SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 35
Baixar para ler offline
ยาที่ใช้ในภาวะมีบุตรยาก
รศ.นพ.ภาวิน พัวพรพงษ์
คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Clomiphene citrate
เภสัชวิทยา
มีโครงการสร้างทางเคมีคล้าย diethylstilbestrol (DES), tamoxifen
และ chlorotrianisene
ไม่มีฤทธิ์ esstrogenic, androgenic และ progestogenic
clomiphene citrate
จะอยู่ในรูปของ cis- (zuclomiphene) และ trans – (enclomiphene)
isomers
Clomiphene citrate
ดูดซึมได้ดีจากทางเดินอาหาร
ถูกขับออกจากร่างกายโดยตับ ปะปนออกมากับอุจจาระ มีปริมาณ
น้อยที่ออกมาในปัสสาวะ
ประมาณครึ่งหนึ่งของยาจะถูกขับออกมาภายใน 5 วัน
Clomiphene citrate
กลไกการออกฤทธิ์ที่สาคัญของ clomiphene citrate คือการแย่งที่
estrogen receptor ในอวัยวะต่าง ๆ ได้แก่ hypothalamus และต่อม
ใต้สมองจะทาให้มีการหลั่งของ GnRH, FSH และ LH เพิ่มมากขึ้น ซึ่ง
จะมากระตุ้นให้ follicle ที่รังไข่เจริญเติบโตและหลั่ง estradiol มากขึ้น
การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของระดับ estradiol อันจะชักนาให้เกิด LH
surge และเกิดการตกไข่
Clomiphene citrate
ข้อบ่งชี้ในการใช้
1.สตรีที่มีบุตรยากโดยมีสาเหตุมาจากภาวะไข่ไม่ตก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
กลุ่ม hypothalamic pituitary dysfunction และ PCOD
2.มีการตกไข่ไม่สม่าเสมอ และ/หรือมีภาวะการทางานของ corpus luteum
บกพร่อง
3.เพื่อกาหนดระยะเวลาในการทา artificial insemination
4.ใช้ในการกระตุ้นให้ follicle เจริญเติบโตในโครงการ In vitro fertilization
Clomiphene citrate
วิธีการให้ยา
ให้เริ่มรับประทานยาในวันที่ 2 ถึง 5 ของรอบประจาเดือน
ถ้าเริ่มเร็วเกินไปอาจทาให้ follicle เจริญเติบโตพร้อมกันหลายฟอง
ถ้าให้ยาช้าเกินไปและในรอบประจาเดือนนั้น follicle มีการเจริญเติบโต
ตามปกติจะทาให้ follicle หยุดเจริญได้
ในกรณีที่ผู้ป่วยขาดประจาเดือนควรให้โปรเจนเตอโรนเพื่อให้มี
เลือดออกก่อน
Clomiphene citrate
ขนาดของยาที่เริ่มส่วนใหญ่นิยมให้วันละ 50 มก.ติดต่อกัน 5 วัน
ระหว่างการรักษาควรให้จดบันทึกอุณหภูมิกายพื้นฐานทุกวัน
ในรายที่ตอบสนองไข่จะตกประมาณวันที่ 5 ถึง 12 หลังจากยาเม็ด
สุดท้าย ควรแนะนาให้มีการร่วมเพศในระยะเวลาดังกล่าว
Clomiphene citrate
การติดตามการรักษา
1. ในกรณีที่พบว่าภายหลังการรักษาแล้วไข่ไม่ตกโดยดูจากอุณหภูมิกาย
พื้นฐาน และระดับโปรเจสเตอโรนก็ให้เพิ่มยาในรอบต่อไปอีก 50 มก.
แต่มักจะไม่เกิน 150 มก.ต่อวัน
2. ถ้าไข่ตกแต่ไม่ตั้งครรภ์ ให้ยาขนาดเดิมอีก 3 ถึง 6 รอบ และหากยังไม่
ตั้งครรภ์ ควรตรวจหาสาเหตุอื่นของการมีบุตรยาก
Clomiphene citrate
3. ในบางสถาบันนิยมตรวจระดับ progesterone ประมาณ
7 วันหลังไข่ตก เพื่อดูการทางานของ corpus luteum หากพบว่า
corpus luteum ทางานไม่ดีก็ให้เพิ่มยาในรอบต่อไป
4.บางแห่งนิยมตรวจดูมูกคอมดลูก ระหว่างการใช้ clomiphene
citrate แต่ในสตรีบางรายมูกอาจจะน้อยเนื่องจาก clomiphene
citrate นี้ได้
Clomiphene citrate
5.ระหว่างการรักษาด้วย clomiphene citrate บางสถาบันอาจทา
การตรวจการเจริญเติบโตของ follicle ด้วย ultrasound เพื่อกะ
ระยะไข่ตก การตรวจนี้มีความจาเป็นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในรอบ
รักษาที่จะฉีด HCG ร่วมด้วย
6.การตรวจวัดระดับ LH และ estradiol ระหว่างการใช้
clomiphene citrate มีการปฏิบัติกันน้อยเนื่องจากยุ่งยากและ
สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายสูง
Clomiphene citrate
ข้อห้ามของการใช้ยา
1. การตั้งครรภ์ ในสตรีที่ขาดประจาเดือน ก่อนให้ยาควร
ตรวจดูให้แน่นอนก่อนว่าไม่ได้ตั้งครรภ์
2. โรคตับ เนื่องจากยานี้ถูกทาลายที่ตับ ในผู้ป่วยที่มีการ
ทางานของตับผิดปกติจึงไม่ควรใช้ยานี้
3. เลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูก ควรทาการตรวจหา
สาเหตุก่อนที่จะให้ยา
Clomiphene citrate
ผลสาเร็จของการรักษา
อัตราตกไข่ประมาณร้อยละ 80
มีการตั้งครรภ์ประมาณร้อยละ 40 ในจานวนนี้ร้อยละ 5 เป็นครรภ์แฝด
การตั้งครรภ์ส่วนใหญ่มักจะเกิดภายใน 3 เดือนแรก
อัตราการแท้งบุตรนั้นไม่ต่างจากในการตั้งครรภ์ทั่วไป
ไม่พบความพิการเพิ่มขึ้น (สูตรโครงสร้างคล้าย DES)
Clomiphene citrate
ภาวะแทรกซ้อน
อาการมักเป็นเพียงเล็กน้อย และจะหายได้เมื่อหยุดยา ได้แก่ อาการ
ร้อนวูบวาบ ท้องอืด ปวดท้อง เจ็บคัดเต้านม คลื่นไส้อาเจียน ตาพร่ามัว
ปวดศรีษะ ผมร่วง
ในบางรายอาจเกิดภาวะ hyperstimulation ของรังไข่อย่างมากได้
โดยเฉพาะในกรณีที่ให้ยาขนาดสูงและระยะนาน ในผู้ป่วย PCOD และ
ผู้ที่ได้รับยาโดยไม่ทราบว่าตั้งครรภ์
Human menopausal gonadotropins (HMG)
เภสัชวิทยา
ประกอบด้วย LH และ FSH
เตรียมมาจากปัสสาวะของสตรีวัยหมดประจาเดือน
ไม่สามารถให้โดยการรับประทาน ภายหลังการฉีดเข้ากล้าม LH และ
FSH
กระตุ้นให้ follicle เจริญเติบโตจนถึงระยะ preovulatory และต้องให้
HCG เพื่อเลียนแบบ LH surge
Human menopausal gonadotropins (HMG)
ข้อบ่งชี้ในการใช้
ใช้ในสตรีที่มีบุตรยากที่มีสาเหตุจากภาวะไข่ไม่ตกเนื่องจากความ
ผิดปกติของต่อมใต้สมอง และ/หรือ hypothalamus
มักใช้ในรายที่มีบุตรยากเนื่องจากไข่ไม่ตกที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
ด้วย clomiphene citrate
Human menopausal gonadotropins (HMG)
วิธีการใช้ยา
เริ่มฉีด HMG วันละ 1 ถึง 2 หลอด ซึ่งในแต่ละหลอดจะประกอบด้วย
LH 75 หน่วย และ FSH 75 หน่วย โดยฉีดเข้ากล้ามวันละครั้งโดยทั่วไป
จะเริ่มตั้งแต่งันที่ 2-5 ของรอบการรักษา
ติดตามผลการรักษาโดยพิจารณาจากมูกคอมดลูก ระดับ estraiol
และขนาดของ follicle โดย ultrasound
Human menopausal gonadotropins (HMG)
หากไม่มีการตอบสนองต่อการรักษาก็ให้เพิ่มยาขึ้นอีก 1 หลอด ทุก 4-5
วัน จนกระทั่ง follicleเจริญเติบโตเต็มที่โดยมีขนาดมากกว่า 18 มม.
หรือระดับ estradiol สูงขึ้นระหว่าง 500-1500 pg/ml ก็ให้ฉีด HCG
5,000 ถึง 10,000 หน่วยเข้ากล้าม 36-48 ชั่วโมงหลัง HMG เข็มสุดท้าย
 HCG จะช่วยให้เกิดการตกไข่ และช่วยการทางานของ corpus luteum
หลังจากฉีด HCG ไข่จะตกในเวลาประมาณ 30-40 ชั่วโมง ให้คู่สามี
ภรรยาร่วมเพศวันเว้นวันถัดจากวันที่ฉีด HCG
Human menopausal gonadotropins (HMG)
หากพบว่าระดับ estradiol ในเลือดสูงมากเกินไป (มากกว่า 1000
pg/ml) หรือขนาดของ follicle โตเกินกว่า 5 ซม. หรือจานวน
follicle ที่มีขนาดใหญ่มากกว่า 3 ฟอง แล้วควรหยุดยาและงดการฉีด
ยา HCG จะทาให้ follicle ฝ่อไป
หากพบการเกิด premature luteinization (อุบัติการมากถึงร้อยละ
25) ของรอบรักษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่มี endogenous
estrogen อยู่ก่อนการรักษา อันเป็นสาเหตุสาคัญของความล้มเหลว
ของการรักษาด้วย HMG แนะนาการใช้ GnRH analog ร่วมด้วย
Human menopausal gonadotropins (HMG)
ผลการรักษา
อัตราไข่ตกจะสูงกว่าร้อยละ 90 และสามารถตั้งครรภ์ได้ร้อยละ 50-70
อัตราการแท้งสูงกว่าธรรมดาคือประมาณร้อยละ 20-30
การตั้งครรภ์แฝดสูงถึงร้อยละ 30 ซึ่งในกรณีนี้ร้อยละ 5 จะเป็นแฝดสาม
หรือมากกว่า
ส่วนความพิการของทารกนั้นไม่แตกต่างจากในการตั้งครรภ์ทั่วไป
Human menopausal gonadotropins (HMG)
ภาวะแทรกซ้อน
ครรภ์แฝด โดยหากมากกว่าแฝด 2 ขึ้นไป จะมีภาวะแทรกซ้อน
ระหว่างการตั้งครรภ์สูงมาก
ภาวะการกระตุ้นรังไข่มากเกินไป (ovarian hyperstimulation
syndrome) อาจรุนแรงถึงแก่เสียชีวิตได้ โดยมีการเพิ่มของ capillary
permeability ของเหลวจะออกจากเส้นเลือดสู่ช่องว่างต่าง ๆ ได้แก่
ช่องท้องและช่องปอด บางรายอาจเกิด hemoconcentration และ
thromboembolism ได้
Pure FSH
เกิดจากการที่ FSH จะเป็นกลไกหลักในการออกฤทธิ์กระตุ้นให้ follicle
เจริญเติบโต ในทางทฤษฎีการให้ FSH อย่างเดียวน่าจะดีกว่า
 ในภาวะ PCOD ผู้ป่วยมีระดับ LH สูงกว่า FSH การชักนาให้ไข่ตกโดย
HMG ซึ่งมีทั้ง LH และ FSH ในอัตราส่วน 1 ต่อ 1 จึงอาจไม่เหมาะสม
Pure FSH
ข้อบ่งชี้ วิธีการใช้ และผลการรักษา
คล้ายคลึง HMG
อัตราการตกไข่และตั้งครรภ์ไม่แตกต่างจากการให้ HMG
พบว่าอุบัติการของภาวะแทรกซ้อน เช่น การกระตุ้นรังไข่มากเกินไป
และครรภ์แฝดน้อยกว่า
ราคาของ pure FSH สูงกว่า HMG
Gonadotropin releasing hormone (GnRH)
เภสัชวิทยา
GnRH เป็นโปรตีนฮอร์โมนประกอบด้วยกรดอมิโน 10 ตัว คือ
pGlu – His – Trp – Ser – Tyr - Gly – Leu – Arg – Gly - CONH2
ในธรรมชาตินั้น GnRH ถูกสร้างที่บริเวณ Arcuate nucleus ผ่านไปยัง
ต่อมใต้สมองกระตุ้นให้สังเคราะห์และหลั่ง Gonadotropins
การหลั่งของ GnRH จะเป็นจังหวะ (pulsatile) โดยจะแตกต่างกันไปใน
แต่ละระยะของรอบเดือน
Gonadotropin releasing hormone (GnRH)
GnRH จากธรรมชาตินั้นมี half life สั้น และถูกทาลายโดยเอนไซม์ใน
ระบบทางเดินอาหารจึงไม่สามารถให้โดยการรับประทาน
ในปัจจุบันมีการสังเคราะห์ GnRH agonist เพื่อให้มีการออกฤทธิ์ได้
นานขึ้นและถูกทาลายยากขึ้น
Gonadotropin releasing hormone (GnRH)
ข้อบ่งชี้ในการใช้ยา
ภาวะไข่ไม่ตกเนื่องจากความผิดปกติของ hypothalamus
แต่ต้องยังคงมีต่อมใต้สมองที่สามารถสังเคราะห์และหลั่ง
Gonadotropin ได้
มักใช้ในรายที่มีบุตรยากเนื่องจากไข่ไม่ตกที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
ด้วย clomiphene citrate
Gonadotropin releasing hormone (GnRH)
วิธีการใช้ยา
ฉีด GnRH ทุก ๆ 90 นาที โดยผ่านเครื่องฉีดอัตโนมัติที่สามารถควบคุม
ระยะห่างระหว่างการฉีดแต่ละครั้งได้ ให้ระยะห่างระหว่างการฉีดแต่ละ
ครั้งประมาณ 90-120 นาที
ฉีด GnRH จนกระทั่งมีหลักฐานว่ามีการตกไข่เกิดขึ้นจึงหยุดฉีดยา อาจ
กระตุ้นให้ไข่ตกโดย HCG หากไม่มีการตกไข่ภายใน 20วัน นับจากเริ่ม
รักษา ให้พิจารณาว่าการรักษาในรอบนั้นล้มเหลว
Gonadotropin releasing hormone (GnRH)
การติดตามการรักษา
วัดอุณหภูมิกายพื้นทุกวันตลอดการรักษา ตรวจดูการ
เปลี่ยนแปลงของมูกคอมดลูกทุก 2-3 วัน ตรวจคลื่นเสียงความถี่
สูงและตรวจระดับฮอร์โมน estradiol เป็นระยะ ๆ และตรวจวัด
ระดับ progesterone เพื่อยืนยันการตกไข่
Gonadotropin releasing hormone (GnRH)
ผลการรักษา
• มีอัตราการตกไข่สูงถึงกว่าร้อยละ 90 และตั้งครรภ์ได้ร้อยละ 70-90
• การแท้งบุตรประมาณร้อยละ 20
• ครรภ์แฝดสูงกว่าในคนทั่วไปแต่น้อยกว่าในการใช้ gonadotropins
มาก
• ไม่พบว่ามีความผิดปรกติของทารกต่างจากการตั้งครรภ์ทั่วไป
Gonadotropin releasing hormone (GnRH)
ภาวะแทรกซ้อน
การอักเสบบริเวณที่ให้ยาจึงอาจต้องทาการเปลี่ยนที่ทุก 3 ถึง 5 วัน
ภาวะการกระตุ้นรังไข่มากเกินไปพบได้น้อยมาก ทั้งนี้เนื่องจากระหว่าง
การรักษาด้วย GnRH ขบวนการ feed back ระหว่าง steroid
hormone และต่อมใต้สมองยังคงทางานได้ตามปกติ
Gonadotropin releasing hormone (GnRH)
หมายเหตุ
มีการใช้ GnRH agonist ในการควบคุมการทางานของต่อมใต้สมอง
ก่อนจะทาการกระตุ้นรังไข่ร่วมกับยาอื่น ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ
การกระตุ้นรังไข่
Bromocriptine
เภสัชวิทยา
เป็นสารสังเคราะห์พวก ergot alkaloid มีโครงสร้างโมเลกุลคล้าย
dopamine
ดูดซึมได้ดีจากทางเดินอาหาร
หลังจากรับประทานระดับยาในเลือดจะสูงสุดประมาณ 3 ถึง 4 ชั่วโมง
ระยะครึ่งชีวิตประมาณ 4 ถึง 8 ชั่วโมง
Bromocriptine
ภายหลังการรับประทานยาครั้งหนึ่งนั้น bromocriptine จะยับยั้งการ
หลั่งของโปรแลคตินได้เป็นเวลานาน 20 ถึง 30 ชั่งโมง
ออกฤทธิ์โดยไปจับกับ dopamine receptor ที่ต่อมใต้สมองยับยั้งการ
หลั่งของโปรแลคติน นอกจากนี้ bromocriptine ยังทาให้ระดับ
dopamine เพิ่มขึ้นโดยไปลด dopamine turnover ใน
tuboinfundibular neurons
Bromocriptine
ข้อบ่งชี้ในการใช้ยา
สตรีที่มีระดับโปรแลคตินในเลือดสูง
วิธีการให้ยา
เริ่มต้นด้วยขนาดน้อย ๆ ก่อนเพื่อป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน โดยให้
bromocriptine ขนาด 2.5 มก. ครั้งละครึ่งถึงหนึ่งเม็ดก่อนนอนพร้อม
อาหารเล็กน้อย และค่อย ๆ เพิ่มขึ้นตามต้องการ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะต้อง
ใช้ยาประมาณ 1 ถึง 3 เม็ด
Bromocriptine
ผลการรักษา
ส่วนใหญ่จะมีการตกไข่และมีประจาเดือนมาภายใน 4 ถึง 8 สัปดาห์
อัตราการตกไข่ร้อยละ 80 และการตั้งครรภ์ร้อยละ 70 ถึง 80
อุบัติการของการแท้งและความพิการของทารกไม่ได้เพิ่มมากขึ้นกว่าทั่ว
ๆ ไป
Bromocriptine
ภาวะแทรกซ้อน
อาการข้างเคียงของยาที่พบบ่อยได้แก่ อาการคลื่นไส้ อาเจียน คัด
จมูกและปวดศรีษะ
บางรายอาจมีอาการท้องอืด ตกใจง่าย หน้ามืดเป็นลมเมื่อเปลี่ยน
อิริยาบท
หากได้รับยาขนาดสูงและติดต่อกันนานอาจเกิดภาวะที่เส้นเลือด
บริเวณปลายนิ้วมือและเท้าหดรัดตัวมากเมื่อถูกความเย็น แต่ขนาด
ของยาที่ใช้ในทางสูตินรีเวชมักจะไม่สูงมากมัก

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.Ziwapohn Peecharoensap
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาUtai Sukviwatsirikul
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceLoveis1able Khumpuangdee
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับtechno UCH
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineAiman Sadeeyamu
 
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injurySiwaporn Khureerung
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุAiman Sadeeyamu
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Utai Sukviwatsirikul
 

Mais procurados (20)

ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
Pc18
Pc18Pc18
Pc18
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injury
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุหลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
หลักการยกเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุ
 
Shock (Thai)
Shock (Thai)Shock (Thai)
Shock (Thai)
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014
 

Destaque

Medical Management of Ovarian Hyperstimulation Syndrome (OHSS) In 1500 IUI...
Medical Management of Ovarian Hyperstimulation Syndrome (OHSS) In  1500 IUI...Medical Management of Ovarian Hyperstimulation Syndrome (OHSS) In  1500 IUI...
Medical Management of Ovarian Hyperstimulation Syndrome (OHSS) In 1500 IUI...Lifecare Centre
 
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดกลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดJumpon Utta
 
OHSS Management in OI/IUI Cycles
OHSS Management in OI/IUI CyclesOHSS Management in OI/IUI Cycles
OHSS Management in OI/IUI CyclesSandro Esteves
 
Prolactin hormone
Prolactin hormoneProlactin hormone
Prolactin hormonepctebpharm
 
AMH OVARIAN RESERVE MARKER Dr Jyoti Bhasker ,Dr. Sharda Jain Dr. Jyoti Ag...
AMH OVARIAN RESERVEMARKER Dr  Jyoti Bhasker ,Dr. Sharda Jain  Dr. Jyoti Ag...AMH OVARIAN RESERVEMARKER Dr  Jyoti Bhasker ,Dr. Sharda Jain  Dr. Jyoti Ag...
AMH OVARIAN RESERVE MARKER Dr Jyoti Bhasker ,Dr. Sharda Jain Dr. Jyoti Ag...Lifecare Centre
 
Controlled Ovarian Hyperstimulation in PCOS women
Controlled Ovarian Hyperstimulation in PCOS womenControlled Ovarian Hyperstimulation in PCOS women
Controlled Ovarian Hyperstimulation in PCOS womenOsama Abdalmageed
 
Management of INFERTILITY in PCOD Difficulties & Solutions Made Easy , Dr....
Management of INFERTILITY in PCOD Difficulties & SolutionsMade Easy , Dr....Management of INFERTILITY in PCOD Difficulties & SolutionsMade Easy , Dr....
Management of INFERTILITY in PCOD Difficulties & Solutions Made Easy , Dr....Lifecare Centre
 

Destaque (10)

Benign Ovarian Tumor
Benign Ovarian TumorBenign Ovarian Tumor
Benign Ovarian Tumor
 
Radiation Biology
Radiation BiologyRadiation Biology
Radiation Biology
 
Medical Management of Ovarian Hyperstimulation Syndrome (OHSS) In 1500 IUI...
Medical Management of Ovarian Hyperstimulation Syndrome (OHSS) In  1500 IUI...Medical Management of Ovarian Hyperstimulation Syndrome (OHSS) In  1500 IUI...
Medical Management of Ovarian Hyperstimulation Syndrome (OHSS) In 1500 IUI...
 
Cancer cycle
Cancer cycle Cancer cycle
Cancer cycle
 
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดกลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
 
OHSS Management in OI/IUI Cycles
OHSS Management in OI/IUI CyclesOHSS Management in OI/IUI Cycles
OHSS Management in OI/IUI Cycles
 
Prolactin hormone
Prolactin hormoneProlactin hormone
Prolactin hormone
 
AMH OVARIAN RESERVE MARKER Dr Jyoti Bhasker ,Dr. Sharda Jain Dr. Jyoti Ag...
AMH OVARIAN RESERVEMARKER Dr  Jyoti Bhasker ,Dr. Sharda Jain  Dr. Jyoti Ag...AMH OVARIAN RESERVEMARKER Dr  Jyoti Bhasker ,Dr. Sharda Jain  Dr. Jyoti Ag...
AMH OVARIAN RESERVE MARKER Dr Jyoti Bhasker ,Dr. Sharda Jain Dr. Jyoti Ag...
 
Controlled Ovarian Hyperstimulation in PCOS women
Controlled Ovarian Hyperstimulation in PCOS womenControlled Ovarian Hyperstimulation in PCOS women
Controlled Ovarian Hyperstimulation in PCOS women
 
Management of INFERTILITY in PCOD Difficulties & Solutions Made Easy , Dr....
Management of INFERTILITY in PCOD Difficulties & SolutionsMade Easy , Dr....Management of INFERTILITY in PCOD Difficulties & SolutionsMade Easy , Dr....
Management of INFERTILITY in PCOD Difficulties & Solutions Made Easy , Dr....
 

Semelhante a ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก

Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer ProjectBee Attarit
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54Oui Nuchanart
 
Induction Ovulation
Induction OvulationInduction Ovulation
Induction Ovulationguest7f0a3a
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นพัน พัน
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อมComputer ITSWKJ
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 

Semelhante a ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก (17)

Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer Project
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54
 
Induction Ovulation
Induction OvulationInduction Ovulation
Induction Ovulation
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อม
 
Hormone blank
Hormone blankHormone blank
Hormone blank
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก

  • 2. Clomiphene citrate เภสัชวิทยา มีโครงการสร้างทางเคมีคล้าย diethylstilbestrol (DES), tamoxifen และ chlorotrianisene ไม่มีฤทธิ์ esstrogenic, androgenic และ progestogenic clomiphene citrate จะอยู่ในรูปของ cis- (zuclomiphene) และ trans – (enclomiphene) isomers
  • 3. Clomiphene citrate ดูดซึมได้ดีจากทางเดินอาหาร ถูกขับออกจากร่างกายโดยตับ ปะปนออกมากับอุจจาระ มีปริมาณ น้อยที่ออกมาในปัสสาวะ ประมาณครึ่งหนึ่งของยาจะถูกขับออกมาภายใน 5 วัน
  • 4. Clomiphene citrate กลไกการออกฤทธิ์ที่สาคัญของ clomiphene citrate คือการแย่งที่ estrogen receptor ในอวัยวะต่าง ๆ ได้แก่ hypothalamus และต่อม ใต้สมองจะทาให้มีการหลั่งของ GnRH, FSH และ LH เพิ่มมากขึ้น ซึ่ง จะมากระตุ้นให้ follicle ที่รังไข่เจริญเติบโตและหลั่ง estradiol มากขึ้น การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของระดับ estradiol อันจะชักนาให้เกิด LH surge และเกิดการตกไข่
  • 5. Clomiphene citrate ข้อบ่งชี้ในการใช้ 1.สตรีที่มีบุตรยากโดยมีสาเหตุมาจากภาวะไข่ไม่ตก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่ม hypothalamic pituitary dysfunction และ PCOD 2.มีการตกไข่ไม่สม่าเสมอ และ/หรือมีภาวะการทางานของ corpus luteum บกพร่อง 3.เพื่อกาหนดระยะเวลาในการทา artificial insemination 4.ใช้ในการกระตุ้นให้ follicle เจริญเติบโตในโครงการ In vitro fertilization
  • 6. Clomiphene citrate วิธีการให้ยา ให้เริ่มรับประทานยาในวันที่ 2 ถึง 5 ของรอบประจาเดือน ถ้าเริ่มเร็วเกินไปอาจทาให้ follicle เจริญเติบโตพร้อมกันหลายฟอง ถ้าให้ยาช้าเกินไปและในรอบประจาเดือนนั้น follicle มีการเจริญเติบโต ตามปกติจะทาให้ follicle หยุดเจริญได้ ในกรณีที่ผู้ป่วยขาดประจาเดือนควรให้โปรเจนเตอโรนเพื่อให้มี เลือดออกก่อน
  • 7. Clomiphene citrate ขนาดของยาที่เริ่มส่วนใหญ่นิยมให้วันละ 50 มก.ติดต่อกัน 5 วัน ระหว่างการรักษาควรให้จดบันทึกอุณหภูมิกายพื้นฐานทุกวัน ในรายที่ตอบสนองไข่จะตกประมาณวันที่ 5 ถึง 12 หลังจากยาเม็ด สุดท้าย ควรแนะนาให้มีการร่วมเพศในระยะเวลาดังกล่าว
  • 8. Clomiphene citrate การติดตามการรักษา 1. ในกรณีที่พบว่าภายหลังการรักษาแล้วไข่ไม่ตกโดยดูจากอุณหภูมิกาย พื้นฐาน และระดับโปรเจสเตอโรนก็ให้เพิ่มยาในรอบต่อไปอีก 50 มก. แต่มักจะไม่เกิน 150 มก.ต่อวัน 2. ถ้าไข่ตกแต่ไม่ตั้งครรภ์ ให้ยาขนาดเดิมอีก 3 ถึง 6 รอบ และหากยังไม่ ตั้งครรภ์ ควรตรวจหาสาเหตุอื่นของการมีบุตรยาก
  • 9. Clomiphene citrate 3. ในบางสถาบันนิยมตรวจระดับ progesterone ประมาณ 7 วันหลังไข่ตก เพื่อดูการทางานของ corpus luteum หากพบว่า corpus luteum ทางานไม่ดีก็ให้เพิ่มยาในรอบต่อไป 4.บางแห่งนิยมตรวจดูมูกคอมดลูก ระหว่างการใช้ clomiphene citrate แต่ในสตรีบางรายมูกอาจจะน้อยเนื่องจาก clomiphene citrate นี้ได้
  • 10. Clomiphene citrate 5.ระหว่างการรักษาด้วย clomiphene citrate บางสถาบันอาจทา การตรวจการเจริญเติบโตของ follicle ด้วย ultrasound เพื่อกะ ระยะไข่ตก การตรวจนี้มีความจาเป็นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในรอบ รักษาที่จะฉีด HCG ร่วมด้วย 6.การตรวจวัดระดับ LH และ estradiol ระหว่างการใช้ clomiphene citrate มีการปฏิบัติกันน้อยเนื่องจากยุ่งยากและ สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายสูง
  • 11. Clomiphene citrate ข้อห้ามของการใช้ยา 1. การตั้งครรภ์ ในสตรีที่ขาดประจาเดือน ก่อนให้ยาควร ตรวจดูให้แน่นอนก่อนว่าไม่ได้ตั้งครรภ์ 2. โรคตับ เนื่องจากยานี้ถูกทาลายที่ตับ ในผู้ป่วยที่มีการ ทางานของตับผิดปกติจึงไม่ควรใช้ยานี้ 3. เลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูก ควรทาการตรวจหา สาเหตุก่อนที่จะให้ยา
  • 12. Clomiphene citrate ผลสาเร็จของการรักษา อัตราตกไข่ประมาณร้อยละ 80 มีการตั้งครรภ์ประมาณร้อยละ 40 ในจานวนนี้ร้อยละ 5 เป็นครรภ์แฝด การตั้งครรภ์ส่วนใหญ่มักจะเกิดภายใน 3 เดือนแรก อัตราการแท้งบุตรนั้นไม่ต่างจากในการตั้งครรภ์ทั่วไป ไม่พบความพิการเพิ่มขึ้น (สูตรโครงสร้างคล้าย DES)
  • 13. Clomiphene citrate ภาวะแทรกซ้อน อาการมักเป็นเพียงเล็กน้อย และจะหายได้เมื่อหยุดยา ได้แก่ อาการ ร้อนวูบวาบ ท้องอืด ปวดท้อง เจ็บคัดเต้านม คลื่นไส้อาเจียน ตาพร่ามัว ปวดศรีษะ ผมร่วง ในบางรายอาจเกิดภาวะ hyperstimulation ของรังไข่อย่างมากได้ โดยเฉพาะในกรณีที่ให้ยาขนาดสูงและระยะนาน ในผู้ป่วย PCOD และ ผู้ที่ได้รับยาโดยไม่ทราบว่าตั้งครรภ์
  • 14. Human menopausal gonadotropins (HMG) เภสัชวิทยา ประกอบด้วย LH และ FSH เตรียมมาจากปัสสาวะของสตรีวัยหมดประจาเดือน ไม่สามารถให้โดยการรับประทาน ภายหลังการฉีดเข้ากล้าม LH และ FSH กระตุ้นให้ follicle เจริญเติบโตจนถึงระยะ preovulatory และต้องให้ HCG เพื่อเลียนแบบ LH surge
  • 15. Human menopausal gonadotropins (HMG) ข้อบ่งชี้ในการใช้ ใช้ในสตรีที่มีบุตรยากที่มีสาเหตุจากภาวะไข่ไม่ตกเนื่องจากความ ผิดปกติของต่อมใต้สมอง และ/หรือ hypothalamus มักใช้ในรายที่มีบุตรยากเนื่องจากไข่ไม่ตกที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา ด้วย clomiphene citrate
  • 16. Human menopausal gonadotropins (HMG) วิธีการใช้ยา เริ่มฉีด HMG วันละ 1 ถึง 2 หลอด ซึ่งในแต่ละหลอดจะประกอบด้วย LH 75 หน่วย และ FSH 75 หน่วย โดยฉีดเข้ากล้ามวันละครั้งโดยทั่วไป จะเริ่มตั้งแต่งันที่ 2-5 ของรอบการรักษา ติดตามผลการรักษาโดยพิจารณาจากมูกคอมดลูก ระดับ estraiol และขนาดของ follicle โดย ultrasound
  • 17. Human menopausal gonadotropins (HMG) หากไม่มีการตอบสนองต่อการรักษาก็ให้เพิ่มยาขึ้นอีก 1 หลอด ทุก 4-5 วัน จนกระทั่ง follicleเจริญเติบโตเต็มที่โดยมีขนาดมากกว่า 18 มม. หรือระดับ estradiol สูงขึ้นระหว่าง 500-1500 pg/ml ก็ให้ฉีด HCG 5,000 ถึง 10,000 หน่วยเข้ากล้าม 36-48 ชั่วโมงหลัง HMG เข็มสุดท้าย  HCG จะช่วยให้เกิดการตกไข่ และช่วยการทางานของ corpus luteum หลังจากฉีด HCG ไข่จะตกในเวลาประมาณ 30-40 ชั่วโมง ให้คู่สามี ภรรยาร่วมเพศวันเว้นวันถัดจากวันที่ฉีด HCG
  • 18. Human menopausal gonadotropins (HMG) หากพบว่าระดับ estradiol ในเลือดสูงมากเกินไป (มากกว่า 1000 pg/ml) หรือขนาดของ follicle โตเกินกว่า 5 ซม. หรือจานวน follicle ที่มีขนาดใหญ่มากกว่า 3 ฟอง แล้วควรหยุดยาและงดการฉีด ยา HCG จะทาให้ follicle ฝ่อไป หากพบการเกิด premature luteinization (อุบัติการมากถึงร้อยละ 25) ของรอบรักษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่มี endogenous estrogen อยู่ก่อนการรักษา อันเป็นสาเหตุสาคัญของความล้มเหลว ของการรักษาด้วย HMG แนะนาการใช้ GnRH analog ร่วมด้วย
  • 19. Human menopausal gonadotropins (HMG) ผลการรักษา อัตราไข่ตกจะสูงกว่าร้อยละ 90 และสามารถตั้งครรภ์ได้ร้อยละ 50-70 อัตราการแท้งสูงกว่าธรรมดาคือประมาณร้อยละ 20-30 การตั้งครรภ์แฝดสูงถึงร้อยละ 30 ซึ่งในกรณีนี้ร้อยละ 5 จะเป็นแฝดสาม หรือมากกว่า ส่วนความพิการของทารกนั้นไม่แตกต่างจากในการตั้งครรภ์ทั่วไป
  • 20. Human menopausal gonadotropins (HMG) ภาวะแทรกซ้อน ครรภ์แฝด โดยหากมากกว่าแฝด 2 ขึ้นไป จะมีภาวะแทรกซ้อน ระหว่างการตั้งครรภ์สูงมาก ภาวะการกระตุ้นรังไข่มากเกินไป (ovarian hyperstimulation syndrome) อาจรุนแรงถึงแก่เสียชีวิตได้ โดยมีการเพิ่มของ capillary permeability ของเหลวจะออกจากเส้นเลือดสู่ช่องว่างต่าง ๆ ได้แก่ ช่องท้องและช่องปอด บางรายอาจเกิด hemoconcentration และ thromboembolism ได้
  • 21. Pure FSH เกิดจากการที่ FSH จะเป็นกลไกหลักในการออกฤทธิ์กระตุ้นให้ follicle เจริญเติบโต ในทางทฤษฎีการให้ FSH อย่างเดียวน่าจะดีกว่า  ในภาวะ PCOD ผู้ป่วยมีระดับ LH สูงกว่า FSH การชักนาให้ไข่ตกโดย HMG ซึ่งมีทั้ง LH และ FSH ในอัตราส่วน 1 ต่อ 1 จึงอาจไม่เหมาะสม
  • 22. Pure FSH ข้อบ่งชี้ วิธีการใช้ และผลการรักษา คล้ายคลึง HMG อัตราการตกไข่และตั้งครรภ์ไม่แตกต่างจากการให้ HMG พบว่าอุบัติการของภาวะแทรกซ้อน เช่น การกระตุ้นรังไข่มากเกินไป และครรภ์แฝดน้อยกว่า ราคาของ pure FSH สูงกว่า HMG
  • 23. Gonadotropin releasing hormone (GnRH) เภสัชวิทยา GnRH เป็นโปรตีนฮอร์โมนประกอบด้วยกรดอมิโน 10 ตัว คือ pGlu – His – Trp – Ser – Tyr - Gly – Leu – Arg – Gly - CONH2 ในธรรมชาตินั้น GnRH ถูกสร้างที่บริเวณ Arcuate nucleus ผ่านไปยัง ต่อมใต้สมองกระตุ้นให้สังเคราะห์และหลั่ง Gonadotropins การหลั่งของ GnRH จะเป็นจังหวะ (pulsatile) โดยจะแตกต่างกันไปใน แต่ละระยะของรอบเดือน
  • 24. Gonadotropin releasing hormone (GnRH) GnRH จากธรรมชาตินั้นมี half life สั้น และถูกทาลายโดยเอนไซม์ใน ระบบทางเดินอาหารจึงไม่สามารถให้โดยการรับประทาน ในปัจจุบันมีการสังเคราะห์ GnRH agonist เพื่อให้มีการออกฤทธิ์ได้ นานขึ้นและถูกทาลายยากขึ้น
  • 25. Gonadotropin releasing hormone (GnRH) ข้อบ่งชี้ในการใช้ยา ภาวะไข่ไม่ตกเนื่องจากความผิดปกติของ hypothalamus แต่ต้องยังคงมีต่อมใต้สมองที่สามารถสังเคราะห์และหลั่ง Gonadotropin ได้ มักใช้ในรายที่มีบุตรยากเนื่องจากไข่ไม่ตกที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา ด้วย clomiphene citrate
  • 26. Gonadotropin releasing hormone (GnRH) วิธีการใช้ยา ฉีด GnRH ทุก ๆ 90 นาที โดยผ่านเครื่องฉีดอัตโนมัติที่สามารถควบคุม ระยะห่างระหว่างการฉีดแต่ละครั้งได้ ให้ระยะห่างระหว่างการฉีดแต่ละ ครั้งประมาณ 90-120 นาที ฉีด GnRH จนกระทั่งมีหลักฐานว่ามีการตกไข่เกิดขึ้นจึงหยุดฉีดยา อาจ กระตุ้นให้ไข่ตกโดย HCG หากไม่มีการตกไข่ภายใน 20วัน นับจากเริ่ม รักษา ให้พิจารณาว่าการรักษาในรอบนั้นล้มเหลว
  • 27. Gonadotropin releasing hormone (GnRH) การติดตามการรักษา วัดอุณหภูมิกายพื้นทุกวันตลอดการรักษา ตรวจดูการ เปลี่ยนแปลงของมูกคอมดลูกทุก 2-3 วัน ตรวจคลื่นเสียงความถี่ สูงและตรวจระดับฮอร์โมน estradiol เป็นระยะ ๆ และตรวจวัด ระดับ progesterone เพื่อยืนยันการตกไข่
  • 28. Gonadotropin releasing hormone (GnRH) ผลการรักษา • มีอัตราการตกไข่สูงถึงกว่าร้อยละ 90 และตั้งครรภ์ได้ร้อยละ 70-90 • การแท้งบุตรประมาณร้อยละ 20 • ครรภ์แฝดสูงกว่าในคนทั่วไปแต่น้อยกว่าในการใช้ gonadotropins มาก • ไม่พบว่ามีความผิดปรกติของทารกต่างจากการตั้งครรภ์ทั่วไป
  • 29. Gonadotropin releasing hormone (GnRH) ภาวะแทรกซ้อน การอักเสบบริเวณที่ให้ยาจึงอาจต้องทาการเปลี่ยนที่ทุก 3 ถึง 5 วัน ภาวะการกระตุ้นรังไข่มากเกินไปพบได้น้อยมาก ทั้งนี้เนื่องจากระหว่าง การรักษาด้วย GnRH ขบวนการ feed back ระหว่าง steroid hormone และต่อมใต้สมองยังคงทางานได้ตามปกติ
  • 30. Gonadotropin releasing hormone (GnRH) หมายเหตุ มีการใช้ GnRH agonist ในการควบคุมการทางานของต่อมใต้สมอง ก่อนจะทาการกระตุ้นรังไข่ร่วมกับยาอื่น ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ การกระตุ้นรังไข่
  • 31. Bromocriptine เภสัชวิทยา เป็นสารสังเคราะห์พวก ergot alkaloid มีโครงสร้างโมเลกุลคล้าย dopamine ดูดซึมได้ดีจากทางเดินอาหาร หลังจากรับประทานระดับยาในเลือดจะสูงสุดประมาณ 3 ถึง 4 ชั่วโมง ระยะครึ่งชีวิตประมาณ 4 ถึง 8 ชั่วโมง
  • 32. Bromocriptine ภายหลังการรับประทานยาครั้งหนึ่งนั้น bromocriptine จะยับยั้งการ หลั่งของโปรแลคตินได้เป็นเวลานาน 20 ถึง 30 ชั่งโมง ออกฤทธิ์โดยไปจับกับ dopamine receptor ที่ต่อมใต้สมองยับยั้งการ หลั่งของโปรแลคติน นอกจากนี้ bromocriptine ยังทาให้ระดับ dopamine เพิ่มขึ้นโดยไปลด dopamine turnover ใน tuboinfundibular neurons
  • 33. Bromocriptine ข้อบ่งชี้ในการใช้ยา สตรีที่มีระดับโปรแลคตินในเลือดสูง วิธีการให้ยา เริ่มต้นด้วยขนาดน้อย ๆ ก่อนเพื่อป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน โดยให้ bromocriptine ขนาด 2.5 มก. ครั้งละครึ่งถึงหนึ่งเม็ดก่อนนอนพร้อม อาหารเล็กน้อย และค่อย ๆ เพิ่มขึ้นตามต้องการ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะต้อง ใช้ยาประมาณ 1 ถึง 3 เม็ด
  • 34. Bromocriptine ผลการรักษา ส่วนใหญ่จะมีการตกไข่และมีประจาเดือนมาภายใน 4 ถึง 8 สัปดาห์ อัตราการตกไข่ร้อยละ 80 และการตั้งครรภ์ร้อยละ 70 ถึง 80 อุบัติการของการแท้งและความพิการของทารกไม่ได้เพิ่มมากขึ้นกว่าทั่ว ๆ ไป
  • 35. Bromocriptine ภาวะแทรกซ้อน อาการข้างเคียงของยาที่พบบ่อยได้แก่ อาการคลื่นไส้ อาเจียน คัด จมูกและปวดศรีษะ บางรายอาจมีอาการท้องอืด ตกใจง่าย หน้ามืดเป็นลมเมื่อเปลี่ยน อิริยาบท หากได้รับยาขนาดสูงและติดต่อกันนานอาจเกิดภาวะที่เส้นเลือด บริเวณปลายนิ้วมือและเท้าหดรัดตัวมากเมื่อถูกความเย็น แต่ขนาด ของยาที่ใช้ในทางสูตินรีเวชมักจะไม่สูงมากมัก