SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 59
Baixar para ler offline
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
ISBN : 974-422-310-3
พิมพ์ครั้งที่ 1 : กันยายน 2549
จำนวนพิมพ์ : 3,000 เล่ม
พิมพ์ที่ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด
คำปรารภ
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข มีพันธกิจในการพัฒนาการด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟู
สมรรถภาพทางการแพทย์ฝ่ายกาย โดยมีการศึกษา วิจัย พัฒนา และถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีทาง
การแพทย์ การเพิ่มพูนความรู้และทักษะการปฏิบัติงานแก่บุคลากรทางการแพทย์ และการให้บริการทาง
การแพทย์เฉพาะด้าน หรือในระดับตติยภูมิที่ซับซ้อนอย่างได้มาตรฐาน เพื่อให้ผู้มารับบริการพึงพอใจ
กรมการแพทย์ โดยสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ซึ่งรับผิดชอบงานวิชาการด้านผู้สูงอายุของ
กระทรวงสาธารณสุข จากอัตราประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น โรคเรื้อรังพบว่าเป็นปัญหาที่พบมาก
ในผู้สูงอายุส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สูงอายุและครอบครัว เช่นโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง
และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ด้วยเหตุนี้จึงได้จัดทำแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัด
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ โดยมุ่งเน้นให้
แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ ได้ทราบขั้นตอนการวินิจฉัย การวางแผนการรักษา และดูแลผู้ป่วย
ผู้สูงอายุที่มีปัญหาในโรคโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ที่มุ่งหวัง
ให้ผู้สูงอายุสามารถควบคุมโรคได้สุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตที่ดี
ในโอกาสนี้ กรมการแพทย์ ขอขอบพระคุณศาสตราจารย์นายแพทย์สุรัตน์ โคมินทร์ ประธาน
คณะทำงานจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะ
ไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ และคณะทำงานผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ได้ทุ่มเทแรงกายแรงใจ
และเสียสละเวลาอันมีค่ามาร่วมดำเนินการจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติฯ ฉบับนี้ อันจะเป็นประโยชน์
สำคัญต่อแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ต่อไป
(นายแพทย์ชาตรี บานชื่น)
อธิบดีกรมการแพทย์
กระทรวงสาธารณสุข
- ว่าง -
คำนำ
จากสถานการณ์สุขภาพของประเทศไทยพบว่าปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประเทศ 10ลำดับแรก
ส่วนใหญ่เป็นโรคเรื้อรังทั้งสิ้น ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น โดยเฉพาะในกลุ่ม
ผู้สูงอายุมีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัญหาการเจ็บป่วยเหล่านี้มาจาก
พฤติกรรมด้านสุขภาพเป็นส่วนใหญ่ และสามารถป้องกันการเกิดและยับยั้งความรุนแรงได้ โดย
หันมาใส่ใจสุขภาพ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างจริงจังและเป็นระบบ
สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรับผิดชอบงานวิชาการ
ด้านผู้สูงอายุของกระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทำหนังสือแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัด
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ เพื่อให้แพทย์
และบุคลากรทางการแพทย์ได้ทราบขั้นตอนการวินิจฉัย การวางแผนการรักษา และดูแลผู้ป่วยผู้สูงอายุ
ที่มีปัญหาในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ทั้งนี้เพื่อให้
ผู้ป่วยสูงอายุได้รับการบริการด้านสุขภาพอย่างถูกต้องและเหมาะสม จะได้มีอายุยืนยาวขึ้น และมี
คุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
(แพทย์หญิงวราภรณ์ ภูมิสวัสดิ์)
ผู้อำนวยการสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
- ว่าง -
บทนำ
ในปัจจุบันวิทยาการทางการแพทย์ในประเทศเจริญขึ้นอย่างมาก และเศรษฐานะของชาติได้
เจริญขึ้น มีโครงการช่วยดูแลสุขภาพให้กับประชาชนชาวไทยมากขึ้นทั้งทางการแพทย์และสาธารณสุข
ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ทำให้ชาวไทยมีอายุยืนยาวขึ้น และต้องเผชิญกับโรคภัยไข้เจ็บที่เป็น
ปัญหาจากการเสื่อมของร่างกาย พบว่าคนไทยมีสถิติของการเกิดเบาหวานและความดันโลหิตสูงกันมากขึ้น
ซึ่งโรคทั้งสองนี้มีส่วนนำไปสู่การเจ็บป่วยด้วยโรคอื่นๆ ตามมา อาทิ โรคหัวใจ และสมองขาดเลือด
รวมทั้งไตก็เสื่อมได้ง่ายขึ้นด้วย ดังนั้นสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุกรมการแพทย์ สถาบันฯได้รับความ
ร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญด้านการทางแพทย์สาขาต่างๆ จากหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์
แห่งประเทศไทย คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
คณะสาธารณสุขศาสตร์ สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสหเวชศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรมอนามัย โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์
ประชุมระดมสมองความคิดเห็น ค้นคว้าข้อมูลเชิงประจักษ์ จัดทำเป็นแนวทางการดูแลผู้ป่วยผู้สูงอายุ
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ
คณะทำงานหวังว่าแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ จะได้เป็นประโยชน์กับแพทย์และบุคลากรทาง
การแพทย์ในการนำไปปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและดูแลรักษาได้เป็นอย่างดี
(ศาตราจารย์นายแพทย์สุรัตน์โคมินทร์)
ประธานคณะทำงาน
- ว่าง -
สารบัญ
หน้า
คำปรารภ
คำนำ
บทนำ
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน สำหรับผู้สูงอายุ 11
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคความดันโลหิตสูง สำหรับผู้สูงอายุ 19
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ 25
ภาคผนวก 29
การประเมินภาวะโภชนาการ 30
การวางแผนและการให้โภชนบำบัด 33
แนวทางการให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการ 35
การติดตามและประเมินผลการให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการ 36
แบบประเมินระดับความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ 38
ปริมาณพลังงานและโปรตีนที่ควรได้รับประจำ 40
ปริมาณโซเดียม โปรแตสเซียม และคลอไรด์ที่ควรได้รับประจำ 40
ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวัน (Dietary Reference Intake : (DRI)) 41
: ปริมาณวิตามินที่แนะนำสำหรับแต่ละบุคคล
ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวัน (Dietary Reference Intake : (DRI)) 42
: ปริมาณแร่ธาตุที่แนะนำสำหรับแต่ละบุคคล
ตารางแสดงความต้องการอาหารในผู้สูงอายุที่ไม่เป็นโรค 43
และในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิต และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
ตัวอย่างรายการอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ 1 สัปดาห์ 46
ธงโภชนาการ 50
ตารางแสดงคุณค่าอาหารในหมวดรายการอาหารแลกเปลี่ยน 51
ดัชนีน้ำตาลของอาหารไทยบางชนิด 52
อาหารที่มีเกลือโซเดียมสูง 53
อาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง 55
บรรณานุกรม 56
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
10
- ว่าง -
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
11
วัตถุประสงค์
1. มีแนวทางการให้โภชนบำบัดในโรคเบาหวานสำหรับผู้สูงอายุ
2. ผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แนวทางการดูแลโภชนบำบัดโรคเบาหวานสำหรับผู้สูงอายุแก่บุคลากร
ทางการแพทย์และสาธารณสุข
กลุ่มเป้าหมาย
1. แพทย์
2. พยาบาล
3. นักโภชนาการ / โภชนากร / นักกำหนดอาหาร
4. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
คำนิยาม
โรคเบาหวาน เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซุลินได้เพียงพอ และ/
หรือร่างกายไม่ตอบสนองต่ออินซุลินได้ตามปกติ ทำให้มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นและมีความผิดปกติ
ทางเมตาบอลิสมอื่นๆ ตามมา ซึ่งหากไม่สามารถควบคุมความผิดปกติดังกล่าวได้ จะเกิดภาวะแทรกซ้อน
ต่าง ๆ ทั้งหลอดเลือดขนาดเล็ก (Microvascular) เช่น โรคไต (diabetic nephropathy) โรคจอประสาทตา
ผิดปกติ (diabetic retinopathy) โรคเส้นประสาทผิดปกติ (Diabeticneuropathy) และหลอดเลือดขนาดใหญ่
(Macrovascular) เช่น โรคหลอดเลือดสมองอุดตัน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดส่วนปลายที่ขา
แนวทางเวชปฏิบัตินี้เป็นเครื่องมือส่งเสริมคุณภาพของการบริการด้านสาธารณสุขที่เหมาะสมกับ
ทรัพยากรและเงื่อนไขของสังคมไทยโดยหวังผลในการสร้างเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพ
ของคนไทยอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า ข้อแนะนำต่างๆ ในแนวทางเวชปฏิบัตินี้มิใช่ข้อบังคับ
ของการปฏิบัติ ผู้ใช้สามารถปฏิบัติแตกต่างไปจากข้อแนะนำนี้ได้ในกรณีที่สถานการณ์แตกต่าง
ออกไปหรือมีเหตุที่สมควร โดยใช้วิจารณญาณและอยู่บนพื้นฐานหลักวิชาการและจรรยาบรรณ
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน สำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
12
สถานการณ์และสภาพปัญหา
สถานการณ์ความชุกโรคเบาหวานในประเทศไทย พบร้อยละ 9.6 ของประชากรผู้ใหญ่ที่มีอายุ 35 ปี
ขึ้นไป (Aekplakorn W และคณะ ; 2546) เป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขและเป็นสาเหตุการตาย
จากรายงานผู้ป่วยใน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุขพบว่า โรคเบาหวานมีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้นจาก 33.3 ต่อแสนประชากร ใน พ.ศ. 2528 เพิ่มเป็น 91.0 ใน พ.ศ. 2537 และเป็น 380.7 ต่อแสน
ประชากร ในปี พ.ศ. 2546 นอกจากนี้จากการสำรวจในปี พ.ศ. 2539 ยังพบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวาน 2 ล้านคน
มีร้อยละ 48.7 ที่ทราบว่าตัวเองเป็นโรคเบาหวานและน้อยกว่าครึ่งที่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม (มูลนิธิ
สาธารณสุขแห่งชาติ; 2541) นอกจากนี้โรคเบาหวานยังเป็นสาเหตุการตายสูงในผู้สูงอายุ โดยเพิ่มขึ้นจาก 28.8
ต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ. 2534 เป็น 66.7 ต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ. 2546 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
(สำนักนโยบายและแผน กระทรวงสาธารณสุข; การสาธารณสุขไทย 2544-2547)
เมื่อพิจารณาจากรายงานเรื่องการสูญเสียปีสุขภาวะ (Disability Adjusted Life Years Loss :
DALYs Loss) ซึ่งเป็นหน่วยเท่ากับการสูญเสียช่วงอายุของการมีสุขภาพที่ดีไปจำนวน 1 ปี (วันดี;2548)
พบว่าเบาหวานเป็นปัญหาสำคัญของการสูญเสียปีสุขภาวะของคนไทย โดยเพศหญิง คิดเป็นจำนวน 267,158
DALYs loss ซึ่งสูงเป็นอันดับสามรองจากเอดส์ และโรคหลอดเลือดสมอง และเพศชาย คิดเป็นจำนวน
168,372 DALYs loss ซึ่งสูงเป็นอันดับห้า รองจากโรคเอดส์ อุบัติเหตุจราจร หลอดเลือดสมอง มะเร็งตับ
(สำนักนโยบายและแผน กระทรวงสาธารณสุข;2542) จากสถานการณ์และสภาพปัญหาดังกล่าว บุคลากร
สาธารณสุขจึงควรให้ความสนใจ ในการป้องกัน ดูแล บำบัด รักษา และฟื้นฟูโรคเบาหวาน เพื่อลดอัตราป่วย
อัตราตาย ภาระโรค และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน
1. โรคแทรกซ้อนเฉียบพลัน
- ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
- ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงมาก + ไม่มีสารคีโตนคั่ง
{HYPERGLYCEMIA : HYPER OSMOLAR NONKETOTIC SYNDROME (HHNS)}
- การติดเชื้อ
2. โรคแทรกซ้อนเรื้อรัง
โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดใหญ่
- โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
- โรคหลอดเลือดสมองอุดตัน
- ความดันโลหิตสูง
- โรคหลอดเลือดตีบที่เท้า
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
13
โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดเล็ก
- โรคแทรกซ้อนทางตา (DIABETIC RETINOPATHY)
- โรคแทรกซ้อนทางไต (DIABETIC NEPHROPATHY)
- โรคแทรกซ้อนทางระบบประสาท (DIABETIC NEUROPATHY)
1. โรคแทรกซ้อนเฉียบพลัน
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ หมายถึงภาวะที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 50 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร มักพบบ่อย
ในผู้สูงอายุ และทำให้เกิดหมดสติ ไม่รู้สึกตัวได้ เกิดจาก
- รับประทานอาหารน้อยกว่าปกติ /รับประทานอาหารผิดเวลา (สายเกินไป)
- ฉีดอินซุลิน หรือรับประทานยาเม็ดลดระดับน้ำตาลมากเกินไป หรือพบในผู้ป่วยที่มีภาวะไต
หรือตับเสื่อม ทำให้การทำลายหรือการขับยาออกจากร่างกายน้อยลง ฤทธิ์ของยามากขึ้น
- ออกกำลังกายหรือทำงานมากกว่าปกติ
อาการของภาวะน้ำตาลต่ำ หิว ใจสั่น มือสั่น เหงื่อออกมาก มึนงง หงุดหงิด ถ้าเป็นมากอาจมี
อาการชักเกร็ง หมดสติได้
การรักษาโดยให้น้ำหวาน น้ำตาลทันที อาการจะดีขึ้นภายใน 5-10 นาที แต่ถ้าอาการมากไม่รู้สึกตัว
ต้องรีบนำส่งโรงพยาบาล
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงมาก และไม่มีสารคีโตนคั่ง มักพบในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 หรือ
ผู้สูงอายุที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดี เมื่อมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง หรือการติดเชื้อ จะมีการหลั่งฮอร์โมนต่างๆ
ซึ่งทำให้ความต้องการอินซุลินเพิ่มขึ้น ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงมากจนเกิดอาการ
อาการของภาวะน้ำตาลในเลือดสูงมาก ไม่มีสารคีโตนคั่ง เป็นอาการของภาวะน้ำตาลสูง เช่น
กระหายน้ำมาก ปัสสาวะมาก อ่อนเพลีย น้ำหนักลด บางครั้งมีอาการชักกระตุก ซึมหมดสติ
การรักษา ต้องรีบนำส่งโรงพยาบาลให้การรักษาด้วยอินซุลิน จนกว่าระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ใน
เกณฑ์ปกติ อาจเปลี่ยนเป็นยาเม็ดลดระดับน้ำตาลได้
การติดเชื้อ ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ดี มีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายที่พบบ่อย ได้แก่ วัณโรค
ปอด การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ การติดเชื้อรา เป็นต้น
2. โรคแทรกซ้อนเรื้อรัง
โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดใหญ่
มีการตีบตันของหลอดเลือดใหญ่ ที่สำคัญได้แก่ หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ สมอง ทำให้เกิด
อาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดกล้ามเนื้อหัวใจตายอัมพาต อัมพฤกษ์ หรือเกิดการตีบของหลอดเลือดไปเลี้ยงขา
เกิดอาการปวดน่อง ถ้ามีการอุดตันของหลอดเลือด จนเกิดการตายของเนื้อเยื่อ ทำให้ต้องตัดขา นอกจากนี้
ยังพบความดันโลหิตสูงได้บ่อยในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะความดันโลหิตสูงชนิดซิสโตลิก (SYSTOLIC HYPER-
TENSION)
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
14
โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดเล็ก
- โรคจอประสาทตาผิดปกติจากเบาหวาน (Diabetic Retinopathy : DR) มีความผิดปกติที่
จอประสาทตาเกิดจากการอุดตันของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงเซลล์ที่จอรับภาพ เกิดอาการตามัวถ้าเป็นมาก
จะมีเลือดออกในจอประสาทตาเกิดตาบอดได้
- โรคไตจากเบาหวาน (Diabetic nephropathy : DN) เกิดจากการตีบของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยง
ไต ทำให้การทำงานของไตเสื่อมลง กรองของเสียไม่ได้ ทำให้มีของเสียคั่งในเลือด เกิดไตวาย ภาวะไตเสื่อม
จากเบาหวานในระยะแรกไม่มีอาการ อาศัยการตรวจหาอัลบูมินในปัสสาวะ เป็นการช่วยวินิจฉัยตั้งแต่ระยะแรก
- โรคแทรกซ้อนทางระบบประสาท (Diabetic neuropathy) ที่พบบ่อยคืออาการจากระบบ
ประสาทส่วนปลายเสื่อมมีอาการชา ความรู้สึกน้อยลง หรือไม่รู้สึกเริ่มจากปลายนิ้วเท้า และลามขึ้นเรื่อยๆ อาการ
ชาที่เท้าทำให้ไม่รู้สึกเจ็บอาจเกิดแผลลุกลามจนถึงต้องตัดขาได้ นอกจากนี้อาจพบอาการของเส้นประสาท
ปวดแสบปวดร้อน ซึ่งมักพบในเส้นประสาททั่วไปเลี้ยงเท้าและขา
ปัจจัยที่ช่วยในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน
ให้พิจารณาถึงปัจจัยดังต่อไปนี้
1. ดัชนีมวลกาย / เส้นรอบเอว (ภาคผนวก 30)
2. ระดับน้ำตาลในเลือด / ฮีโมโกบิน เอวันซี (HbA1
c)
3. ระดับความดันโลหิต
4. ระดับโปรตีนในปัสสาวะ / micro albumin
5. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
6. การออกกำลังกาย / กิจกรรมทางกาย (physical activity)
7. การใช้ยา
แนะนำให้ตรวจ micro albumin ในกรณีโปรตีนในปัสสาวะให้ผลลบ
เป้าหมายการควบคุมน้ำหนักในผู้ป่วยเบาหวาน
ในกรณีที่น้ำหนักเกิน ควรลดน้ำหนักโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ได้ดัชนีมวลกาย/เส้นรอบเอวที่เหมาะสม
โดยเริ่มต้นลดร้อยละ 5-10 ของน้ำหนักตัวปัจจุบัน (ภาคผนวก 30)
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
15
เป้าหมายของการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน
1. ให้ผู้ป่วยสามารถเลือกกินอาหารได้อย่างถูกต้องกับพยาธิสภาพของตัวผู้ป่วยเอง มีการกระจาย
อาหาร/สารอาหารให้ได้พลังงานเพียงพอ
2. ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
3. รักษาระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงกับระดับปกติมากที่สุด
4. รักษาน้ำหนักตัว / เส้นรอบเอว ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
5. ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
ทั้งนี้เพื่อป้องกัน ลดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง
เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
แนวทางการให้คำแนะนำโภชนบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน
1. ได้รับพลังงานและกระจายสารอาหารที่เหมาะสมเพื่อรักษาระดับน้ำตาลในเลือด ลดความเสี่ยง
การเกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ
2. ลดปริมาณบริโภคอาหารจำพวกน้ำตาล คาร์โบไฮเดรตไขมันอิ่มตัวและโคเลสเตอรอลในอาหาร
(ปริมาณไขมันควรน้อยกว่าร้อยละ 20 ของปริมาณแคลอรี่ต่อวัน และไขมันอิ่มตัวควรน้อยกว่าร้อยละ 10
ของปริมาณแคลอรี่ต่อวัน)
3. ลดปริมาณโซเดียมในผู้ที่มีความดันโลหิตสูง โดยให้เกลือแกงไม่เกิน 1 ช้อนชาต่อวัน (เท่ากับ
ปริมาณโซเดียม 2.4 กรัม หรือ 6 กรัมของโซเดียมคลอไรด์) (ภาคผนวก 53-54)
4. การเพิ่มปริมาณกากใยอาหาร ให้ได้ประมาณ 20-30 กรัมต่อวัน
5. ปฏิบัติตามตารางกำหนดอาหารเรื่องของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน (ภาคผนวก 44-46)
6. การกำหนดสัดส่วนของอาหาร พลังงานที่ควรได้รับต่อวัน (Energy requirement) รวมทั้งการ
พิจารณาอุปนิสัยการบริโภค (Food habit) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนด และปรับแก้ไขการบริโภคที่
ไม่ถูกต้องเพื่อให้เกิดการสมดุล โดยปริมาณหรือจำนวนของสารอาหารแต่ละชนิดที่ผู้ป่วยควรได้รับต่อวัน
และต่อมื้อ โดยคำนวณจากรายการอาหารแลกเปลี่ยน (ภาคผนวก 51)
แนวทางการให้คำแนะนำกิจกรรมทางกาย / การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน
1. เพิ่มกิจกรรมทางกาย เช่น เดิน ทำงานบ้าน
2. ควรออกกำลังกายอย่างเหมาะสม อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ ครั้งละอย่างน้อย 20 นาที
3. หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายในช่วงที่การควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดี (poor metabolic control)
คือ ระดับน้ำตาลมากกว่า 300 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ หรือ ระดับน้ำตาลน้อยกว่า 60 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ หรือ
มีจอประสาทตาผิดปกติจากเบาหวานระดับรุนแรง(Proliferativediabeticretinopathy)หรือมีโรคแทรกซ้อนเช่น
โรคหัวใจและหลอดเลือด ควรมีการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดและกินอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันระดับน้ำตาล
ในเลือดต่ำ
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
16
แนวทางการลดพฤติกรรมเสี่ยงในผู้ป่วยเบาหวาน
ผู้ป่วยเบาหวานหรือกรณีที่พบการบกพร่องของการเผาผลาญน้ำตาล แม้จะยังไม่เป็นหรือแสดงอาการ
ของเบาหวาน ควรแนะนำให้เริ่มมีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต (Life style modification) ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้
ซึ่งจะช่วยในการควบคุมโรค ลดค่าใช้จ่าย และลดความเสี่ยงในการเกิดโรคแทรกซ้อนของเบาหวานได้ โดย
1. งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (ในผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี และกรณีจำเป็นให้ได้
ไม่เกินวันละ 1 ดริ้ง)
2. เลิก บุหรี่
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
17
Diabetes Medical Nutrition Therapy and Prevention of
Complication Algorithm for Elderly
เบาหวาน
FPG ≥ 126 mg/dl./ 2 ครั้ง
2 hr. PPG ≥ 200 mg/dl
การประเมิน
- น้ำหนักตัว - เส้นรอบเอว - ประวัติการเจ็บป่วย - ประวัติการรับประทานอาหาร - กิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย
- ดัชนีมวลกาย - ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ* - วิถีการดำเนินชีวิต -ความพร้อมในการปรับเปลี่ยนรายพฤติกรรม**(Readinesstochange)
แนวทางการดูแลรักษา
- เพิ่มกิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย
- การวางแผนอาหาร : รับประทานอาหารในแต่ละวันให้เหมาะสม โดยกระจายมื้ออาหาร ไม่เน้นหนักมื้อใดมื้อหนึ่ง หลีกเลี่ยงอาหาร
ที่มีพลังงานสูงโดยเฉพาะจาก คาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว เช่น น้ำตาลและไขมัน ซึ่งเป็นสาเหตุของระดับน้ำตาลสูง
จัดรายการอาหารให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล โดยอาจมีมื้อว่างด้วย เพิ่มปริมาณใยอาหาร 20-35 g/day
- ดัดแปลงอาหารอื่นๆ ที่นอกเหนือจากข้างต้นให้เหมาะสม เช่น อาหารผู้สูงอายุควรเป็นอาหารย่อยง่าย หรือนำค่าดัชนีน้ำตาล***
มาพิจารณาในการเลือกอาหาร
- ควบคุมน้ำหนัก/เส้นรอบเอว ให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
ผอม
BMI < 18.5
น้ำหนักเกิน/อ้วน BMI≥ 25 ไตรกรีเซอร์ไรด์ ≥ 150mg/dL LDL-C>100mg/dL3
ความดันโลหิต > 130/80 mmHg
กำหนดเป้าหมายของการ
ลดน้ำหนักอย่างน้อย 5-10%
ของน้ำหนักตัว
-ลดปริมาณคาร์โบไฮเดรตโดยเฉพาะ
น้ำตาลให้น้อยกว่า 10% ของปริมาณ
พลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
-เพิ่มกรดไขมันไม่อิ่มตัวตำแหน่งเดียว
- เพิ่มโอเมก้า-3
-ลดไขมันอิ่มตัว<7%
- โคเลสเตอรอล
<200 mg/day
- เพิ่มไขมันไม่อิ่ม
ตำแหน่งเดียว
- เพิ่มใยอาหารที่
ละลายในน้ำ
10-25 g/day
จำกัดโซเดียม
< 2.4 g/day****
ถ้าproteinuria >0.5กรัม
หรือproteinuriaเป็นบวก
ให้จำกัดปริมาณโปรตีน
06-0.8g/Kg/day
ถ้า TG>500 mg/dL,
ลดพลังงานจากไขมัน
<15% ของพลังงาน
ทั้งหมด
ประเมินพลังงานจากอาหารทั้งวัน
ถ้าพลังงานเกิน ให้ลดพลังงานลง
250-1,000กิโลแคลอรี่จากพลังงาน
ที่รับประทานตามปกติ
โดยลดคาร์โบไฮเดรต และ/หรือ
ไขมัน (โดยเฉพาะไขมันอิ่มตัว)
ประเมินพลังงานทั้งวัน
ถ้าพลังงานน้อยเกินไป
ให้เพิ่มพลังงานให้เพียงพอ
ตามความเหมาะสมของ
แต่ละบุคคล อาจเพิ่ม
อาหารหลักอาหารว่าง
และอาหารเสริม
ติดตามน้ำหนัก,ระดับน้ำตาล, HbA1
c, การปรับสัดส่วนและกระจายมื้ออาหาร, รวมทั้งกิจกรรมการเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย
พิจารณาการใช้ยาตามความเหมาะสม เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลให้ได้ตามเป้าหมาย
* ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ระดับน้ำตาลในเลือด, micro albumin, HbA1
c ถ้าทำได้
** ภาคผนวก 38
*** ภาคผนวก 52
**** ภาคผนวก 53-54
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
18
- ว่าง -
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
19
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคความดันโลหิตสูง สำหรับผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์
1. มีแนวทางการให้โภชนบำบัดในโรคความดันโลหิตสูงสำหรับผู้สูงอายุ
2. ผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แนวทางการดูแลโภชนบำบัดโรคความดันโลหิตสูงสำหรับผู้สูงอายุ
แก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข
กลุ่มเป้าหมาย
1. แพทย์
2. พยาบาล
3. นักโภชนาการ/ โภชนากร / นักกำหนดอาหาร
4. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
คำนิยาม
ความดันโลหิตสูง หมายถึง ระดับความดันโลหิตตั้งแต่ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ขึ้นไป ผู้ป่วยที่
เป็นโรคนี้ หากไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้จะทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ที่สำคัญ ได้แก่ โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง ทำให้เกิด อัมพฤกษ์ อัมพาต
สถานการณ์และสภาพปัญหา
จากรายงานสุขภาพโรคประมาณการปี 2543 ความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุการตาย 7.1 ล้านคน
หรือประมาณร้อยละ 13 ของการตายทั้งหมด อีกทั้งยังทำให้เกิดการสูญเสียสุขภาวะ และก่อให้เกิดภาระโรค
จากรายงานการสำรวจความชุกของโรคความดันโลหิตสูงของประชาชนไทย ในการศึกษาการสำรวจระดับชาติ
โรคความดันโลหิตสูง ในปี 2537-2538 พบความดันโลหิตสูงอย่างเดียวในผู้สูงอายุ ร้อยละ 24.3 และพบ
ความดันโลหิตสูงร่วมกับมีประวัติ ร้อยละ32.4 จากสถิติสาธารณสุขพบความดันโลหิตสูง/หลอดเลือดในสมอง
เป็นสาเหตุการตายสูงเป็นอันดับ 3 ของคนไทย รองจากโรคมะเร็ง อุบัติเหตุ และการเป็นพิษ และมีแนวโน้ม
แนวทางเวชปฏิบัตินี้เป็นเครื่องมือส่งเสริมคุณภาพของการบริการด้านสาธารณสุขที่เหมาะสมกับ
ทรัพยากรและเงื่อนไขของสังคมไทยโดยหวังผลในการสร้างเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพ
ของคนไทยอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า ข้อแนะนำต่างๆ ในแนวทางเวชปฏิบัตินี้มิใช่ข้อบังคับ
ของการปฏิบัติ ผู้ใช้สามารถปฏิบัติแตกต่างไปจากข้อแนะนำนี้ได้ในกรณีที่สถานการณ์แตกต่าง
ออกไปหรือมีเหตุที่สมควร โดยใช้วิจารณญาณและอยู่บนพื้นฐานหลักวิชาการและจรรยาบรรณ
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
20
เพิ่มขึ้น โดยมีอัตราตาย 18.9 ต่อแสนประชากร ในปี 2543 เพิ่มเป็น 34.8 ต่อแสนประชากรในปี 2547
โดยผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน4ล้านคน มีเพียงร้อยละ26.6 ที่ทราบว่าป่วย ในขณะที่ผู้ป่วยได้รับการ
รักษาที่เหมาะสมลดลงจาก ร้อยละ 61.5 ในปี 2534 เป็นร้อยละ 50.8 ในปี2539 จากรายงานแนวโน้มอัตรา
ความชุกโรคความดันโลหิตสูงของผู้สูงอายุไทยพบร้อยละ 25 ในปี 2537 และร้อยละ 20 ในปี 2545
(สำนักงานสถิติแห่งชาติ; 2537,2545) จากการศึกษาในเขตเมืองและเขตชนบท พบว่าผู้ที่อยู่ในเขตเมือง
จะเป็นโรคนี้สูงกว่าและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยปี2528ในเขตเมืองเพิ่มความชุกจากร้อยละ 28เป็นร้อยละ 36.5
ในปี 2541 (สุทธิชัย;2543) และจากผลกระทบของสุขภาพที่เกิดจากความดันโลหิตก่อให้เกิดปัญหาเรื่อง
ของโรคเรื้อรังอาทิ โรคหัวใจ โรคไต การให้การดูแล บำบัด รักษา ที่เหมาะสมถูกต้อง โดยผู้ป่วยมีส่วนร่วม
ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมโรคของตนเอง จะช่วยลดภาระโรคลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ลดอัตรา
ตาย และเพิ่มคุณภาพชีวิตของคนไทย อุบัติการณ์ในผู้สูงอายุ
ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง
1. โรคหลอดเลือดสมอง (Cerebrovascular disease)
ischemic stroke
hemorrhagic stroke
transient ischemic attack
2. โรคหลอดเลือดหัวใจ (Cardiovascular disease)
Left ventricular hypertrophy (EKG or echocardiography)
myocardial infarction
angina
coronary revascularlization
congestive heart failure
3. โรคไต (Renal disease)
albuminuria
nephrosclerosis
end stage renal disease
4. โรคหลอดเลือดส่วนปลาย (Peripheral vascular disease)
aortic aneurysm
dissecting aneurysm
intermittent claudication
5. จอประสาทตาผิดปกติจากความดันโลหิตสูง (Hypertensive retinopathy grade I-IV)
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
21
ปัจจัยที่ช่วยในการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ให้พิจารณาถึงปัจจัยดังต่อไปนี้
1. ดัชนีมวลกาย / เส้นรอบเอว (ภาคผนวก 30)
2. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
3. การออกกำลังกาย / กิจกรรมทางกาย (physical activity)
4. การใช้ยา
5. ความเครียดและการจัดการกับความเครียด
เป้าหมายการควบคุมความดันโลหิต
ควบคุมความดันโลหิตให้น้อยกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท
เป้าหมายการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
1. ให้ผู้ป่วยสามารถเลือกกินอาหารได้อย่างถูกต้องกับพยาธิสภาพของตัวผู้ป่วยเอง มีการกระจาย
อาหาร/สารอาหารให้ได้พลังงานเพียงพอ
2. ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
3. รักษาระดับความดันโลหิตให้ใกล้เคียงกับระดับปกติมากที่สุด
4. รักษาน้ำหนักตัว / เส้นรอบเอว ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
5. ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
6. ความเครียดและวิธีการจัดการกับความเครียดที่เหมาะสม
ทั้งนี้เพื่อป้องกัน ลดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง
เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
หลักการในการกำหนดอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
1. ได้รับพลังงานและกระจายสารอาหารที่เหมาะสมเพื่อรักษาระดับความดันโลหิต ลดความเสี่ยง
การเกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ
2. จำกัดปริมาณโซเดียม จะช่วยลดความดันโลหิตสูง และลดการใช้ยา การลดปริมาณโซเดียม
ในอาหาร ควรลดโซเดียมให้เหลือไม่เกิน 100 มิลลิโมล/วัน คือ 2.4 กรัมของโซเดียม หรือ 6 กรัม ของ
โซเดียมคลอไรด์(เกลือแกง1ช้อนชา) จะสามารถลด Systolicblood pressure(SBP)ลงได้2-8 มิลลิเมตรปรอท
3. การเพิ่มปริมาณกากใยอาหาร ให้มีปริมาณและมีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น โดยแนะนำให้
บริโภคอาหารที่อุดมไปด้วยพืช/ผัก/ผลไม้ ลดปริมาณไขมันจากสัตว์ลดปริมาณไขมันอิ่มตัวจะทำให้สามารถลด
SBP 8-14 มิลลิเมตรปรอท
4. การกำหนดสัดส่วนของอาหาร พลังงานที่ควรได้รับต่อวัน (Energy requirement) รวมทั้งการ
พิจารณาอุปนิสัยการบริโภค (Food habit) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนด และปรับ แก้ไขการบริโภคที่
ไม่ถูกต้องเพื่อให้เกิดการสมดุล โดยปริมาณหรือจำนวนของสารอาหารแต่ละชนิดที่ผู้ป่วยควรได้รับต่อวัน
และต่อมื้อ โดยคำนวณจากรายการอาหารแลกเปลี่ยน (ภาคผนวก 51)
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
22
การดูแลรักษาโรคความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยสูงอายุ
1. การดูแลรักษาโดยไม่ใช้ยา (Non pharmacological therapy) โดยการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต/
พฤติกรรม รวมทั้งการให้สุขศึกษาระหว่างผู้ป่วยและทีมสหสาขาวิชา ซึ่งประกอบด้วย
- การให้การดูแลโภชนาการ
- การออกกำลังกาย
- การเลิกบุหรี่
- การควบคุมน้ำหนักตัว
2. การใช้ยา (Pharmacological therapy)
แนวทางการลดน้ำหนักเพื่อป้องกันและควบคุมความดันโลหิตสูง
คนที่น้ำหนักเกินควรลดน้ำหนัก โดยการควบคุมดัชนีมวลกายให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม คือ 18.5-
24.9 กิโลกรัม/ตารางเมตร หรืออย่างน้อย ควรลดให้ได้ ร้อยละ 5-10 ของน้ำหนักตัวที่เป็นอยู่ ในการนี้จะ
สามารถลด Systolic blood pressure (SBP) และ Diastolic blood pressure (DBP) ลงได้ 5-10 มิลลิเมตรปรอท
ต่อ 10 กิโลกรัม โดยประมาณ
ความดันโลหิตสูงมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับน้ำหนักเกิน/อ้วน การควบคุม ความดันโลหิตสูง
พบว่า ร้อยละ 50 ของผู้มีน้ำหนักเกินจะมีภาวะความดันโลหิตสูงถึงร้อยละ 20-30
การลดน้ำหนัก เป็นการบำบัดรักษาความดันโลหิตสูงโดยไม่ใช้ยา จะเพิ่มประสิทธิภาพของการ
ควบคุมความดันโลหิต และลดความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ
แนวทางกิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกายเพื่อป้องกันและควบคุมความดันโลหิตสูง
กิจกรรมทางกาย (Physical activity)/การออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอเป็นประจำ เช่น การเดิน
การวิ่ง การว่ายน้ำ อย่างน้อยวันละ 30-45 นาที เกือบทุกวัน จะสามารถช่วยลด SBP 4-9 มิลลิเมตรปรอท
โดยประมาณ
ประโยชน์ของกิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกาย
มีประโยชน์ทั้งในการป้องกันและบำบัดความดันโลหิตสูง
- เพิ่มสมรรถภาพและสถานะสุขภาพ
- ลดความเสี่ยงและการตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ
- การเดิน 30-45 นาที เกือบทุกวัน จนอัตราการเต้นของหัวใจ อยู่ที่ 75% ของ 220 - อายุ
มีประสิทธิภาพ ได้ผลเพียงพอ และประหยัดค่าใช้จ่าย ส่วนการออกกำลังกายอย่างอื่น เช่น วิ่ง ว่ายน้ำ
จะเพิ่มสันทนาการในการออกกำลังกาย
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
23
แนวทางการลดพฤติกรรมเสี่ยงในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
1. ลด ละ เลิก การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพราะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับระดับ
ความดันโลหิตทั้งต่อ SBP และ DBP ผู้ที่บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากกว่าปริมาณมาตรฐานที่ยอมรับได้
จะเพิ่มความเสี่ยงของการเป็นความดันโลหิตสูงมากกว่าผู้ที่ไม่ได้ดื่มแอลกอฮอล์ นอกจากนี้พิษสุราเรื้อรัง
ก็เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูงร่วมด้วย พบว่าแอลกอฮอล์จะลดประสิทธิภาพของยาลดความดัน
และให้ปริมาณแคลอรี่สูงเกินความจำเป็น การจำกัดการบริโภคแอลกอฮอล์ไม่เกิน 1 ดริ้งต่อวัน จะสามารถ
ลด SBP 2-4 มิลลิเมตรปรอท
2. เลิกสูบบุหรี่เพราะนิโคตินจะเพิ่มระดับความดันโลหิตและเป็นปัจจัยเสี่ยงของหลอดเลือดแข็งตัว
ควรแนะนำให้เลิกบุหรี่
3. ลดความเครียด แม้ว่ายังไม่มีผลการศึกษาระยะยาวเรื่องการคลายเครียดกับการลดความดันโลหิตสูง
พบว่าการบำบัดด้วยการคลายเครียด (Relaxation therapy) สามารถจะเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย และลดความ
เสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
24
Hypertension Medical Nutrition Therapy and Prevention of
Complication Algorithm for Elderly
ความดันโลหิตสูง
BP ≥ 140/90 mmHg
การประเมิน
- น้ำหนักตัว - ดัชนีมวลกาย - ประวัติการรักษา - ประวัติการรับประทานอาหาร - กิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย
- เส้นรอบเอว - ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ* - วิถีการดำเนินชีวิต -ความพร้อมในการปรับเปลี่ยนรายพฤติกรรม**(Readinesstochange)
แนวทางการดูแลรักษา
- การวางแผนอาหาร : รับประทานอาหารในแต่ละวันให้เหมาะสมรวมถึงอาหารที่มีลักษณะเหมาะสมกับผู้สูงอายุ เช่น อาหาร
ที่มีเส้นใยอาหาร อาหารย่อยง่าย***
จำกัดโซเดียม < 2.4 กรัมต่อวัน****
ถ้า proteinuria มากกว่า 0.5 กรัม หรือ proteinuria เป็นบวก ให้จำกัดปริมาณโปรตีน 0.6-0.8 g/Kg/day
จัดรายการอาหารให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล
- ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
ผอม BMI<18.5 น้ำหนักเกิน/อ้วน BMI ≥ 25 ไตรกรีเซอร์ไรค์ ≥ 150mg/dL LDL-C > 100 mg/dL FPG ≥ 126 mg/dl./ 2 ครั้ง
2 hr. PPG ≥ 200 mg/dl
ประเมินพลังงานทั้งวัน
ถ้าพลังงานน้อยเกินไป
ให้เพิ่มพลังงานให้
เพียงพอตามความ
เหมาะสมของแต่ละ
บุคคล อาจเพิ่ม
อาหารหลัก อาหารว่าง
และอาหารเสริม
กำหนดเป้าหมาย
ของการลดน้ำหนัก
อย่างน้อย 5-10%
ของน้ำหนักตัว
- ลดปริมาณคาร์โบไฮเดรต
โดยเฉพาะน้ำตาลให้น้อยกว่า10%
ของปริมาณพลังงานที่ควรได้รับ
ต่อวัน
- เพิ่มกรดไขมันไม่อิ่มตัวตำแหน่ง
เดียว
- เพิ่มโอเมก้า-3 ดูแผนแนวทางเวชปฏิบัติ
โภชนบำบัด โรคเบาหวาน
หน้า 17
- ลดไขมันอิ่มตัว < 7%
- โคเลสเตอรอล
< 200 mg/day
- เพิ่มไขมันไม่อิ่ม
ตำแหน่งเดียว
- เพิ่มใยอาหารที่ละลาย
ในน้ำ 10-25 g/day
ภาษาไทย
ประเมินพลังงานจากอาหาร
ทั้งวัน ถ้าพลังงานเกิน ให้ลด
พลังงานลง250-1,000กิโลแคลอรี่
จากพลังงานที่รับประทาน
ตามปกติ โดยลดคาร์โบไฮเดรต
และ/หรือไขมัน
(โดยเฉพาะไขมันอิ่มตัว)
ถ้า TG>500 mg/dL,
ลดพลังงานไขมัน <15%
ของพลังงานทั้งหมด
ติดตามน้ำหนัก,ระดับความดันโลหิต,การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค,รวมทั้งกิจกรรมการเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย
พิจารณาการใช้ยาตามความเหมาะสม เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตให้ได้ตามเป้าหมาย
* ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ proteinuria / microalbuminuria ถ้าทำได้
** ภาคผนวก 38
*** ภาคผนวก 46
**** ภาคผนวก 53-54
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
25
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์
1. มีแนวทางการให้โภชนบำบัดในภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ
2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสามารถควบคุมระดับไขมันในเลือดได้เพื่อลดภาวะ
แทรกซ้อน
3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แนวทางการดูแลภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ
แก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข
กลุ่มเป้าหมาย
1. แพทย์
2. พยาบาล
3. นักโภชนาการ / โภชนากร / นักกำหนดอาหาร
4. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
คำนิยาม
ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ (Dyslipidemia) คือ ระดับไขมันในเลือดที่มีโคเลสเตอรอล มากกว่า
200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับไตรกรีเซอไรด์ มากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับ HDL-cholesterol
(HDL-C) หรือไขมันดี น้อยกว่า 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับ LDL-cholesterol (LDL-C) หรือไขมันเลว
มากกว่า 130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ส่งผลกระทบให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดส่วนปลาย
หลอดเลือดสมองตีบ แตก ตัน และปัญหาสุขภาพอื่นๆ
สถานการณ์และสภาพปัญหา
ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคหลายชนิด เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน
โรคหลอดเลือดสมอง แตก ตีบ ตัน สถิติจากกระทรวงสาธารณสุข ปี 2546 พบว่า โรคหัวใจ เบาหวาน
อัมพาต เป็นสาเหตุการตายอันดับต้นของผู้สูงอายุไทย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
แนวทางเวชปฏิบัตินี้เป็นเครื่องมือส่งเสริมคุณภาพของการบริการด้านสาธารณสุขที่เหมาะสมกับ
ทรัพยากรและเงื่อนไขของสังคมไทยโดยหวังผลในการสร้างเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพ
ของคนไทยอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า ข้อแนะนำต่างๆ ในแนวทางเวชปฏิบัตินี้มิใช่ข้อบังคับ
ของการปฏิบัติ ผู้ใช้สามารถปฏิบัติแตกต่างไปจากข้อแนะนำนี้ได้ในกรณีที่สถานการณ์แตกต่าง
ออกไปหรือมีเหตุที่สมควร โดยใช้วิจารณญาณและอยู่บนพื้นฐานหลักวิชาการและจรรยาบรรณ
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
26
ปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนในผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
1. อายุ ในผู้ชาย อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 45 ปี ในผู้หญิง อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 55 ปี
2. พันธุกรรม การมีประวัติครอบครัวเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดตั้งแต่ก่อนอายุ 55 ปี ในบิดา
หรือญาติเพศชายสายตรง หรือมารดาและญาติผู้หญิงสายตรงก่อนอายุ 65 ปี
3. สูบบุหรี่เป็นประจำ
4. ความดันโลหิตสูง (≥ 140/90 มิลลิเมตรปรอท)
5. ภาวะอ้วนและใช้ชีวิตนั่งๆ นอนๆ แม้จะไม่เป็นปัจจัยเสี่ยงหลักแต่ต้องพิจารณาให้คำแนะนำ
เพื่อควบคุมโรค เนื่องจากภาวะอ้วนส่งผลกระทบต่อภาวะความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดผิดปกติ ทำให้
ระดับ HDL-C น้อย และเกิดปัญหาโรคเบาหวานขึ้น ระดับ HDL-C ≥ 60 มิลลิกรัม/เดซิลิตร เป็นปัจจัยลด
โรคหลอดเลือดหัวใจได้
ปัจจัยที่ช่วยในการดูแลผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
ให้พิจารณาถึงปัจจัยดังต่อไปนี้
1. ดัชนีมวลกาย/เส้นรอบเอว (ภาคผนวก 30)
2. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
3. การออกกำลังกาย/กิจกรรมทางกาย (physical activity)
4. การใช้ยา
5. ความเครียดและการจัดการกับความเครียด
เป้าหมายการลดภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
ระดับไขมันในเลือด ที่มีโคเลสเตอรอล น้อยกว่า 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ระดับไตรกรีเซอไรด์ น้อยกว่า 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ระดับ HDL-cholesterol (HDL-C) หรือไขมันดี มากกว่า 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ระดับ LDL-cholesterol (LDL-C) หรือไขมันเลว น้อยกว่า 130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ผู้ที่มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติแม้ว่าจะไม่มีอาการควรแนะนำให้ควบคุมอาหารและออกกำลังกาย
อย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหารไขมันต่ำ ลดอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง และอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว
เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีกากใย โดยเฉพาะใยอาหารชนิดละลายน้ำได้ (Soluble Fiber) ในผู้ป่วยที่มี
น้ำหนักเกินควรให้คำแนะนำเพื่อลดน้ำหนักโดยให้การควบคุมปริมาณที่รับประทานในแต่ละวัน ควรลด
น้ำหนักโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ได้ดัชนีมวลกายที่เหมาะสม โดยเริ่มต้นลดร้อยละ 5-10 ของน้ำหนักตัวปัจจุบัน
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
27
เป้าหมายการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
1. ให้ผู้ป่วยสามารถเลือกกินอาหารได้อย่างถูกต้องกับพยาธิสภาพของตัวผู้ป่วยเอง มีการกระจาย
อาหาร/สารอาหารให้ได้พลังงานเพียงพอ
2. ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
3. รักษาระดับความดันโลหิตให้ใกล้เคียงกับระดับปกติมากที่สุด
4. รักษาน้ำหนักตัว / เส้นรอบเอว ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
5. ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
6. ความเครียดและวิธีการจัดการกับความเครียดที่เหมาะสม
ทั้งนี้เพื่อป้องกัน ลดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง
หลักการในการกำหนดอาหารในผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
1. ได้รับพลังงานและกระจายสารอาหารที่เหมาะสมเพื่อรักษาระดับความดันโลหิต ลดความเสี่ยง
การเกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ
2. ลดปริมาณบริโภค ไขมันอิ่มตัว และโคเลสเตอรอลในอาหาร (ปริมาณไขมันควรน้อยกว่าร้อยละ 20
ของปริมาณแคลอรี่ต่อวัน และไขมันอิ่มตัวควรน้อยกว่าร้อยละ 10 ของปริมาณแคลอรี่ต่อวัน)
3. การเพิ่มปริมาณกากใยอาหารให้มีปริมาณและมีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้นโดยแนะนำให้บริโภค
อาหารที่อุดมไปด้วยพืช / ผัก / ผลไม้ ลดปริมาณไขมันจากสัตว์ ลดปริมาณไขมันอิ่มตัว
4. การกำหนดสัดส่วนของอาหาร พลังงานที่ควรได้รับต่อวัน (Energy requirement) รวมทั้งการ
พิจารณาอุปนิสัยการบริโภค (Food habit) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนด และปรับแก้ไขการบริโภค
ที่ไม่ถูกต้องเพื่อให้เกิดการสมดุล โดยปริมาณหรือจำนวนของสารอาหารแต่ละชนิดที่ผู้ป่วยควรได้รับต่อวัน
และต่อมื้อ โดยคำนวณจากรายการอาหารแลกเปลี่ยน (ภาคผนวก 51)
แนวทางการให้คำแนะนำกิจกรรมทางกาย / การออกกำลังกายในผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
1. เพิ่มกิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกาย เช่น เดิน ทำงานบ้าน
2. ควรออกกำลังกายอย่างเหมาะสม อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ ครั้งละอย่างน้อย 20 นาที
แนวทางการลดพฤติกรรมเสี่ยงในผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ( Lifestyle modification) ประกอบด้วยการควบคุมอาหาร การออกกำลัง
แบบแอโรบิค การควบคุมน้ำหนัก การลด ละ เลิก สุรา เลิกบุหรี่
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
28
Dyslipidemia Medical Nutrition Therapy and Prevention of
Complication Algorithm for Elderly
ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ
TG ≥ 150 mg/dL LDL-C > 130* mg/dL
TC ≥ 200 mg/dL HDL-C < 40 mg/dL
การประเมิน
- น้ำหนักตัว - ดัชนีมวลกาย - ประวัติการรักษา - ประวัติการรับประทานอาหาร - กิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย
- เส้นรอบเอว - ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ* - วิถีการดำเนินชีวิต -ความพร้อมในการปรับเปลี่ยนรายพฤติกรรม**(Readinesstochange)
แนวทางการดูแลรักษา
- ตรวจระดับไขมันในเลือด
- กิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย
- การวางแผนอาหาร : จัดรายการอาหารให้เหมาะสมในแต่ละบุคคลหลีกเลี่ยงอาหารที่มีพลังงานสูง เพิ่มใยอาหารที่ละลายในน้ำ10-25g/day
อาหารผู้สูงอายุควรเป็นอาหารย่อยง่าย***
ถ้าไตรกรีเซอร์ไรด์>150mg/dL ลดปริมาณคาร์โบไฮเดรต โดยเฉพาะน้ำตาลให้น้อยกว่า10%ของปริมาณพลังงาน
ที่ควรได้รับต่อวัน
เพิ่มกรดไขมันไม่อิ่มตำแหน่งเดียว เพิ่มโอเมก้า-3
ถ้า TG ≥ 500 mg/dL ลดพลังงานไขมัน < 15%ของพลังงานทั้งหมด
ถ้า LDL- C > 130 mg/dL ลดไขมันอิ่มตัว < 7% โคเลสเตอรอล < 200 mg/day เพิ่มไขมันไม่อิ่มตำแหน่งเดียว
- ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
ผอม BMI < 18.5 น้ำหนักเกิน/อ้วน BMI ≥ 25 FPG ≥ 126 mg/dl.
2 hr. PPG ≥ 200 mg/dl
ความดันโลหิต ≥140/90mmHg
ประเมินพลังงานทั้งวัน
ถ้าพลังงานน้อยเกินไป
ให้เพิ่มพลังงานให้เพียงพอ
ตามความเหมาะสมของ
แต่ละบุคคล อาจเพิ่ม
อาหารหลัก อาหารว่าง
และอาหารเสริม
กำหนดเป้าหมายของการลดน้ำหนัก
อย่างน้อย 5-7 % ของน้ำหนักตัว
ดูแผนแนวทางเวชปฏิบัติโภชนบำบัด
โรคเบาหวาน หน้า 17
โรคความดันโลหิตสูง หน้า 24
ประเมินพลังงานจากอาหารทั้งวัน
ถ้าพลังงานเกิน ให้ลดพลังงานลง 250-1,000
กิโลแคลอรี่ จากพลังงานที่รับประทานตามปกติ
โดยลดคาร์โบไฮเดรต และ/หรือไขมัน
(โดยเฉพาะไขมันอิ่มตัว)
ติดตามน้ำหนัก, ระดับไขมัน, การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค, รวมทั้งกิจกรรมการเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย,
พิจารณาการใช้ยาตามความเหมาะสม เพื่อควบคุมระดับไขมันให้ได้ตามเป้าหมาย
* ระดับ LDL-C ควรน้อยกว่า 100 มิลลิกรัม ต่อ เดซิลิตรในผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน / โรคหัวใจและหลอดเลือด /โรคความดันโลหิตสูง
** ภาคผนวก 38
*** ภาคผนวก 46
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
29
ภาคผนวก
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
30
(กิโลกรัม)
ส่วนสูง (เมตร)2
การประเมินภาวะโภชนาการ
การประเมินภาวะโภชนาการสามารถประเมินได้จากการรวบรวมและเก็บข้อมูลทางคลินิกจาก
แฟ้มประวัติของผู้ป่วย เช่น ประวัติสุขภาพและการเจ็บป่วย (Medical history) และจากการสัมภาษณ์ผู้ป่วย
ซึ่งวิธีการในการประเมินภาวะโภชนาการประกอบด้วย
1. การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement)
น้ำ หนักตัว ส่วนสูง ค่าดัชนีมวลกาย (Body mass index : BMI) น้ำหนักที่ควรเป็น การเปลี่ยนแปลง
ของน้ำหนักตัวและน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น เส้นรอบข้อมือ เส้นรอบเอว เส้นรอบสะโพก
ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index or BMI)
ในทางวิชาการจะใช้เป็นวิธีหนึ่งในการประเมินปริมาณของไขมันในร่างกายเพื่อพิจารณาความอ้วน
หรือความผอมในคนที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป มีสูตรง่ายๆ ดังนี้
น้ำหนักตัว
BMI ปกติ = 18.5 - 24.9 ก.ก./ม2
BMI ≥ 25 overweight
BMI ≥ 30 obesity
เส้นรอบเอว
การวัดเส้นรอบเอวจะบอกตำแหน่งการสะสมของไขมันในร่างกาย บริเวณที่ร่างกายสะสมไขมัน
มีอิทธิพลต่อสุขภาพ ถ้าร่างกายสะสมไขมันบริเวณพุงมาก ซึ่งเป็นลักษณะอ้วนแบบลูกแอปเปิ้ลจะเพิ่ม
ปัจจัยเสี่ยงของโรคเบาหวาน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็ง แต่ถ้าอ้วนลักษณะแบบลูกแพร์
หรือชมพู่ซึ่งไขมันจะสะสมส่วนของสะโพกมากกว่า จะมีความเสี่ยงของโรคดังกล่าวน้อยกว่าคนที่อ้วนแบบ
ลูกแอบเปิ้ล สำหรับคนเอเชีย เส้นรอบเอวจะเป็นตัวบ่งชี้ความเสี่ยงโรคเบาหวานประเภท 2 โรคหลอดเลือด
หัวใจ และความดันโลหิตสูง ได้ดีกว่า BMI ในชาวเอเชียผู้ชายเส้นรอบเอวไม่ควรเกิน 90 เซนติเมตร และ
ผู้หญิงไม่ควรเกิน 80 เซนติเมตร หรือมีค่า BMI > 35 ไม่ควรใช้เส้นรอบเอวประมาณ เพราะจะไม่ได้ประโยชน์
ในการประเมินความอ้วน (Centers for disease control and prevention, 2000)
2. การตรวจทางชีวเคมี (Biochemical determination) เช่น
Albumin, Hematocrit, hemoglobin
Fasting plasma glucose (FPG), Glycated hemoglobin (HbA1
c) ถ้าทำได้
Total cholesterol (TC), Low density lipoprotein-cholesterol (LDL-C), High density lipoprotein-
cholesterol (HDL-C) และ triglycerides (TGs)
BUN, Creatinine,
Micro albumin ถ้าทำได้
แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ
31
3. อาการทางคลินิก (Clinical observation)
- อาการเหน็บชามีอาการหงุดหงิดง่ายโมโหง่ายระบบประสาทผิดปกติเกิดจากการขาดวิตามิน บี 1
- อาการตาแดง ตาแฉะ ริมฝีปาก ช่องปาก จนถึงหลอดลมอักเสบ เกิดจากการขาดวิตามิน บี 2
- อาการเป็นตะคริว ผิวหนังอักเสบ ปลายเส้นประสาทอักเสบ เกิดจากการขาดวิตามิน บี 6
- โรคผิวหนังท้องร่วง เบื่ออาหาร เกิดจากการขาดไนอาซิน
4. การประเมินอาหารที่บริโภค (Dietary assessment)
- จากการซักประวัติความอยากอาหาร
- รูปแบบและอุปนิสัยการบริโภคตามปกติ และปริมาณสารอาหารที่ปริโภคในแต่ละวัน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรKamol Khositrangsikun
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพWinthai Booloo
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดsucheera Leethochawalit
 

Mais procurados (20)

การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome Ppt. metabolic syndrome
Ppt. metabolic syndrome
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
 

Destaque

อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตchalunthorn teeyamaneerat
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานMuay Muay Somruthai
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมาย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมายแนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมาย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมายUtai Sukviwatsirikul
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.Ziwapohn Peecharoensap
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
02 arincare tutorial การเลือกสาขาpos 26 9-59
02 arincare tutorial   การเลือกสาขาpos 26 9-5902 arincare tutorial   การเลือกสาขาpos 26 9-59
02 arincare tutorial การเลือกสาขาpos 26 9-59Utai Sukviwatsirikul
 
14 arincare tutorial พนักงาน 06 10 59
14 arincare tutorial พนักงาน 06 10 5914 arincare tutorial พนักงาน 06 10 59
14 arincare tutorial พนักงาน 06 10 59Utai Sukviwatsirikul
 
ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pagetumetr
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนUtai Sukviwatsirikul
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวMac Legendlaw
 
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 

Destaque (20)

สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมาย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมายแนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมาย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิต ของรพ.พิมาย
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
ผักสดปลอด..
ผักสดปลอด..ผักสดปลอด..
ผักสดปลอด..
 
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรารู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
 
02 arincare tutorial การเลือกสาขาpos 26 9-59
02 arincare tutorial   การเลือกสาขาpos 26 9-5902 arincare tutorial   การเลือกสาขาpos 26 9-59
02 arincare tutorial การเลือกสาขาpos 26 9-59
 
14 arincare tutorial พนักงาน 06 10 59
14 arincare tutorial พนักงาน 06 10 5914 arincare tutorial พนักงาน 06 10 59
14 arincare tutorial พนักงาน 06 10 59
 
อาหารกับการหายของแผล (1)
อาหารกับการหายของแผล (1)อาหารกับการหายของแผล (1)
อาหารกับการหายของแผล (1)
 
ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
 
อาหารทางสาย27เมษา55 (2)
อาหารทางสาย27เมษา55 (2)อาหารทางสาย27เมษา55 (2)
อาหารทางสาย27เมษา55 (2)
 
Cpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritisCpg osteoarthritis
Cpg osteoarthritis
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
 
เฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติวเฉลยข้อสอบติว
เฉลยข้อสอบติว
 
Food&life
Food&lifeFood&life
Food&life
 
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
 

Semelhante a แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Aimmary
 
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
Exercise in patients with dm and ht
Exercise in patients with dm and htExercise in patients with dm and ht
Exercise in patients with dm and htUtai Sukviwatsirikul
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Utai Sukviwatsirikul
 
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานnhs0
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015Pasa Sukson
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตTuang Thidarat Apinya
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 

Semelhante a แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน (20)

Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
 
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
Exercise in patients with dm and ht
Exercise in patients with dm and htExercise in patients with dm and ht
Exercise in patients with dm and ht
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
การบริหารจัดการCkd
การบริหารจัดการCkdการบริหารจัดการCkd
การบริหารจัดการCkd
 
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวานการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน
 
CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันและการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท...
 
Dm 2557
Dm 2557Dm 2557
Dm 2557
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน พ.ศ. 2557
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 
07
0707
07
 
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
Ncd forum2016แผนการดำเนินงาน ปี 2560
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 

แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน

  • 1.
  • 2. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ ISBN : 974-422-310-3 พิมพ์ครั้งที่ 1 : กันยายน 2549 จำนวนพิมพ์ : 3,000 เล่ม พิมพ์ที่ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด
  • 3. คำปรารภ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข มีพันธกิจในการพัฒนาการด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟู สมรรถภาพทางการแพทย์ฝ่ายกาย โดยมีการศึกษา วิจัย พัฒนา และถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีทาง การแพทย์ การเพิ่มพูนความรู้และทักษะการปฏิบัติงานแก่บุคลากรทางการแพทย์ และการให้บริการทาง การแพทย์เฉพาะด้าน หรือในระดับตติยภูมิที่ซับซ้อนอย่างได้มาตรฐาน เพื่อให้ผู้มารับบริการพึงพอใจ กรมการแพทย์ โดยสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ซึ่งรับผิดชอบงานวิชาการด้านผู้สูงอายุของ กระทรวงสาธารณสุข จากอัตราประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น โรคเรื้อรังพบว่าเป็นปัญหาที่พบมาก ในผู้สูงอายุส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สูงอายุและครอบครัว เช่นโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ด้วยเหตุนี้จึงได้จัดทำแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ โดยมุ่งเน้นให้ แพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ ได้ทราบขั้นตอนการวินิจฉัย การวางแผนการรักษา และดูแลผู้ป่วย ผู้สูงอายุที่มีปัญหาในโรคโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ที่มุ่งหวัง ให้ผู้สูงอายุสามารถควบคุมโรคได้สุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตที่ดี ในโอกาสนี้ กรมการแพทย์ ขอขอบพระคุณศาสตราจารย์นายแพทย์สุรัตน์ โคมินทร์ ประธาน คณะทำงานจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะ ไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ และคณะทำงานผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ได้ทุ่มเทแรงกายแรงใจ และเสียสละเวลาอันมีค่ามาร่วมดำเนินการจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติฯ ฉบับนี้ อันจะเป็นประโยชน์ สำคัญต่อแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ต่อไป (นายแพทย์ชาตรี บานชื่น) อธิบดีกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
  • 5. คำนำ จากสถานการณ์สุขภาพของประเทศไทยพบว่าปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประเทศ 10ลำดับแรก ส่วนใหญ่เป็นโรคเรื้อรังทั้งสิ้น ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น โดยเฉพาะในกลุ่ม ผู้สูงอายุมีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัญหาการเจ็บป่วยเหล่านี้มาจาก พฤติกรรมด้านสุขภาพเป็นส่วนใหญ่ และสามารถป้องกันการเกิดและยับยั้งความรุนแรงได้ โดย หันมาใส่ใจสุขภาพ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างจริงจังและเป็นระบบ สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งรับผิดชอบงานวิชาการ ด้านผู้สูงอายุของกระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทำหนังสือแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ เพื่อให้แพทย์ และบุคลากรทางการแพทย์ได้ทราบขั้นตอนการวินิจฉัย การวางแผนการรักษา และดูแลผู้ป่วยผู้สูงอายุ ที่มีปัญหาในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ทั้งนี้เพื่อให้ ผู้ป่วยสูงอายุได้รับการบริการด้านสุขภาพอย่างถูกต้องและเหมาะสม จะได้มีอายุยืนยาวขึ้น และมี คุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป (แพทย์หญิงวราภรณ์ ภูมิสวัสดิ์) ผู้อำนวยการสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
  • 7. บทนำ ในปัจจุบันวิทยาการทางการแพทย์ในประเทศเจริญขึ้นอย่างมาก และเศรษฐานะของชาติได้ เจริญขึ้น มีโครงการช่วยดูแลสุขภาพให้กับประชาชนชาวไทยมากขึ้นทั้งทางการแพทย์และสาธารณสุข ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ทำให้ชาวไทยมีอายุยืนยาวขึ้น และต้องเผชิญกับโรคภัยไข้เจ็บที่เป็น ปัญหาจากการเสื่อมของร่างกาย พบว่าคนไทยมีสถิติของการเกิดเบาหวานและความดันโลหิตสูงกันมากขึ้น ซึ่งโรคทั้งสองนี้มีส่วนนำไปสู่การเจ็บป่วยด้วยโรคอื่นๆ ตามมา อาทิ โรคหัวใจ และสมองขาดเลือด รวมทั้งไตก็เสื่อมได้ง่ายขึ้นด้วย ดังนั้นสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุกรมการแพทย์ สถาบันฯได้รับความ ร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญด้านการทางแพทย์สาขาต่างๆ จากหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ แห่งประเทศไทย คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะสาธารณสุขศาสตร์ สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรมอนามัย โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ ประชุมระดมสมองความคิดเห็น ค้นคว้าข้อมูลเชิงประจักษ์ จัดทำเป็นแนวทางการดูแลผู้ป่วยผู้สูงอายุ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ คณะทำงานหวังว่าแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ จะได้เป็นประโยชน์กับแพทย์และบุคลากรทาง การแพทย์ในการนำไปปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและดูแลรักษาได้เป็นอย่างดี (ศาตราจารย์นายแพทย์สุรัตน์โคมินทร์) ประธานคณะทำงาน
  • 9. สารบัญ หน้า คำปรารภ คำนำ บทนำ แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน สำหรับผู้สูงอายุ 11 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคความดันโลหิตสูง สำหรับผู้สูงอายุ 19 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ 25 ภาคผนวก 29 การประเมินภาวะโภชนาการ 30 การวางแผนและการให้โภชนบำบัด 33 แนวทางการให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการ 35 การติดตามและประเมินผลการให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการ 36 แบบประเมินระดับความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ 38 ปริมาณพลังงานและโปรตีนที่ควรได้รับประจำ 40 ปริมาณโซเดียม โปรแตสเซียม และคลอไรด์ที่ควรได้รับประจำ 40 ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวัน (Dietary Reference Intake : (DRI)) 41 : ปริมาณวิตามินที่แนะนำสำหรับแต่ละบุคคล ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวัน (Dietary Reference Intake : (DRI)) 42 : ปริมาณแร่ธาตุที่แนะนำสำหรับแต่ละบุคคล ตารางแสดงความต้องการอาหารในผู้สูงอายุที่ไม่เป็นโรค 43 และในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิต และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ตัวอย่างรายการอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ 1 สัปดาห์ 46 ธงโภชนาการ 50 ตารางแสดงคุณค่าอาหารในหมวดรายการอาหารแลกเปลี่ยน 51 ดัชนีน้ำตาลของอาหารไทยบางชนิด 52 อาหารที่มีเกลือโซเดียมสูง 53 อาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง 55 บรรณานุกรม 56
  • 11. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 11 วัตถุประสงค์ 1. มีแนวทางการให้โภชนบำบัดในโรคเบาหวานสำหรับผู้สูงอายุ 2. ผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน 3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แนวทางการดูแลโภชนบำบัดโรคเบาหวานสำหรับผู้สูงอายุแก่บุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย 1. แพทย์ 2. พยาบาล 3. นักโภชนาการ / โภชนากร / นักกำหนดอาหาร 4. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข คำนิยาม โรคเบาหวาน เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซุลินได้เพียงพอ และ/ หรือร่างกายไม่ตอบสนองต่ออินซุลินได้ตามปกติ ทำให้มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นและมีความผิดปกติ ทางเมตาบอลิสมอื่นๆ ตามมา ซึ่งหากไม่สามารถควบคุมความผิดปกติดังกล่าวได้ จะเกิดภาวะแทรกซ้อน ต่าง ๆ ทั้งหลอดเลือดขนาดเล็ก (Microvascular) เช่น โรคไต (diabetic nephropathy) โรคจอประสาทตา ผิดปกติ (diabetic retinopathy) โรคเส้นประสาทผิดปกติ (Diabeticneuropathy) และหลอดเลือดขนาดใหญ่ (Macrovascular) เช่น โรคหลอดเลือดสมองอุดตัน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดส่วนปลายที่ขา แนวทางเวชปฏิบัตินี้เป็นเครื่องมือส่งเสริมคุณภาพของการบริการด้านสาธารณสุขที่เหมาะสมกับ ทรัพยากรและเงื่อนไขของสังคมไทยโดยหวังผลในการสร้างเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของคนไทยอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า ข้อแนะนำต่างๆ ในแนวทางเวชปฏิบัตินี้มิใช่ข้อบังคับ ของการปฏิบัติ ผู้ใช้สามารถปฏิบัติแตกต่างไปจากข้อแนะนำนี้ได้ในกรณีที่สถานการณ์แตกต่าง ออกไปหรือมีเหตุที่สมควร โดยใช้วิจารณญาณและอยู่บนพื้นฐานหลักวิชาการและจรรยาบรรณ แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน สำหรับผู้สูงอายุ
  • 12. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 12 สถานการณ์และสภาพปัญหา สถานการณ์ความชุกโรคเบาหวานในประเทศไทย พบร้อยละ 9.6 ของประชากรผู้ใหญ่ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป (Aekplakorn W และคณะ ; 2546) เป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขและเป็นสาเหตุการตาย จากรายงานผู้ป่วยใน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุขพบว่า โรคเบาหวานมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นจาก 33.3 ต่อแสนประชากร ใน พ.ศ. 2528 เพิ่มเป็น 91.0 ใน พ.ศ. 2537 และเป็น 380.7 ต่อแสน ประชากร ในปี พ.ศ. 2546 นอกจากนี้จากการสำรวจในปี พ.ศ. 2539 ยังพบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวาน 2 ล้านคน มีร้อยละ 48.7 ที่ทราบว่าตัวเองเป็นโรคเบาหวานและน้อยกว่าครึ่งที่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม (มูลนิธิ สาธารณสุขแห่งชาติ; 2541) นอกจากนี้โรคเบาหวานยังเป็นสาเหตุการตายสูงในผู้สูงอายุ โดยเพิ่มขึ้นจาก 28.8 ต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ. 2534 เป็น 66.7 ต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ. 2546 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (สำนักนโยบายและแผน กระทรวงสาธารณสุข; การสาธารณสุขไทย 2544-2547) เมื่อพิจารณาจากรายงานเรื่องการสูญเสียปีสุขภาวะ (Disability Adjusted Life Years Loss : DALYs Loss) ซึ่งเป็นหน่วยเท่ากับการสูญเสียช่วงอายุของการมีสุขภาพที่ดีไปจำนวน 1 ปี (วันดี;2548) พบว่าเบาหวานเป็นปัญหาสำคัญของการสูญเสียปีสุขภาวะของคนไทย โดยเพศหญิง คิดเป็นจำนวน 267,158 DALYs loss ซึ่งสูงเป็นอันดับสามรองจากเอดส์ และโรคหลอดเลือดสมอง และเพศชาย คิดเป็นจำนวน 168,372 DALYs loss ซึ่งสูงเป็นอันดับห้า รองจากโรคเอดส์ อุบัติเหตุจราจร หลอดเลือดสมอง มะเร็งตับ (สำนักนโยบายและแผน กระทรวงสาธารณสุข;2542) จากสถานการณ์และสภาพปัญหาดังกล่าว บุคลากร สาธารณสุขจึงควรให้ความสนใจ ในการป้องกัน ดูแล บำบัด รักษา และฟื้นฟูโรคเบาหวาน เพื่อลดอัตราป่วย อัตราตาย ภาระโรค และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน 1. โรคแทรกซ้อนเฉียบพลัน - ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ - ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงมาก + ไม่มีสารคีโตนคั่ง {HYPERGLYCEMIA : HYPER OSMOLAR NONKETOTIC SYNDROME (HHNS)} - การติดเชื้อ 2. โรคแทรกซ้อนเรื้อรัง โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดใหญ่ - โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ - โรคหลอดเลือดสมองอุดตัน - ความดันโลหิตสูง - โรคหลอดเลือดตีบที่เท้า
  • 13. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 13 โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดเล็ก - โรคแทรกซ้อนทางตา (DIABETIC RETINOPATHY) - โรคแทรกซ้อนทางไต (DIABETIC NEPHROPATHY) - โรคแทรกซ้อนทางระบบประสาท (DIABETIC NEUROPATHY) 1. โรคแทรกซ้อนเฉียบพลัน ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ หมายถึงภาวะที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 50 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร มักพบบ่อย ในผู้สูงอายุ และทำให้เกิดหมดสติ ไม่รู้สึกตัวได้ เกิดจาก - รับประทานอาหารน้อยกว่าปกติ /รับประทานอาหารผิดเวลา (สายเกินไป) - ฉีดอินซุลิน หรือรับประทานยาเม็ดลดระดับน้ำตาลมากเกินไป หรือพบในผู้ป่วยที่มีภาวะไต หรือตับเสื่อม ทำให้การทำลายหรือการขับยาออกจากร่างกายน้อยลง ฤทธิ์ของยามากขึ้น - ออกกำลังกายหรือทำงานมากกว่าปกติ อาการของภาวะน้ำตาลต่ำ หิว ใจสั่น มือสั่น เหงื่อออกมาก มึนงง หงุดหงิด ถ้าเป็นมากอาจมี อาการชักเกร็ง หมดสติได้ การรักษาโดยให้น้ำหวาน น้ำตาลทันที อาการจะดีขึ้นภายใน 5-10 นาที แต่ถ้าอาการมากไม่รู้สึกตัว ต้องรีบนำส่งโรงพยาบาล ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงมาก และไม่มีสารคีโตนคั่ง มักพบในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 หรือ ผู้สูงอายุที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดี เมื่อมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง หรือการติดเชื้อ จะมีการหลั่งฮอร์โมนต่างๆ ซึ่งทำให้ความต้องการอินซุลินเพิ่มขึ้น ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงมากจนเกิดอาการ อาการของภาวะน้ำตาลในเลือดสูงมาก ไม่มีสารคีโตนคั่ง เป็นอาการของภาวะน้ำตาลสูง เช่น กระหายน้ำมาก ปัสสาวะมาก อ่อนเพลีย น้ำหนักลด บางครั้งมีอาการชักกระตุก ซึมหมดสติ การรักษา ต้องรีบนำส่งโรงพยาบาลให้การรักษาด้วยอินซุลิน จนกว่าระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ใน เกณฑ์ปกติ อาจเปลี่ยนเป็นยาเม็ดลดระดับน้ำตาลได้ การติดเชื้อ ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ดี มีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายที่พบบ่อย ได้แก่ วัณโรค ปอด การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ การติดเชื้อรา เป็นต้น 2. โรคแทรกซ้อนเรื้อรัง โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดใหญ่ มีการตีบตันของหลอดเลือดใหญ่ ที่สำคัญได้แก่ หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ สมอง ทำให้เกิด อาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดกล้ามเนื้อหัวใจตายอัมพาต อัมพฤกษ์ หรือเกิดการตีบของหลอดเลือดไปเลี้ยงขา เกิดอาการปวดน่อง ถ้ามีการอุดตันของหลอดเลือด จนเกิดการตายของเนื้อเยื่อ ทำให้ต้องตัดขา นอกจากนี้ ยังพบความดันโลหิตสูงได้บ่อยในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะความดันโลหิตสูงชนิดซิสโตลิก (SYSTOLIC HYPER- TENSION)
  • 14. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 14 โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดเล็ก - โรคจอประสาทตาผิดปกติจากเบาหวาน (Diabetic Retinopathy : DR) มีความผิดปกติที่ จอประสาทตาเกิดจากการอุดตันของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงเซลล์ที่จอรับภาพ เกิดอาการตามัวถ้าเป็นมาก จะมีเลือดออกในจอประสาทตาเกิดตาบอดได้ - โรคไตจากเบาหวาน (Diabetic nephropathy : DN) เกิดจากการตีบของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยง ไต ทำให้การทำงานของไตเสื่อมลง กรองของเสียไม่ได้ ทำให้มีของเสียคั่งในเลือด เกิดไตวาย ภาวะไตเสื่อม จากเบาหวานในระยะแรกไม่มีอาการ อาศัยการตรวจหาอัลบูมินในปัสสาวะ เป็นการช่วยวินิจฉัยตั้งแต่ระยะแรก - โรคแทรกซ้อนทางระบบประสาท (Diabetic neuropathy) ที่พบบ่อยคืออาการจากระบบ ประสาทส่วนปลายเสื่อมมีอาการชา ความรู้สึกน้อยลง หรือไม่รู้สึกเริ่มจากปลายนิ้วเท้า และลามขึ้นเรื่อยๆ อาการ ชาที่เท้าทำให้ไม่รู้สึกเจ็บอาจเกิดแผลลุกลามจนถึงต้องตัดขาได้ นอกจากนี้อาจพบอาการของเส้นประสาท ปวดแสบปวดร้อน ซึ่งมักพบในเส้นประสาททั่วไปเลี้ยงเท้าและขา ปัจจัยที่ช่วยในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ให้พิจารณาถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ 1. ดัชนีมวลกาย / เส้นรอบเอว (ภาคผนวก 30) 2. ระดับน้ำตาลในเลือด / ฮีโมโกบิน เอวันซี (HbA1 c) 3. ระดับความดันโลหิต 4. ระดับโปรตีนในปัสสาวะ / micro albumin 5. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร 6. การออกกำลังกาย / กิจกรรมทางกาย (physical activity) 7. การใช้ยา แนะนำให้ตรวจ micro albumin ในกรณีโปรตีนในปัสสาวะให้ผลลบ เป้าหมายการควบคุมน้ำหนักในผู้ป่วยเบาหวาน ในกรณีที่น้ำหนักเกิน ควรลดน้ำหนักโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ได้ดัชนีมวลกาย/เส้นรอบเอวที่เหมาะสม โดยเริ่มต้นลดร้อยละ 5-10 ของน้ำหนักตัวปัจจุบัน (ภาคผนวก 30)
  • 15. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 15 เป้าหมายของการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน 1. ให้ผู้ป่วยสามารถเลือกกินอาหารได้อย่างถูกต้องกับพยาธิสภาพของตัวผู้ป่วยเอง มีการกระจาย อาหาร/สารอาหารให้ได้พลังงานเพียงพอ 2. ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3. รักษาระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงกับระดับปกติมากที่สุด 4. รักษาน้ำหนักตัว / เส้นรอบเอว ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 5. ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้เพื่อป้องกัน ลดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี แนวทางการให้คำแนะนำโภชนบำบัดในผู้ป่วยเบาหวาน 1. ได้รับพลังงานและกระจายสารอาหารที่เหมาะสมเพื่อรักษาระดับน้ำตาลในเลือด ลดความเสี่ยง การเกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ 2. ลดปริมาณบริโภคอาหารจำพวกน้ำตาล คาร์โบไฮเดรตไขมันอิ่มตัวและโคเลสเตอรอลในอาหาร (ปริมาณไขมันควรน้อยกว่าร้อยละ 20 ของปริมาณแคลอรี่ต่อวัน และไขมันอิ่มตัวควรน้อยกว่าร้อยละ 10 ของปริมาณแคลอรี่ต่อวัน) 3. ลดปริมาณโซเดียมในผู้ที่มีความดันโลหิตสูง โดยให้เกลือแกงไม่เกิน 1 ช้อนชาต่อวัน (เท่ากับ ปริมาณโซเดียม 2.4 กรัม หรือ 6 กรัมของโซเดียมคลอไรด์) (ภาคผนวก 53-54) 4. การเพิ่มปริมาณกากใยอาหาร ให้ได้ประมาณ 20-30 กรัมต่อวัน 5. ปฏิบัติตามตารางกำหนดอาหารเรื่องของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน (ภาคผนวก 44-46) 6. การกำหนดสัดส่วนของอาหาร พลังงานที่ควรได้รับต่อวัน (Energy requirement) รวมทั้งการ พิจารณาอุปนิสัยการบริโภค (Food habit) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนด และปรับแก้ไขการบริโภคที่ ไม่ถูกต้องเพื่อให้เกิดการสมดุล โดยปริมาณหรือจำนวนของสารอาหารแต่ละชนิดที่ผู้ป่วยควรได้รับต่อวัน และต่อมื้อ โดยคำนวณจากรายการอาหารแลกเปลี่ยน (ภาคผนวก 51) แนวทางการให้คำแนะนำกิจกรรมทางกาย / การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน 1. เพิ่มกิจกรรมทางกาย เช่น เดิน ทำงานบ้าน 2. ควรออกกำลังกายอย่างเหมาะสม อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ ครั้งละอย่างน้อย 20 นาที 3. หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายในช่วงที่การควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดี (poor metabolic control) คือ ระดับน้ำตาลมากกว่า 300 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ หรือ ระดับน้ำตาลน้อยกว่า 60 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ หรือ มีจอประสาทตาผิดปกติจากเบาหวานระดับรุนแรง(Proliferativediabeticretinopathy)หรือมีโรคแทรกซ้อนเช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด ควรมีการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดและกินอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันระดับน้ำตาล ในเลือดต่ำ
  • 16. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 16 แนวทางการลดพฤติกรรมเสี่ยงในผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยเบาหวานหรือกรณีที่พบการบกพร่องของการเผาผลาญน้ำตาล แม้จะยังไม่เป็นหรือแสดงอาการ ของเบาหวาน ควรแนะนำให้เริ่มมีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต (Life style modification) ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ ซึ่งจะช่วยในการควบคุมโรค ลดค่าใช้จ่าย และลดความเสี่ยงในการเกิดโรคแทรกซ้อนของเบาหวานได้ โดย 1. งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (ในผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี และกรณีจำเป็นให้ได้ ไม่เกินวันละ 1 ดริ้ง) 2. เลิก บุหรี่
  • 17. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 17 Diabetes Medical Nutrition Therapy and Prevention of Complication Algorithm for Elderly เบาหวาน FPG ≥ 126 mg/dl./ 2 ครั้ง 2 hr. PPG ≥ 200 mg/dl การประเมิน - น้ำหนักตัว - เส้นรอบเอว - ประวัติการเจ็บป่วย - ประวัติการรับประทานอาหาร - กิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย - ดัชนีมวลกาย - ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ* - วิถีการดำเนินชีวิต -ความพร้อมในการปรับเปลี่ยนรายพฤติกรรม**(Readinesstochange) แนวทางการดูแลรักษา - เพิ่มกิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย - การวางแผนอาหาร : รับประทานอาหารในแต่ละวันให้เหมาะสม โดยกระจายมื้ออาหาร ไม่เน้นหนักมื้อใดมื้อหนึ่ง หลีกเลี่ยงอาหาร ที่มีพลังงานสูงโดยเฉพาะจาก คาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว เช่น น้ำตาลและไขมัน ซึ่งเป็นสาเหตุของระดับน้ำตาลสูง จัดรายการอาหารให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล โดยอาจมีมื้อว่างด้วย เพิ่มปริมาณใยอาหาร 20-35 g/day - ดัดแปลงอาหารอื่นๆ ที่นอกเหนือจากข้างต้นให้เหมาะสม เช่น อาหารผู้สูงอายุควรเป็นอาหารย่อยง่าย หรือนำค่าดัชนีน้ำตาล*** มาพิจารณาในการเลือกอาหาร - ควบคุมน้ำหนัก/เส้นรอบเอว ให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ผอม BMI < 18.5 น้ำหนักเกิน/อ้วน BMI≥ 25 ไตรกรีเซอร์ไรด์ ≥ 150mg/dL LDL-C>100mg/dL3 ความดันโลหิต > 130/80 mmHg กำหนดเป้าหมายของการ ลดน้ำหนักอย่างน้อย 5-10% ของน้ำหนักตัว -ลดปริมาณคาร์โบไฮเดรตโดยเฉพาะ น้ำตาลให้น้อยกว่า 10% ของปริมาณ พลังงานที่ควรได้รับต่อวัน -เพิ่มกรดไขมันไม่อิ่มตัวตำแหน่งเดียว - เพิ่มโอเมก้า-3 -ลดไขมันอิ่มตัว<7% - โคเลสเตอรอล <200 mg/day - เพิ่มไขมันไม่อิ่ม ตำแหน่งเดียว - เพิ่มใยอาหารที่ ละลายในน้ำ 10-25 g/day จำกัดโซเดียม < 2.4 g/day**** ถ้าproteinuria >0.5กรัม หรือproteinuriaเป็นบวก ให้จำกัดปริมาณโปรตีน 06-0.8g/Kg/day ถ้า TG>500 mg/dL, ลดพลังงานจากไขมัน <15% ของพลังงาน ทั้งหมด ประเมินพลังงานจากอาหารทั้งวัน ถ้าพลังงานเกิน ให้ลดพลังงานลง 250-1,000กิโลแคลอรี่จากพลังงาน ที่รับประทานตามปกติ โดยลดคาร์โบไฮเดรต และ/หรือ ไขมัน (โดยเฉพาะไขมันอิ่มตัว) ประเมินพลังงานทั้งวัน ถ้าพลังงานน้อยเกินไป ให้เพิ่มพลังงานให้เพียงพอ ตามความเหมาะสมของ แต่ละบุคคล อาจเพิ่ม อาหารหลักอาหารว่าง และอาหารเสริม ติดตามน้ำหนัก,ระดับน้ำตาล, HbA1 c, การปรับสัดส่วนและกระจายมื้ออาหาร, รวมทั้งกิจกรรมการเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย พิจารณาการใช้ยาตามความเหมาะสม เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลให้ได้ตามเป้าหมาย * ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ระดับน้ำตาลในเลือด, micro albumin, HbA1 c ถ้าทำได้ ** ภาคผนวก 38 *** ภาคผนวก 52 **** ภาคผนวก 53-54
  • 19. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 19 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคความดันโลหิตสูง สำหรับผู้สูงอายุ วัตถุประสงค์ 1. มีแนวทางการให้โภชนบำบัดในโรคความดันโลหิตสูงสำหรับผู้สูงอายุ 2. ผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน 3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แนวทางการดูแลโภชนบำบัดโรคความดันโลหิตสูงสำหรับผู้สูงอายุ แก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย 1. แพทย์ 2. พยาบาล 3. นักโภชนาการ/ โภชนากร / นักกำหนดอาหาร 4. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข คำนิยาม ความดันโลหิตสูง หมายถึง ระดับความดันโลหิตตั้งแต่ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ขึ้นไป ผู้ป่วยที่ เป็นโรคนี้ หากไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้จะทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ที่สำคัญ ได้แก่ โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง ทำให้เกิด อัมพฤกษ์ อัมพาต สถานการณ์และสภาพปัญหา จากรายงานสุขภาพโรคประมาณการปี 2543 ความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุการตาย 7.1 ล้านคน หรือประมาณร้อยละ 13 ของการตายทั้งหมด อีกทั้งยังทำให้เกิดการสูญเสียสุขภาวะ และก่อให้เกิดภาระโรค จากรายงานการสำรวจความชุกของโรคความดันโลหิตสูงของประชาชนไทย ในการศึกษาการสำรวจระดับชาติ โรคความดันโลหิตสูง ในปี 2537-2538 พบความดันโลหิตสูงอย่างเดียวในผู้สูงอายุ ร้อยละ 24.3 และพบ ความดันโลหิตสูงร่วมกับมีประวัติ ร้อยละ32.4 จากสถิติสาธารณสุขพบความดันโลหิตสูง/หลอดเลือดในสมอง เป็นสาเหตุการตายสูงเป็นอันดับ 3 ของคนไทย รองจากโรคมะเร็ง อุบัติเหตุ และการเป็นพิษ และมีแนวโน้ม แนวทางเวชปฏิบัตินี้เป็นเครื่องมือส่งเสริมคุณภาพของการบริการด้านสาธารณสุขที่เหมาะสมกับ ทรัพยากรและเงื่อนไขของสังคมไทยโดยหวังผลในการสร้างเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของคนไทยอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า ข้อแนะนำต่างๆ ในแนวทางเวชปฏิบัตินี้มิใช่ข้อบังคับ ของการปฏิบัติ ผู้ใช้สามารถปฏิบัติแตกต่างไปจากข้อแนะนำนี้ได้ในกรณีที่สถานการณ์แตกต่าง ออกไปหรือมีเหตุที่สมควร โดยใช้วิจารณญาณและอยู่บนพื้นฐานหลักวิชาการและจรรยาบรรณ
  • 20. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 20 เพิ่มขึ้น โดยมีอัตราตาย 18.9 ต่อแสนประชากร ในปี 2543 เพิ่มเป็น 34.8 ต่อแสนประชากรในปี 2547 โดยผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน4ล้านคน มีเพียงร้อยละ26.6 ที่ทราบว่าป่วย ในขณะที่ผู้ป่วยได้รับการ รักษาที่เหมาะสมลดลงจาก ร้อยละ 61.5 ในปี 2534 เป็นร้อยละ 50.8 ในปี2539 จากรายงานแนวโน้มอัตรา ความชุกโรคความดันโลหิตสูงของผู้สูงอายุไทยพบร้อยละ 25 ในปี 2537 และร้อยละ 20 ในปี 2545 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ; 2537,2545) จากการศึกษาในเขตเมืองและเขตชนบท พบว่าผู้ที่อยู่ในเขตเมือง จะเป็นโรคนี้สูงกว่าและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยปี2528ในเขตเมืองเพิ่มความชุกจากร้อยละ 28เป็นร้อยละ 36.5 ในปี 2541 (สุทธิชัย;2543) และจากผลกระทบของสุขภาพที่เกิดจากความดันโลหิตก่อให้เกิดปัญหาเรื่อง ของโรคเรื้อรังอาทิ โรคหัวใจ โรคไต การให้การดูแล บำบัด รักษา ที่เหมาะสมถูกต้อง โดยผู้ป่วยมีส่วนร่วม ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมโรคของตนเอง จะช่วยลดภาระโรคลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ลดอัตรา ตาย และเพิ่มคุณภาพชีวิตของคนไทย อุบัติการณ์ในผู้สูงอายุ ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง 1. โรคหลอดเลือดสมอง (Cerebrovascular disease) ischemic stroke hemorrhagic stroke transient ischemic attack 2. โรคหลอดเลือดหัวใจ (Cardiovascular disease) Left ventricular hypertrophy (EKG or echocardiography) myocardial infarction angina coronary revascularlization congestive heart failure 3. โรคไต (Renal disease) albuminuria nephrosclerosis end stage renal disease 4. โรคหลอดเลือดส่วนปลาย (Peripheral vascular disease) aortic aneurysm dissecting aneurysm intermittent claudication 5. จอประสาทตาผิดปกติจากความดันโลหิตสูง (Hypertensive retinopathy grade I-IV)
  • 21. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 21 ปัจจัยที่ช่วยในการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ให้พิจารณาถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ 1. ดัชนีมวลกาย / เส้นรอบเอว (ภาคผนวก 30) 2. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร 3. การออกกำลังกาย / กิจกรรมทางกาย (physical activity) 4. การใช้ยา 5. ความเครียดและการจัดการกับความเครียด เป้าหมายการควบคุมความดันโลหิต ควบคุมความดันโลหิตให้น้อยกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท เป้าหมายการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 1. ให้ผู้ป่วยสามารถเลือกกินอาหารได้อย่างถูกต้องกับพยาธิสภาพของตัวผู้ป่วยเอง มีการกระจาย อาหาร/สารอาหารให้ได้พลังงานเพียงพอ 2. ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3. รักษาระดับความดันโลหิตให้ใกล้เคียงกับระดับปกติมากที่สุด 4. รักษาน้ำหนักตัว / เส้นรอบเอว ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 5. ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 6. ความเครียดและวิธีการจัดการกับความเครียดที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อป้องกัน ลดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี หลักการในการกำหนดอาหารในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 1. ได้รับพลังงานและกระจายสารอาหารที่เหมาะสมเพื่อรักษาระดับความดันโลหิต ลดความเสี่ยง การเกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ 2. จำกัดปริมาณโซเดียม จะช่วยลดความดันโลหิตสูง และลดการใช้ยา การลดปริมาณโซเดียม ในอาหาร ควรลดโซเดียมให้เหลือไม่เกิน 100 มิลลิโมล/วัน คือ 2.4 กรัมของโซเดียม หรือ 6 กรัม ของ โซเดียมคลอไรด์(เกลือแกง1ช้อนชา) จะสามารถลด Systolicblood pressure(SBP)ลงได้2-8 มิลลิเมตรปรอท 3. การเพิ่มปริมาณกากใยอาหาร ให้มีปริมาณและมีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น โดยแนะนำให้ บริโภคอาหารที่อุดมไปด้วยพืช/ผัก/ผลไม้ ลดปริมาณไขมันจากสัตว์ลดปริมาณไขมันอิ่มตัวจะทำให้สามารถลด SBP 8-14 มิลลิเมตรปรอท 4. การกำหนดสัดส่วนของอาหาร พลังงานที่ควรได้รับต่อวัน (Energy requirement) รวมทั้งการ พิจารณาอุปนิสัยการบริโภค (Food habit) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนด และปรับ แก้ไขการบริโภคที่ ไม่ถูกต้องเพื่อให้เกิดการสมดุล โดยปริมาณหรือจำนวนของสารอาหารแต่ละชนิดที่ผู้ป่วยควรได้รับต่อวัน และต่อมื้อ โดยคำนวณจากรายการอาหารแลกเปลี่ยน (ภาคผนวก 51)
  • 22. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 22 การดูแลรักษาโรคความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยสูงอายุ 1. การดูแลรักษาโดยไม่ใช้ยา (Non pharmacological therapy) โดยการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต/ พฤติกรรม รวมทั้งการให้สุขศึกษาระหว่างผู้ป่วยและทีมสหสาขาวิชา ซึ่งประกอบด้วย - การให้การดูแลโภชนาการ - การออกกำลังกาย - การเลิกบุหรี่ - การควบคุมน้ำหนักตัว 2. การใช้ยา (Pharmacological therapy) แนวทางการลดน้ำหนักเพื่อป้องกันและควบคุมความดันโลหิตสูง คนที่น้ำหนักเกินควรลดน้ำหนัก โดยการควบคุมดัชนีมวลกายให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม คือ 18.5- 24.9 กิโลกรัม/ตารางเมตร หรืออย่างน้อย ควรลดให้ได้ ร้อยละ 5-10 ของน้ำหนักตัวที่เป็นอยู่ ในการนี้จะ สามารถลด Systolic blood pressure (SBP) และ Diastolic blood pressure (DBP) ลงได้ 5-10 มิลลิเมตรปรอท ต่อ 10 กิโลกรัม โดยประมาณ ความดันโลหิตสูงมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับน้ำหนักเกิน/อ้วน การควบคุม ความดันโลหิตสูง พบว่า ร้อยละ 50 ของผู้มีน้ำหนักเกินจะมีภาวะความดันโลหิตสูงถึงร้อยละ 20-30 การลดน้ำหนัก เป็นการบำบัดรักษาความดันโลหิตสูงโดยไม่ใช้ยา จะเพิ่มประสิทธิภาพของการ ควบคุมความดันโลหิต และลดความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ แนวทางกิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกายเพื่อป้องกันและควบคุมความดันโลหิตสูง กิจกรรมทางกาย (Physical activity)/การออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอเป็นประจำ เช่น การเดิน การวิ่ง การว่ายน้ำ อย่างน้อยวันละ 30-45 นาที เกือบทุกวัน จะสามารถช่วยลด SBP 4-9 มิลลิเมตรปรอท โดยประมาณ ประโยชน์ของกิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกาย มีประโยชน์ทั้งในการป้องกันและบำบัดความดันโลหิตสูง - เพิ่มสมรรถภาพและสถานะสุขภาพ - ลดความเสี่ยงและการตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ - การเดิน 30-45 นาที เกือบทุกวัน จนอัตราการเต้นของหัวใจ อยู่ที่ 75% ของ 220 - อายุ มีประสิทธิภาพ ได้ผลเพียงพอ และประหยัดค่าใช้จ่าย ส่วนการออกกำลังกายอย่างอื่น เช่น วิ่ง ว่ายน้ำ จะเพิ่มสันทนาการในการออกกำลังกาย
  • 23. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 23 แนวทางการลดพฤติกรรมเสี่ยงในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 1. ลด ละ เลิก การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพราะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับระดับ ความดันโลหิตทั้งต่อ SBP และ DBP ผู้ที่บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากกว่าปริมาณมาตรฐานที่ยอมรับได้ จะเพิ่มความเสี่ยงของการเป็นความดันโลหิตสูงมากกว่าผู้ที่ไม่ได้ดื่มแอลกอฮอล์ นอกจากนี้พิษสุราเรื้อรัง ก็เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูงร่วมด้วย พบว่าแอลกอฮอล์จะลดประสิทธิภาพของยาลดความดัน และให้ปริมาณแคลอรี่สูงเกินความจำเป็น การจำกัดการบริโภคแอลกอฮอล์ไม่เกิน 1 ดริ้งต่อวัน จะสามารถ ลด SBP 2-4 มิลลิเมตรปรอท 2. เลิกสูบบุหรี่เพราะนิโคตินจะเพิ่มระดับความดันโลหิตและเป็นปัจจัยเสี่ยงของหลอดเลือดแข็งตัว ควรแนะนำให้เลิกบุหรี่ 3. ลดความเครียด แม้ว่ายังไม่มีผลการศึกษาระยะยาวเรื่องการคลายเครียดกับการลดความดันโลหิตสูง พบว่าการบำบัดด้วยการคลายเครียด (Relaxation therapy) สามารถจะเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย และลดความ เสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ
  • 24. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 24 Hypertension Medical Nutrition Therapy and Prevention of Complication Algorithm for Elderly ความดันโลหิตสูง BP ≥ 140/90 mmHg การประเมิน - น้ำหนักตัว - ดัชนีมวลกาย - ประวัติการรักษา - ประวัติการรับประทานอาหาร - กิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย - เส้นรอบเอว - ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ* - วิถีการดำเนินชีวิต -ความพร้อมในการปรับเปลี่ยนรายพฤติกรรม**(Readinesstochange) แนวทางการดูแลรักษา - การวางแผนอาหาร : รับประทานอาหารในแต่ละวันให้เหมาะสมรวมถึงอาหารที่มีลักษณะเหมาะสมกับผู้สูงอายุ เช่น อาหาร ที่มีเส้นใยอาหาร อาหารย่อยง่าย*** จำกัดโซเดียม < 2.4 กรัมต่อวัน**** ถ้า proteinuria มากกว่า 0.5 กรัม หรือ proteinuria เป็นบวก ให้จำกัดปริมาณโปรตีน 0.6-0.8 g/Kg/day จัดรายการอาหารให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล - ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ผอม BMI<18.5 น้ำหนักเกิน/อ้วน BMI ≥ 25 ไตรกรีเซอร์ไรค์ ≥ 150mg/dL LDL-C > 100 mg/dL FPG ≥ 126 mg/dl./ 2 ครั้ง 2 hr. PPG ≥ 200 mg/dl ประเมินพลังงานทั้งวัน ถ้าพลังงานน้อยเกินไป ให้เพิ่มพลังงานให้ เพียงพอตามความ เหมาะสมของแต่ละ บุคคล อาจเพิ่ม อาหารหลัก อาหารว่าง และอาหารเสริม กำหนดเป้าหมาย ของการลดน้ำหนัก อย่างน้อย 5-10% ของน้ำหนักตัว - ลดปริมาณคาร์โบไฮเดรต โดยเฉพาะน้ำตาลให้น้อยกว่า10% ของปริมาณพลังงานที่ควรได้รับ ต่อวัน - เพิ่มกรดไขมันไม่อิ่มตัวตำแหน่ง เดียว - เพิ่มโอเมก้า-3 ดูแผนแนวทางเวชปฏิบัติ โภชนบำบัด โรคเบาหวาน หน้า 17 - ลดไขมันอิ่มตัว < 7% - โคเลสเตอรอล < 200 mg/day - เพิ่มไขมันไม่อิ่ม ตำแหน่งเดียว - เพิ่มใยอาหารที่ละลาย ในน้ำ 10-25 g/day ภาษาไทย ประเมินพลังงานจากอาหาร ทั้งวัน ถ้าพลังงานเกิน ให้ลด พลังงานลง250-1,000กิโลแคลอรี่ จากพลังงานที่รับประทาน ตามปกติ โดยลดคาร์โบไฮเดรต และ/หรือไขมัน (โดยเฉพาะไขมันอิ่มตัว) ถ้า TG>500 mg/dL, ลดพลังงานไขมัน <15% ของพลังงานทั้งหมด ติดตามน้ำหนัก,ระดับความดันโลหิต,การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค,รวมทั้งกิจกรรมการเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย พิจารณาการใช้ยาตามความเหมาะสม เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตให้ได้ตามเป้าหมาย * ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ proteinuria / microalbuminuria ถ้าทำได้ ** ภาคผนวก 38 *** ภาคผนวก 46 **** ภาคผนวก 53-54
  • 25. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 25 แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ วัตถุประสงค์ 1. มีแนวทางการให้โภชนบำบัดในภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ 2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสามารถควบคุมระดับไขมันในเลือดได้เพื่อลดภาวะ แทรกซ้อน 3. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แนวทางการดูแลภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ สำหรับผู้สูงอายุ แก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย 1. แพทย์ 2. พยาบาล 3. นักโภชนาการ / โภชนากร / นักกำหนดอาหาร 4. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข คำนิยาม ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ (Dyslipidemia) คือ ระดับไขมันในเลือดที่มีโคเลสเตอรอล มากกว่า 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับไตรกรีเซอไรด์ มากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับ HDL-cholesterol (HDL-C) หรือไขมันดี น้อยกว่า 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับ LDL-cholesterol (LDL-C) หรือไขมันเลว มากกว่า 130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ส่งผลกระทบให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดส่วนปลาย หลอดเลือดสมองตีบ แตก ตัน และปัญหาสุขภาพอื่นๆ สถานการณ์และสภาพปัญหา ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคหลายชนิด เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง แตก ตีบ ตัน สถิติจากกระทรวงสาธารณสุข ปี 2546 พบว่า โรคหัวใจ เบาหวาน อัมพาต เป็นสาเหตุการตายอันดับต้นของผู้สูงอายุไทย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แนวทางเวชปฏิบัตินี้เป็นเครื่องมือส่งเสริมคุณภาพของการบริการด้านสาธารณสุขที่เหมาะสมกับ ทรัพยากรและเงื่อนไขของสังคมไทยโดยหวังผลในการสร้างเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพ ของคนไทยอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า ข้อแนะนำต่างๆ ในแนวทางเวชปฏิบัตินี้มิใช่ข้อบังคับ ของการปฏิบัติ ผู้ใช้สามารถปฏิบัติแตกต่างไปจากข้อแนะนำนี้ได้ในกรณีที่สถานการณ์แตกต่าง ออกไปหรือมีเหตุที่สมควร โดยใช้วิจารณญาณและอยู่บนพื้นฐานหลักวิชาการและจรรยาบรรณ
  • 26. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 26 ปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนในผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 1. อายุ ในผู้ชาย อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 45 ปี ในผู้หญิง อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 55 ปี 2. พันธุกรรม การมีประวัติครอบครัวเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดตั้งแต่ก่อนอายุ 55 ปี ในบิดา หรือญาติเพศชายสายตรง หรือมารดาและญาติผู้หญิงสายตรงก่อนอายุ 65 ปี 3. สูบบุหรี่เป็นประจำ 4. ความดันโลหิตสูง (≥ 140/90 มิลลิเมตรปรอท) 5. ภาวะอ้วนและใช้ชีวิตนั่งๆ นอนๆ แม้จะไม่เป็นปัจจัยเสี่ยงหลักแต่ต้องพิจารณาให้คำแนะนำ เพื่อควบคุมโรค เนื่องจากภาวะอ้วนส่งผลกระทบต่อภาวะความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดผิดปกติ ทำให้ ระดับ HDL-C น้อย และเกิดปัญหาโรคเบาหวานขึ้น ระดับ HDL-C ≥ 60 มิลลิกรัม/เดซิลิตร เป็นปัจจัยลด โรคหลอดเลือดหัวใจได้ ปัจจัยที่ช่วยในการดูแลผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ให้พิจารณาถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ 1. ดัชนีมวลกาย/เส้นรอบเอว (ภาคผนวก 30) 2. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร 3. การออกกำลังกาย/กิจกรรมทางกาย (physical activity) 4. การใช้ยา 5. ความเครียดและการจัดการกับความเครียด เป้าหมายการลดภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ ระดับไขมันในเลือด ที่มีโคเลสเตอรอล น้อยกว่า 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับไตรกรีเซอไรด์ น้อยกว่า 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับ HDL-cholesterol (HDL-C) หรือไขมันดี มากกว่า 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ระดับ LDL-cholesterol (LDL-C) หรือไขมันเลว น้อยกว่า 130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ผู้ที่มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติแม้ว่าจะไม่มีอาการควรแนะนำให้ควบคุมอาหารและออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหารไขมันต่ำ ลดอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง และอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว เพิ่มการรับประทานอาหารที่มีกากใย โดยเฉพาะใยอาหารชนิดละลายน้ำได้ (Soluble Fiber) ในผู้ป่วยที่มี น้ำหนักเกินควรให้คำแนะนำเพื่อลดน้ำหนักโดยให้การควบคุมปริมาณที่รับประทานในแต่ละวัน ควรลด น้ำหนักโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ได้ดัชนีมวลกายที่เหมาะสม โดยเริ่มต้นลดร้อยละ 5-10 ของน้ำหนักตัวปัจจุบัน
  • 27. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 27 เป้าหมายการให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 1. ให้ผู้ป่วยสามารถเลือกกินอาหารได้อย่างถูกต้องกับพยาธิสภาพของตัวผู้ป่วยเอง มีการกระจาย อาหาร/สารอาหารให้ได้พลังงานเพียงพอ 2. ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3. รักษาระดับความดันโลหิตให้ใกล้เคียงกับระดับปกติมากที่สุด 4. รักษาน้ำหนักตัว / เส้นรอบเอว ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 5. ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 6. ความเครียดและวิธีการจัดการกับความเครียดที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อป้องกัน ลดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง หลักการในการกำหนดอาหารในผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 1. ได้รับพลังงานและกระจายสารอาหารที่เหมาะสมเพื่อรักษาระดับความดันโลหิต ลดความเสี่ยง การเกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ 2. ลดปริมาณบริโภค ไขมันอิ่มตัว และโคเลสเตอรอลในอาหาร (ปริมาณไขมันควรน้อยกว่าร้อยละ 20 ของปริมาณแคลอรี่ต่อวัน และไขมันอิ่มตัวควรน้อยกว่าร้อยละ 10 ของปริมาณแคลอรี่ต่อวัน) 3. การเพิ่มปริมาณกากใยอาหารให้มีปริมาณและมีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้นโดยแนะนำให้บริโภค อาหารที่อุดมไปด้วยพืช / ผัก / ผลไม้ ลดปริมาณไขมันจากสัตว์ ลดปริมาณไขมันอิ่มตัว 4. การกำหนดสัดส่วนของอาหาร พลังงานที่ควรได้รับต่อวัน (Energy requirement) รวมทั้งการ พิจารณาอุปนิสัยการบริโภค (Food habit) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนด และปรับแก้ไขการบริโภค ที่ไม่ถูกต้องเพื่อให้เกิดการสมดุล โดยปริมาณหรือจำนวนของสารอาหารแต่ละชนิดที่ผู้ป่วยควรได้รับต่อวัน และต่อมื้อ โดยคำนวณจากรายการอาหารแลกเปลี่ยน (ภาคผนวก 51) แนวทางการให้คำแนะนำกิจกรรมทางกาย / การออกกำลังกายในผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ 1. เพิ่มกิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกาย เช่น เดิน ทำงานบ้าน 2. ควรออกกำลังกายอย่างเหมาะสม อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ ครั้งละอย่างน้อย 20 นาที แนวทางการลดพฤติกรรมเสี่ยงในผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ( Lifestyle modification) ประกอบด้วยการควบคุมอาหาร การออกกำลัง แบบแอโรบิค การควบคุมน้ำหนัก การลด ละ เลิก สุรา เลิกบุหรี่
  • 28. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 28 Dyslipidemia Medical Nutrition Therapy and Prevention of Complication Algorithm for Elderly ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ TG ≥ 150 mg/dL LDL-C > 130* mg/dL TC ≥ 200 mg/dL HDL-C < 40 mg/dL การประเมิน - น้ำหนักตัว - ดัชนีมวลกาย - ประวัติการรักษา - ประวัติการรับประทานอาหาร - กิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย - เส้นรอบเอว - ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ* - วิถีการดำเนินชีวิต -ความพร้อมในการปรับเปลี่ยนรายพฤติกรรม**(Readinesstochange) แนวทางการดูแลรักษา - ตรวจระดับไขมันในเลือด - กิจกรรมเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย - การวางแผนอาหาร : จัดรายการอาหารให้เหมาะสมในแต่ละบุคคลหลีกเลี่ยงอาหารที่มีพลังงานสูง เพิ่มใยอาหารที่ละลายในน้ำ10-25g/day อาหารผู้สูงอายุควรเป็นอาหารย่อยง่าย*** ถ้าไตรกรีเซอร์ไรด์>150mg/dL ลดปริมาณคาร์โบไฮเดรต โดยเฉพาะน้ำตาลให้น้อยกว่า10%ของปริมาณพลังงาน ที่ควรได้รับต่อวัน เพิ่มกรดไขมันไม่อิ่มตำแหน่งเดียว เพิ่มโอเมก้า-3 ถ้า TG ≥ 500 mg/dL ลดพลังงานไขมัน < 15%ของพลังงานทั้งหมด ถ้า LDL- C > 130 mg/dL ลดไขมันอิ่มตัว < 7% โคเลสเตอรอล < 200 mg/day เพิ่มไขมันไม่อิ่มตำแหน่งเดียว - ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ผอม BMI < 18.5 น้ำหนักเกิน/อ้วน BMI ≥ 25 FPG ≥ 126 mg/dl. 2 hr. PPG ≥ 200 mg/dl ความดันโลหิต ≥140/90mmHg ประเมินพลังงานทั้งวัน ถ้าพลังงานน้อยเกินไป ให้เพิ่มพลังงานให้เพียงพอ ตามความเหมาะสมของ แต่ละบุคคล อาจเพิ่ม อาหารหลัก อาหารว่าง และอาหารเสริม กำหนดเป้าหมายของการลดน้ำหนัก อย่างน้อย 5-7 % ของน้ำหนักตัว ดูแผนแนวทางเวชปฏิบัติโภชนบำบัด โรคเบาหวาน หน้า 17 โรคความดันโลหิตสูง หน้า 24 ประเมินพลังงานจากอาหารทั้งวัน ถ้าพลังงานเกิน ให้ลดพลังงานลง 250-1,000 กิโลแคลอรี่ จากพลังงานที่รับประทานตามปกติ โดยลดคาร์โบไฮเดรต และ/หรือไขมัน (โดยเฉพาะไขมันอิ่มตัว) ติดตามน้ำหนัก, ระดับไขมัน, การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค, รวมทั้งกิจกรรมการเคลื่อนไหว/ออกกำลังกาย, พิจารณาการใช้ยาตามความเหมาะสม เพื่อควบคุมระดับไขมันให้ได้ตามเป้าหมาย * ระดับ LDL-C ควรน้อยกว่า 100 มิลลิกรัม ต่อ เดซิลิตรในผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน / โรคหัวใจและหลอดเลือด /โรคความดันโลหิตสูง ** ภาคผนวก 38 *** ภาคผนวก 46
  • 30. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 30 (กิโลกรัม) ส่วนสูง (เมตร)2 การประเมินภาวะโภชนาการ การประเมินภาวะโภชนาการสามารถประเมินได้จากการรวบรวมและเก็บข้อมูลทางคลินิกจาก แฟ้มประวัติของผู้ป่วย เช่น ประวัติสุขภาพและการเจ็บป่วย (Medical history) และจากการสัมภาษณ์ผู้ป่วย ซึ่งวิธีการในการประเมินภาวะโภชนาการประกอบด้วย 1. การวัดสัดส่วนของร่างกาย (Anthropometric measurement) น้ำ หนักตัว ส่วนสูง ค่าดัชนีมวลกาย (Body mass index : BMI) น้ำหนักที่ควรเป็น การเปลี่ยนแปลง ของน้ำหนักตัวและน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น เส้นรอบข้อมือ เส้นรอบเอว เส้นรอบสะโพก ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index or BMI) ในทางวิชาการจะใช้เป็นวิธีหนึ่งในการประเมินปริมาณของไขมันในร่างกายเพื่อพิจารณาความอ้วน หรือความผอมในคนที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป มีสูตรง่ายๆ ดังนี้ น้ำหนักตัว BMI ปกติ = 18.5 - 24.9 ก.ก./ม2 BMI ≥ 25 overweight BMI ≥ 30 obesity เส้นรอบเอว การวัดเส้นรอบเอวจะบอกตำแหน่งการสะสมของไขมันในร่างกาย บริเวณที่ร่างกายสะสมไขมัน มีอิทธิพลต่อสุขภาพ ถ้าร่างกายสะสมไขมันบริเวณพุงมาก ซึ่งเป็นลักษณะอ้วนแบบลูกแอปเปิ้ลจะเพิ่ม ปัจจัยเสี่ยงของโรคเบาหวาน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง และโรคมะเร็ง แต่ถ้าอ้วนลักษณะแบบลูกแพร์ หรือชมพู่ซึ่งไขมันจะสะสมส่วนของสะโพกมากกว่า จะมีความเสี่ยงของโรคดังกล่าวน้อยกว่าคนที่อ้วนแบบ ลูกแอบเปิ้ล สำหรับคนเอเชีย เส้นรอบเอวจะเป็นตัวบ่งชี้ความเสี่ยงโรคเบาหวานประเภท 2 โรคหลอดเลือด หัวใจ และความดันโลหิตสูง ได้ดีกว่า BMI ในชาวเอเชียผู้ชายเส้นรอบเอวไม่ควรเกิน 90 เซนติเมตร และ ผู้หญิงไม่ควรเกิน 80 เซนติเมตร หรือมีค่า BMI > 35 ไม่ควรใช้เส้นรอบเอวประมาณ เพราะจะไม่ได้ประโยชน์ ในการประเมินความอ้วน (Centers for disease control and prevention, 2000) 2. การตรวจทางชีวเคมี (Biochemical determination) เช่น Albumin, Hematocrit, hemoglobin Fasting plasma glucose (FPG), Glycated hemoglobin (HbA1 c) ถ้าทำได้ Total cholesterol (TC), Low density lipoprotein-cholesterol (LDL-C), High density lipoprotein- cholesterol (HDL-C) และ triglycerides (TGs) BUN, Creatinine, Micro albumin ถ้าทำได้
  • 31. แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ 31 3. อาการทางคลินิก (Clinical observation) - อาการเหน็บชามีอาการหงุดหงิดง่ายโมโหง่ายระบบประสาทผิดปกติเกิดจากการขาดวิตามิน บี 1 - อาการตาแดง ตาแฉะ ริมฝีปาก ช่องปาก จนถึงหลอดลมอักเสบ เกิดจากการขาดวิตามิน บี 2 - อาการเป็นตะคริว ผิวหนังอักเสบ ปลายเส้นประสาทอักเสบ เกิดจากการขาดวิตามิน บี 6 - โรคผิวหนังท้องร่วง เบื่ออาหาร เกิดจากการขาดไนอาซิน 4. การประเมินอาหารที่บริโภค (Dietary assessment) - จากการซักประวัติความอยากอาหาร - รูปแบบและอุปนิสัยการบริโภคตามปกติ และปริมาณสารอาหารที่ปริโภคในแต่ละวัน