาจเปนโรค Osteoarthritis
แตถามีอาการบวม นุมและเจ็บปวด บางรายอาจมีอาการขอติดแข็งรวมดวย
อาจเปนโรค Rheumatoid arthritis
ตรวจการเคลื่อนไหวของขอมือและนิ้วมือ
เหยียดขอมือตรง หักขอมือลง
(Flexion) เหยียดมือ
(Extension) กระดกมือขึ้น
(Hyperextension)
บิดขอมือใหหัวแมมือเขาหา
ลําตัว (Radial Flexion) บิด
ขอมือใหปลายนิ้วมือชี้ออกนอก
ลําตัว (Ulnar Flexion)
กํามือ (Flexion)
บีบนิ้วมือเขาหากัน
(Adduction)
39 
 
กางนิ้วมือออก
(Abduction)
งอนิ้วหัวแมมือ (Flexion)
กางนิ้วมือ (Extension)
เอานิ้วหัวแมมือจรดกับนิ้ว
แตละนิ้ว (Opposition)
การทดสอบกําลังของกลามเนื้อที่ขอมือและนิ้ว
ใหผูรับบริการหงายมือและ
กําหมัด พยายามทํา
Flexion ตานแรงกับ
พยาบาลที่พยายามกดลง
เปนการทดสอบกําลังของ
กลามเนื้อที่ทําหนาที่
Flexion ที่ขอมือ
40 
 
ใหผูรับบริการงอนิ้วมือเกร็งตาน
แรงพยาบาลที่พยายามดึงนิ้ว
ออก เปนการทดสอบกําลังของ
กลามเนื้อ Flexion ของนิ้วมือ
ใหผูรับบริการเกร็งเหยียดนิ้วมือ
ตานกับแรงพยาบาลที่พยายาม
กดลง เปนการทดสอบกําลัง
ของกลามเนื้อที่ทําหนาที่
Extension
ใหผูรับบริการกํานิ้วของ
พยาบาลไวใหแนนดึงสูกับแรง
พยาบาลที่พยายามดึง
นิ้วออกเปนการทดสอบกําลัง
ของกลามเนื้อที่ทําหนาที่
Hand grip ของนิ้วมือ
41 
 
ใหผูรับบริการกดนิ้วหัวแมมือไว
กับนิ้วกอยใหแนน พยาบาล
พยายามดึงนิ้วทั้งสองใหหลุด
ออกจากกัน เปนการทดสอบ
กําลังของกลามเนื้อที่ทําหนาที่
Opposition
ใหผูรับบริการกางนิ้วเกร็งคางไว
ตานกับแรงพยาบาลที่พยายาม
ดันนิ้วเขาหากัน เปนการ
ทดสอบกําลังของกลามเนื้อที่ทํา
หนาที่ Abduction ของนิ้วมือ
ใหผูรับบริการหนีบกระดาษไว
ระหวางนิ้วมือใหแนน ตานกับ
แรงพยาบาลที่พยายามดึง
กระดาษออกเปนการทดสอบ
กําลังกลามเนื้อที่ทําหนาที่
Adduction
42 
 
การตรวจขอตะโพก (Hip joint)
การดู
ใหดูการเดินและการยืนของผูรับบริการวา ลักษณะการเดินมีการ
เคลื่อนไหวมากนอยเพียงใด ใหเปรียบเทียบกับดานตรงขาม ถามีพยาธิสภาพที่
ขอตะโพก การเดินของผูรับบริการมักจะมีการเคลื่อนไหวของตะโพกนอยมาก
ทายืนของผูรับบริการมักจะลงน้ําหนักในขางที่ดี กลามเนื้อตะโพกมักจะเล็กกวา
ดานที่ดี ในทานอนจะพบวาขายาวไมเทากัน (Apparent shortening) ควร
สังเกตวามีการปดของกระดูก เชิงกรานหรือขารวมดวยหรือไม
การตรวจ Trendelenburg test โดยการใหผูรับบริการยืนลงน้ําหนักบน
ขาขางหนึ่ง และยกเขาของขางตรงขาม ตามปกติแลวระดับของกระดูก Pelvis
(จะใช Iliac crest และ Anteior และ Posterior superior Iliac sine ก็ได) จะ
ยกขึ้นในดานที่ไมไดลงน้ําหนัก แตถามีพยาธิสภาพในขอสะโพก เชน
Congenital dislocation หรือ การออนแรงของกลามเนื้อสะโพกระดับของ
กระดูก Pelvis จะลดต่ํากวาอีกขางหนึ่ง (ดังภาพที่ 12)
ภาพที่ 12 แสดงการตรวจ Trendelenburg test
A ขอสะโพกปกติ B ขอสะโพกมีพยาธิสภาพ
43 
 
การคลํา
ใหคลําบริเวณรอบ ๆ ขอตะโพกและรอบ ๆ ทั้ง 2 ขาง ไดแก Anterior
superior Iliac spine คลําเพื่อหาวามีการบวม รอน กดเจ็บและมีเสียงกรอบแก
รบหรือไม ในรายที่สังเกตวาขายาวไมเทากัน ควรวัดความยาวของเปรียบเทียบ
กันทั้ง 2 ขาง
การตรวจความเคลื่อนไหวของตะโพก
การตรวจการเคลื่อนไหวของขอตะโพกหามทําในผูปวยที่ไดรับการ
เปลี่ยนขอตะโพก (Hip replacement) เพราะอาจทําใหเกิดการเคลื่อนหลุดของ
ขอตะโพกได เนื่องจากขอตะโพกเปนขอแบบ Ball-and-socket จึงเคลื่อนไหว
ไดทุกทิศทาง ทาที่ใชในการตรวจ มีดังนี้
ใหผูรับบริการเหยียดเขาและ ยกสูงขึ้น
เทาที่จะทําได (Flexion)
กางขาออก (Abduction)
หุบขาเขา (Adduction)
แกวงขาเปนวงกลม
(Circumduction)
44 
 
การหมุนขาเขาขางใน (Internal Rotation)
การหมุนขาออกขางนอก (External Rotation)
การตรวจขอตะโพกที่สงสัยวามีการอักเสบ
การตรวจในรายที่สงสัยวามีการอักเสบของขอตะโพก โดยวิธี Fabere
test (ดังภาพที่ 13) ใหผูรับบริการงอเขาขางหนึ่ง โดยวางเทาอยูที่บริเวณกระดูก
สะบาของเขาอีกขางหนึ่งพยาบาลใชมือดันเขาขางนั้นลงติดพื้นเพื่อใหขาหมุน
ออก ตอจากนั้นใหหมุนขอตะโพกเขาดานใน โดยการจับเขาหมุนเขาขางในและ
เทาหมุนออกขางนอก ถามีการอักเสบที่ขอตะโพก จะดันเขาขางนั้นไดนอยและ
จะทําใหมีอาการปวดที่ตะโพก การตรวจขอตะโพกอีกขางก็เชนเดียวกัน
ภาพที่ 13 แสดงวิธีการตรวจ
ขอตะโพกที่สงสัยวามีการ
อักเสบดวยวิธี Fabere test
45 
 
การทดสอบกําลังของกลามเนื้อตะโพก
ใหผูรับบริการนอนหงาย
เหยียดเขาตรงยกขาเกร็ง
ตานแรงพยาบาลที่กดลง
เปนการทดสอบกําลัง
กลามเนื้อที่ทําหนาที่
Flexionของขอตะโพก
ใหรับบริการนอนหงาย ยก
เหยียดเขาแลวพยายามกด
ขาลงกับที่นอนตานแรงกับ
แรงพยาบาลที่พยายามยก
ขาขึ้น เปนการทดสอบกําลัง
กลามเนื้อที่ทําหนาที่
Extension ของขอตะโพก
การตรวจขอเขา (Knee joints)
การดู ดูผิวหนังวามีกลามเนื้อลีบหรือไม สีผิว อาการบวม
เปรียบเทียบกันทั้ง 2 ขาง
การคลํา คลําดูวามีบวมรอนและกดเจ็บหรือไม มีน้ําอยูในขอหรือไม
ขอเขาปกติจะมีสารน้ําหลอเลี้ยงประมาณ 3-5 มิลลิเมตร หากมีการอักเสบหรือ
การติดเชื้อ จะทําใหมีสารน้ําในขอมากขึ้น วิธีที่ใชตรวจเมื่อมีสารน้ําในขอเขา
46 
 
นอยวา 30 มิลลิเมตร ไดแก Patellar stroke test หรือ Fluid displacement
test หรือ Bulge sign โดยการดันน้ําจากดานในของ Patellar หรือดันน้ําจาก
ดานนอก Patellar แลวสังเกตการโปงของผิวขอดานตรงขาม เชน เมื่อดัน
ทางดานใน ดานนอกจะโปงออกมาใหเห็น (ดังภาพที่ 14) เปนตน
ดัน Fluid จากทางดานใน ดัน fluid จากทางดานนอก
ภาพที่ 14 แสดงการตรวจ Patellar stroke test or Fluid
displacement test หรือ Bulge sign)
การตรวจการเคลื่อนไหวของขอเขา
ใหผูรับบริการงอ (Flexion )
และเหยียดเขา (Extension)
47 
 
การทดสอบกําลังกลามเนื้อของขอเขา
ใหผูรับบริการงอเขาเกร็งคางไว
ตานกับแรงพยาบาลที่พยายาม
ดึง ขาผูรับบริการออก เปนการ
ทดสอบกําลังกลามเนื้อที่ทํา
หนาที่ Flexion ของเขา
ใหผูรับบริการงอเขาพยาบาล
พยุงใตเขาแลวใหผูรับบริการ
พยายามเหยียดเขาออกตานกับ
แรงพยาบาลที่พยายามกดไว
เปนการทดสอบกําลังกลามเนื้อ
ที่ทําหนาที่ Extension ขอเขา
การตรวจขอเทาและขอนิ้วเทา (Anklejointsandmetatarsaljoints)
การดูและการคลํา ดูสีผิว อาการบวม และลักษณะรูปรางความ
ผิดปกติที่พบบอยในเด็กทารก ไดแก เทาปุก (Club foot) การบิดเขาของฝาเทา
(ดังภาพที่ 15) การคลําใหคลําวามีการบวม รอน และกดเจ็บหรือไม
การตรวจการเคลื่อนไหวของขอเทาและขอนิ้วเทา
ภาพที่ 15 แสดงเทาปุก
(Club foot)
48 
 
ใหผูรับบริการพยายามเหยียดปลาย
เทาลงตานแรงพยาบาลที่พยายามดัน
ขึ้น เปนการทดสอบกําลังกลามเนื้อที่
ทําหนาที่ Flexion ของขอเทา
ใหผูรับบริการพยายามกระดกเทาขึ้น
ตานแรงพยาบาลที่พยายามกดลง เปน
การทดสอบกําลังกลามเนื้อที่ทําหนาที่
Extension ของขอเทา
ใหผูรับบริการพยายามบิดเทาเขาขาง
ในตานกับแรงพยาบาลที่พยายามบิด
ออก เปนการทดสอบกําลังกลามเนื้อที่
ทําหนาที่ Inversion ของขอเทา
ใหผูรับบริการพยายามบิดฝาเทาออก
ขางนอก ตานกับแรงพยาบาลที่
พยายามบิดเขา เปนการทดสอบ
กําลังกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Eversion
ของขอเทา
 
49 
 
ใหผูรับบริการงอนิ้วเทาตานแรง
พยาบาลที่พยายามดึงนิ้วออกเปน
การทดสอบกําลังกลามเนื้อที่ทํา
หนาที่ Flexion ของขอนิ้วเทา
ใหผูรับบริการ เหยียดนิ้วเทาออก
ตานแรงพยาบาลที่กดไวเปนการ
ทดสอบกําลังกลามเนื้อที่ทําหนาที่
Extensionของขอนิ้วเทา
การตรวจพิเศษ
การตรวจพิเศษในทางออรโธปดิกส มีจุดประสงคเพื่อหาพยาธิสภาพ
ของโครงสรางกระดูกและขอที่อวัยวะอื่นคลุมอยู ทําใหการตรวจไมชัดเจน ใน
ที่นี้จะกลาวถึงการตรวจที่สําคัญเทานั้น
The Yergason test เปนการตรวจวามี Tendonitis หรือไม (ดุษฎี ทัต
ตานนท, 2542) โดยใหผูรับบริการงอขอศอก ทํา External rotation พรอมกับ
เกร็งขอศอกขึ้น ถามีอาการเจ็บปวดขึ้นที่ไหล แสดงวามี Tendonitis
50 
 
Drop Arm Test เปนการตรวจวามีการขาดของเอ็นที่พาดผานทั้ง
กระดูก Humerus (Rotator cuff) หรือไม (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542) โดยให
ผูรับบริการกางแขนออก (Abduction)(A) แลวคอยๆ ลดแขนมาแนบลําตัวขางๆ
ถามี Rotator Cuff ฉีกขาด แขนจะตกลงมาเมื่อกางแขนได 90o
หรือหาก
สามารถกางแขนยกไวไดที่ 90o
เพียงผูตรวจใชนิ้วกด/เคาะที่แขนจะตกลง
มา (B)
Tennis Elbow Test เปนการตรวจเพื่อหาวามีการอักเสบของ
Common extensor epicondylitis (Tennis elbow) หรือไม (ดุษฎี ทัตตานนท,
2542) ผูตรวจจับหลังมือและขอศอกของผูรับบริการ แลวใหผูรับบริการกํามือ
และกระดูกขอมือในทา Pronation จากนั้นใชนิ้วกดบริเวณ Lateral
epicondyle ถามีการอักเสบจะมีอาการเจ็บอยางมากตรงบริเวณที่กด
A B
51 
 
True for Leg Length Discrepancy เปนการวัดหาความยาวของขา
ทั้งสองขางเพื่อหาตนเหตุของการเดินกะเผลกจากขายาวไมเทากัน (ดุษฎี ทัต
ตานนท, 2542) โดยใหนอนหงาย ใชสายเทปวัดระยะจาก Anterior superior
iliac spine ไปยัง Medial malleolus ของขอเทาในตําแหนงเดียวกันทั้ง 2 ขาง
หากวัดไดแตกตางกัน แสดงวามีกระดูกขาสั้น ยาวไมเทากัน จากนั้นตรวจหาวา
สวนที่สั้นนั้นเปนจากกระดูก FemurหรือTibia โดยใหชันเขาขึ้นงอ 90O
ทั้ง 2ขาง
แลวดูระยะสูงต่ําเปรียบเทียบกัน
Apparent leg Length Discrepancy ใหนอนหงายแลววัดความ
ยาวจากสะดือลงมายัง Medial malleolus ที่ขอเทาทั้ง 2 ขาง หากวัดไดไม
เทากัน แสดงวามีลักษณะปรากฏของขาสั้นยาวไมเทากันและหากตรวจ True
Leg length discrepancy ไดเทากัน แสดงวาความผิดปกตินั้นเกิดจากการ
เอียงของ Pelvic (Pelvic obliquity) หรือจาก Adduction หรือ Flexion
deformity ของ Hip joint (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542)
52 
 
Straight leg raising test เปนการตรวจวามีการตึงของ Spinal cord,
Cauda equina หรือ Sciatic nerve หรือไม มี 2 วิธี (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542)
วิธีที่ 1 Straight leg raising test ใหนอนหงาย ผูตรวจยืนดานขาง
แลวใชมือรองบริเวณสนเทาของผูรับบริการแลวยกขาขึ้น เขาเหยียดตรง โดย
ปกติควรยกได 70-90o
โดยไมเจ็บหรืองอเขา แตหากมีอาการเจ็บขาหรือหลัง
แสดงถึงพยาธิสภาพของ Sciatic nerve หรือกลามเนื้อ Hamstring จากนั้นลด
ระดับลงมาเล็กนอยจนหายเจ็บ แลวจับเทากระดกขึ้น (Dorsiflex) หากมีอาการ
เจ็บอีก แสดงวาเกิดจาก Sciatic nerve ตึง แตถาไมเจ็บแสดงวานาจะเปนจาก
Hamstring muscle tightness
วิธีที่ 2 Well leg straight raising test ใหนอนหงาย ผูตรวจยกขา
ขางที่ไมปวดขึ้น หากมีอาการปวดหลังหรือขาดานตรงขามแสดงวามี
Herniated disc บริเวณไขสันหลัง เอว อาจเรียกวิธีการตรวจนี้า Cross leg
straight leg raising test (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542)
53 
 
Hoover Test เปนการตรวจวินิจฉัยอาการปวดขาเกิดจากการ
แกลงทํา (Malingering) หรือไม (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542) ใหนอนหงาย
ผูตรวจยืนบริเวณปลายเทาใชอุงมือทั้ง 2 ขาง รองใตสนเทาทั้ง 2 ขาง ของ
ผูรับบริการ แลวใหผูรับบริการยกขาขางที่ปวดขึ้น ถาปวดขาจริงจะยกขาไมขึ้น
และพยายามกดเทาอีกขางหนึ่งเพื่อเปนตัวยกขาจนผูตรวจรูสึกได แตถาไมมี
น้ําหนักกดลง แสดงวาอาจไมเจ็บขาจริง (ดังภาพที่ 16)
A B
ภาพที่ 16 การตรวจดวยวิธี Hoover Test
A ปวดจริง เพราะมีการลงน้ําหนักในเทาซายขณะยกขาขวา
B แกลงทํา ไมมีแรงกดที่เทาซายขณะยกขาขวาขึ้น
Magnetic resonance imaging (MRI) คือการตรวจโดยใชเครื่องมือที่
ใชสําหรับสรางภาพอวัยวะภายในรางกาย โดยอาศัยหลักการของคลื่น
แมเหล็กไฟฟาและคลื่นวิทยุ แลวนําสัญญาณที่ไดมาประมวลผลดวย
คอมพิวเตอร ทําใหไดภาพอวัยวะภายในของรางกาย ที่มีความคมชัด อีกทั้ง
สามารถทําการตรวจไดในทุกๆ ระนาบ ไมใชเฉพาะแนวขวางอยางเอกซเรย
54 
 
คอมพิวเตอรสามารถแยกเนื้อเยื่อของรางกายที่ปกติและที่ผิดปกติออกจากกัน
ได ทําใหมีความถูกตองแมนยําในการวินิจฉัยโรคมากยิ่งขึ้น ใชไดดีกับ
กลามเนื้อ เสนเอ็นยึดกระดูกและกลามเนื้อ ปจจุบันไดใช เพื่อชวยในการ
วินิจฉัยโรคของกระดูกและขอเปนจํานวนมาก การตรวจ MRI จะเห็นความผิด
ปกติที่เกิดขึ้นภายในโพรงกระดูก หรือไขกระดูกไดอยางชัดเจน เชน เนื้องอก
ภายในกระดูก MRI จะสามารถบอกขอบเขตของโรคไดถูกตองแมนยํา เพื่อ
ประโยชนในการวางแผนการรักษา โรคของกระดูกบางอยางเชน การขาดเลือด
ไปเลี้ยงที่หัวของกระดูกตนขา MRI เปนการตรวจที่ไวที่สุด สามารถตรวจพบ
ความผิดปกติได แมภาพเอ็กซเรยธรรมดายังปกติอยู ขอที่มีการตรวจ MRI มาก
ที่สุด คือ ขอเขา รองลงมา คือ ขอไหล เมื่อสงสัยวาจะมีการฉีกขาดของเสนเอ็น
หรือกระดูกออนภายในขอ การถายภาพเอ็กซเรยธรรมดา อาจเห็นเพียงเงาของ
น้ําในขอ แต MRI จะเห็นสวนประกอบตางๆ ภายในขอไดอยางชัดเจน และบอก
ไดอยางแมนยําวามีการบาดเจ็บตอสวนประกอบเหลานั้นอยางไรบาง
(Science News: บทความทางวิทยาศาสตร, 2553, หนา 5)
สรุป การประเมินภาวะสุขภาพของระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ
พยาบาลจะใชหลักการดู คลํา และมีการวัด เปนหลักการสําคัญของการตรวจ
รางกาย จะไมมีผลการตรวจทางหองปฏิบัติการที่เฉพาะเจาะจงกับการประเมิน
ภาวะสุขภาพระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ และในบางรายอาจจะตองไดรับ
การตรวจพิเศษเพื่อวินิจฉัยแยกโรค เพื่อใหผลการตรวจที่แมนยํา
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทCotton On
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007Utai Sukviwatsirikul
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 

Mais procurados (20)

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาท
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 

Destaque

คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์jupjiptogether
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาNickson Butsriwong
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ทัศนะ แก้วช่วย
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal systemRungsaritS
 

Destaque (7)

Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal system
 

Semelhante a การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ

โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemsupreechafkk
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนnokbiology
 
บท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมชบท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1ประกายทิพย์ แซ่กี่
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตComputer ITSWKJ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตtarcharee1980
 
ระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxKanokvanKS
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตPodjaman Jongkaijak
 
9789740331650
97897403316509789740331650
9789740331650CUPress
 

Semelhante a การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ (20)

โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement systemการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต - Movement system
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
บท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมชบท3การเคลื่อนที่สมช
บท3การเคลื่อนที่สมช
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
รายวิชา กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์ 1
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Exercise physiology
Exercise physiologyExercise physiology
Exercise physiology
 
vbvb
vbvbvbvb
vbvb
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
 
Movement
MovementMovement
Movement
 
ระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptxระบบกระดูก.pptx
ระบบกระดูก.pptx
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)
 
Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)Spinal Injury (Thai)
Spinal Injury (Thai)
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
9789740331650
97897403316509789740331650
9789740331650
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ

  • 1.
  • 2. 1    คํานํา บทเรียบเรียง “การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อและขอ” จัดทําขึ้น เพื่อใชในการประกอบการเรียนการสอนวิชา 501202 แนวคิดพื้นฐานและ หลักการพยาบาล 2 และเปนแนวทางใหนิสิตสามารถประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อและขอของผูใชบริการไดอยางถูกตอง อันจะเปนสวนหนึ่งของการให การพยาบาลผูใชบริการอยางมีประสิทธิภาพ ผูเรียบเรียงขอขอบพระคุณผูเรียบเรียงตําราที่ผูเขียนไดอางอิง และ ขอขอบพระคุณครู อาจารยทุกทานที่ไดใหความรู คําแนะนําในการจัดทําบท เรียบเรียงนี้ ผ.ศ.แสงหลา พลนอก คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร เมษายน 2552
  • 3. 2    สารบาญ หนา กายวิภาคศาสตร การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ ขอ การซักประวัติ การตรวจรางกาย การตรวจกลามเนื้อ ขอ การตรวจขอไหล การตรวจขอศอก การตรวจนิ้วมือและขอนิ้ว การตรวจขอตะโพก การตรวจขอเขา การตรวจขอเทาและนิ้วเทา การตรวจพิเศษ สรุป คําถามทายบท บรรณานุกรม การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ
  • 4. 3    ผูชวยศาสตราจารยแสงหลา พลนอก แนวคิด ระบบกระดูก กลามเนื้อและขอ จะทําหนาที่เปนโครงสรางและชวยใน การเคลื่อนไหวของรางกายและยังปองกันอวัยวะภายในที่ออนนุมดวย นอกจากนั้นระบบนี้ยังสรางเม็ดเลือดและเปนที่สะสมของเกลือแรตางๆ ไดแก แคลเซียมและฟอสฟอรัส การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ สามารถ แบงออกไดสามวิธี ไดแก การซักประวัติ การตรวจรางกาย และ การตรวจพิเศษ ตางๆ วัตถุประสงค เมื่อจบบทเรียนนี้แลวผูเรียนสามารถ 1.บอกกายวิภาคศาสตรระบบกระดูก กลามเนื้อและขอได 2.อธิบายการซักประวัติเพื่อประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อและขอได 2.อธิบายการตรวจรางกายเพื่อประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และ ขอได 3.ระบุวิธีการตรวจพิเศษที่เกี่ยวของกับการประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอได กายวิภาคศาสตรระบบกระดูก กลามเนื้อ และ ขอ
  • 5. 4    กระดูก (Skeleton) กระดูกรางกายของมนุษยมีทั้งหมด 206 ชิ้น หนาที่จะเปนตัวกําหนด รูปรางและผิวหนาของกระดูก เชน กระดูกยาว (Long bone) จะทําหนาที่เปน คาน จึงมีผิวหนาที่เรียบแบนเพื่องายในการเกาะยึดของเอ็นหรือเสนประสาท (Wilson & Giddens, 2009. p. 311) เชน กระดูกตนแขน (Humerus) กระดูก ตนขา (Femur) กระดูกปลายแขน (Fibula) กระดูกนิ้วมือและเทา (Phalanges) สวนกระดูกสั้น (Short bone) จะมีรูปรางคลายลูกบาศก (Cube shaped) เชน กระดูกขอมือ (Carpal) กระดูกขอเทา (Tarsal) เปนตน กลามเนื้อลาย (Skeletal muscles) กลามเนื้อลายประกอบดวย เสนใยกลามเนื้อซึ่งยึดจับกับกระดูกเพื่อ ชวยในการเคลื่อนไหว กลามเนื้อสวนใหญเคลื่อนไหวตามที่สมองสั่ง (Voluntary control) แตกลามเนื้อบางมัดเคลื่อนไหวเองดวยรีเฟล็กซ (Reflex) ใยของกลามเนื้อลายจะถูกจัดเรียงใหวางขนานกับความยาวของกระดูกหรือถูก จัดเรียงใหอยูในแนวเฉียงของกระดูก ขอ (Joints) ขอ คือ เนื้อเยื่อสวนที่เชื่อมตอระหวางกระดูกตั้งแต 2 ชิ้น ขึ้นไป ชวยให มีความมั่นคงของขอขณะที่มีการเคลื่อนไหว ขอแบงออกได 2 แบบดังนี้ 1. แบงตามชนิดของสวนประกอบของขอไดแก เสนใย (Fibrous) กระดูกออน (Cartilaginous) เยื่อหุมขอ (Synovial)
  • 6. 5    2. แบงตามระดับของการเคลื่อนไหวได 3 แบบ คือ 2.1 เคลื่อนไหวไมไดเลย เรียกวา Synarthrodial เชน รอยตอของ กระดูกกะโหลกศีรษะ (The Suture of the skull) เปนตน 2.2 เคลื่อนไหวไดเล็กนอย เรียกวา Amphiarthrodial เชน กระดูกหัว เหนา (Symphysis pubis) เปนตน 2.3 เคลื่อนไหวไดเต็มที่ เรียกวา Diarthrodial joints เชน หัวเขา ขอ นิ้วมือ เปนตน ซึ่ง Diarthrodial joints ยังสามารถแบงยอยตามชนิดของการ เคลื่อนไหว เชน แบบบานพับ (Hinge joint) ซึ่งเคลื่อนไหวไดเฉพาะเหยียดและ งอ (Extension and flexion) เชน หัวเขา ขอศอกและขอนิ้ว เปนตน และ แบบ Ball-and-socket ซึ่งจะมีเบาในกระดูกเขาไปสวม ไดแก ขอตะโพกและขอไหล เปนตน ขอชนิดนี้จะมีการเคลื่อนไหวไดหลายทิศทาง Diarthrodial joints มีชื่อ เรียกอีกอยางหนึ่งวา Synovial joints เพราะจะมีน้ําลอมรอบเยื่อหุมขอ (Synovial fluid) ซึ่งมีหนาที่หลอลื่นใหขอสามารถเคลื่อนไหวไดหลายทิศทาง ขอชนิดนี้บางแหง เชน ขอเขาจะมีแผนกระดูกออนเรียกวา Meniscus รองอยู เพื่อปองกันการกระแทกอันกอใหเกิดการบาดเจ็บของขอ เปนตน เอ็น (Ligaments or tendons) เปนเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เชื่อมระหวางกระดูกและกระดูก หรือ ระหวาง กลามเนื้อและกระดูก ทําหนาที่ชวยประคับประคองขอไมใหบาดเจ็บในขณะ เคลื่อนไหว โดยการเรียงตัวในหลายทิศทาง ไดแก ลอมรอบขอ ยึดขอในแนว เฉียงหรือเรียงตัวไปตามแนวยาว และยังชวยนําแรงที่เกิดจากการหดตัวของ กลามเนื้อลายไปยังขอ ทําใหเกิดการเคลื่อนไหว
  • 7. 6    กระดูกออนและเยื่อหุมขอ (Cartilage and bursa) กระดูกออน เปนเนื้อเยื่อแผนคอนขางเรียบลื่นแผปกคลุมรอบ ๆ ปลาย กระดูก ทําใหบริเวณผิวของขอเรียบ กระดูกออนจะรับแรงและน้ําหนักที่เกิด ขึ้นกับขอ กระดูกออนไมมีเสนเลือดมาเลี้ยงจึงไดรับอาหารที่ผานมาจาก Synovial fluid ในขณะมีการเคลื่อนไหวและรับน้ําหนักของขอ ชองระหวางเยื่อหุมขอ (Bursa) คือ ถุงเล็กๆ หรือชองที่อยูในเนื้อเยื่อ เกี่ยวพันที่อยูรอบๆ ขอเฉพาะบางแหง ไดแก ขอไหล และขอเขา Synovial Fluid ซึ่งทําหนาที่หลอลื่นขอบรรจุอยู Bursa จะถูกสรางขึ้นเองเมื่อมีแรงกดหรือการ เสียดสีของขอ (ดังภาพที่ 1) โครงสรางของกระดูก โครงสรางของกระดูกแบงเปน 2 แบบคือ กระดูก สวนกลาง (Axial skeleton) และกระดูกรยางค (Appendicular skeleton) ภาพที่ 1 แสดงสวนตางๆ ของขอกระดูกออน และเยื่อหุมขอ
  • 8. 7    1. กระดูกสวนกลาง กระดูกสวนกลาง ไดแก กะโหลกศีรษะและลําคอ (Skull and neck) กระดูกสวนลําตัวและเชิงกราน (Trunk and pelvis) กะโหลกศีรษะประกอบดวยกระดูกจํานวน 6 ชิ้น ซึ่งจะเชื่อมติดกัน กระดูกใบหนาประกอบดวยกระดูกทั้งหมด 14 ชิ้น มีเพียงหนึ่งชิ้นที่เคลื่อนไหว ไดคือ กระดูกคาง สวนลําคอจะถูกประคองดวยกระดูกสันหลังสวนคอ (Cervical vertebrae: C) เอ็น และกลามเนื้อคอ (Sternocleidomastoid) และ กลามเนื้อไหล (Trapezius) ซึ่งจะชวยในการเคลื่อนไหวในระดับ C 4-5 หรือ C 5-6 การเคลื่อนไหวของลําคอจะสามารถทําไดทั้ง กมหนา (Flexion) เงยหนา (Extension) แหงนหนาไปดานหลัง (Hypertension) เอียงคอ (Lateral) และ หมุนคอ (Rotation) ลําตัวและเชิงกราน ลําตัวจะตั้งตรงและคงรูปรางไดจะตองอาศัย กระดูกซี่โครง (Ribs) และกระดูกหนาอก (Sternum) กระดูกไหปลารา (Clavicle) และกระดูกสะบัก (Scapula) สําหรับกระดูกสันหลังประกอบดวย กระดูกสันหลังสวนคอ (Cervical) จํานวน 7 ชิ้น สวนอก (Thoracic) จํานวน 12 ชิ้น สวนเอว (Lumbar) จํานวน 5 ชิ้น และสวนกระเบนเหน็บ (Sacral) กระดูก สันหลังจะสามารถเคลื่อนไหวไดทั้งกมไปขางหนา (Flexion) แอนไปขางหลัง (Hyperextension) เอียงตัว (Lateral Bending) และหมุนตัว (Rotation) กระดูกสันหลังที่เคลื่อนไหวไดมากที่สุดคือ สวนคอ 2. กระดูกระยางค กระดูกระยางค ไดแก สวนบนคือ ไหลและแขน สวนบน (Shoulder and upper arm) ขอศอก ปลายแขน และขอมือ (Elbow, forearm, and wrist) มือ (Hand) และสวนลางคือ สะโพกและตนขา (Hip and
  • 9. 8    thigh) เขาและขาสวนลาง (Knee and lower leg) ขอเทาและเทา (Ankle and foot) ไหลและแขนสวนบน ขอไหลจะเปนขอแบบ Glenohumeral Joint (Ball-and-socket) สามารถเคลื่อนไหวไดทั้ง งอ (Flexion) เหยียด (Extension) เหยียดออกไปขางหลัง (Hyperextension) กางออก (Abduction) หุบเขา (Adduction) หมุนเขาดานใน (Internal rotation) และ หมุนออกดานนอก (External rotation) ขอศอก ปลายแขน และขอมือ ขอศอกประกอบดวยกระดูกตนแขน (Humerus) กระดูกปลายแขน (Radius and ulna) ขอศอกจะเปนขอแบบ Hinge joint ซึ่งจะเคลื่อนไหวแบบเหยียดแขน (Extension) งอแขน (Flexion) และ แอนแขนไปดานหลัง (Hyperextension) คว่ํามือ (Pronation) และ หงาย มือ (Supination) ขอมือจะประกอบดวย กระดูกปลายแขนและกระดูกฝามือ ขอมือจะเคลื่อนไหวแบบ กระดกมือลง (Flexion) เหยียดขอมือ (Extension) กระดกขอมือขึ้น (Hyperextension) บิดขอมือไปทางหัวแมมือ (Radial flexion) บิดขอมือไปทางนิ้วกอย (Ulnar flexion) มือ นิ้วมือจะสามารถเคลื่อนไหว แบบ งอ (Flexion) เหยียด (Extension) กาง (Abduction) และหุบ (Adduction) สะโพกและตนขา ขอสะโพกจะประกอบดวยเบากระดูก (Acetabulum) และสวนหัวกระดูกตนขา (Femur) ซึ่งจะหอหุมดวยเยื่อหุม ลักษณะของขอจะคลายกับขอเขาคือ Ball-and-socket joint ทําใหสามารถ เคลื่อนไหวไดหลายทิศทาง คือ งอขา (Flexion) เหยียดขา (Extension) และ
  • 10. 9    เหยียดขาไปดานหลัง (Hyperextension) กางขา (Abduction) และหุบขา (Adduction) หมุนขาเขาดานใน (Internal rotation) หมุนขาออกดานนอก (External rotation) และ แกวงเปนวงกลม (Circumduction) ขอเขาและขาสวนลาง ขอเขาจะเปนขอแบบบานพับ การเคลื่อนไหวจะ เปนแบบ งอ (Flexion) เหยียด (Extension) และเหยียดไปทางดานหลัง (Hyperextension) ขอเทาและเทา ขอเทาจะเปนแบบบานพับ มีการเคลื่อนไหวแบบงอคือ กระดกปลายเทาขึ้น (Dorsiflexion) กดปลายเทาลง (Plantar Flexion) บิด ปลายเทาเขา (Inversion) บิดปลายเทาออก (Eversion) หุบนิ้วเทา (Adduction) กางนิ้วเทา (Abduction) การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ ประกอบดวยการซัก ประวัติ การตรวจรางกาย และ การตรวจพิเศษ การซักประวัติ (History taking) ควรซักประวัติใหครอบคลุมหัวขอตอไปนี้ 1. อาการสําคัญที่นํามาโรงพยาบาล (Chief compliant) การซัก ประวัติถึงอาการสําคัญที่นํามาโรงพยาบาลอยางละเอียดและถูกตอง จะทําให ไดขอมูลที่มีความสําคัญ นําไปสูการวินิจฉัยและเปนแนวทางในการรักษาได ถึงแมวาจะยังไมไดตรวจรางกาย อาการที่สําคัญที่นําผูรับบริการมาพบแพทย จะอยูใน 3 กลุม ไดแก
  • 11. 10    1.1 มีความรูสึกผิดปกติ มักจะเปนอาการปวด (Pain) หรืออาการ ชา (Numbness) 1.2 ดูผิดปกติ เชน สังเกตวามีกระดูกสันหลังคดหรือโกง คอมหลัง แอน ขาโกงหรือปดออก เดินแลวมีปลายเทาปดเขาหรือปดออก กอนตามแขน ขา กลามเนื้อลีบ บวม แดง รอนและปวด 1.3 การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ และสังเกตพบได ไดแก การเดิน กะเผลก (Limping) การเคลื่อนไหวออนแรง (Weaken) ไมมั่นคง (Instability) มีอาการสั่น (Tremors) ขอติดแข็ง (Stiffness) ขยับแขน ขา ไมได (Paralysis) 2. ขอมูลพื้นฐานของผูรับบริการ (Basic information of clients) ดังนี้ 2.1 อายุ (Age) และเพศ (Gender) มีความสัมพันธกับโรคหรือ ความผิดปกติที่เกิด ในเด็กเล็กมักจะเกิดจากความพิการแตกําเนิด วัยรุนหรือวัย ผูใหญมักจะเกิดจากอุบัติเหตุ อาชีพ หรือกีฬาที่เลนเปนประจํา สวนในวัย ผูสูงอายุมักจะเกิดความเสื่อมของกระดูก กลามเนื้อ และขอ เมื่ออายุมากกวา 35 ปขึ้นไปกระดูกมักจะบางลง (Wilson & Giddens, 2009. p. 319) โรคขออักเสบ (Osteoarthritis) มักจะเกิดในผูหญิงที่มีอายุ มากกวา 45 ปขึ้นไปมากกวาผูชาย แตในทางกลับกัน จะเกิดขึ้นมากในผูชาย อายุกวา 45 ลงไปมากกวาผูหญิง (Wilson & Giddens, 2009. p. 319) ผูหญิง มักจะมีกระดูกบางและมีการสลายของมวลกระดูกมากกวาผูชาย (Wilson & Giddens, 2009. p. 319) 2.2 อาชีพและกีฬาที่เลนเปนประจํา (Job and usual exercise)
  • 12. 11    อาชีพของผูรับบริการอาจเกี่ยวของกับการบาดเจ็บของกระดูก กลามเนื้อและขอได เชน อาชีพทํานา ที่ตองกม ๆ เงย ๆ ในการดํานา หรือ เก็บ เกี่ยวเปนเวลานาน ๆ ผูรับบริการมักมาดวยอาการปวดหลัง สวนงานที่ตองงอ เขาหรือคุกเขาเปนประจําทําใหเกิดการเสื่อมของขอเขาไดเร็ว เปนตน กีฬาบางประเภทที่ใชกลามเนื้อเฉพาะบางมัด เชน บาสเกตบอลทําให เกิดแรงกระแทกแรงๆ เปนเวลานาน จะเกิดการอักเสบของกลามเนื้อและเอ็น บริเวณหัวเขา เทนนิสจะทําใหเกิดการอักเสบของกลามเนื้อและเอ็นบริเวณ ขอศอก เปนตน 2.3 กิจวัตรประจําวัน (Activity of daily living) ถามถึงกิจวัตร ประจําวันที่ผูรับบริการทําไดเอง และถาทําไมไดชวยเหลือตัวเองอยางไร เนื่อง ดวยความเจ็บปวยของโรคกระดูก กลามเนื้อ และขอ ทําใหเคลื่อนไหวไดนอยลง สงผลตอการดูแลตนเอง นอกจากนั้นควรจะถามถึงการดําเนินชีวิตประจําวันที่ สัมพันธกับอาการเจ็บปวย เชน การนั่ง ผูที่มีอาการปวดเขา ควรถามถึงวิธีการ นั่ง ถานั่งกับพื้น หรือ การนั่งสวมซึมซึ่งตองนั่งยองๆ จะทําใหปวดเขา เปนตน 2.4 ประวัติการเจ็บปวยในอดีต (Past history) 2.4.1 โรคเกี่ยวกับกระดูก กลามเนื้อและขอ รวมทั้งสิ่งที่เปน สาเหตุของโรคเหลานั้น เนื่องจากความเจ็บปวยในอดีตอาจสงผลสําเร็จถึง ปจจุบัน เชน เกิดอาการขอติดแข็ง (Stiff joints) หรือการเคลื่อนไหวเต็มพิกัด ลดลง (Decrease range of motion) 2.4.2 ความพิการแตกําเนิดของกระดูก กลามเนื้อและขอ และ ประวัติการรักษา
  • 13. 12    2.4.3 ประวัติการผาตัดกระดูก กลามเนื้อและขอ รวมทั้งอาการ ภายหลังการผาตัด 2.5 โรคเรื้อรังหรือปญหาสุขภาพในระบบอื่น (Chronic disease or problem) โรคเรื้อรัง เชน ระดับไขมันในเลือดสูง เบาหวาน และเสนเลือด แดงแข็งและหนา (Arteriosclerosis) อาจจะเปนสาเหตุของอาการปวดขอจาก โรคเกาท (Gout) ได ซึ่งจะสงผลการเคลื่อนไหวและการทํากิจวัตรประจําวันทํา ไดนอยลง เปนตน (Wilson & Giddens, 2009. p. 319) 2.6 ประวัติการใชยา (Drugs history) การรับประทานยาบางชนิด เชน แอสไพริน ไอโซโพรเพน (Isoprofen) ยาบรรเทาปวด ยากลอมประสาท และยานอนหลับ อาจทําใหผูรับบริการมีอาการดีขึ้น จึงบดบังอาการที่แทจริง 2.7 ประวัติครอบครัว (Family history) ความเจ็บปวยของบุคคล ในครอบครัวที่เกี่ยวกับกระดูก กลามเนื้อ และขอ เชน Rheumatoid, Osteoarthritis, Gout เพราะทําใหผูรับบริการมีโอกาสเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรค เหลานี้ เปนตน 3. ประวัติอาการสําคัญที่พบ (Problem-based history) โดยสวนใหญอาการสําคัญของผูรับบริการโรคกระดูก กลามเนื้อ และ ขอ คือ อาการปวด จึงควรซักประวัติเกี่ยวกับอาการปวดใหละเอียด ดังนี้ 3.1 บริเวณที่เริ่มปวด และลักษณะของอาการปวด เชน ปวดแปลบ ปวดตื้อๆ ปวดลึกๆ หรือตื้น ๆ ระยะเวลาของอาการปวดตั้งแตเริ่มจนถึงปจจุบัน 3.2 ระดับความรุนแรงของอาการปวด โดยใชแบบประเมินอาการ ปวด (Pain scale)
  • 14. 13    3.3 ชวงระยะเวลาของวันที่เกิดอาการปวด เชน ถามีอาการปวดใน ตอนเชารวมกับอาการขอติดแข็งอาจจะเกิดจาก Rheumatoid arthritis ปวด ตอนกลางวันขณะทํางาน เปนตน 3.4 มีการปวดราวไปที่ใดหรืออวัยวะใด อะไรทําใหปวดมากขึ้น หรือบรรเทาลง เชน การขยับอวัยวะหรือขอในผูที่เปน Rheumatoid arthritis จะ ทําใหอาการปวดบรรเทาลง เปนตน การเคลื่อนไหวแบบไหนสัมพันธกับอาการ ปวด ความรุนแรงของอาการปวดขึ้นกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม เชน ผูที่เปนโรคขออักเสบ จะปวดรุนแรงขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของความกด อากาศ เปนตน (Wilson & Giddens, 2009. p. 321) 3.5 เคยเปนไขหวัดลงคอมากอนที่มีอาการปวดขอนั้นหรือไม เชน การเจ็บปวยจากเชื้อไวรัส จะมีอาการปวดกลามเนื้อ (Myalgia) (Wilson & Giddens, 2009. p. 321) 3.6 อาการปวดมีผลตอผูรับบริการอยางไรบาง เชน ตื่นกลางดึก จากอาการปวดหรือชา ความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง ความสามารถใน การดูแลตนเองลดลง เชน โรคเกาท หรือ โรคขออักเสบ จะทําใหเกิดการอักเสบ แบบเฉียบพลัน (Acute inflammation) ซึ่งจะมีอาการบวม แดง รอน และทําให ขอนั้นๆ ไมสามารถเคลื่อนไหวไดอยางเต็มที่ เปนตน (Wilson & Giddens, 2009. p. 321) 3.7 เคยไดรับอุบัติเหตุมากอนหรือใชงานอวัยวะสวนนั้นมากและ เปนเวลานานๆ แลวเกิดอาการปวดหรือ อาการปวดเกิดขึ้นเองโดยไมทราบ สาเหตุ
  • 15. 14    การตรวจรางกายระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ การตรวจรางกายระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ ประกอบดวยขั้นตอน การดู การคลําหรือการวัด ดังนี้ การดู (Inspection) สังเกตโครงสรางรางกายโดยสังเกตลักษณะการยืนตรง โดยใหดูทั้ง ดานหนา หลัง และดานขาง เปรียบเทียบความสมมาตรของรางกายซีกซายและ ขวา หลังตั้งตรงและมีความโคงของกระดูกสันหลังตามปรกติ คือ สวนของคอ จะเวา (Cervical concave) สวนหลังจะนูน (Thoracic convex) และสวนเอ วจะเวา (Lumbar concave) (ดังภาพที่ 2) สังเกตขนาดและความสมมาตรของกลามเนื้อ ถามีกลามเนื้อลีบทั้ง สองขางจะบงบอกถึงการขาดเสนประสาทไปเลี้ยงบริเวณนั้น เชน ไดรับ บาดเจ็บบริเวณไขสันหลัง หรือ ภาวะขาดสารอาหาร เปนตน การลีบเพียงขาง เดียวจะบงบอกถึงการใชงานนอย เคลื่อนไหวนอยลงอันเนื่องมาจากอาการ ปวด หรือ หลังจากไดรับการใสเฝอกมาเปนเวลานาน กลามเนื้อกระตุก (Fasciculation) อาจแสดงถึง ผลจากอาการขางเคียงของยา ความสามารถใน การเดินตัวตรงหรือเดินดวยความออนแรงของกลามเนื้อมัดตางๆ ความโคงของ กระดูกสันหลัง เชน หลังคอม (Humpback) ในโรค Kyphosis หรือกระดูกสัน หลังคดไปทางดานขางในโรค Scoliosis ผิวหนังใหสังเกตระดับสี แผลเปน มี บาดแผลที่มีลักษณะเปนแผลถลอกที่ผิวหนังหรือแผลฉีกขาดหรือไม สังเกต ลักษณะวามีอาการบวมหรือลักษณะผิดรูปรางหรือไม (Harkreader, Hogen, & Thobaben, 2007. p. 177)
  • 16. 15    ภาพที่ 2 แสดงการดูรูปรางของรางกายทั้งหมด โดยดูระดับของ ไหล (Scapula) ทั้งสองขาง ระดับของสะบักและแนวสันกระดูกเชิงกราน (Iliac crest) ความสมมาตรของรางกายทั้งสองขาง A. ดานหนา B. ดานหลัง และ C. ดานขาง แสดงถึงความเวาของกระดูกสันหลังในระดับตางๆ การคลํา (Palpation) หรือ การวัด (Measurement) คลําบริเวณ ผิวหนังเพื่อสัมผัสใหทราบถึงอุณหภูมิ ความรูสึก ความออนนุม (Texture) และ ความตึงตัว (Tone) คลําดูลักษณะการเจ็บปวด บวม และรอน ตรวจลักษณะ ขนาดผิดรูปรางหรือความสั้นยาวของกระดูก การตรวจความเคลื่อนไหวของขอ (Range of movement) การตรวจ การเคลื่อนไหวของขอตางๆ เริ่มจากใหผูรับบริการทําเอง (Active movement) กอน แลวเปรียบเทียบกับการตรวจโดยใหพยาบาลทํา (Passive Cervical Concave Thoracic Convex Lumbar Concave
  • 17. 16    movement) หากพบวาไมเทากันอาจบอกถึงพยาธิสภาพของขอนั้น ขณะตรวจ การเคลื่อนไหวของขอ พยาบาลควรสังเกตอาการเจ็บปวด การเคลื่อนไหวของ ขอ มีอยู 7 ทิศทาง ไดแก Abduction, Adduction, Flexion, Extension, Internal rotation, External rotation และ Circumduction การวัดเปนการตรวจวิธีหนึ่งเพื่อใหไดทราบขนาดของแขน ขา ความ ยาวของแขน ขาและขนาดมุมของการเคลื่อนไหวของขอ 1. การวัดขนาดรอบวง เพื่อใหทราบขนาดของกอนเนื้องอกหรือขนาด ของแขน ขา วาเทากันหรือไมเทากัน โดยการวัดเปรียบเทียบ 2 ขาง ที่ตําแหนง เดียวกัน เชน ที่ตําแหนง 5 เซนติเมตรใตลูกสะบา (Patella) หรือ 5 และ 10 เซนติเมตร เหนือลูกสะบา นอกจากนั้นควรวัดเปรียบเทียบขนาดตามระยะเวลา วามีการเปลี่ยนแปลงอยางไร ยุบลงหรือบวมขึ้น (ดังภาพที่ 3) 2. การวัดความยาวของขา วัดจาก Anterior superior iliac spine ไปที่ Medial malleolus ในทาขอสะโพกและเขาเหยียดตรง (ดังภาพที่ 4) ภาพที่ 4 การวัดความยาว ของขาทั้งหมด ภาพที่ 3 แสดงการวัดขนาด เสนรอบวงของตนขา
  • 18. 17    2.1 ความยาวของขาทอนบน วัดจาก Anterior superior iliac spine ไปที่ Joint line ดานในหรือดานนอกของเขา (ดังภาพที่ 5) 2.2 การวัดความยาวของขาทอนลาง วัดจาก Joint line ดานในหรือ ดานนอกของเขา ไปที่ Medial malleolus (ดังภาพที่ 6) 3. การวัดมุมขอ โดยใชเครื่องวัดมุมหรือ Goniometer (ดังภาพที่ 7) วิธีการวัดมุมของขอทํา ไดโดยการ วางทาบ Goniometer ลงบนมุม ของขอที่จะวัด แลวกางขาดานหนึ่งใหอยูในแนวกลางสวนตนขาดานหนึ่ง และ กางขาอีกขางหนึ่งวางทาบลงบนแนวกลางของสวนปลายขาอีกดานหนึ่ง ใหมุม ตัด (มุม 0) วางอยูบริเวณอยูตรงกลางของขอ อานคาที่ไดทั้งในขณะ งอ เหยียด ภาพที่ 6 แสดงการวัดความ ยาวของขาทอนลาง ภาพที่ 7 แสดงการวัดมุมขอ (Avaronrehap.com, 2010) ภาพที่ 5 การวัดความยาว ของขาทอนบน
  • 19. 18    และแอนไปดานหลัง การเคลื่อนไหวของแตละขอไมเหมือนกัน ซึ่งอาจมีการ เคลื่อนไหวไมครบตามกําหนดที่กลาวมาขางตน การวัดความ สามารถในการ เคลื่อนไหวของขอ จะวัดออกมาเปนองศา เชน ขอศอกขณะงอได 135O เปนตน การสังเกตการเคลื่อนไหวเต็มพิกัด (Range of motion) การสังเกตการเคลื่อนไหวเต็มพิกัดของขอตางๆ เพื่อทดสอบวามีอาการ เจ็บปวดกลามเนื้อขณะเคลื่อนไหว (Pain on movement) ความมั่นคงของขอ (Joint stability) และความผิดรูป (Deformity) วิธีการคือ ใหผูรับบริการ เคลื่อนไหวสวนตางๆ ของรางกาย ตามที่พยาบาลบอก ขณะเคลื่อนไหวถามี อาการ เจ็บ รอน บวม มีเสียงกรอบแกรบ ผิดรูป หรือ ติด แสดงถึงอาการ ผิดปกติของขอนั้น ๆ ซึ่งควรไดรับการตรวจในขั้นตอนตอไป ลําคอ -Flexion:กมใหคางจรดอก -Extension:เงยหนาตรง -Hyperextension: แหงนหนาไปดาน หลังใหมากที่สุด -Lateral flexion:เอียงศีรษะไปชิด กับไหลซายและขวาใหมากที่สุด -Rotation: หมุนศีรษะไปทางซาย และขวา ขอไหล-Flexion: ยืนตรงแขนแนบลําตัวแกวง แขนขึ้นเหนือศีรษะ -Extension: เอาแขนลงมาแนบขาง ลําตัวเหมือนเดิม -Hyperextension: แกวงแขนไป ดานหลังลําตัวโดยไมงอขอศอก Flexion Extension
  • 20. 19    ขอศอก -Flexion: งอขอศอก -Extension: เหยียดขอศอกออกให แขนเหยียดตรง -Internal rotation: งอขอศอกหมุนแขนลง -External rotation: งอขอศอกหมุนแขนขึ้น Flexion Extension -Abduction: กางแขนออกไปดานขาง ลําตัวแลวยกขึ้นเหนือศีรษะ -Adduction:ลดแขนมา แนบลําตัวแลวแกวงแขนไขว ไปดานตรงขามใหมากที่สุด Abduction Adduction Hyperextension External rotation Internal rotation
  • 21. 20    นิ้วมือ -Flexion: กํามือ -Extension: เหยียดมือ -Hyperextension: แอนนิ้วมือขึ้นให มากที่สุด -Abduction: กางนิ้วออก ปลายแขน -Pronation: คว่ําฝามือลง -Supination: หงายฝามือขึ้น -Circumduction: เหยียดแขน แลวแกวงแขนเปนวง โดยรอบ Pronation Supination
  • 22. 21    ขอมือ -Flexion: งอมือลง -Extension: เหยียดขอมือตรง -Hyperextension: กระดกมือขึ้นให มากที่สุด -Flexion: ยกขาไปขางหนา -Extension: แกวงขากลับมาชิดกัน -Radial flexion: เอียงมือไปดาน หัวแมมือ -Ulnar flexion: เอียงมือไปดาน นิ้วกอยขอสะโพกRadial Flexion  Ulna flexion Flexion
  • 23. 22    -Internal rotation: บิดเขาเขา หาลําตัว -External rotation: บิดเขา ออกนอกลําตัว Extension
  • 24. 23    -Circumduction: หมุนขาเปน วงกลม เทา -Dorsiflexion: กระดกขอเทาขึ้น -Plantar flexion: กดปลายเทาลง -Inversion: หมุนเทาเขาดานใน -Eversion: หมุนเทาออกดานขาง ขอเขา -Flexion: งอเขายกสนเทาขึ้น -Extension: เอาสนเทาไปแตะ พื้น
  • 25. 24    การทดสอบความแข็งแรงของกลามเนื้อ (Test of muscle strength) ทดสอบความแข็งของกลามเนื้อ โดยการใหผูรับบริการเคลื่อนไหวขอ นั้นๆ เต็มที่ แลวออกแรงตานกับแรงของพยาบาล เปรียบเทียบความแข็งแรง ของอวัยวะทั้ง 2 ขาง มักจะพบวาขางที่ผูรับบริการถนัดมักจะมีความแข็งแรง มากกวาขางที่ไมถนัด แตไมควรใชแรงทดสอบมาก ณ บริเวณที่มีอาการ เจ็บปวด วิธีการทดสอบกําลังของกลามเนื้อ 1. Isometric testing คือ การทดสอบโดยผูรับบริการ เกร็งกลามเนื้อ ไวหลังจากเกิดการเคลื่อนไหวอยางเต็มที่แลว พยาบาลพยายามเอาชนะการหด ตัวของกลามเนื้อนั้น นิ้วเทา - Flexion: งอนิ้วเทาขึ้น และลง -Extension: เหยียดนิ้วเทา -Abduction: กางนิ้วเทาออก -Adduction: หุบนิ้วเทาเขา
  • 26. 25    2. Isotonic testing คือ การทดสอบโดยผูรับบริการพยายามออกแรง การเคลื่อนไหวขอในขณะที่พยาบาลออกแรงตานเพื่อขัดขวางการเคลื่อนไหว ดังกลาว วิธีนี้ชวยใหตรวจสอบกลามเนื้อออนแรงได ขณะที่ทดสอบกําลังของ กลามเนื้อ ใหสังเกตและคลํากลามเนื้อที่กําลังหดตัวนั้น ๆ ดวย การแบง ระดับกําลังของกลามเนื้อ ดังตอไปนี้ Grade 0 ไมมีการหดตัวของกลามเนื้อเลย Grade 1 มีการหดตัวของกลามเนื้อเกิดขึ้นพอเห็นได Grade 2 เคลื่อนไหวตามแนวราบได เมื่อไมมีความโนมถวงตานไว Grade 3 ตานความโนมถวงไดแตตานแรงทานไมได Grade 4 ออกแรงตานทานไดแตนอยกวาปกติ Grade 5 เคลื่อนไหวและตานแรงไดตามปกติ การตรวจกลามเนื้อและขอแตละสวน 1. Temporo mandibular joint (TMJ) 1.1 ตรวจการเคลื่อนไหว โดยการทําดังตอไปนี้ - ใหผูรับบริการนั่ง พยาบาลใชนิ้วชี้และนิ้วกลางวางหนาหู บอกให ผูรับบริการอาปากออกใหกวางมากที่สุด ปกติจะอาไดกวาง 1-2 นิ้ว คลําดู บริเวณรอยตอของกระดูก Temporal และ Mandibular -ใหผูรับบริการขยับขากรรไกรจากซายไปขวา ขวาไปซาย ปกติจะ เคลื่อนไปได 1-2 เซนติเมตร (ดังภาพที่ 8)
  • 27. 26    -ใหผูรับบริการขยับขากรรไกรยื่นออกมาและดันเขาไป ปกติจะ เคลื่อนไหวไดดีไมสะดุด -ความผิดปกติที่พบได คือ อาปากไมได หรือ ไดนอย อาจ เนื่องมาจากการไดรับบาดเจ็บ หรือมีการอักเสบของขอ (Arthritis), ขอตอบวม, บาดเจ็บหรือมีเสียงกรอบแกรบ พบไดใน Arthritis หรือใน TMJ dysfunction (ดังภาพที่ 8) 1.2 ทดสอบกําลังของกลามเนื้อ -ใหผูรับบริการอาปากคางไว ออกแรงตานกับมือพยาบาล ใน ขณะเดียวกันพยาบาลคลําดูการหดเกร็งของกลามเนื้อ Temporal และ Masseter ปกติจะหดเกร็งดี ไมเจ็บและไมกระดก แสดงถึงการทํางานของ เสนประสาทสมองคูที่ 5 (Trigeminal nerve) ปกติ (ดังภาพที่ 9) 2. ขอตอบริเวณกระดูกหนาอกและไหปลารา (Sternoclavicular joint) โดยใหผูรับบริการนั่ง สังเกตบริเวณ Sternoclavicular joint วาอยูในแนวกลาง ภาพที่ 8 แสดงการ เคลื่อนไหวของ TMJ ภาพที่ 9 แสดงกําลัง กลามเนื้อของ Temporal และ Masseter
  • 28. 27    ลําตัวหรือไม สีผิว บวม หรือมีกอน แลวคลําดูวากดเจ็บหรือปวดหรือไม ถามี การอักเสบจะมีการบวมแดงหรือกดเจ็บ 3. กระดูกสันหลังสวนคอ (Cervical spine) 3.1 ทดสอบการเคลื่อนไหวกระดูกและกลามเนื้อรอบกระดูกสัน หลังสวนคอ ความผิดปกติที่อาจพบ ไดแก 1. เจ็บเวลากม เงย หรือเอียงจากกลามเนื้อบริเวณคอตึง อาจเกิดจาก การนอนผิดทา หิ้วกระเปาหนัก หรือ ตกจากที่สูง 2. การเคลื่อนไหวทําไดไมเต็มที่รวมกับมีอาการปวดราวไปยังหลัง ไหล หรือแขน เกิดจากกระดูกเสื่อมหรือมีกอนเนื้อ 3. เจ็บบริเวณคอรวมกับชาบริเวณขาอาจเกิดจากไขสันหลังถูกกดทับ -หมุนศีรษะใหไปขางซายและ ขวาใหมากที่สุด (Rotation) -กมหนาเอาคางจรดอก (Flexion) -เงยหนาตั้งตรง Extension) -เงยหนาไปขางหลังใหมาก ที่สุด (Hyperextension) -เอียงคอใหหูเขาใกลไหลให มากที่สุดทั้งซายและขวา (Lateral bending)
  • 29. 28    4. เคลื่อนไหวไมไดเต็มที่รวมกับมีไข หนาวสั่น อาจเกิดจากการติดเชื้อ เชน เยื่อหุมสมองอักเสบ (Meningitis) เปนตน 3.2 การทดสอบกําลังกลามเนื้อ Sternocleidomastoid muscle วิธีที่ 1 โดยการบอกใหผูรับบริการหันหนาไป ทิศทางตรงกันขามกับแรงพยาบาล วิธีที่ 2 ใหผูบริการกมหนาตานแรงพยาบาล ที่พยายามกดหนาผากใหหนาผูรับบริการแหงน ขณะเดียวกันพยาบาลจับดูความแข็งเกร็งของ Sternocleidomastoid muscle วิธีที่ 3 ใหผูรับบริการแหงนขึ้นและเกร็งตาน กับแรงพยาบาลที่พยายามกดใหหนาแหงน ขึ้นอีก ถากลามเนื้อมีความแข็งแรงพอจะไม สามารถใหหนาแหงนขึ้นมากกวาเดิมที่ ผูรับบริการเกร็งไวเปนการทดสอบกําลังของ Trapezius ความผิดปกติอาจพบได คือ ผูรับบริการไมสามารถเกร็งตานแรง พยาบาลได อาจเกิดจากกลามเนื้อออนแรง 4. กระดูกสันหลังสวนอกและเอว (Thoracic and lumbar spine) การดู สังเกตลักษณะกระดูกสันหลัง ใหผูบริการยืนตัวตรง ดูดานหนา ดานหลัง และดานขาง ในคนปกติจะตองยืนตัวตรง มีความสมมาตรของอวัยวะ
  • 30. 29    ดานซายและขวา เมื่อมองทางดานหลังกระดูกสันหลังเปนแนวตรง ความ ผิดปกติที่พบได คือ กระดูกสันหลังคด พบไดใน Scoliosis และเมื่อมองทาง ดานขางมีสวนโคงถูกตอง เขาอยูในแนวตรง เทาวางราบกับพื้น และชี้ตรงไป ขางหนา ถามีการโปงนูนของกระดูกสันหลังสวนอกมาก เรียกวา Kyphosis มัก เกิดเมื่อมีการเสื่อมของกระดูกในวัยชรา โคงของกระดูกสันหลังบริเวณเอว ลดลง มักจะพบไดในหมอนของกระดูกสันหลังเสื่อม (Herniated lumbar disc or ankylosing spondylitis) แตโคงของกระดูกสันหลังสวนเอวเพิ่มมากขึ้นใน เรียกวา Lordosis พบในหญิงตั้งครรภและคนอวน (ดังภาพที่ 10) ภาพที่ 10 แสดงความผิดปกติของกระดูกสันหลัง A Normal Spine B Kyphosis C Lordosis D Normal spine E Mild scoliosis F Severe scoliosis G Rib hump and lank asymmetry การคลํา พยาบาลยืนดานหลังผูรับบริการที่นั่งกมศีรษะเล็กนอย คลํา บริเวณดานหลังลําคอ กระดูก สันหลัง เพื่อหาแนวของกระดูกสันหลังและ อาการกดเจ็บ ปกติกระดูกสันกําลังจะอยูในแนวตรง และกดไมเจ็บ ถากดเจ็บ A C D E F GB
  • 31. 30    แสดงถึงอาการอักเสบ เชน กลามเนื้ออักเสบ (Myositis) หรือหมอนรองกระดูก สันหลังเลื่อน (Herniated vertebral disk) (ดังภาพที่ 11) สังเกตการเคลื่อนไหวของ Thoracic and lumbar spine - ใหกมแตะเทา (Flexion) -ใหแอนตัวไปดานหลัง (Hyperextension) -ใหเอียงตัวไปดานซายและขวา (Lateral Bending) ภาพที่ 11 แสดงการคลํากระดูกสันหลัง
  • 32. 31    -ใหเอียงตัวหมุนลําตัวสวนบนไป ทางดานซายและขวา (Rotation) การทดสอบกําลังของกลามเนื้อหลัง การทดสอบอาการปวดของหลังและขา การตรวจขอไหล (Shoulder Joint) การดูและการคลํา ใหผูรับบริการนั่ง สังเกตดูความสมมาตรของไหล แขน ทั้ง 2 ขาง สังเกตสี อาการบวม และกอน อาการลีบของกลามเนื้อ คลําบริเวณที่ขอกระดูก ใหนอนคว่ําแลวพยายามยกเกร็งศีรษะและ ไหลขึ้นจากที่นอน ถาไมสามารถทําได แสดงถึงการออนแรงของกลามเนื้อที่ทํา หนาที Extension ของกระดูกสันหลัง   ถาผูรับบริการมีอาการปวดหลัง (Low back pain) และปวดราวไปยังขาใหทดสอบดวยวิธี Losegue’s test หรือ Straightจนกระทั่งรูสึกเจ็บ พยาบาลดันปลายเทาผูรับบริการขึ้น ถามีอาการ ปวดเพิ่มขึ้นแสดงวามีการเสื่อมของหมอนรอง กระดูก (Weber & kelly, 2003. P. 516)
  • 33. 32    ทั้งสองขางมาบรรจบกันและปุมกระดูกหัวไหลเทากัน อาจเกิดจาก Scoliosis ความผิดปกติที่พบ ไดแก ไหลกลวง ยุบลงไปอาจเกิดการเคลื่อนของหัวกระดูก (Dislocation) กลามเนื้อลีบเกิดจากเสนประสาทกลามเนื้อบาดเจ็บหรือขาด การออกกําลังกายสวนนี้ อาการกดเจ็บ บวม แดงและรอน เกิดจากกลามเนื้อ ตึง อักเสบ ทดสอบการเคลื่อนไหวของขอไหล ใหผูรับบริการยืนตรงแขน แนบลําตัว ยกแขนขึ้นไป ดานหนาลําตัว ขอศอก เหยียดตรง ลดแขนลงมา แนบลําตัว เหยียดแขนเลย ไปขางหลัง โดยที่ขอศอก เหยียดตรง กางแขนออก (Abduction) ยกขึ้นเหนือศีรษะ หุบแขนเขาหาลําตัว (Adduction) หรือไขวมือไป ดานตรงขาม
  • 34. 33    วางมือไวที่ทายทอยให ขอศอกกางมากที่สุด (External rotation) ไขวมือทั้งสองขางที่บริเวณ หลัง (Internal rotation) แกวงแขนใหเปนวงกลมรอบ (Circumduction) การเคลื่อนไหวของหัวไหลปกติจะหมุนไดโดยรอบ นอกจากดานที่ติด กับลําตัวหรือดานหลัง ถาเกิดการปวดเฉียบพลันของหัวไหลขางใด แขนขางนั้น จะแนบติดกับลําตัว การเคลื่อนไหวโดยเฉพาะทากางแขนหรือปดออกจาก ลําตัวทําไดยาก เนื่องจากจะเจ็บปวดมาก พบไดในผูปวยที่มีการจับของหิดปูน รอบหัวไหล รวมกับการอักเสบอยางเฉียบพลัน การทดสอบกําลังของกลามเนื้อไหล ใหผูรับบริการกางแขนออก (Abduction) เกร็งแขนตานแรงพยาบาลที่พยายามกดลง ใหแขนผูรับบริการลงแนบตัว
  • 35. 34    ใหผูบริการกางแขนออก แลวพยายามหุบ แขนลงแนบลําตัว (Adduction) ตานกับแรง พยาบาลที่พยายามยกแขนผูรับบริการขึ้น การตรวจขอศอก (Elbow point) การดูและการคลํา สังเกตดูสี อาการบวม กอนของบริเวณ ขอศอก การผิดรูปของขอ คลําวามีอาการ ปวด บวม รอน กดเจ็บหรือไม คลําเอ็นยึด กอน คลําปุมกระดูก Olecranon process, Epicondyle ของกระดูกตนแขนดานขางของ ผูรับบริการ โดยใชหัวแมมือตรวจคลําที่ Lateral epicondyle, นิ้วชี้อยูที่ Olecranon process และนิ้วกลางอยูที่ Medial epicondyle ถามีอาการบวมแดงและกดเจ็บ ก็แสดงวามี Oleranon bursitis
  • 36. 35    การตรวจการเคลื่อนไหวของขอศอก งอขอศอก (Flexion) เหยียดขอศอก (Extension) งอขอศอก หงายฝามือขึ้น (Supination) งอขอศอก คว่ําฝามือลง (Pronation) การตรวจกําลังกลามเนื้อของขอศอก พยาบาลประคองแขนสวน ตนแลว ใหผูรับบริการงอ ขอศอก ดันปลายแขน ออกมา (Extension) ตาน กับแรงพยาบาลเปนการ ตรวจหาความแข็งแรงของ Triceps muscle Supination Pronatio Flexion Extension
  • 37. 36    พยาบาลประคองแขนสวน ตนใหผูรับบริการงอขอศอก ดึงแขนเขาหาตัว(Flexion) ตานกันกับแรงพยาบาลที่ พยายามดึงออก เปนการ ตรวจความแข็งแรงของ Biceps Muscle ใหผูรับบริการพยายามงอ ขอศอก โดยใหหัวแมมือหัน เขาตัวผูรับบริการ เกร็งตาน แรงพยาบาลที่พยายามดึง แขนออก เปนการทดสอบกําลัง ของกลามเนื้อ Brachioradialis ใหผูรับบริการเหยียดขอศอก พยายามหงายมือขึ้นตานแรง พยาบาลที่พยายามจับดึงไวใน ทิศทางตรงกันขาม เปนการ ทดสอบกําลังของกลามเนื้อที่ทํา หนาที่ Supination
  • 38. 37    ใหผูรับบริการเหยียดแขนออก พยายาม คว่ํามือลงตานแรง พยาบาลที่พยายามดันไวใน ทิศทางตรงกันขาม เปนการ ทดสอบกําลังของกลามเนื้อที่ทํา หนาที่ Pronation การตรวจนิ้วมือและขอนิ้ว (Wrist Joints and Hand Joints) การดูและการคลํา ดูลักษณะการบวมแดง ตลอดจนการผิดรูปของขอ ขอที่มีการเบี่ยงเบน ไปของ Ulnar หรือ Radial มากเกินไป (Ulnar or radial deviation) พบไดบอย ในผูรับบริการที่เปน Rheumatoid Arthritis คลําบริเวณขอมือและขอนิ้ว เมื่อพบวา บวม รอน กดเจ็บหรือไม ถามีการกดเจ็บ แสดงถึงการอักเสบของขอ ณ บริเวณ นั้น ในการคลํานิ้วพยาบาลใชนิ้วชี้และ นิ้วหัวแมมือ คลําบริเวณขอทั้ง 2 ดาน คลําบริเวณ Interphalangeal joints, Metacarpophalangeal joints และ Radiocarpal groove
  • 39. 38    ถาพบขอนิ้วมือมีขนาดใหญมากและอาจมีอาการหงิกงอรวมดวย แข็ง แตไมเจ็บปวด มักพบในวัยกลางคนและผูสูงอายุ อาจเปนโรค Osteoarthritis แตถามีอาการบวม นุมและเจ็บปวด บางรายอาจมีอาการขอติดแข็งรวมดวย อาจเปนโรค Rheumatoid arthritis ตรวจการเคลื่อนไหวของขอมือและนิ้วมือ เหยียดขอมือตรง หักขอมือลง (Flexion) เหยียดมือ (Extension) กระดกมือขึ้น (Hyperextension) บิดขอมือใหหัวแมมือเขาหา ลําตัว (Radial Flexion) บิด ขอมือใหปลายนิ้วมือชี้ออกนอก ลําตัว (Ulnar Flexion) กํามือ (Flexion) บีบนิ้วมือเขาหากัน (Adduction)
  • 40. 39    กางนิ้วมือออก (Abduction) งอนิ้วหัวแมมือ (Flexion) กางนิ้วมือ (Extension) เอานิ้วหัวแมมือจรดกับนิ้ว แตละนิ้ว (Opposition) การทดสอบกําลังของกลามเนื้อที่ขอมือและนิ้ว ใหผูรับบริการหงายมือและ กําหมัด พยายามทํา Flexion ตานแรงกับ พยาบาลที่พยายามกดลง เปนการทดสอบกําลังของ กลามเนื้อที่ทําหนาที่ Flexion ที่ขอมือ
  • 41. 40    ใหผูรับบริการงอนิ้วมือเกร็งตาน แรงพยาบาลที่พยายามดึงนิ้ว ออก เปนการทดสอบกําลังของ กลามเนื้อ Flexion ของนิ้วมือ ใหผูรับบริการเกร็งเหยียดนิ้วมือ ตานกับแรงพยาบาลที่พยายาม กดลง เปนการทดสอบกําลัง ของกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Extension ใหผูรับบริการกํานิ้วของ พยาบาลไวใหแนนดึงสูกับแรง พยาบาลที่พยายามดึง นิ้วออกเปนการทดสอบกําลัง ของกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Hand grip ของนิ้วมือ
  • 42. 41    ใหผูรับบริการกดนิ้วหัวแมมือไว กับนิ้วกอยใหแนน พยาบาล พยายามดึงนิ้วทั้งสองใหหลุด ออกจากกัน เปนการทดสอบ กําลังของกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Opposition ใหผูรับบริการกางนิ้วเกร็งคางไว ตานกับแรงพยาบาลที่พยายาม ดันนิ้วเขาหากัน เปนการ ทดสอบกําลังของกลามเนื้อที่ทํา หนาที่ Abduction ของนิ้วมือ ใหผูรับบริการหนีบกระดาษไว ระหวางนิ้วมือใหแนน ตานกับ แรงพยาบาลที่พยายามดึง กระดาษออกเปนการทดสอบ กําลังกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Adduction
  • 43. 42    การตรวจขอตะโพก (Hip joint) การดู ใหดูการเดินและการยืนของผูรับบริการวา ลักษณะการเดินมีการ เคลื่อนไหวมากนอยเพียงใด ใหเปรียบเทียบกับดานตรงขาม ถามีพยาธิสภาพที่ ขอตะโพก การเดินของผูรับบริการมักจะมีการเคลื่อนไหวของตะโพกนอยมาก ทายืนของผูรับบริการมักจะลงน้ําหนักในขางที่ดี กลามเนื้อตะโพกมักจะเล็กกวา ดานที่ดี ในทานอนจะพบวาขายาวไมเทากัน (Apparent shortening) ควร สังเกตวามีการปดของกระดูก เชิงกรานหรือขารวมดวยหรือไม การตรวจ Trendelenburg test โดยการใหผูรับบริการยืนลงน้ําหนักบน ขาขางหนึ่ง และยกเขาของขางตรงขาม ตามปกติแลวระดับของกระดูก Pelvis (จะใช Iliac crest และ Anteior และ Posterior superior Iliac sine ก็ได) จะ ยกขึ้นในดานที่ไมไดลงน้ําหนัก แตถามีพยาธิสภาพในขอสะโพก เชน Congenital dislocation หรือ การออนแรงของกลามเนื้อสะโพกระดับของ กระดูก Pelvis จะลดต่ํากวาอีกขางหนึ่ง (ดังภาพที่ 12) ภาพที่ 12 แสดงการตรวจ Trendelenburg test A ขอสะโพกปกติ B ขอสะโพกมีพยาธิสภาพ
  • 44. 43    การคลํา ใหคลําบริเวณรอบ ๆ ขอตะโพกและรอบ ๆ ทั้ง 2 ขาง ไดแก Anterior superior Iliac spine คลําเพื่อหาวามีการบวม รอน กดเจ็บและมีเสียงกรอบแก รบหรือไม ในรายที่สังเกตวาขายาวไมเทากัน ควรวัดความยาวของเปรียบเทียบ กันทั้ง 2 ขาง การตรวจความเคลื่อนไหวของตะโพก การตรวจการเคลื่อนไหวของขอตะโพกหามทําในผูปวยที่ไดรับการ เปลี่ยนขอตะโพก (Hip replacement) เพราะอาจทําใหเกิดการเคลื่อนหลุดของ ขอตะโพกได เนื่องจากขอตะโพกเปนขอแบบ Ball-and-socket จึงเคลื่อนไหว ไดทุกทิศทาง ทาที่ใชในการตรวจ มีดังนี้ ใหผูรับบริการเหยียดเขาและ ยกสูงขึ้น เทาที่จะทําได (Flexion) กางขาออก (Abduction) หุบขาเขา (Adduction) แกวงขาเปนวงกลม (Circumduction)
  • 45. 44    การหมุนขาเขาขางใน (Internal Rotation) การหมุนขาออกขางนอก (External Rotation) การตรวจขอตะโพกที่สงสัยวามีการอักเสบ การตรวจในรายที่สงสัยวามีการอักเสบของขอตะโพก โดยวิธี Fabere test (ดังภาพที่ 13) ใหผูรับบริการงอเขาขางหนึ่ง โดยวางเทาอยูที่บริเวณกระดูก สะบาของเขาอีกขางหนึ่งพยาบาลใชมือดันเขาขางนั้นลงติดพื้นเพื่อใหขาหมุน ออก ตอจากนั้นใหหมุนขอตะโพกเขาดานใน โดยการจับเขาหมุนเขาขางในและ เทาหมุนออกขางนอก ถามีการอักเสบที่ขอตะโพก จะดันเขาขางนั้นไดนอยและ จะทําใหมีอาการปวดที่ตะโพก การตรวจขอตะโพกอีกขางก็เชนเดียวกัน ภาพที่ 13 แสดงวิธีการตรวจ ขอตะโพกที่สงสัยวามีการ อักเสบดวยวิธี Fabere test
  • 46. 45    การทดสอบกําลังของกลามเนื้อตะโพก ใหผูรับบริการนอนหงาย เหยียดเขาตรงยกขาเกร็ง ตานแรงพยาบาลที่กดลง เปนการทดสอบกําลัง กลามเนื้อที่ทําหนาที่ Flexionของขอตะโพก ใหรับบริการนอนหงาย ยก เหยียดเขาแลวพยายามกด ขาลงกับที่นอนตานแรงกับ แรงพยาบาลที่พยายามยก ขาขึ้น เปนการทดสอบกําลัง กลามเนื้อที่ทําหนาที่ Extension ของขอตะโพก การตรวจขอเขา (Knee joints) การดู ดูผิวหนังวามีกลามเนื้อลีบหรือไม สีผิว อาการบวม เปรียบเทียบกันทั้ง 2 ขาง การคลํา คลําดูวามีบวมรอนและกดเจ็บหรือไม มีน้ําอยูในขอหรือไม ขอเขาปกติจะมีสารน้ําหลอเลี้ยงประมาณ 3-5 มิลลิเมตร หากมีการอักเสบหรือ การติดเชื้อ จะทําใหมีสารน้ําในขอมากขึ้น วิธีที่ใชตรวจเมื่อมีสารน้ําในขอเขา
  • 47. 46    นอยวา 30 มิลลิเมตร ไดแก Patellar stroke test หรือ Fluid displacement test หรือ Bulge sign โดยการดันน้ําจากดานในของ Patellar หรือดันน้ําจาก ดานนอก Patellar แลวสังเกตการโปงของผิวขอดานตรงขาม เชน เมื่อดัน ทางดานใน ดานนอกจะโปงออกมาใหเห็น (ดังภาพที่ 14) เปนตน ดัน Fluid จากทางดานใน ดัน fluid จากทางดานนอก ภาพที่ 14 แสดงการตรวจ Patellar stroke test or Fluid displacement test หรือ Bulge sign) การตรวจการเคลื่อนไหวของขอเขา ใหผูรับบริการงอ (Flexion ) และเหยียดเขา (Extension)
  • 48. 47    การทดสอบกําลังกลามเนื้อของขอเขา ใหผูรับบริการงอเขาเกร็งคางไว ตานกับแรงพยาบาลที่พยายาม ดึง ขาผูรับบริการออก เปนการ ทดสอบกําลังกลามเนื้อที่ทํา หนาที่ Flexion ของเขา ใหผูรับบริการงอเขาพยาบาล พยุงใตเขาแลวใหผูรับบริการ พยายามเหยียดเขาออกตานกับ แรงพยาบาลที่พยายามกดไว เปนการทดสอบกําลังกลามเนื้อ ที่ทําหนาที่ Extension ขอเขา การตรวจขอเทาและขอนิ้วเทา (Anklejointsandmetatarsaljoints) การดูและการคลํา ดูสีผิว อาการบวม และลักษณะรูปรางความ ผิดปกติที่พบบอยในเด็กทารก ไดแก เทาปุก (Club foot) การบิดเขาของฝาเทา (ดังภาพที่ 15) การคลําใหคลําวามีการบวม รอน และกดเจ็บหรือไม การตรวจการเคลื่อนไหวของขอเทาและขอนิ้วเทา ภาพที่ 15 แสดงเทาปุก (Club foot)
  • 49. 48    ใหผูรับบริการพยายามเหยียดปลาย เทาลงตานแรงพยาบาลที่พยายามดัน ขึ้น เปนการทดสอบกําลังกลามเนื้อที่ ทําหนาที่ Flexion ของขอเทา ใหผูรับบริการพยายามกระดกเทาขึ้น ตานแรงพยาบาลที่พยายามกดลง เปน การทดสอบกําลังกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Extension ของขอเทา ใหผูรับบริการพยายามบิดเทาเขาขาง ในตานกับแรงพยาบาลที่พยายามบิด ออก เปนการทดสอบกําลังกลามเนื้อที่ ทําหนาที่ Inversion ของขอเทา ใหผูรับบริการพยายามบิดฝาเทาออก ขางนอก ตานกับแรงพยาบาลที่ พยายามบิดเขา เปนการทดสอบ กําลังกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Eversion ของขอเทา  
  • 50. 49    ใหผูรับบริการงอนิ้วเทาตานแรง พยาบาลที่พยายามดึงนิ้วออกเปน การทดสอบกําลังกลามเนื้อที่ทํา หนาที่ Flexion ของขอนิ้วเทา ใหผูรับบริการ เหยียดนิ้วเทาออก ตานแรงพยาบาลที่กดไวเปนการ ทดสอบกําลังกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Extensionของขอนิ้วเทา การตรวจพิเศษ การตรวจพิเศษในทางออรโธปดิกส มีจุดประสงคเพื่อหาพยาธิสภาพ ของโครงสรางกระดูกและขอที่อวัยวะอื่นคลุมอยู ทําใหการตรวจไมชัดเจน ใน ที่นี้จะกลาวถึงการตรวจที่สําคัญเทานั้น The Yergason test เปนการตรวจวามี Tendonitis หรือไม (ดุษฎี ทัต ตานนท, 2542) โดยใหผูรับบริการงอขอศอก ทํา External rotation พรอมกับ เกร็งขอศอกขึ้น ถามีอาการเจ็บปวดขึ้นที่ไหล แสดงวามี Tendonitis
  • 51. 50    Drop Arm Test เปนการตรวจวามีการขาดของเอ็นที่พาดผานทั้ง กระดูก Humerus (Rotator cuff) หรือไม (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542) โดยให ผูรับบริการกางแขนออก (Abduction)(A) แลวคอยๆ ลดแขนมาแนบลําตัวขางๆ ถามี Rotator Cuff ฉีกขาด แขนจะตกลงมาเมื่อกางแขนได 90o หรือหาก สามารถกางแขนยกไวไดที่ 90o เพียงผูตรวจใชนิ้วกด/เคาะที่แขนจะตกลง มา (B) Tennis Elbow Test เปนการตรวจเพื่อหาวามีการอักเสบของ Common extensor epicondylitis (Tennis elbow) หรือไม (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542) ผูตรวจจับหลังมือและขอศอกของผูรับบริการ แลวใหผูรับบริการกํามือ และกระดูกขอมือในทา Pronation จากนั้นใชนิ้วกดบริเวณ Lateral epicondyle ถามีการอักเสบจะมีอาการเจ็บอยางมากตรงบริเวณที่กด A B
  • 52. 51    True for Leg Length Discrepancy เปนการวัดหาความยาวของขา ทั้งสองขางเพื่อหาตนเหตุของการเดินกะเผลกจากขายาวไมเทากัน (ดุษฎี ทัต ตานนท, 2542) โดยใหนอนหงาย ใชสายเทปวัดระยะจาก Anterior superior iliac spine ไปยัง Medial malleolus ของขอเทาในตําแหนงเดียวกันทั้ง 2 ขาง หากวัดไดแตกตางกัน แสดงวามีกระดูกขาสั้น ยาวไมเทากัน จากนั้นตรวจหาวา สวนที่สั้นนั้นเปนจากกระดูก FemurหรือTibia โดยใหชันเขาขึ้นงอ 90O ทั้ง 2ขาง แลวดูระยะสูงต่ําเปรียบเทียบกัน Apparent leg Length Discrepancy ใหนอนหงายแลววัดความ ยาวจากสะดือลงมายัง Medial malleolus ที่ขอเทาทั้ง 2 ขาง หากวัดไดไม เทากัน แสดงวามีลักษณะปรากฏของขาสั้นยาวไมเทากันและหากตรวจ True Leg length discrepancy ไดเทากัน แสดงวาความผิดปกตินั้นเกิดจากการ เอียงของ Pelvic (Pelvic obliquity) หรือจาก Adduction หรือ Flexion deformity ของ Hip joint (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542)
  • 53. 52    Straight leg raising test เปนการตรวจวามีการตึงของ Spinal cord, Cauda equina หรือ Sciatic nerve หรือไม มี 2 วิธี (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542) วิธีที่ 1 Straight leg raising test ใหนอนหงาย ผูตรวจยืนดานขาง แลวใชมือรองบริเวณสนเทาของผูรับบริการแลวยกขาขึ้น เขาเหยียดตรง โดย ปกติควรยกได 70-90o โดยไมเจ็บหรืองอเขา แตหากมีอาการเจ็บขาหรือหลัง แสดงถึงพยาธิสภาพของ Sciatic nerve หรือกลามเนื้อ Hamstring จากนั้นลด ระดับลงมาเล็กนอยจนหายเจ็บ แลวจับเทากระดกขึ้น (Dorsiflex) หากมีอาการ เจ็บอีก แสดงวาเกิดจาก Sciatic nerve ตึง แตถาไมเจ็บแสดงวานาจะเปนจาก Hamstring muscle tightness วิธีที่ 2 Well leg straight raising test ใหนอนหงาย ผูตรวจยกขา ขางที่ไมปวดขึ้น หากมีอาการปวดหลังหรือขาดานตรงขามแสดงวามี Herniated disc บริเวณไขสันหลัง เอว อาจเรียกวิธีการตรวจนี้า Cross leg straight leg raising test (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542)
  • 54. 53    Hoover Test เปนการตรวจวินิจฉัยอาการปวดขาเกิดจากการ แกลงทํา (Malingering) หรือไม (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542) ใหนอนหงาย ผูตรวจยืนบริเวณปลายเทาใชอุงมือทั้ง 2 ขาง รองใตสนเทาทั้ง 2 ขาง ของ ผูรับบริการ แลวใหผูรับบริการยกขาขางที่ปวดขึ้น ถาปวดขาจริงจะยกขาไมขึ้น และพยายามกดเทาอีกขางหนึ่งเพื่อเปนตัวยกขาจนผูตรวจรูสึกได แตถาไมมี น้ําหนักกดลง แสดงวาอาจไมเจ็บขาจริง (ดังภาพที่ 16) A B ภาพที่ 16 การตรวจดวยวิธี Hoover Test A ปวดจริง เพราะมีการลงน้ําหนักในเทาซายขณะยกขาขวา B แกลงทํา ไมมีแรงกดที่เทาซายขณะยกขาขวาขึ้น Magnetic resonance imaging (MRI) คือการตรวจโดยใชเครื่องมือที่ ใชสําหรับสรางภาพอวัยวะภายในรางกาย โดยอาศัยหลักการของคลื่น แมเหล็กไฟฟาและคลื่นวิทยุ แลวนําสัญญาณที่ไดมาประมวลผลดวย คอมพิวเตอร ทําใหไดภาพอวัยวะภายในของรางกาย ที่มีความคมชัด อีกทั้ง สามารถทําการตรวจไดในทุกๆ ระนาบ ไมใชเฉพาะแนวขวางอยางเอกซเรย
  • 55. 54    คอมพิวเตอรสามารถแยกเนื้อเยื่อของรางกายที่ปกติและที่ผิดปกติออกจากกัน ได ทําใหมีความถูกตองแมนยําในการวินิจฉัยโรคมากยิ่งขึ้น ใชไดดีกับ กลามเนื้อ เสนเอ็นยึดกระดูกและกลามเนื้อ ปจจุบันไดใช เพื่อชวยในการ วินิจฉัยโรคของกระดูกและขอเปนจํานวนมาก การตรวจ MRI จะเห็นความผิด ปกติที่เกิดขึ้นภายในโพรงกระดูก หรือไขกระดูกไดอยางชัดเจน เชน เนื้องอก ภายในกระดูก MRI จะสามารถบอกขอบเขตของโรคไดถูกตองแมนยํา เพื่อ ประโยชนในการวางแผนการรักษา โรคของกระดูกบางอยางเชน การขาดเลือด ไปเลี้ยงที่หัวของกระดูกตนขา MRI เปนการตรวจที่ไวที่สุด สามารถตรวจพบ ความผิดปกติได แมภาพเอ็กซเรยธรรมดายังปกติอยู ขอที่มีการตรวจ MRI มาก ที่สุด คือ ขอเขา รองลงมา คือ ขอไหล เมื่อสงสัยวาจะมีการฉีกขาดของเสนเอ็น หรือกระดูกออนภายในขอ การถายภาพเอ็กซเรยธรรมดา อาจเห็นเพียงเงาของ น้ําในขอ แต MRI จะเห็นสวนประกอบตางๆ ภายในขอไดอยางชัดเจน และบอก ไดอยางแมนยําวามีการบาดเจ็บตอสวนประกอบเหลานั้นอยางไรบาง (Science News: บทความทางวิทยาศาสตร, 2553, หนา 5) สรุป การประเมินภาวะสุขภาพของระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ พยาบาลจะใชหลักการดู คลํา และมีการวัด เปนหลักการสําคัญของการตรวจ รางกาย จะไมมีผลการตรวจทางหองปฏิบัติการที่เฉพาะเจาะจงกับการประเมิน ภาวะสุขภาพระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ และในบางรายอาจจะตองไดรับ การตรวจพิเศษเพื่อวินิจฉัยแยกโรค เพื่อใหผลการตรวจที่แมนยํา