SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 16
Baixar para ler offline
1 
Drug monograph 
Aerius® (Desloratadine) 
………………………………………………………………………………………………………. 
ชื่อสามัญทางยา1 : Desloratadine 
ชื่อพ้อง 2 : DCL, decarboethoxyloratadine, descarboethoxy loratadine 
ชื่อการค้า1 : Aerius®, Clarinex® 
ชื่อทางเคมีและสูตรโครงสร้าง2: 
8-chloro-6,11-dihydro-11-(4-piperdinylidene)- 5H-benzo[5,6]cyclohepta[1,2-b]pyridine 
สูตรเคมี 2: C19H19ClN2 
มวลโมเลกุล2 : 310.82 
การจัดกลุ่มยา : 
อ้างอิงตามบัญชียาหลักแห่งชาติ : NED 
ประเภทของยาทางการบำบัดรักษา 1 : Antihistamine; Antihistamine (Nonsedating) 
US FDA Approval date2 : March 2005 
ข้อมูลทางเภสัชวิทยา1 : 
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและกลวิธานการออกฤทธิ์ 
Desloratadine เป็น major metabolite ของ loratadine ซึ่งเป็น tricyclic antihistamine ชนิด 
long-acting ที่จำเพาะต่อ peripheral H1 receptor และมีฤทธิ์เป็น anti-inflammatory 
ข้อบ่งใช้ในการรักษา 
บรรเทาอาการทาง seasonal allergic rhinitis (SAR) และ peripheral allergic rhinitis (PAR) 
รวมทั้งรักษา chronic idiopathic urticaria (CIU) 
การเอื้อประโยชน์ทางชีวภาพ/เภสัชจลนพลศาสตร์ 
Adsorption 
Bioavailability : rapidly absorbed 
Time to peak : 3 ชั่วโมง
2 
Distribution 
Protein binding : desloratadine 82-87%; 3-hydroxyldesloratadine 85-89% 
Duration : 27 ชั่วโมง 
Metabolism and excretion 
Metabolism : ที่ตับ 
Metabolites : ได้ active metabolite (3-hydroxyldesloratadine) โดยผ่านกลไก 
Glucuronidation 
Excretion : ทางปัสสาวะและอุจจาระ (as metabolites) 
Half-life : 27 ชั่วโมง 
รูปแบบยา 1: Tablet (Clarinex®, Aerius®) : 5 mg 
Tablet, orally-disintegrating (Clarinex® RediTabs®): 5 mg [contains phenylalanine 
1.75 mg/tablet; tutti-frutti flavor] 
ช่องทางการบริหารยา1 : Oral 
ขนาดการใช้ยา11 : 
- อายุ ≥ 12 ปี ขนาดยา 5 mg once daily 
- 12 เดือน – 5 ปี ขนาดยา 1.25 mg once daily 
- 6 ปี – 11 ปี ขนาดยา 2.5 mg once daily 
Renal or Hepatic impairment 
- 5 mg once daily 
การใช้ยาในผู้ป่วยกลุ่มพิเศษ3 
ความเสี่ยงในหญิงมีครรภ์ :C 
หญิงมีครรภ์ –ยังไม่มีการศึกษาในหญิงมีครรภ์ แต่มีการศึกษาในสัตว์ทดลองพบว่าทำให้การ 
ตั้งครรภ์ต่ำลงและลูกน้ำหนักลดลง 
หญิงให้นมบุตร –ยาขับออกทางน้ำนมได้น้อย แต่ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา 
ผู้ป่วยเด็ก - มีการทดลองในเด็กอายุ12 ปี พบว่าขนาดยาที่ใช้ในการรักษาไม่มีผลข้างเคียงหรือพบ 
ปัญหาจากการใช้ยา 
ผู้ป่วยสูงอายุ –มีการทดสอบในผู้ป่วยอายุมากกว่า65ปี ไม่พบผลข้างเคียงหรือปัญหาจากการใช้ยา 
แต่ในผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการทำงานของตับและไตบกพร่องต้องปรับลดขนาดยาลง
3 
อาการไม่พึงประสงค์หรือความเป็นพิษจากการใช้ยา3 
พบ >10% -ปวดศรีษะ(14%) 
พบ 1-10% 
ผลต่อระบบประสาท - เหนื่อยเพลีย(2-5%) ง่วงนอน(2%) เวียนศรีษะ(4%) 
ผลต่อต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม - ปวดระดู(2%) 
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร - ปากแห้ง(3%) คลื่นไส้(5%) ท้องอืด(3%) 
ผลต่อระบบหายใจ - คอหอยอักเสบ(3-4%) 
ผลต่อระบบกล้ามเนื้อ - กล้ามเนื้ออ่อนแรง(2-3%) 
พิษของยาและการรักษา4 
หากได้รับยาเกินขนาดและเกิดอาการพิษขึ้น ให้รักษาตามหลักการรักษาโดยทั่วไป ทั้ง 
desloratadine และ3-hydroxy desloratadine ไม่ถูกกำจัดออกโดยการทำ hemodialysis แต่การทำ 
peritoneal dialysis จะกำจัดยาออกได้หรือไม่นั้นยังไม่มีข้อมูล 
ข้อควรระวัง4 
- ยานี้ถูกขับออกทางน้ำนมได้ จึงควรงดให้นมบุตรขณะใช้ยานี้ 
- ระวังการใช้ยาในผู้ที่เป็น slow metabolizer ซึ่งอาจเสี่ยงต่อการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ได้ 
มากกว่าคนทั่วไป 
- ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยสูงอายุ เนื่องจากยังมีข้อมูลน้อย และคนสูงอายุประสิทธิภาพการ 
ทำงานของตับและไตลดลง ประกอบกับการมีโรคอื่นและการใช้ยาชนิดอื่นๆร่วมด้วยหลาย 
อย่าง 
- ไม่ควรใช้ยาเกินวันละ 1 ครั้ง เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาที่แสดงถึงการเพิ่มประสิทธิภาพ 
อีกทั้งอาจเสี่ยงต่ออาการไม่พึงประสงค์มากขึ้นได้ 
- ระวังการใช้ยาในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลเพียงพอ 
ข้อห้ามใช้4 
- ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ต่อยานี้ หรือแพ้ส่วนประกอบอื่นในเม็ดยา 
- ไม่ใช้ยานี้ในหญิงมีครรภ์ เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลเพียงพอถึงความปลอดภัยต่อทารกใน 
ครรภ์ เว้นแต่ในรายที่มีความจำเป็นโดยมีข้อบ่งใช้ชัดเจน 
ปฏิกิริยาระหว่างยา4 
1. จากการศึกษาในหลอดทดลองโดยใช้โครโมโซมจากตับคนพบว่า desloratadine และ3- 
hydroxy desloratadine ที่ความเข้มข้นยา 3,108 และ3,278 นาโนกรัม/มิลลิลิตร ตามลำดับ มี 
ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ต่อไปนี้ได้เพียงเล็กน้อย (ไม่เกิน25%) ได้แก่ CYP12A, CYP2C9, 
CYP2C19, CYP2D6และ CYP3A4 ดังนั้น desloratadine ไม่น่าจะมีผลรบกวนเภสัช 
จลนศาสตร์ของยาอื่นที่ใช้ร่วมกันซึ่งอาศัยเอนไซม์ทั้ง5ชนิดในการเปลี่ยนสภาพ
4 
2. จากการศึกษาในหลอดทดลองพบว่า desloratadine มีฤทธิ์ในการยับยั้งระบบp-glycoprotein 
(pGp) transport ที่ผนังลำไส้ได้ต่ำกว่า loratadine ถึง 4 เท่า ดังนั้น 
desloratadine จึงมีศักยภาพในการรบกวนการดูดซึมยาอื่นที่ต้องอาศัยระบบดังกล่าวได้ต่ำ 
กว่า 
3. ในอาสาสมัครที่รับประทาน desloratadine ขนาด 5 มิลลิกรัมครั้งเดียวพร้อมกับน้ำองุ่น(ซึ่ง 
มีฤทธิ์รบกวน(pGp)transport)ไม่ทำให้ bioavailability ของยาเปลี่ยนแปลง ต่างจากเมื่อ 
รับประทาน fexofenadineขนาด 60 มิลลิกรัมร่วมกับน้ำองุ่น จะทำให้ bioavailability ของ 
fexofenadine ลดลง 30% 
4. การให้อาสาสมัครสุขภาพดีรับประทานDesloratadine ขนาด 5 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็น 
เวลา 7 วัน ร่วมกับการใช้azithromycin (ซึ่งเป็นยาที่อาจมีผลต่อการดูดซึมสารผ่านทางเดิน 
อาหาร) ขนาด 250 มิลลิกรัม (ยกเว้นวันแรกที่ให้ loading dose ขนาด 500มิลลิกรัม) 
รับประทานวันละ1 ครั้ง ให้ในวันที่3-7 พบว่าค่า Cmax และ AUC เพิ่มขึ้นน้อยกว่า 15% ซึ่ง 
ไม่มีนัยสำคัญทางคลินิก ต่างจากที่พบเมื่อรับประทานfexofenadine ขนาด 60มิลลิกรัม 
รับประทานวันละ2 ครั้ง ร่วมกับazithromycin (ค่า Cmax เพิ่มขึ้น69%และค่า AUC เพิ่มขึ้น 
67%) 
5. ยา desloratadine ไม่เสริมฤทธิ์กับแอลกอฮอล์ที่รบกวนต่อ psychomotor performance 
ข้อแนะนำในการใช้ยา4 
รับประทานวันละ1 ครั้ง ก่อนหรือหลังอาหารก็ได้ 
วิธีการเก็บรักษา3, 4 
เก็บที่อุณหภูมิ 2-30 องศาเซลเซียส ในภาชนะที่ปิดสนิท 
ความเข้ากันกับยาหรือสารอื่น3, 4 
อาหารและน้ำไม่มีผลต่อการดูดซึมยา
5 
ตัวอย่างการศึกษาวิจัยทางคลินิก 
1. ตัวอย่างการศึกษาวิจัยทางคลินิก5 
เรื่อง 24-hour efficacy of once-daily desloratadine therapy 
in patients with seasonal allergic rhinitis 
ผู้ทำการศึกษา Luis M Salmun, Richard Lorber 
วารสารที่ตีพิมพ์ BMC Fam Pract.2002 Aug 5;3:14. 
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของยา desloratadine ตลอด 24 ชั่วโมง จากการให้ยาใน 
ขนาดแตกต่างกันเพื่อใช้รักษาผู้ป่วย seasonal allergic rhinitis 
วิธีทำการศึกษา เป็นการศึกษาแบบ randomized, multicenter, parallel-group, placebo-concrolled, 
double-blind studyใช้ระยะเวลาในการศึกษา2 สัปดาห์ ในผู้ป่วย 
seasonal allergic rhinitis (ผู้ป่วยอายุ12 ปีหรือมากกว่า ที่มีประวัติป่วยเป็น 
seasonal allergic rhinitis ประมาณ 2 ปี ) จำนวน 1,026 ซึ่งการทดลองนี้จะมีการ 
ตรวจสอบและติดตามโดยประเมินจากอาการและอาการแสดงของ allergic 
rhinitis ซึ่งประเมินจาก nasal symptoms (rhinorrhea, nasal stuffiness/congestion, 
nasal itching, และ sneezing) และ non nasal symptoms (itching/burning eyes, 
tearing-watering eyes, redness of eyes, and itching of ears หรือ palate) จาก 
อาการทั้งหมดจะแบ่งเป็นเกรด โดยแบ่งคะแนน 4 ระดับ เพื่อใช้ในการติดตาม คือ 
0=none, 1=mild, 2=moderate, 3=severe 
การศึกษานี้คัดเลือกกลุ่มทดลองโดยวิธีสุ่ม แบ่งเป็น 6 กลุ่ม โดยให้ยา 
Desloratadine ในขนาดที่แตกต่างกันคือ 2.5 mg, 5 mg, 7.5 mg, 10 mg, 20 mg 
และ placebo ในอัตราส่วน 1:1:1:1:1:1 นาน 2 สัปดาห์ ให้รับประทานยาตอนเช้า 
และให้เวลาเดิมทุกๆวัน โดยกำหนดการติดตามผล 5 ครั้ง คือ Screening visit, 
baseline visit ในการรักษาวันที่1 และ follow-upในวันที่ 4, 8 และ 15 
Results Efficacy 
พบว่าประสิทธิภาพของ Desloratadine ที่ใช้ในการบรรเทาอาการ seasonal 
allergic rhinitis ขนาด 5 mg, 7.5 mg, 10 mg และ 20 mg มีประสิทธิภาพ 
มากกว่า placebo แต่ยาขนาด 2.5 mg มีฤทธิ์มากกว่า placebo แบบไม่มีนัยสำคัญ 
ซึ่งประสิทธิภาพในการรักษาอาการ seasonal allergic rhinitis ของ Desloratadine 
จะคงที่ตลอด 24 ชั่วโมงหลังจากให้ยา dose แรก โดยพบว่า ประสิทธิภาพของยา 
Desloratadine ในขนาด5 mg, 7.5 mg, 10 mg และ 20 mg ไม่แตกต่างกันอย่างมี 
นัยสำคัญ
6 
Safety 
จากการศึกษาพบว่าอุบัติการณ์การเกิด Adverse even ของกลุ่มที่ได้รับยา 
desloratadine และกลุ่มที่ได้รับ placebo คือ 15% - 22% และ 14% ตามลำดับ ซึ่ง 
อาการที่เกิดขึ้นจะมีความคล้ายกันทั้ง 6 กลุ่ม(รวม placebo) ซึ่งการเกิด Adverse 
even ไม่ขึ้นกับ dose โดยอาการไม่พึงประสงค์ที่พบส่วนใหญ่จะมีความรุนแรงใน 
ระดับต่ำถึงปานกลาง ซึ่งอาการที่พบบ่อยคือ Headache, somnolence และ fatigue 
Conclusion Desloratadine (ออกฤทธิ์ 24 ชั่วโมง) ช่วยลดอาการและอาการแสดงของ seasonal 
allergic rhinitis โดยเมื่อเปรียบเทียบการออกฤทธิ์ของยา ขนาดยา 2.5 mg, 5 mg, 
7.5 mg, 10 mg และ 20 mg พบว่ายาทุก dose จะไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทั้ง 
ทางด้านประสิทธิภาพ, ด้านความปลอดภัย และมีมากกว่า placebo โดยพบว่า 
การให้ยา Desloratadine ขนาด 5 mg วันละ 1 ครั้ง จะให้ผลการรักษา seasonal 
allergic rhinitis ดีที่สุด 
2. ตัวอย่างการศึกษาวิจัยทางคลินิก6 
เรื่อง Morning versus evening dosing of desloratadine in seasonal allergic rhinitis : 
ผู้ทำการศึกษา Rolf Haye, Kjetil Hoye, Olof Berg, Sissel Frones, Tone Odegard. 
วารสารที่ตีพิมพ์ Clin Mol Allergy.2005 Feb 2;3(1):3. 
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของยา Desloratadine ในระยะเวลาที่แตกต่างกันใน 1 
วัน และเพื่อเมินประสิทธิภาพในการรักษา seasonal allergic rhinitis จากการให้ยา 
ในเวลาที่แตกต่างกัน โดยเปรียบเทียบระหว่างการให้ยาในช่วงเช้า กับช่วงเย็น 
วิธีทำการศึกษา การศึกษาแบบ randomized, open label, parallel-group, multicenter study ใช้ 
ระยะเวลา 2 สัปดาห์ ในผู้ป่วย seasonal allergic rhinitis จำนวน 663 คน (ผู้ป่วยมี 
อายุ 18 ปีหรือมากกว่าโดยมีประวัติเป็น seasonal allergic rhinitis อย่างน้อย 2 ปี ) 
ซึ่งจะคัดเลือกผู้ป่วยด้วยวิธี randomized โดยแบ่งผู้ป่วยออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่ 
ได้รับยาในตอนเช้าระหว่าง 07.00 – 09.00 (AM-group) และกลุ่มที่ได้รับยาในตอน 
เย็นระหว่าง 19.00 – 21.00 (PM-group) ในอัตราส่วน1:1 ซึ่งทั้ง 2 กลุ่มจะได้รับยา 
Desloratadine ขนาด 5 mg วันละ 1 ครั้ง 
การศึกษานี้จะติดตามผลการรักษาตามอาการแสดงของผู้ป่วย โดยแบ่งเป็น4 
ระดับ คือ 0 – 3 ระดับ ( 0=none, 1=mild, 2=moderate, 3=severe) ซึ่งดูตามอาการ 
ดังนี้ rhinorrhea, nasal congesion, sneezing, itching and eye symptom โดยทำการ
7 
เก็บข้อมูล 3 ครั้งคือ ครั้งแรก วันที่ 0, ครั้งที่ 2 ใน 1 อาทิตย์ถัดไป และครั้งสุดท้าย 
หลังจากศึกษาไป 2 อาทิตย์ 
Results Efficacy 
- พบว่าประสิทธิภาพในการรักษาอาการแสดงของ seasonal allergic rhinitis จาก 
การให้ยาDesloratadine ขนาด 5 mg วันละ 1 ครั้ง ของทั้ง 2 กลุ่มคือ AM-group 
และ PM-group มีประสิทธิภาพในการรักษาไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ 
Safety 
- การเกิด adverse even เปรียบเทียบระหว่าง 2 กลุ่ม พบว่า AM-group เกิด 20% 
และ PM-group เกิด 18% ซึ่งอาการปวดศีรษะพบบ่อยที่สุด คือ 7%ใน AM-group 
และ 4%ใน PM-group 
Conclusion Circadian rhythm พบมากที่สุดในอาการของ seasonal allergic rhinitis ซึ่งจะพบ 
ลดลงเมื่อให้ยา Desloratadine แก่ผู้ป่วย พบว่า การรักษา seasonal allergic rhinitis 
จากการให้ยาในช่วงเช้าและการให้ยาในช่วงเย็นพบว่าประสิทธิภาพในการรักษา 
ของทั้ง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งการให้ยาแก่ผู้ป่วยควรพิจารณา 
ตามความเหมาะสมของผู้ป่วยเฉพาะราย 
3. ตัวอย่างการศึกษาวิจัยทางคลินิก7 
เรื่อง 
Efficacy and safety of desloratadine 5 mg once daily 
in the treatment of chronic idiopathic urticaria: 
A double-bind, randomized, placebo-controlled trial 
ผู้ทำการศึกษา Eugene Monroe, MD, Albert Finn, MD, Piyush Patel, MD, et al 
วารสารที่ตีพิมพ์ Journal of the American Academy of Dermatology, Volume 48, Issue 4, April 
2003 Pages 535-541 
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของ desloratadine 5 mg ในการรักษา 
ผู้ป่วยที่เป็น chronic idiopathic urticaria (CIU) ขั้นปานกลางถึงรุนแรง 
วิธีทำการศึกษา เ ป็น ก า ร ศึก ษ า แ บ บ randomized,double-bind,placebo-controlled,parallel-group, 
multicenter trial ใช้ระยะเวลา 6 สัปดาห์ นอกจากนี้จะต้องมีอาการของ CIU 
อย่างน้อย 3 สัปดาห์ ร่วมกับการมีรอยโรคเกิขึ้นอย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ก่อนการ 
คัดเลือกเข้าสู่งานวิจัย โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มด้วยวิธีการสุ่ม คือ 
1. กลุ่มที่ได้รับ desloratadine 5 mg OD (116 คน)
8 
2. กลุ่มที่ได้รับ placebo OD (110 คน) 
ซึ่งผู้ป่วยจะไม่รู้ว่าตัวเองอยู่ในกลุ่มที่ได้รับยาหรือ placebo โดยจะให้ผู้ป่วยกิน 
ยาในตอนเช้าหลังจากที่ทำการบันทึกอาการของตัวเองลงใน diary แล้ว ผู้ทำการวิจัย 
จะตรวจสอบ compliance ได้จากการดู diary ของผู้ป่วย การนับเม็ดยาและการ 
สอบถามผู้ป่วยเอง 
การประเมินประสิทธิภาพ 
จะเป็นการให้คะแนนความรุนแรงของ CIU โดยผู้ป่วยจะทำการบันทึก 
อาการตามคะแนนที่กำหนดลงใน diary ทุกวัน วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น โดยระดับ 
ความรุนแรงจะแบ่งเป็น 
0 = none (ไม่มีอาการใดๆ) 
1 = mild ( อาการแสดงชัดเจน แต่รู้สึกได้น้อย และทนได้) 
2 = moderate ( รู้สึกได้อย่างชัดเจนถึงอาการของโรค และรบกวนการใช้ชีวิต แต่ 
พอทนได้) 
3 = severe ( ทนต่ออาการต่างๆของโรคไม่ค่อยได้ และอาการเหล่านี้รบกวนการใช้ 
ชีวิตประจำวันและการ นอนหลับ) 
การประเมินการตอบสนองของยาต่อการรักษา จะกระทำโดยผู้วิจัยและ 
ผู้ป่วย(ผู้ปกครอง) การประเมินใช้ระบบการให้คะแนนโดย 
1 = complete relief (ไม่มีอาการของโรคปรากฏให้เห็นเลย) 
2 = marked relief (อาการต่างๆดีขึ้น แต่รบกวนการใช้ชีวิตเล็กน้อย) 
3 = moderate relief (อาการต่างๆแสดงชัดเจนและรบกวนการใช้ชีวิตแต่อาการ 
น่าจะดีขึ้นได้) 
4 = slight relief (อาการดีขึ้นเพียงเล็กน้อย) 
5 = treatment failure (อาการต่างๆไม่เปลี่ยนแปลงหรือแย่ลงกว่าเดิม) 
การประเมินความปลอดภัย 
จะมีการรายงาน vital signs ทุกครั้งที่นัดมาพบ ส่วน ECG และค่าทาง 
ห้องปฏิบัติการต่างๆจะวัดตอนทำ screening และ เมื่อมาพบในครั้งที่ 7 อีกทั้ง 
รายงานอาการไม่พึ่งประสงค์ต่างๆที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยระบุความรุนแรงและ 
ความสัมพันธ์กับการวิจัย 
Results Desloratadine ทำให้อาการต่างๆ ของ CIU ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับ 
placebo อาการง่วงจากการใช้ยาลดลงการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น ผลทางสถิติ 
และผลทางคลินิกดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญภายใน 24 ชั่วโมงของการรักษาและดีขึ้น
9 
เรื่อยๆจนครบระยะเวลาที่ทำการวิจัย 
อาการข้างเคียงที่มีรายงานจะคล้ายๆกันทั้งในกลุ่มที่ได้รับยาและ placebo ซึ่ง 
ไม่มีอาการข้างเคียงที่รุนแรงใดๆ โดยพบอาการปวดหัว คลื่นไส้ และปากแห้ง 
สำหรับผลต่อหัวใจและหลอดเลือด ไม่มีอาการทางคลินิกใดๆ ผิดปรกติ ค่า 
PR,QRS,QT intervals ก็เป็นปรกติ 
ส่วนค่าทางห้องปฏิบัติการ และ vital signs ก็ไม่มีความผิดปรกติในช่วงเวลา 
ที่ทำการศึกษา 
Conclusion desloratadine 5 mg มีประสิทธิภาพในการรักษา CIU โดยสามารถควบคุมอาการได้ 
ตลอด 24 ชั่วโมง (ให้ยาวันละ 1 ครั้ง) และออกฤทธิ์เร็ว เห็นผลการรักษาหลังจาก 
การใช้ยาครั้งแรก ด้านความปลอดภัยพบว่า desloratadine ขนาดสูง (45 mg) หรือ 
การใช้ร่วมกับerythromycin , ketoconazole ก็ไม่มีอาการผิดปรกติของ QT intervals
10 
เปรียบเทียบยากลุ่ม New Antihistamine 
ชื่อการค้า Aerius ® Clarityne ® Zyrtec ® Xyzal ® Telfast ® 
ชื่อสามัญ Desloratadine Loratadine Cetirizine Levocetirizine Fexofenadine 
ประเภท NED ED (บัญชี ข) ED (บัญชี ข) NED NED 
ข้อบ่งใช้ 1. Relief of nasal and non 
nasal symptom of 
Perennial and Seasonal 
allergic rhinitis 
2. Chronic idiopathic 
Urticaria 
1. Relief of nasal and non 
nasal symptom of 
Perennial and Seasonal 
allergic rhinitis 
2. Chronic idiopathic 
Urticaria 
1. Perennial allergic 
rhinitis and seasonal 
allergic rhinitis 
2. Chronic idiopathic 
Urticaria 
1. allergic rhinitis 
(including persistent 
allergic rhinitis) 8 
2. chronic idiopathic 
Urticaria8 
1. Relief of symptom 
associated with 
seasonal rhinitis 
allergic 
2. Chronic idiopathic 
Urticaria 
กลไก 
การออกฤทธิ์ 
- จัดเป็น Metabolite ของยา 
Loratadine ออกฤทธิ์ 
จำเพาะต่อ peripheral H1 – 
receptor 9 
- Long acting tricyclic 
antihistamine with 
selective peripheral 
histamine H1 – receptor 
antagonistic properties 
- จัดเป็นอนุพันธ์ของ 
Piperazine และเป็น active 
metabolite ของ 
Hydroxyzine9 ออกฤทธิ์ 
จำเพาะต่อ H1- receptor ไม่ 
ค่อยมีผลต่อ receptor ชนิด 
อื่น 10 
- Levocetirizine เป็นยาที่ 
เปลี่ยนรูปจาก 
cetirizine ให้อยู่ในรูป 
(R) enantiomer ทำให้ 
การออกฤทธิ์จับกับ 
peripheral H1-receptors 
ได้ดีมี potent สูง และมี 
ความจำเพาะต่อ 
peripheral H1- 
receptors8 
- จัดเป็น Active 
Metabolite ของยา 
Terfenadine ออกฤทธิ์ 
จำเพาะต่อ H1 – 
receptor บริเวณ 
Gastrointestinal tract 
, หลอดเลือดและ 
ทางเดินหายใจ 3
11 
ชื่อการค้า Aerius ® Clarityne ® Zyrtec ® Xyzal ® Telfast ® 
ชื่อสามัญ Desloratadine Loratadine Cetirizine Levocetirizine Fexofenadine 
กลไก 
การออกฤทธิ์(ต่อ) 
-ยับยั้งการหลั่ง และการ 
เคลื่อนที่ของ granulocyte 
จึงมีผลต้าน Histamine ทั้ง 
ใน allergy response และ 
early phaseของ immediate 
hypersensitivity10 
Pharmacokinetics 
Absorption 
Desloratadine is well 
absorbed with maximum 
concentration achieved after 
approximately 3 hours8 
Rapidly absorpted following 
oral administration3 
Rapidly absorpted 
Levocetirizine is rapidly 
and extensively absorbed 
following oral 
administration8 
Rapidly absorbed into 
the body following oral 
administration, Tmax 
occurring at 
approximately 1-3 
hours post dose. 8 
Time to peak 3 hr. 3 12-15 hr. 1 hr. 3 0.9 hr8 2.6 hr. 3 
Half life 27 hr 
Loratadine 7.8-11 hr . 3 
Desloratadine 13.4-24 hr. 
(ประมาณ 8-24 hr.) 
8 hr. 3 7.9 ± 1.9 hours8 14.4 hr. 3
12 
ชื่อการค้า Aerius ® Clarityne ® 1 Zyrtec ® Xyzal ® Telfast ® 
ชื่อสามัญ Desloratadine Loratadine Cetirizine Levocetirizine Fexofenadine 
Metabolism ถูกเปลี่ยนแปลงที่ตับได้เป็น 
3-hydroxydeslaratadine 
CYP2D6, 3A4 CYP3A4 CYP 3A4 5% normal flora in GI, 
0.5 – 1.5 % CYP 
Excretion ขับออกทางไต40% 
ขับออกอุจจาระ40% 
ขับออกทางไต 40% 
ขับออกทางอุจาระ 40% 
ขับออกทางไต 70% 
ขับออกทางอุจาระ 10 % 
ขับออกทางไต 85.4% 
ขับออกทางอุจาระ 12.9% 
ขับออกทางไต 80% 
ขับออกทางอุจาระ 11% 
ขนาดยาที่ใช้ 
- 6 ปี – 11 ปี ขนาดยา 2.5 
mg once daily 
- 12 เดือน – 5 ปี ขนาดยา 
1.25 mg once daily 
- อายุ ≥ 12 ปี ขนาดยา 5 
mg once daily 
Renal or Hepatic impairment 
- 5 mg once daily11 
Seasonal allergic rhinitis, 
chronic idiopathic urticaria : 
- อายุ 2-5 ปี ใช้ขนาด 5 mg 
once daily 
- อายุ ≥ 6 ปี และผู้ใหญ่ ใช้ 
ขนาด 10 mg once daily 
Chronic urticaria, Perennial 
allergic rhinitis 
- อายุ 6 – 12 เดือน ใช้ขนาด 
2.5 mg once daily 
- อายุ 12 เดือน ถึง < 2 ปี 
ใช้ขนาด 2.5 mg once 
daily, 2.5 mg ทุก 12 hr, 5 
mg once daily 
Chronic urticaria, Perennial 
allergic rhinitis , Seasonal 
allergic rhinitis 
- อายุ 2 - 5 ปี ใช้ขนาด 2.5 
mg once daily, 2.5 mg ทุก 
12 hr, 5 mg once daily 
- 6 ปี – 11 ปี ขนาดยา 
2.5 mg once daily8 
- อายุ ≥ 12 ปี ขนาดยา 
5 mg once daily 
- อายุ 6 – 11 ปี ใช้ 
ขนาด 30 mg 
twice daily 
- อายุ ≥ 12 ปี 
Seasonal allergic 
rhinitis ใช้ขนาด 60 
mg twice daily 
หรือ 180 mg once 
daily 
Chronic idiopathic 
Urticaria 12 mg twice 
daily 
Renal Impairment 
CrCl < 80 ml/minute 
- อายุ 6 – 11 ปี ใช้
13 
ชื่อการค้า Aerius ® Clarityne ® 1 Zyrtec ® Xyzal ® Telfast ® 
ชื่อสามัญ Desloratadine Loratadine Cetirizine Levocetirizine Fexofenadine 
ขนาดยาที่ใช้ -อายุ > 6 ปี ใช้ขนาด 5 mg 
once daily สามารถเพิ่มได้ 
ถึง 10 mg ขึ้นกับความ 
รุนแรงของอาการแพ้3 
ขนาด 30 mg once 
daily 
- อายุ ≥ 12 ปี ใช้ 
ขนาด 60 mg once 
daily3 
Drug interaction Increased effect : 
Erythromycin, Ketoconazole 
Substrate of CYP 2D6 
(minor) 
Increased effect : 
Erythromycin, Ketoconazole 
Substrate of CYP 3A4 
(minor) 
Increased effect : CNS 
depressant and 
anticholinergic, Ethanol 
alcohol or other CNS 
depressants may have 
effects on the central 
nervous system 
Substrate of CYP 3A4 
(minor) 
Increased effect : 
Erythromycin, 
Ketoconazole 
Decreased effect : 
Antacid 
Side effect 
Headache(14%) Fatigue(2- 
5%)Somnolence(2%) 
Dizziness(2%) 
Dysmenorrhea(2%) 
Xerotomia (3%) 
Nausea(5%) Dyspepsia(3%) 
ผู้ใหญ่: Headache(12%), 
Somnolence(8%), 
Fatigue(4%) , 
Xerostomia(3%) 
เด็ก: Nervousness(4%), 
Fatigue(3%) , Maiaise (2%), 
Headache(>10%) 
Somnolence(adult 14%, 
children 2 – 4 % ) Insomnia 
(adult 2%, children 9 % ) 
Fatigue (adult 6%) 
Abdominal pain (children 4 - 
Headache 2.6 % 
Somnolence 5.2 % 
Mouth dry 2.6% 
Fatigue 2.5% 
Headache(>10%) 
Fever(2%) 
Dizziness(2%) 
Pain(2%) 
Drowsiness(1-2%) 
Dysmenorrhea(2%)
14 
ชื่อการค้า Aerius ® Clarityne ® 1 Zyrtec ® Xyzal ® Telfast ® 
ชื่อสามัญ Desloratadine Loratadine Cetirizine Levocetirizine Fexofenadine 
Myalgia(3%) Pharyngitis(3- 
4%) 
Rash(2-3%) 6 %) Dry mouth (5 %) 
Diarrhea(children 2 - 3 %) 
Nausea (children 2 - 3 %) 
Vomiting (children 2 - 3 %) 
Epistaxis(children 2 - 4 %) 
Pharyngitis (children 3 - 6 
%) Bronchospasm (children 
2 - 3 %) 
Nausea(2%) 
Dyspepsia(2%) Back 
pain(2-3%) Cough(3- 
4%) Otitis media(2%) 
ติดเชื้อทางเดินหายใจ 
ส่วนล่าง(3-4%) 
Sinusitis(2%) Viral 
infection(3%) 
ข้อควรระวัง - ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วย 
โรคตับ ไต 
- ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 
12 ปี 
- ปรับขนาดยาในผู้ป่วยโรค 
ตับหรือผู้ป่วย renal 
impairment 
- ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 
2 ปี 
- ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วย 
โรคตับ ไต เนื่องจากอาจทำ 
ให้เกิด Dysfunction 
- ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 
6 เดือน 
ไม่แนะนำให้ใช้ในเด็ก 
อายุต่ำกว่า 6 ปี 
ไม่แนะนำให้ใช้ในเด็ก 
อายุต่ำกว่า 6 ปี 
Course 3,670.10 บาท / 100 เม็ด11 
36.701 บาท / เม็ด 
บริษัท S P ESSEX 
Trade name : Aerius® 
1,044.42 บาท/100 เม็ด 
10.44 บาท/เม็ด 
บริษัท SP PLOUGH 
Trade name :CLARITYNE® 
89.88 บาท/100 เม็ด11 
0.8988 บาท/เม็ด 
บริษัทM&H 
Trade name : HISTICA® 
1,605 บาท/100 เม็ด11 
16.04 บาท/เม็ด 
บริษัท UCB 
Trade name : XYZAL® 
347.75บาท/50 Cap11 
6.955 บาท / Capsule 
บริษัท SANOFI 
AVENTIS 
Trade name : Telfast®
15 
สรุปการคัดเลือกยา 
Desloratadine เป็นmajor metabolite ของ loratadine ซึ่งเป็น tricyclic antihistamine ชนิด 
long-acting non sedating antihistamine ที่จำเพาะต่อ peripheral H1 receptor และมีฤทธิ์เป็น anti-inflammatory 
ใช้บรรเทาอาการทาง seasonal allergic rhinitis (SAR) และ peripheral allergic 
rhinitis (PAR) รวมทั้งรักษา chronic idiopathic urticaria (CIU) เป็นยาที่ยังไม่มีการบรรจุไว้ในบัญชี 
ยาหลักแห่งชาติ 
จากข้อมูลของยาที่ค้นคว้ามาได้พบว่า Desloratadine มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย 
ใกล้เคียงกับ fexofenadine และ loratadine ซึ่งเป็น non sedating antihistamine ที่มีอยู่แล้วในบัญชียา 
หลักแห่งชาติ และมีการศึกษาวิจัยโดยการ เปลี่ยนจากการใช้ loratadine เป็น Desloratadine พบว่า 
ไม่มีผลทางคลินิกที่แตกต่างกัน12 อีกทั้งคุณสมบัติทางด้านเภสัชจนศาสตร์ก็ไม่แตกต่างกันมาก แต่ 
เมื่อเปรียบเทียบราคาพบว่า Desloratadine มีราคาที่สูงกว่ายาในกลุ่มเดียวกันมาก 
Reference
16 
1. Charles LF. Lora AL., Morton GP. And Leonard LL. Drug information 
handbook.Edition12. Ohio USA. 2004.434-5. 
2. URL: http://www.medlibrary.org/medwiki/Desloratadine.Accessed June 20,2006 
3. Charles LF. Lora AL., Morton GP. And Leonard LL. Drug information 
handbook.Edition12. Ohio USA. 2004.434-5. 
4. นงลักษณ์ สุขวาณิชย์ศิลป์. ยาใหม่ในประเทศไทย เล่ม 10. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: นิวไทย 
มิตรการพิมพ์; 2545.31-2. 
5. Salmun LM, Lorber R. 24-hour efficacy of once-daily desloratadine therapy in patients 
with seasonal allergic rhinitis. 2002;[9 screens]. Available at: URL: 
http://www.pubmedcentral.gov /articlerender.fcgi? tool=pubmed&pubmedid=12162793. 
Accessed June 25, 2006. 
6. Haye R, Hoye K, Berg O, Frones S, Odegard T. Moning versus evening dosing of 
desloratadine in seasonal allergic rhinitis. 2005;[7 screens]. Available at: 
URL:http://www.pubmedcentral.gov/articlerender.fcgi?tool=pubmed&pubmedid=15686 
600. Accessed June 25, 2006. 
7. Monroe E, Finn A, Patel P, Guerrero R, Ratner P, Bernstein B, et al. Efficacy and safety 
of desloratadine 5 mg once daily in the treatment of chronic idiopathic urticaria: A 
double-bind, randomized, placebo-controlled trial. Journal of the American Academy of 
Dermatology. 2003 April ;48:535-54. 
8. Datapharm Communications Ltd 2006 Datapharm Communications Ltd. Available at: 
http://emc.medicines.org.uk/. Accessed June 23, 2006 
9. ชายชาญ โพธิรัตน์, มุฑิตา ตระกูลทิวากร, สุกิจ รุ่งอภินันท์และคณะ. Allergy in Clinical 
Practice 2003. ธนวรรณการพิมพ์. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2546.หน้า 119 - 121 
10. นงลักษณ์ สุขวาณิชย์ศิลป์. เภสัชวิทยา เล่ม 3. กรุงเทพมหานคร. ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะ 
เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2537.หน้า 58 – 60 
11. ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านเวชภัณฑ์ กระทรวงสาธารณสุข. Available at: URL: 
http://dmsic.moph.go.th/price/prepare.php. Accessed June 23, 2006 
12. Available at: URL: http://www. en.wikipedia.org/wiki/Aerius. Accessed June 25, 2006.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กOzone Thanasak
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ ICwichudaice
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น Utai Sukviwatsirikul
 
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักAiman Sadeeyamu
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 

Mais procurados (20)

การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
Pharmacotherapy in patient with stroke 2555
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล ยารักษาโรคเบาหวาน  โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
ยารักษาโรคเบาหวาน โดย ฉัตรเลิศ พงษ์ไชยกุล
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Insulin
InsulinInsulin
Insulin
 

Destaque

แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็กแนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็กPain clinic pnk
 
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตBangon Suyana
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareSlideShare
 

Destaque (7)

Cpg urticaria 2015
Cpg urticaria 2015Cpg urticaria 2015
Cpg urticaria 2015
 
Ospemu
OspemuOspemu
Ospemu
 
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็กแนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
แนวทางการดูแลและจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
 
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 

Semelhante a Aerius drug monograph

ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidasedentyomaraj
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมUtai Sukviwatsirikul
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมUtai Sukviwatsirikul
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdfSomchaiPt
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555Utai Sukviwatsirikul
 

Semelhante a Aerius drug monograph (20)

ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
Bio psy social_therapy
Bio psy social_therapyBio psy social_therapy
Bio psy social_therapy
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
155344bayer329
155344bayer329155344bayer329
155344bayer329
 
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืด ในประเทศไทย V.5 สําหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555
 
Cpg and care map alcohol
Cpg and care map alcoholCpg and care map alcohol
Cpg and care map alcohol
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
8
88
8
 
Pc18
Pc18Pc18
Pc18
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Aerius drug monograph

  • 1. 1 Drug monograph Aerius® (Desloratadine) ………………………………………………………………………………………………………. ชื่อสามัญทางยา1 : Desloratadine ชื่อพ้อง 2 : DCL, decarboethoxyloratadine, descarboethoxy loratadine ชื่อการค้า1 : Aerius®, Clarinex® ชื่อทางเคมีและสูตรโครงสร้าง2: 8-chloro-6,11-dihydro-11-(4-piperdinylidene)- 5H-benzo[5,6]cyclohepta[1,2-b]pyridine สูตรเคมี 2: C19H19ClN2 มวลโมเลกุล2 : 310.82 การจัดกลุ่มยา : อ้างอิงตามบัญชียาหลักแห่งชาติ : NED ประเภทของยาทางการบำบัดรักษา 1 : Antihistamine; Antihistamine (Nonsedating) US FDA Approval date2 : March 2005 ข้อมูลทางเภสัชวิทยา1 : ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและกลวิธานการออกฤทธิ์ Desloratadine เป็น major metabolite ของ loratadine ซึ่งเป็น tricyclic antihistamine ชนิด long-acting ที่จำเพาะต่อ peripheral H1 receptor และมีฤทธิ์เป็น anti-inflammatory ข้อบ่งใช้ในการรักษา บรรเทาอาการทาง seasonal allergic rhinitis (SAR) และ peripheral allergic rhinitis (PAR) รวมทั้งรักษา chronic idiopathic urticaria (CIU) การเอื้อประโยชน์ทางชีวภาพ/เภสัชจลนพลศาสตร์ Adsorption Bioavailability : rapidly absorbed Time to peak : 3 ชั่วโมง
  • 2. 2 Distribution Protein binding : desloratadine 82-87%; 3-hydroxyldesloratadine 85-89% Duration : 27 ชั่วโมง Metabolism and excretion Metabolism : ที่ตับ Metabolites : ได้ active metabolite (3-hydroxyldesloratadine) โดยผ่านกลไก Glucuronidation Excretion : ทางปัสสาวะและอุจจาระ (as metabolites) Half-life : 27 ชั่วโมง รูปแบบยา 1: Tablet (Clarinex®, Aerius®) : 5 mg Tablet, orally-disintegrating (Clarinex® RediTabs®): 5 mg [contains phenylalanine 1.75 mg/tablet; tutti-frutti flavor] ช่องทางการบริหารยา1 : Oral ขนาดการใช้ยา11 : - อายุ ≥ 12 ปี ขนาดยา 5 mg once daily - 12 เดือน – 5 ปี ขนาดยา 1.25 mg once daily - 6 ปี – 11 ปี ขนาดยา 2.5 mg once daily Renal or Hepatic impairment - 5 mg once daily การใช้ยาในผู้ป่วยกลุ่มพิเศษ3 ความเสี่ยงในหญิงมีครรภ์ :C หญิงมีครรภ์ –ยังไม่มีการศึกษาในหญิงมีครรภ์ แต่มีการศึกษาในสัตว์ทดลองพบว่าทำให้การ ตั้งครรภ์ต่ำลงและลูกน้ำหนักลดลง หญิงให้นมบุตร –ยาขับออกทางน้ำนมได้น้อย แต่ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา ผู้ป่วยเด็ก - มีการทดลองในเด็กอายุ12 ปี พบว่าขนาดยาที่ใช้ในการรักษาไม่มีผลข้างเคียงหรือพบ ปัญหาจากการใช้ยา ผู้ป่วยสูงอายุ –มีการทดสอบในผู้ป่วยอายุมากกว่า65ปี ไม่พบผลข้างเคียงหรือปัญหาจากการใช้ยา แต่ในผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการทำงานของตับและไตบกพร่องต้องปรับลดขนาดยาลง
  • 3. 3 อาการไม่พึงประสงค์หรือความเป็นพิษจากการใช้ยา3 พบ >10% -ปวดศรีษะ(14%) พบ 1-10% ผลต่อระบบประสาท - เหนื่อยเพลีย(2-5%) ง่วงนอน(2%) เวียนศรีษะ(4%) ผลต่อต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม - ปวดระดู(2%) ผลต่อระบบทางเดินอาหาร - ปากแห้ง(3%) คลื่นไส้(5%) ท้องอืด(3%) ผลต่อระบบหายใจ - คอหอยอักเสบ(3-4%) ผลต่อระบบกล้ามเนื้อ - กล้ามเนื้ออ่อนแรง(2-3%) พิษของยาและการรักษา4 หากได้รับยาเกินขนาดและเกิดอาการพิษขึ้น ให้รักษาตามหลักการรักษาโดยทั่วไป ทั้ง desloratadine และ3-hydroxy desloratadine ไม่ถูกกำจัดออกโดยการทำ hemodialysis แต่การทำ peritoneal dialysis จะกำจัดยาออกได้หรือไม่นั้นยังไม่มีข้อมูล ข้อควรระวัง4 - ยานี้ถูกขับออกทางน้ำนมได้ จึงควรงดให้นมบุตรขณะใช้ยานี้ - ระวังการใช้ยาในผู้ที่เป็น slow metabolizer ซึ่งอาจเสี่ยงต่อการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ได้ มากกว่าคนทั่วไป - ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยสูงอายุ เนื่องจากยังมีข้อมูลน้อย และคนสูงอายุประสิทธิภาพการ ทำงานของตับและไตลดลง ประกอบกับการมีโรคอื่นและการใช้ยาชนิดอื่นๆร่วมด้วยหลาย อย่าง - ไม่ควรใช้ยาเกินวันละ 1 ครั้ง เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาที่แสดงถึงการเพิ่มประสิทธิภาพ อีกทั้งอาจเสี่ยงต่ออาการไม่พึงประสงค์มากขึ้นได้ - ระวังการใช้ยาในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลเพียงพอ ข้อห้ามใช้4 - ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ต่อยานี้ หรือแพ้ส่วนประกอบอื่นในเม็ดยา - ไม่ใช้ยานี้ในหญิงมีครรภ์ เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลเพียงพอถึงความปลอดภัยต่อทารกใน ครรภ์ เว้นแต่ในรายที่มีความจำเป็นโดยมีข้อบ่งใช้ชัดเจน ปฏิกิริยาระหว่างยา4 1. จากการศึกษาในหลอดทดลองโดยใช้โครโมโซมจากตับคนพบว่า desloratadine และ3- hydroxy desloratadine ที่ความเข้มข้นยา 3,108 และ3,278 นาโนกรัม/มิลลิลิตร ตามลำดับ มี ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ต่อไปนี้ได้เพียงเล็กน้อย (ไม่เกิน25%) ได้แก่ CYP12A, CYP2C9, CYP2C19, CYP2D6และ CYP3A4 ดังนั้น desloratadine ไม่น่าจะมีผลรบกวนเภสัช จลนศาสตร์ของยาอื่นที่ใช้ร่วมกันซึ่งอาศัยเอนไซม์ทั้ง5ชนิดในการเปลี่ยนสภาพ
  • 4. 4 2. จากการศึกษาในหลอดทดลองพบว่า desloratadine มีฤทธิ์ในการยับยั้งระบบp-glycoprotein (pGp) transport ที่ผนังลำไส้ได้ต่ำกว่า loratadine ถึง 4 เท่า ดังนั้น desloratadine จึงมีศักยภาพในการรบกวนการดูดซึมยาอื่นที่ต้องอาศัยระบบดังกล่าวได้ต่ำ กว่า 3. ในอาสาสมัครที่รับประทาน desloratadine ขนาด 5 มิลลิกรัมครั้งเดียวพร้อมกับน้ำองุ่น(ซึ่ง มีฤทธิ์รบกวน(pGp)transport)ไม่ทำให้ bioavailability ของยาเปลี่ยนแปลง ต่างจากเมื่อ รับประทาน fexofenadineขนาด 60 มิลลิกรัมร่วมกับน้ำองุ่น จะทำให้ bioavailability ของ fexofenadine ลดลง 30% 4. การให้อาสาสมัครสุขภาพดีรับประทานDesloratadine ขนาด 5 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็น เวลา 7 วัน ร่วมกับการใช้azithromycin (ซึ่งเป็นยาที่อาจมีผลต่อการดูดซึมสารผ่านทางเดิน อาหาร) ขนาด 250 มิลลิกรัม (ยกเว้นวันแรกที่ให้ loading dose ขนาด 500มิลลิกรัม) รับประทานวันละ1 ครั้ง ให้ในวันที่3-7 พบว่าค่า Cmax และ AUC เพิ่มขึ้นน้อยกว่า 15% ซึ่ง ไม่มีนัยสำคัญทางคลินิก ต่างจากที่พบเมื่อรับประทานfexofenadine ขนาด 60มิลลิกรัม รับประทานวันละ2 ครั้ง ร่วมกับazithromycin (ค่า Cmax เพิ่มขึ้น69%และค่า AUC เพิ่มขึ้น 67%) 5. ยา desloratadine ไม่เสริมฤทธิ์กับแอลกอฮอล์ที่รบกวนต่อ psychomotor performance ข้อแนะนำในการใช้ยา4 รับประทานวันละ1 ครั้ง ก่อนหรือหลังอาหารก็ได้ วิธีการเก็บรักษา3, 4 เก็บที่อุณหภูมิ 2-30 องศาเซลเซียส ในภาชนะที่ปิดสนิท ความเข้ากันกับยาหรือสารอื่น3, 4 อาหารและน้ำไม่มีผลต่อการดูดซึมยา
  • 5. 5 ตัวอย่างการศึกษาวิจัยทางคลินิก 1. ตัวอย่างการศึกษาวิจัยทางคลินิก5 เรื่อง 24-hour efficacy of once-daily desloratadine therapy in patients with seasonal allergic rhinitis ผู้ทำการศึกษา Luis M Salmun, Richard Lorber วารสารที่ตีพิมพ์ BMC Fam Pract.2002 Aug 5;3:14. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของยา desloratadine ตลอด 24 ชั่วโมง จากการให้ยาใน ขนาดแตกต่างกันเพื่อใช้รักษาผู้ป่วย seasonal allergic rhinitis วิธีทำการศึกษา เป็นการศึกษาแบบ randomized, multicenter, parallel-group, placebo-concrolled, double-blind studyใช้ระยะเวลาในการศึกษา2 สัปดาห์ ในผู้ป่วย seasonal allergic rhinitis (ผู้ป่วยอายุ12 ปีหรือมากกว่า ที่มีประวัติป่วยเป็น seasonal allergic rhinitis ประมาณ 2 ปี ) จำนวน 1,026 ซึ่งการทดลองนี้จะมีการ ตรวจสอบและติดตามโดยประเมินจากอาการและอาการแสดงของ allergic rhinitis ซึ่งประเมินจาก nasal symptoms (rhinorrhea, nasal stuffiness/congestion, nasal itching, และ sneezing) และ non nasal symptoms (itching/burning eyes, tearing-watering eyes, redness of eyes, and itching of ears หรือ palate) จาก อาการทั้งหมดจะแบ่งเป็นเกรด โดยแบ่งคะแนน 4 ระดับ เพื่อใช้ในการติดตาม คือ 0=none, 1=mild, 2=moderate, 3=severe การศึกษานี้คัดเลือกกลุ่มทดลองโดยวิธีสุ่ม แบ่งเป็น 6 กลุ่ม โดยให้ยา Desloratadine ในขนาดที่แตกต่างกันคือ 2.5 mg, 5 mg, 7.5 mg, 10 mg, 20 mg และ placebo ในอัตราส่วน 1:1:1:1:1:1 นาน 2 สัปดาห์ ให้รับประทานยาตอนเช้า และให้เวลาเดิมทุกๆวัน โดยกำหนดการติดตามผล 5 ครั้ง คือ Screening visit, baseline visit ในการรักษาวันที่1 และ follow-upในวันที่ 4, 8 และ 15 Results Efficacy พบว่าประสิทธิภาพของ Desloratadine ที่ใช้ในการบรรเทาอาการ seasonal allergic rhinitis ขนาด 5 mg, 7.5 mg, 10 mg และ 20 mg มีประสิทธิภาพ มากกว่า placebo แต่ยาขนาด 2.5 mg มีฤทธิ์มากกว่า placebo แบบไม่มีนัยสำคัญ ซึ่งประสิทธิภาพในการรักษาอาการ seasonal allergic rhinitis ของ Desloratadine จะคงที่ตลอด 24 ชั่วโมงหลังจากให้ยา dose แรก โดยพบว่า ประสิทธิภาพของยา Desloratadine ในขนาด5 mg, 7.5 mg, 10 mg และ 20 mg ไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญ
  • 6. 6 Safety จากการศึกษาพบว่าอุบัติการณ์การเกิด Adverse even ของกลุ่มที่ได้รับยา desloratadine และกลุ่มที่ได้รับ placebo คือ 15% - 22% และ 14% ตามลำดับ ซึ่ง อาการที่เกิดขึ้นจะมีความคล้ายกันทั้ง 6 กลุ่ม(รวม placebo) ซึ่งการเกิด Adverse even ไม่ขึ้นกับ dose โดยอาการไม่พึงประสงค์ที่พบส่วนใหญ่จะมีความรุนแรงใน ระดับต่ำถึงปานกลาง ซึ่งอาการที่พบบ่อยคือ Headache, somnolence และ fatigue Conclusion Desloratadine (ออกฤทธิ์ 24 ชั่วโมง) ช่วยลดอาการและอาการแสดงของ seasonal allergic rhinitis โดยเมื่อเปรียบเทียบการออกฤทธิ์ของยา ขนาดยา 2.5 mg, 5 mg, 7.5 mg, 10 mg และ 20 mg พบว่ายาทุก dose จะไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทั้ง ทางด้านประสิทธิภาพ, ด้านความปลอดภัย และมีมากกว่า placebo โดยพบว่า การให้ยา Desloratadine ขนาด 5 mg วันละ 1 ครั้ง จะให้ผลการรักษา seasonal allergic rhinitis ดีที่สุด 2. ตัวอย่างการศึกษาวิจัยทางคลินิก6 เรื่อง Morning versus evening dosing of desloratadine in seasonal allergic rhinitis : ผู้ทำการศึกษา Rolf Haye, Kjetil Hoye, Olof Berg, Sissel Frones, Tone Odegard. วารสารที่ตีพิมพ์ Clin Mol Allergy.2005 Feb 2;3(1):3. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของยา Desloratadine ในระยะเวลาที่แตกต่างกันใน 1 วัน และเพื่อเมินประสิทธิภาพในการรักษา seasonal allergic rhinitis จากการให้ยา ในเวลาที่แตกต่างกัน โดยเปรียบเทียบระหว่างการให้ยาในช่วงเช้า กับช่วงเย็น วิธีทำการศึกษา การศึกษาแบบ randomized, open label, parallel-group, multicenter study ใช้ ระยะเวลา 2 สัปดาห์ ในผู้ป่วย seasonal allergic rhinitis จำนวน 663 คน (ผู้ป่วยมี อายุ 18 ปีหรือมากกว่าโดยมีประวัติเป็น seasonal allergic rhinitis อย่างน้อย 2 ปี ) ซึ่งจะคัดเลือกผู้ป่วยด้วยวิธี randomized โดยแบ่งผู้ป่วยออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่ ได้รับยาในตอนเช้าระหว่าง 07.00 – 09.00 (AM-group) และกลุ่มที่ได้รับยาในตอน เย็นระหว่าง 19.00 – 21.00 (PM-group) ในอัตราส่วน1:1 ซึ่งทั้ง 2 กลุ่มจะได้รับยา Desloratadine ขนาด 5 mg วันละ 1 ครั้ง การศึกษานี้จะติดตามผลการรักษาตามอาการแสดงของผู้ป่วย โดยแบ่งเป็น4 ระดับ คือ 0 – 3 ระดับ ( 0=none, 1=mild, 2=moderate, 3=severe) ซึ่งดูตามอาการ ดังนี้ rhinorrhea, nasal congesion, sneezing, itching and eye symptom โดยทำการ
  • 7. 7 เก็บข้อมูล 3 ครั้งคือ ครั้งแรก วันที่ 0, ครั้งที่ 2 ใน 1 อาทิตย์ถัดไป และครั้งสุดท้าย หลังจากศึกษาไป 2 อาทิตย์ Results Efficacy - พบว่าประสิทธิภาพในการรักษาอาการแสดงของ seasonal allergic rhinitis จาก การให้ยาDesloratadine ขนาด 5 mg วันละ 1 ครั้ง ของทั้ง 2 กลุ่มคือ AM-group และ PM-group มีประสิทธิภาพในการรักษาไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ Safety - การเกิด adverse even เปรียบเทียบระหว่าง 2 กลุ่ม พบว่า AM-group เกิด 20% และ PM-group เกิด 18% ซึ่งอาการปวดศีรษะพบบ่อยที่สุด คือ 7%ใน AM-group และ 4%ใน PM-group Conclusion Circadian rhythm พบมากที่สุดในอาการของ seasonal allergic rhinitis ซึ่งจะพบ ลดลงเมื่อให้ยา Desloratadine แก่ผู้ป่วย พบว่า การรักษา seasonal allergic rhinitis จากการให้ยาในช่วงเช้าและการให้ยาในช่วงเย็นพบว่าประสิทธิภาพในการรักษา ของทั้ง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งการให้ยาแก่ผู้ป่วยควรพิจารณา ตามความเหมาะสมของผู้ป่วยเฉพาะราย 3. ตัวอย่างการศึกษาวิจัยทางคลินิก7 เรื่อง Efficacy and safety of desloratadine 5 mg once daily in the treatment of chronic idiopathic urticaria: A double-bind, randomized, placebo-controlled trial ผู้ทำการศึกษา Eugene Monroe, MD, Albert Finn, MD, Piyush Patel, MD, et al วารสารที่ตีพิมพ์ Journal of the American Academy of Dermatology, Volume 48, Issue 4, April 2003 Pages 535-541 วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของ desloratadine 5 mg ในการรักษา ผู้ป่วยที่เป็น chronic idiopathic urticaria (CIU) ขั้นปานกลางถึงรุนแรง วิธีทำการศึกษา เ ป็น ก า ร ศึก ษ า แ บ บ randomized,double-bind,placebo-controlled,parallel-group, multicenter trial ใช้ระยะเวลา 6 สัปดาห์ นอกจากนี้จะต้องมีอาการของ CIU อย่างน้อย 3 สัปดาห์ ร่วมกับการมีรอยโรคเกิขึ้นอย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ก่อนการ คัดเลือกเข้าสู่งานวิจัย โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มด้วยวิธีการสุ่ม คือ 1. กลุ่มที่ได้รับ desloratadine 5 mg OD (116 คน)
  • 8. 8 2. กลุ่มที่ได้รับ placebo OD (110 คน) ซึ่งผู้ป่วยจะไม่รู้ว่าตัวเองอยู่ในกลุ่มที่ได้รับยาหรือ placebo โดยจะให้ผู้ป่วยกิน ยาในตอนเช้าหลังจากที่ทำการบันทึกอาการของตัวเองลงใน diary แล้ว ผู้ทำการวิจัย จะตรวจสอบ compliance ได้จากการดู diary ของผู้ป่วย การนับเม็ดยาและการ สอบถามผู้ป่วยเอง การประเมินประสิทธิภาพ จะเป็นการให้คะแนนความรุนแรงของ CIU โดยผู้ป่วยจะทำการบันทึก อาการตามคะแนนที่กำหนดลงใน diary ทุกวัน วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น โดยระดับ ความรุนแรงจะแบ่งเป็น 0 = none (ไม่มีอาการใดๆ) 1 = mild ( อาการแสดงชัดเจน แต่รู้สึกได้น้อย และทนได้) 2 = moderate ( รู้สึกได้อย่างชัดเจนถึงอาการของโรค และรบกวนการใช้ชีวิต แต่ พอทนได้) 3 = severe ( ทนต่ออาการต่างๆของโรคไม่ค่อยได้ และอาการเหล่านี้รบกวนการใช้ ชีวิตประจำวันและการ นอนหลับ) การประเมินการตอบสนองของยาต่อการรักษา จะกระทำโดยผู้วิจัยและ ผู้ป่วย(ผู้ปกครอง) การประเมินใช้ระบบการให้คะแนนโดย 1 = complete relief (ไม่มีอาการของโรคปรากฏให้เห็นเลย) 2 = marked relief (อาการต่างๆดีขึ้น แต่รบกวนการใช้ชีวิตเล็กน้อย) 3 = moderate relief (อาการต่างๆแสดงชัดเจนและรบกวนการใช้ชีวิตแต่อาการ น่าจะดีขึ้นได้) 4 = slight relief (อาการดีขึ้นเพียงเล็กน้อย) 5 = treatment failure (อาการต่างๆไม่เปลี่ยนแปลงหรือแย่ลงกว่าเดิม) การประเมินความปลอดภัย จะมีการรายงาน vital signs ทุกครั้งที่นัดมาพบ ส่วน ECG และค่าทาง ห้องปฏิบัติการต่างๆจะวัดตอนทำ screening และ เมื่อมาพบในครั้งที่ 7 อีกทั้ง รายงานอาการไม่พึ่งประสงค์ต่างๆที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยระบุความรุนแรงและ ความสัมพันธ์กับการวิจัย Results Desloratadine ทำให้อาการต่างๆ ของ CIU ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับ placebo อาการง่วงจากการใช้ยาลดลงการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น ผลทางสถิติ และผลทางคลินิกดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญภายใน 24 ชั่วโมงของการรักษาและดีขึ้น
  • 9. 9 เรื่อยๆจนครบระยะเวลาที่ทำการวิจัย อาการข้างเคียงที่มีรายงานจะคล้ายๆกันทั้งในกลุ่มที่ได้รับยาและ placebo ซึ่ง ไม่มีอาการข้างเคียงที่รุนแรงใดๆ โดยพบอาการปวดหัว คลื่นไส้ และปากแห้ง สำหรับผลต่อหัวใจและหลอดเลือด ไม่มีอาการทางคลินิกใดๆ ผิดปรกติ ค่า PR,QRS,QT intervals ก็เป็นปรกติ ส่วนค่าทางห้องปฏิบัติการ และ vital signs ก็ไม่มีความผิดปรกติในช่วงเวลา ที่ทำการศึกษา Conclusion desloratadine 5 mg มีประสิทธิภาพในการรักษา CIU โดยสามารถควบคุมอาการได้ ตลอด 24 ชั่วโมง (ให้ยาวันละ 1 ครั้ง) และออกฤทธิ์เร็ว เห็นผลการรักษาหลังจาก การใช้ยาครั้งแรก ด้านความปลอดภัยพบว่า desloratadine ขนาดสูง (45 mg) หรือ การใช้ร่วมกับerythromycin , ketoconazole ก็ไม่มีอาการผิดปรกติของ QT intervals
  • 10. 10 เปรียบเทียบยากลุ่ม New Antihistamine ชื่อการค้า Aerius ® Clarityne ® Zyrtec ® Xyzal ® Telfast ® ชื่อสามัญ Desloratadine Loratadine Cetirizine Levocetirizine Fexofenadine ประเภท NED ED (บัญชี ข) ED (บัญชี ข) NED NED ข้อบ่งใช้ 1. Relief of nasal and non nasal symptom of Perennial and Seasonal allergic rhinitis 2. Chronic idiopathic Urticaria 1. Relief of nasal and non nasal symptom of Perennial and Seasonal allergic rhinitis 2. Chronic idiopathic Urticaria 1. Perennial allergic rhinitis and seasonal allergic rhinitis 2. Chronic idiopathic Urticaria 1. allergic rhinitis (including persistent allergic rhinitis) 8 2. chronic idiopathic Urticaria8 1. Relief of symptom associated with seasonal rhinitis allergic 2. Chronic idiopathic Urticaria กลไก การออกฤทธิ์ - จัดเป็น Metabolite ของยา Loratadine ออกฤทธิ์ จำเพาะต่อ peripheral H1 – receptor 9 - Long acting tricyclic antihistamine with selective peripheral histamine H1 – receptor antagonistic properties - จัดเป็นอนุพันธ์ของ Piperazine และเป็น active metabolite ของ Hydroxyzine9 ออกฤทธิ์ จำเพาะต่อ H1- receptor ไม่ ค่อยมีผลต่อ receptor ชนิด อื่น 10 - Levocetirizine เป็นยาที่ เปลี่ยนรูปจาก cetirizine ให้อยู่ในรูป (R) enantiomer ทำให้ การออกฤทธิ์จับกับ peripheral H1-receptors ได้ดีมี potent สูง และมี ความจำเพาะต่อ peripheral H1- receptors8 - จัดเป็น Active Metabolite ของยา Terfenadine ออกฤทธิ์ จำเพาะต่อ H1 – receptor บริเวณ Gastrointestinal tract , หลอดเลือดและ ทางเดินหายใจ 3
  • 11. 11 ชื่อการค้า Aerius ® Clarityne ® Zyrtec ® Xyzal ® Telfast ® ชื่อสามัญ Desloratadine Loratadine Cetirizine Levocetirizine Fexofenadine กลไก การออกฤทธิ์(ต่อ) -ยับยั้งการหลั่ง และการ เคลื่อนที่ของ granulocyte จึงมีผลต้าน Histamine ทั้ง ใน allergy response และ early phaseของ immediate hypersensitivity10 Pharmacokinetics Absorption Desloratadine is well absorbed with maximum concentration achieved after approximately 3 hours8 Rapidly absorpted following oral administration3 Rapidly absorpted Levocetirizine is rapidly and extensively absorbed following oral administration8 Rapidly absorbed into the body following oral administration, Tmax occurring at approximately 1-3 hours post dose. 8 Time to peak 3 hr. 3 12-15 hr. 1 hr. 3 0.9 hr8 2.6 hr. 3 Half life 27 hr Loratadine 7.8-11 hr . 3 Desloratadine 13.4-24 hr. (ประมาณ 8-24 hr.) 8 hr. 3 7.9 ± 1.9 hours8 14.4 hr. 3
  • 12. 12 ชื่อการค้า Aerius ® Clarityne ® 1 Zyrtec ® Xyzal ® Telfast ® ชื่อสามัญ Desloratadine Loratadine Cetirizine Levocetirizine Fexofenadine Metabolism ถูกเปลี่ยนแปลงที่ตับได้เป็น 3-hydroxydeslaratadine CYP2D6, 3A4 CYP3A4 CYP 3A4 5% normal flora in GI, 0.5 – 1.5 % CYP Excretion ขับออกทางไต40% ขับออกอุจจาระ40% ขับออกทางไต 40% ขับออกทางอุจาระ 40% ขับออกทางไต 70% ขับออกทางอุจาระ 10 % ขับออกทางไต 85.4% ขับออกทางอุจาระ 12.9% ขับออกทางไต 80% ขับออกทางอุจาระ 11% ขนาดยาที่ใช้ - 6 ปี – 11 ปี ขนาดยา 2.5 mg once daily - 12 เดือน – 5 ปี ขนาดยา 1.25 mg once daily - อายุ ≥ 12 ปี ขนาดยา 5 mg once daily Renal or Hepatic impairment - 5 mg once daily11 Seasonal allergic rhinitis, chronic idiopathic urticaria : - อายุ 2-5 ปี ใช้ขนาด 5 mg once daily - อายุ ≥ 6 ปี และผู้ใหญ่ ใช้ ขนาด 10 mg once daily Chronic urticaria, Perennial allergic rhinitis - อายุ 6 – 12 เดือน ใช้ขนาด 2.5 mg once daily - อายุ 12 เดือน ถึง < 2 ปี ใช้ขนาด 2.5 mg once daily, 2.5 mg ทุก 12 hr, 5 mg once daily Chronic urticaria, Perennial allergic rhinitis , Seasonal allergic rhinitis - อายุ 2 - 5 ปี ใช้ขนาด 2.5 mg once daily, 2.5 mg ทุก 12 hr, 5 mg once daily - 6 ปี – 11 ปี ขนาดยา 2.5 mg once daily8 - อายุ ≥ 12 ปี ขนาดยา 5 mg once daily - อายุ 6 – 11 ปี ใช้ ขนาด 30 mg twice daily - อายุ ≥ 12 ปี Seasonal allergic rhinitis ใช้ขนาด 60 mg twice daily หรือ 180 mg once daily Chronic idiopathic Urticaria 12 mg twice daily Renal Impairment CrCl < 80 ml/minute - อายุ 6 – 11 ปี ใช้
  • 13. 13 ชื่อการค้า Aerius ® Clarityne ® 1 Zyrtec ® Xyzal ® Telfast ® ชื่อสามัญ Desloratadine Loratadine Cetirizine Levocetirizine Fexofenadine ขนาดยาที่ใช้ -อายุ > 6 ปี ใช้ขนาด 5 mg once daily สามารถเพิ่มได้ ถึง 10 mg ขึ้นกับความ รุนแรงของอาการแพ้3 ขนาด 30 mg once daily - อายุ ≥ 12 ปี ใช้ ขนาด 60 mg once daily3 Drug interaction Increased effect : Erythromycin, Ketoconazole Substrate of CYP 2D6 (minor) Increased effect : Erythromycin, Ketoconazole Substrate of CYP 3A4 (minor) Increased effect : CNS depressant and anticholinergic, Ethanol alcohol or other CNS depressants may have effects on the central nervous system Substrate of CYP 3A4 (minor) Increased effect : Erythromycin, Ketoconazole Decreased effect : Antacid Side effect Headache(14%) Fatigue(2- 5%)Somnolence(2%) Dizziness(2%) Dysmenorrhea(2%) Xerotomia (3%) Nausea(5%) Dyspepsia(3%) ผู้ใหญ่: Headache(12%), Somnolence(8%), Fatigue(4%) , Xerostomia(3%) เด็ก: Nervousness(4%), Fatigue(3%) , Maiaise (2%), Headache(>10%) Somnolence(adult 14%, children 2 – 4 % ) Insomnia (adult 2%, children 9 % ) Fatigue (adult 6%) Abdominal pain (children 4 - Headache 2.6 % Somnolence 5.2 % Mouth dry 2.6% Fatigue 2.5% Headache(>10%) Fever(2%) Dizziness(2%) Pain(2%) Drowsiness(1-2%) Dysmenorrhea(2%)
  • 14. 14 ชื่อการค้า Aerius ® Clarityne ® 1 Zyrtec ® Xyzal ® Telfast ® ชื่อสามัญ Desloratadine Loratadine Cetirizine Levocetirizine Fexofenadine Myalgia(3%) Pharyngitis(3- 4%) Rash(2-3%) 6 %) Dry mouth (5 %) Diarrhea(children 2 - 3 %) Nausea (children 2 - 3 %) Vomiting (children 2 - 3 %) Epistaxis(children 2 - 4 %) Pharyngitis (children 3 - 6 %) Bronchospasm (children 2 - 3 %) Nausea(2%) Dyspepsia(2%) Back pain(2-3%) Cough(3- 4%) Otitis media(2%) ติดเชื้อทางเดินหายใจ ส่วนล่าง(3-4%) Sinusitis(2%) Viral infection(3%) ข้อควรระวัง - ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วย โรคตับ ไต - ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี - ปรับขนาดยาในผู้ป่วยโรค ตับหรือผู้ป่วย renal impairment - ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี - ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วย โรคตับ ไต เนื่องจากอาจทำ ให้เกิด Dysfunction - ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 6 เดือน ไม่แนะนำให้ใช้ในเด็ก อายุต่ำกว่า 6 ปี ไม่แนะนำให้ใช้ในเด็ก อายุต่ำกว่า 6 ปี Course 3,670.10 บาท / 100 เม็ด11 36.701 บาท / เม็ด บริษัท S P ESSEX Trade name : Aerius® 1,044.42 บาท/100 เม็ด 10.44 บาท/เม็ด บริษัท SP PLOUGH Trade name :CLARITYNE® 89.88 บาท/100 เม็ด11 0.8988 บาท/เม็ด บริษัทM&H Trade name : HISTICA® 1,605 บาท/100 เม็ด11 16.04 บาท/เม็ด บริษัท UCB Trade name : XYZAL® 347.75บาท/50 Cap11 6.955 บาท / Capsule บริษัท SANOFI AVENTIS Trade name : Telfast®
  • 15. 15 สรุปการคัดเลือกยา Desloratadine เป็นmajor metabolite ของ loratadine ซึ่งเป็น tricyclic antihistamine ชนิด long-acting non sedating antihistamine ที่จำเพาะต่อ peripheral H1 receptor และมีฤทธิ์เป็น anti-inflammatory ใช้บรรเทาอาการทาง seasonal allergic rhinitis (SAR) และ peripheral allergic rhinitis (PAR) รวมทั้งรักษา chronic idiopathic urticaria (CIU) เป็นยาที่ยังไม่มีการบรรจุไว้ในบัญชี ยาหลักแห่งชาติ จากข้อมูลของยาที่ค้นคว้ามาได้พบว่า Desloratadine มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย ใกล้เคียงกับ fexofenadine และ loratadine ซึ่งเป็น non sedating antihistamine ที่มีอยู่แล้วในบัญชียา หลักแห่งชาติ และมีการศึกษาวิจัยโดยการ เปลี่ยนจากการใช้ loratadine เป็น Desloratadine พบว่า ไม่มีผลทางคลินิกที่แตกต่างกัน12 อีกทั้งคุณสมบัติทางด้านเภสัชจนศาสตร์ก็ไม่แตกต่างกันมาก แต่ เมื่อเปรียบเทียบราคาพบว่า Desloratadine มีราคาที่สูงกว่ายาในกลุ่มเดียวกันมาก Reference
  • 16. 16 1. Charles LF. Lora AL., Morton GP. And Leonard LL. Drug information handbook.Edition12. Ohio USA. 2004.434-5. 2. URL: http://www.medlibrary.org/medwiki/Desloratadine.Accessed June 20,2006 3. Charles LF. Lora AL., Morton GP. And Leonard LL. Drug information handbook.Edition12. Ohio USA. 2004.434-5. 4. นงลักษณ์ สุขวาณิชย์ศิลป์. ยาใหม่ในประเทศไทย เล่ม 10. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: นิวไทย มิตรการพิมพ์; 2545.31-2. 5. Salmun LM, Lorber R. 24-hour efficacy of once-daily desloratadine therapy in patients with seasonal allergic rhinitis. 2002;[9 screens]. Available at: URL: http://www.pubmedcentral.gov /articlerender.fcgi? tool=pubmed&pubmedid=12162793. Accessed June 25, 2006. 6. Haye R, Hoye K, Berg O, Frones S, Odegard T. Moning versus evening dosing of desloratadine in seasonal allergic rhinitis. 2005;[7 screens]. Available at: URL:http://www.pubmedcentral.gov/articlerender.fcgi?tool=pubmed&pubmedid=15686 600. Accessed June 25, 2006. 7. Monroe E, Finn A, Patel P, Guerrero R, Ratner P, Bernstein B, et al. Efficacy and safety of desloratadine 5 mg once daily in the treatment of chronic idiopathic urticaria: A double-bind, randomized, placebo-controlled trial. Journal of the American Academy of Dermatology. 2003 April ;48:535-54. 8. Datapharm Communications Ltd 2006 Datapharm Communications Ltd. Available at: http://emc.medicines.org.uk/. Accessed June 23, 2006 9. ชายชาญ โพธิรัตน์, มุฑิตา ตระกูลทิวากร, สุกิจ รุ่งอภินันท์และคณะ. Allergy in Clinical Practice 2003. ธนวรรณการพิมพ์. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2546.หน้า 119 - 121 10. นงลักษณ์ สุขวาณิชย์ศิลป์. เภสัชวิทยา เล่ม 3. กรุงเทพมหานคร. ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะ เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2537.หน้า 58 – 60 11. ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านเวชภัณฑ์ กระทรวงสาธารณสุข. Available at: URL: http://dmsic.moph.go.th/price/prepare.php. Accessed June 23, 2006 12. Available at: URL: http://www. en.wikipedia.org/wiki/Aerius. Accessed June 25, 2006.