SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 123
Baixar para ler offline
รายงานเบื้องต้น
ข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร
รวบรวมโดย
ศูนย์เตือนภัยสุขภาพคนกรุงเทพเทพมหานคร
(Bangkok Health Awareness Center)
ปี 2558
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ชื่อเรื่อง : รายงานเบื้องต้นข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร
รวบรวม : ศูนย์เตือนภัยสุขภาพกรุงเทพมหานคร
ผู้สนับสนุนโครงการฯ และสนับสนุนการจัดพิมพ์ :
แผนงานเครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
กระทรวงสาธารณสุข
ครั้งที่พิมพ์ : ครั้งที่ 1
ปีที่จัดพิมพ์ : พ.ศ. 2559
จํานวนพิมพ์ : 300 เล่ม
บรรณาธิการ : รศ.พญ.ศิริวรรรณ ตั้งจิตกมล นธีรัตน์ ธรรม์โรจน์ พ.ญ.ชาดากานต์ ผโลประการ
จัดทําและเผยแพร่โดย
ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
681 ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
โทร. 0 2244 3005-6 โทรสาร. 0 2244 3636
E-mail: vajiramedj@gmail.com
พิมพ์ที่ : บริษัท ไอ ปริ้นติ้ง คัลเลอร์ (ประเทศไทย) จํากัด
ที่อยู่ 466 ซอยลาดพร้าว 107 แยก 36 (ดีสมโชค) แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
โทรศัพท์ 02 736 1479 โทรสาร 02 736 1478
ISBN : 978-616-7741-24-6
 
 
 
 
 
 
 
รายงานเบื้องต้นข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร. ศิริวรรรณ ตั้งจิตกมล และคณะ,
บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช, 2559.
150 หน้า. -- (ข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร).
1. สุขภาพ--ไทย--การสํารวจ. I. ชื่อเรื่อง.
613.0212
ISBN 978-616-7741-24-6
คณะผู้จัดทํา
ดร. พิจิตต รัตตกุล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษา
นพ. อนันต์ มโนมัยพิบูลย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษา
ผศ.ดร.นพ.ภูดิท เตชาติวัฒน์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษา
ศ.นพ.วิชัย เอกพลากร ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล
และแผนงานสํารวจสุขภาพประชาชนไทย สวปก,
สวรส.
ที่ปรึกษา
ดร.นพ.วิชช์ เกษมทรัพย์ แผนงานเครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
และภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่ปรึกษา
รศ.พญ.ศิริวรรณ ตั้งจิตกมล คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร
รอ.พญ.ชาดากานต์ ผโลประการ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร
นางนธีรัตน์ ธรรม์โรจน์ โครงการศูนย์เตือนภัยสุขภาพคนกรุงเทพเทพมหานคร
นางสาวสุชาดา ตาสาย มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร
นางสาวบุษบง นครกัณฑ์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร
นายภูรีสิชฌ์ บัวศิริธนารัชต์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
คํานํา
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก เกิดจากนานาประเทศต่างเร่งพัฒนาสู่ความเจริญทั้งด้านสังคม วัฒนธรรม และ
เศรษฐกิจ กรุงเทพมหานครจัดเป็นเมืองขนาดใหญ่ที่กําลังเร่งพัฒนาเมืองเช่นกัน การขยายตัวของกรุงเทพมหานคร
ในปัจจุบัน ทําให้มีประชากรโยกย้ายเข้ามาประกอบอาชีพต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น การมีวิถีชีวิตที่ต้องเร่งรีบ การเดินทางที่
ต้องใช้เวลามากขึ้น จากการจราจรที่หนาแน่น ทําให้ไม่มีเวลาออกกําลังกายหรือมีกิจกรรมทางกายน้อย การบริโภคผัก
และผลไม้น้อย การบริโภคน้ําอัดลม น้ําหวาน อาหารทอดและอาหารเค็มมากขึ้น รวมทั้งการดื่มสุราและสูบบุหรี่ ซึ่ง
เป็นพฤติกรรมที่เป็นภัยต่อสุขภาพอนามัย ประชากรเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่งต่อการพัฒนาในทุกมิติและทุกประเทศ
ทั่วโลก เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนจึงควรมีการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชนให้มีสุขภาพแข็งแรง ไม่ให้เจ็บป่วยด้วย
โรคต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเรื้อรังซึ่งจะมีผลกระทบต่อบุคคลและสังคมในระยะยาว
โครงการศูนย์เตือนภัยสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร ที่จัดทําโดยมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร
ด้วยความร่วมมือของแผนงานเครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ สํานักพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ จึงได้จัดทํา
ข้อมูลด้านสุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ประโยชน์และเป็นข้อมูลในการเตือนภัยสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร
ต่อไป
จากรายงานภาระโรคระดับเขตและภูมิภาคของประเทศไทย ปี 2554 พบว่าคนกรุงเทพมหานครมีอัตราการ
สูญเสียปีสุขภาวะจากโรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง ทั้งในเพศชายและเพศหญิงเป็นอันดับแรก และ
จากการสํารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายของสํานักงานสํารวจสุขภาพประชาชนไทย พบว่าคน
กรุงเทพมหานคร มีความชุกของภาวะไขมันคอเลสเทอรอลในเลือดสูง โรคความดันโลหิตสูง มีโรคเบาหวานมากกว่าทุก
ภาคของประเทศ
รายงานฉบับนี้เป็นผลการดําเนินงานโครงการในระยะแรก เพื่อรวบรวมข้อมูลที่สําคัญเกี่ยวกับสุขภาพ
ที่เป็นปัญหาของคนกรุงเทพมหานคร โดยการขอรับการสนับสนุนข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ด้านสุขภาพและจาก
แหล่งข้อมูลที่ได้มีการเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ
คณะผู้จัดทํา
หน้า
คํานํา
สารบัญ II
กิตติกรรมประกาศ X
บทสรุปผู้บริหาร XI
บทที่ 1 บทนํา 1
นิยามศัพท์ 3
ข้อจํากัดของการรวบรวมข้อมูล 4
บทที่ 2 5
2.1 ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของกรุงเทพมหานคร 5
2.2 ประชากร 7
1) จํานวนประชากรกลางปีประเทศ 8
2) จํานวนประชากรกลางปีกรุงเทพมหานคร 9
3) อายุคาดเฉลี่ย 11
บทที่ 3 ทรัพยากร 12
3.1 การลงทุนด้านสุขภาพ 12
3.2 ทรัพยากรสุขภาพ 13
สถานบริการสุขภาพในเขตกรุงเทพมหานคร 13
คลินิกชุมชนอบอุ่นเครือข่ายของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 23
บุคลากรทางการแพทย์ 25
อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร 27
การมีหลักประกันสุขภาพ 29
ผู้มีสิทธิประกันสังคม 32
ระบบส่งต่อ 33
บทที่ 4 สถิติสุขภาพที่สําคัญ 37
กระบวนการจัดทําข้อมูลสถิติชีพของสํานักนโยบายยุทธศาสตร์ 37
การเกิดมีชีพ 38
การตาย 40
ภาระโรค 47
โรคที่มีอัตราตายปรับฐานและอัตราการสูญเสียปีสุขภาวะของกรุงเทพมหานคร 51
โรคที่มีอัตราตายปรับฐานและอัตราการสูญเสียปีสุขภาวะจําแนกรายภาค 52
ขั้นตอนการจัดทําข้อมูลของสํานักการแพทย์ 54
II
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
สาเหตุและการป่วยของผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน 55
ขั้นตอนการจัดทาข้อมูลของสานักอนามัย 64
ความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและกรุงเทพมหานครในการพัฒนา
ระบบข้อมูลภายใต้ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
65
ปัญหาสุขภาพจิต 67
บทที่ 5 พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อของคนไทยและกรุงเทพมหานคร 68
บทที่ 6 บทสรุป ปัญหาและข้อเสนอแนะ 78
บรรณานุกรม 86
ภาคผนวก 89
III
สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1 จานวนประชากรกลางปีประเทศ และกรุงเทพมหานคร จาแนกตามเพศ
ปี 2552 – 2557
8
ตารางที่ 2 จานวนประชากรกลางปี จาแนกตามเพศและกลุ่มอายุ 5 ปี กรุงเทพมหานคร
ปี 2555 – 2557
9
ตารางที่ 3 อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดและอายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ปี จาแนกรายภาค
และเพศ ปี 2548-2549
11
ตารางที่ 4 งบประมาณที่สานักการแพทย์ได้รับการจัดสรร จาแนกตามแผนงาน
ปี 2555-2557
12
ตารางที่ 5 งบประมาณที่สานักการแพทย์ได้รับ จาแนกตามหมวดการใช้จ่าย
ปี 2555-2557
12
ตารางที่ 6 งบประมาณที่สานักอนามัยได้รับการจัดสรร จาแนกตามแผนงาน
ปี 2555-2557
13
ตารางที่ 7 งบประมาณที่สานักอนามัยได้รับ จาแนกตามหมวดค่าใช้จ่าย ปี 2555-2557 13
ตารางที่ 8 จานวนและร้อยละของเตียงรองรับผู้ป่วยของหน่วยบริการสุขภาพ ในเขตพื้นที่
กรุงเทพมหานคร ปี 2556
15
ตารางที่ 9 จานวนและร้อยละของหน่วยบริการสุขภาพประเภทที่มีเตียงรองรับผู้ป่วย
ในเขตกรุงเทพมหานคร จาแนก ตามศักยภาพและความสามารถ
16
ตารางที่ 10 โรงพยาบาลเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร สังกัดกระทรวงต่างๆมูลนิธิ สภากาชาด
ไทยและเอกชน
17
ตารางที่ 11 ข้อมูลโรงพยาบาลเอกชน ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตามการขึ้นทะเบียน
เป็นเครือข่ายหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและประกันสังคม ปี 2558
22
ตารางที่ 12 คลินิกชุมชนอบอุ่นเครือข่ายสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จาแนก
ตามกลุ่ม/เขตกรุงเทพมหานคร ปี 2558
23
ตารางที่ 13 จานวนศูนย์บริการสาธารณสุขในสังกัดกรุงเทพมหานครจาแนกตามกลุ่ม/เขต 24
ตารางที่ 14 สัดส่วนบุคลากร 5 กลุ่มวิชาชีพต่อประชากร ของประเทศและกรุงเทพมหานคร
ปี 2555-2557
25
ตารางที่ 15 จานวนและสัดส่วนบุคลากรทางการแพทย์ต่อประชากรของประเทศ และ
กรุงเทพมหานคร จาแนกตามภาครัฐ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน
อิสระและเอกชน ปี 2557
26
ตารางที่ 16 จานวนอาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) เขตกรุงเทพมหานคร ปี 2554-2558 27
ตารางที่ 17 ร้อยละของประชากรที่มีสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล จาแนกรายภาคและ
ประเภทสวัสดิการ ปี 2556
30
IV
สารบัญตาราง (ต่อ)
หน้า
ตารางที่ 18 จานวนการใช้บริการของผู้ประกันตน จาแนกรายภาคและตามการใช้บริการ
ปี 2556
32
ตารางที่ 19 การรับการส่งต่อของศูนย์ส่งต่อ เพื่อการดูแลมารดาและทารกหลังคลอดภายใน
6 สัปดาห์แรกที่บ้าน ปี 2557
34
ตารางที่ 20 จานวนมารดาและร้อยละของกลุ่มอายุของมารดา ที่ได้รับการส่งต่อจาก
โรงพยาบาลสังกัดสานักการแพทย์ ปี 2557
35
ตารางที่ 21 อัตราตายต่อแสนประชากรของคนกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสาเหตุการตาย
ปี 2549-2556
43
ตารางที่ 22 อัตราตายต่อแสนประชากร ของคนกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสาเหตุและ
เพศชาย ปี 2549-2556
44
ตารางที่ 23 อัตราตายต่อแสนประชากร กรุงเทพมหานคร จาแนกตามเพศหญิงและสาเหตุ
ปี 2549-2556
45
ตารางที่ 24 โรคที่มีอัตราตายปรับฐานและอัตราการสูญเสียปีสุขภาวะสูงสุด 5 อันดับแรก
จาแนกตามเพศ ชายและหญิง ในเขตกรุงเทพมหานคร ปี 2554
51
ตารางที่ 25 โรคที่มีอัตราตายปรับฐานและอัตราการสูญเสียปีสุขภาวะสูงสุด 5 อันดับแรก
จาแนกตามเพศชาย และรายภาค ปี 2554
52
ตารางที่ 26 โรคที่มีอัตราตายปรับฐานและอัตราการสูญเสียปีสุขภาวะสูงสุด 5 อันดับแรก
จาแนกตามเพศหญิงและรายภาค ปี 2554
53
ตารางที่ 27 จานวนและอัตราผู้ป่วยในต่อแสนประชากรสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
และสวัสดิการข้าราชการ จาแนกตามสาเหตุกลุ่มโรคปี 2555 – 2557
55
ตารางที่ 28 จานวนผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลสังกัดสานักการแพทย์ จาแนกตามสาเหตุป่วย 58
ตารางที่ 29 จานวนผู้ป่วยในของโรงพยาบาล สังกัดสานักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
จาแนกตามสาเหตุการป่วย ปี 2556
59
ตารางที่ 30 สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอก จาแนกตามกลุ่มสาเหตุการป่วย 5 อันดับของ
โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2555-2557
60
ตารางที่ 31 สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยใน จาแนกตามกลุ่มสาเหตุ 5 อันดับ
โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2555 – 2557
61
ตารางที่ 32 จานวนและร้อยละผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี จาแนกตามสาเหตุ
ป่วยปี 2555-2557
62
ตารางที่ 33 จานวนและร้อยละผู้ป่วยใน โรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี กรมการแพทย์
กระทรวงสาธารณสุข จาแนกตามสาเหตุการป่วย ปี 2555 -2557
62
ตารางที่ 34 จานวนและร้อยละผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลคณะแพทยศาสตร์ชิรพยาบาล
จาแนกตามสาเหตุการป่วย ปี 2555-2557
63
V
สารบัญตาราง (ต่อ)
หน้า
ตารางที่ 35 จานวนและร้อยละผู้ป่วยในของโรงพยาบาลคณะแพทยศาสตร์ชิรพยาบาล
จาแนกตามสาเหตุการป่วย ปี 2555 -2557
63
ตารางที่ 36 จานวนและร้อยละของผู้ป่วยนอกที่มารับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุข
สานักอนามัยกรุงเทพมหานคร จาแนกกลุ่มโรค 5 อันดับ ปี 2555 – 2557
66
ตารางที่ 37 ร้อยละของผู้ที่มีความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแล บาบัดรักษา จาแนกตามรายภาค 75
VI
สารบัญรูป
หน้า
รูปที่ 1 แผนที่แสดงการแบ่งกลุ่มเขตพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร 6
รูปที่ 2 จานวนประชากรกลางปี กรุงเทพมหานคร จาแนกตามเพศ ปี 2552-2557 10
รูปที่ 3 ร้อยละของประชากรกลางปีกรุงเทพมหานคร จาแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2555 – 2557 10
รูปที่ 4 การกระจายของหน่วยบริการ จาแนกระดับบริการและเขตกรุงเทพมหานคร 14
รูปที่ 5 หน่วยบริการสุขภาพที่มีเตียงรองรับ จาแนกตามสังกัด ในเขตกรุงเทพมหานคร
ปี 2556
16
รูปที่ 6 หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิเขตกรุงเทพมหานคร และสังกัดกระทรวงต่างๆ 20
รูปที่ 7 คลินิกเอกชน ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จาแนกตามประเภทบริการ ปี 2556 21
รูปที่ 8 โรงพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสังกัดภาครัฐและภาคเอกชน
ปี 2556
21
รูปที่ 9 ร้อยละเตียงรับผู้ป่วยในเขตกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสังกัดภาครัฐและเอกชน
ปี 2556
22
รูปที่ 10 ผู้มีหลักประกันสุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร จาแนกตามที่อยู่ในทะเบียนราษฎร์
ปี 2556
30
รูปที่ 11 ผู้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จาแนกตามที่อยู่ในทะเบียนบ้านในเขต
กรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ปี 2556
31
รูปที่ 12 ร้อยละของการใช้สวัสดิการประเภทต่าง ๆ เมื่อเจ็บป่วยครั้งล่าสุด จาแนกตามรายภาค 31
รูปที่ 13 ผู้ประกันตน (ทุกมาตรา) จาแนกรายภาค ปี 2556 32
รูปที่ 14 กระบวนการจัดทาข้อมูลสถิติชีพของสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวง
สาธารณสุข และสานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย
37
รูปที่ 15 อัตราเกิดมีชีพทั่วประเทศและกรุงเทพมหานคร ปี 2552 -2556 38
รูปที่ 16 อัตราเกิดมีชีพในเขตกรุงเทพมหานครจาแนกตามเพศ ปี 2552-2556 38
รูปที่ 17 อัตราการเกิดมีชีพที่มีน้าหนักตัวต่ากว่า 2,500 กรัม กรุงเทพมหานคร ปี 2552 - 2556 39
รูปที่ 18 อัตราการเกิดมีชีพในมารดาอายุ 15-19 ปี กรุงเทพมหานครปี 2552- 2556 39
รูปที่ 19 อัตรามารดาตายต่อการเกิดมีชีพแสนประชากรของประเทศและเขตกรุงเทพมหานคร
ปี 2554 - 2556
40
รูปที่ 20 อัตราทารก อายุต่ากว่า 1 ปี ตายต่อการเกิดมีชีพพันคนทั่วประเทศและ
กรุงเทพมหานคร ปี 2554-2556
41
รูปที่ 21 อัตราตายเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี กรุงเทพมหานครและทั่วประเทศ ปี 2554-2556 41
รูปที่ 22 อัตราตายต่อแสนประชากรของกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสาเหตุ ปี 2549-2556 42
รูปที่ 23 อัตราตายจากโรคมะเร็งทุกชนิดทั่วประเทศ และกรุงเทพมหานคร ปี 2554 -2556 42
รูปที่ 24 อัตราตายด้วยโรคมะเร็งปอด ของประเทศและกรุงเทพมหานคร ปี 2554-2556 43
VII
สารบัญรูป (ต่อ)
หน้า
รูปที่ 25 อัตราตายของคนกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสาเหตุ เพศชาย ปี 2549-2556 44
รูปที่ 26 อัตราตายของคนกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสาเหตุ เพศหญิง ปี 2549-2556 45
รูปที่ 27 อัตราตายจากโรคมะเร็ง 3 อันดับของประเทศและกรุงเทพมหานคร ปี2554-2556 45
รูปที่ 28 อัตราตายด้วยโรคมะเร็งเต้านมของประเทศและกรุงเทพมหานคร ปี 2554-2556 46
รูปที่ 29 อัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกของประเทศและกรุงเทพมหานคร
ปี 2554-2556
46
รูปที่ 30 การสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรจาแนกตามเขตสุขภาพและภูมิภาค
ปี 2554 (รวม)
48
รูปที่ 31 การสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรจาแนกตามเพศชาย และเขตสุขภาพ
และภูมิภาค ปี 2554
48
รูปที่ 32 การสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรจาแนกตามเพศหญิง และเขต
สุขภาพและภูมิภาค ปี 2554
49
รูปที่ 33 การสูญเสียปีสุขภาวะจากการบกพร่องทางสุขภาพ จาแนกตามเขตสุขภาพ
และภูมิภาค ปี 2554 (รวม)
49
รูปที่ 34 การสูญเสียปีสุขภาวะจากการบกพร่องทางสุขภาพจาแนกกาาเเพชาาย เขาสุขภาพ
แนละภูเิภาค ปี 2554
50
รูปที่ 35 การสูญเสียปีสุขภาวะจากการบกพร่องทางสุขภาพจาแนกกเพชญญิง เขาสุขภาพแนละ
ภูเิภาค ปี 2554
50
รูปที่ 36 ระบบจัดทาข้อมูลสานักการแพทย์ 54
รูปที่ 37 อัตราป่วยต่อแสนประชากร ของผู้ป่วยในสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
และสวัสดิการข้าราชการ (รวมทุกการวินิจฉัยโรค) จาแนกตามสาเหตุกลุ่มโรค
ปี 2555 – 2557
56
รูปที่ 38 ระบบจัดทาข้อมูลสานักอนามัย 64
รูปที่ 39 อัตราป่วยด้วยโรคทางสุขภาพจิตของคนกรุงเทพมหานคร ปี 2554-2556 67
รูปที่ 40 ร้อยละการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จาแนกตามเพศ และรายภาค ปี 2551-2552 68
รูปที่ 41 ร้อยละการสูบบุหรี่เป็นประจา จาแนกตามเพศและรายภาค ปี 2551-2552 69
รูปที่ 42 ร้อยละการสูบบุหรี่ และดื่มสุราในประชากร อายุ 15ปีขึ้นไปจาแนกตามเพศและรายภาค 69
รูปที่ 43 ร้อยละของการบริโภคผักและผลไม้ในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามเพศ
และรายภาคปี 2551-2552
70
รูปที่ 44 ความชุกของภาวะน้าหนักเกิน อ้วน เตี้ย น้าหนักน้อย และผอม ของเด็กกลุ่มอายุ
1-5 ปี จาแนกรายภาค
71
VIII
สารบัญรูป (ต่อ)
หน้า
รูปที่ 45 ความชุกของภาวะน้าหนักเกิน อ้วน เตี้ย น้าหนักน้อย และผอม ของเด็กกลุ่มอายุ
6-11 ปี จาแนกรายภาค
71
รูปที่ 46 ความชุกของภาวะน้าหนักเกิน อ้วน เตี้ย น้าหนักน้อย และผอม ของเด็กกลุ่มอายุ
12-14 ปี จาแนกตามภาค
72
รูปที่ 47 ร้อยละของเด็กอายุ 2 ถึง 14 ปี ดื่มน้าอัดลมน้าชาขวด 4-7 วันต่อสัปดาห์ 72
รูปที่ 48 ภาวะอ้วนของกลุ่มเด็กอายุ 15 ปี ขึ้นไป จาแนกตามดัชนีมวลกายและรายภาค
ปี 2547 และ 2552
73
รูปที่ 49 ร้อยละของกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ จาแนกตามเพศ และเขตสุขภาพ
ปี 2551-2552
73
รูปที่ 50 ร้อยละของการมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ จาแนกรายภาคและตามเพศ
ปี 2551-2552
74
รูปที่ 51 ภาวะความชุกโรคเบาหวานจาแนกรายภาค เปรียบเทียบปี 2547 และปี 2552 74
รูปที่ 52 ความชุกโรคความดันโลหิตสูงจาแนกตามรายภาค เปรียบเทียบปี 2547
และปี 2552
75
รูปที่ 53 ภาวะไขมัน คอเลสเทอรอล ในเลือดสูง>=240 mg/dl จาแนกรายภาคเปรียบเทียบปี
2547 และปี 2552
76
รูปที่ 54 ภาวะโรคหลอดเลือดหัวใจ/กล้ามเนื้อหัวใจตาย ในประชากรไทย อายุ 35 ปีขึ้นไป
จาแนกตามเพศและภาค
76
รูปที่ 55 ภาวะโรคหลอดเลือดสมอง/อัมพฤกษ์ อัมพาต ในกลุ่มประชากร อายุ 15 ปีขึ้นไป
จาแนกตามภาคและเพศ
77
รูปที่ 56 การได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ใน 2 ปีที่ผ่านมา จาแนกตามกลุ่มอายุ
และรายภาค
77
IX
กิตติกรรมประกาศ
ข้อมูลด้านสุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร เป็นข้อมูลที่ได้รวบรวมขึ้นจากหน่วยงานของกระทรวงต่าง ๆ
ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข กรมสุขภาพจิต กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สานักสถานพยาบาลและการประกอบโรค
ศิลปะ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักตรวจและประเมินผล สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สานักงาน
พัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดัชนีประเมินภาระโรคและสุขภาพประชากรไทย
สานักงานสารวจสุขภาพประชาชนไทย สานักงานเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
และ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงแรงงาน สานักงาน
ประกันสังคม สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขตที่ 13 กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร สานักการแพทย์
สานักอนามัย สานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร สานักยุทธศาสตร์และประเมินผล และข้อมูลที่นามาอ้างอิงได้รับการ
ตรวจทานโดยคณะทางานจากหน่วยงานต่าง ๆ ดังกล่าว ขอขอบพระคุณทุกท่านและทุกหน่วยงานเป็นอย่างสูง มาใน
โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณ ศ.นพ.วิชัย เอกพลากร คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และแผนงานสารวจ
สุขภาพประชาชนไทย สานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพ (สวปก) และสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
(สวรส) ที่กรุณาให้ข้อมูลการสารวจสุขภาพประชาชนไทย ทบทวนและให้ข้อเสนอแนะที่มีคุณค่ายิ่ง ทาให้รายงานฉบับ
นี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี
คณะผู้จัดทาข้อมูล
X
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
รายงานฉบับนี้ได้ทาการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิด้านสุขภาพ จากกระทรวงต่าง ๆ หลายหน่วยงาน เช่น
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข สานักนโยบายและ
ยุทธศาสตร์ เขตสุขภาพที่ 13 สานักตรวจและประเมินผล แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดัชนีประเมินภาระโรคและ
สุขภาพของประชากรไทย สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ สานักงานสารวจสุขภาพประชาชนไทย
สานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กรมสุขภาพจิต กระทรวงแรงงาน
สานักงานประกันสังคม กรุงเทพมหานคร สานักการแพทย์ สานักอนามัย สานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร คณะ
แพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ข้อมูลด้านสุขภาพของคนกรุงเทพมหานครที่สาคัญสรุปได้
ดังนี้
1. ภาระโรค (Burden of Disease) ข้อมูลปี 2554
อัตราการสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควร (Year of Life Lost due to premature death:
YLL) พบว่ากรุงเทพมหานครหรือเขตสุขภาพที่ 13 มีอัตราสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรต่าสุดเท่ากับ
72 คนต่อประชากรพันคน (เพศชาย 91 และเพศหญิง 55) เมื่อเทียบกับภูมิภาคอื่น ๆ
การสูญเสียปีสุขภาวะจากการบกพร่องทางสุขภาพ (Year Lost due to Disability: YLD) พบว่า
กรุงเทพมหานครมีอัตราต่าสุด เท่ากับ 47 คนต่อประชากรพันคน (เพศชาย 45 คนต่อประชากรพันคน เพศหญิง 48
คนต่อประชากรพันคน) เมื่อเทียบกับภูมิภาคอื่น ๆ
โรคที่มีอัตราตายปรับฐานและมีอัตราการสูญเสียปีสุขภาวะสูงสุด 5 อันดับแรก กรุงเทพมหานครจาแนกตาม
เพศ ดังนี้
 เพศชาย มีอัตราตายปรับฐาน 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง
โรคมะเร็งหลอดลม/ปอด โรคมะเร็งตับ และการติดเชื้อ HIV/AIDS ตามลาดับ ส่วนอัตราการ
สูญเสียปีสุขภาวะอันดับ 1 ได้แก่ โรคเลือดสมอง และโรคหัวใจขาดเลือด การติดเชื้อ HIV /AIDS
อุบัติเหตุทางถนน และมะเร็งตับ ตามลาดับ
 เพศหญิงมีอัตราตายปรับฐาน 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด
โรคเบาหวาน โรคมะเร็งลาไส้ใหญ่และทวารหนัก และโรคมะเร็งเต้านม ตามลาดับ ส่วนอัตราการ
สูญเสียปีสุขภาวะ 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคซึมเศร้า โรคหลอดเลือดสมอง ต้อกระจก โรคหัวใจ
ขาดเลือด และโรคเบาหวาน ตามลาดับ
XI
2. ข้อมูลการตายและสาเหตุการตายของคนกรุงเทพมหานคร ปี 2549 -2556
สาเหตุการตาย 10 อันดับ ในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ โรคมะเร็งทุกชนิด โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ตั้งแต่ปี 2550 และเพิ่มมากที่สุด ในปี 2556 ซึ่งมีอัตราตายเท่ากับ 161.6 ต่อแสนประชากร (อัตราตายจากโรคมะเร็ง
ของประชากรทั้งประเทศ เท่ากับ 103.9 ต่อแสนประชากร) โรคหัวใจและโรคปอดอักเสบ และโรคอื่น ๆ ของปอด โรค
ความดันเลือดสูงและโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งเป็นสาเหตุการตายรองลงมาก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
 สาเหตุการตายในเพศหญิง 3 อันดับแรก ปี 2556 ได้แก่ มะเร็งเต้านม โดยสูงสุดในช่วงอายุ
ระหว่าง 50-59 ปี เท่ากับ 22 ต่อแสนประชากร และมะเร็งปากมดลูก โดยสูงสุดในช่วงอายุ 50
ปีขึ้นไป เท่ากับ 10.7 สาเหตุการตายโรคหัวใจปอดอักเสบและโรคอื่น ๆ พบรองลงมา แต่มี
แนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกัน
 สาเหตุการตายในเพศชาย 3 อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งทุกชนิดซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2550 และเพิ่มมากที่สุด ในปี 2556 ซึ่งมีอัตราตายเท่ากับ 181.6 ต่อแสน
ประชากร โดยพบมะเร็งปอดมีอัตราตายสูงสุด เท่ากับ 29.8 (ทั้งประเทศ มีอัตราตายจาก
มะเร็งปอด เท่ากับ 17.9) และโรคหัวใจ อัตราตายเท่ากับ 63.9
3. การเจ็บป่วยด้วยโรค/กลุ่มโรคที่พบ ข้อมูลปี 2555 – 2557
ข้อมูลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน เป็นข้อมูลรายงานการให้บริการของโรงพยาบาลในสังกัด กรุงเทพมหานคร
โรงพยาบาลวชิรพยาบาล โรงพยาบาลราชวิถี และโรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี ซึ่งเป็นโรงพยาบาลที่ให้บริการแก่คน
กรุงเทพกรุงเทพมหานครเป็นส่วนใหญ่ จึงเป็นข้อมูลที่สามารถบ่งบอกถึงปัญหาสุขภาพคนกรุงเทพมหานครได้ชัดเจน
ขึ้น ซึ่งโรคที่พบส่วนใหญ่เป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ
โภชนาการและเมแทบอลิซึม โรคมะเร็งอวัยวะต่าง ๆ และต้อกระจก
ข้อมูลการป่วยของผู้ป่วยในของคนกรุงเทพมหานคร ที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และสวัสดิการ
ข้าราชการฯ ย้อนหลัง 3 (ปี 2555 – 2557) โรคที่พบ 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรค
โลหิตจางจากไขกระดูกฝ่อและโลหิตจางชนิดอื่น ๆ โรคหัวใจ และโรคไตวาย ตามลาดับ โดยโรคความดันโลหิตสูง และ
โรคเบาหวาน มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย
4. พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของประชากรไทยและกรุงเทพมหานคร ข้อมูลปี 2551-2552
การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พบว่าคนกรุงเทพมหานคร มีอัตราการดื่มในภาพรวม ร้อยละ 6.9 (เพศชายดื่ม
ร้อยละ 13.1 และเพศหญิง ร้อยละ 1.9)
การสูบบุหรี่ประจาเฉลี่ย พบว่าภาพรวมคนกรุงเทพมหานคร สูบบุหรี่ประจาร้อยละ 16.1 (เพศชาย และเพศ
หญิงมีการสูบบุหรี่ประจาเฉลี่ยร้อยละ 28.4 และร้อยละ 4.3 ตามลาดับ) อัตราการสูบบุหรี่ประจาน้อยกว่าทุกภาค การ
สูบบุหรี่ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ข้อมูลการสารวจอนามัยและสวัสดิการ สานักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2556 พบว่า
เพศชายกรุงเทพมหานครสูบบุหรี่สูงถึงร้อยละ 39
XII
การบริโภคผักและผลไม้ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ประชาชนในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป คนกรุงเทพมหานครมีการ
บริโภคผักและผลไม้น้อยกว่าภาคอื่น ๆ (ร้อยละ 69 ในเพศชาย และร้อยละ 65 ในเพศหญิง)
การสารวจความชุกของการดื่มน้าอัดลมและขนมกรุบกรอบ กลุ่มเด็กอายุ 2-14 ปี ทั้งประเทศ
ดื่มน้าอัดลม น้าชาขวด 4-7 วันต่อสัปดาห์ อัตราสูงที่สุดในกรุงเทพมหานคร คือ ร้อยละ 42.2 ส่วนการกินขนม
กรุบกรอบ 4-7 วันต่อสัปดาห์ในกรุงเทพมหานครพบร้อยละ 48.2 ซึ่งใกล้เคียงกับภาคอื่น ๆ
การออกกาลังกายหรือกิจกรรมทางกาย คนกรุงเทพมหานคร มีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ เพศหญิง ร้อย
ละ 27.1 และเพศชายร้อยละ 23.4 โดยกรุงเทพมหานครและเขตสุขภาพภาคใต้ มีกิจกรรมทางกายน้อยกว่าภาคอื่น ๆ
ดัชนีมวลกาย คนกรุงเทพมหานคร กลุ่มอายุเท่ากับหรือมากกว่า 15 ปี ที่มีดัชนีมวลกายเท่ากับหรือมากกว่า
25 kg/m2 สูงถึงร้อยละ 35 ในปี 2547 และเพิ่มเป็น ร้อยละ 44.3 ในปี 2552
ภาวะน้าหนักเกิน อ้วน หรือเตี้ย น้าหนักน้อยและ ผอม คือ
 กลุ่มอายุ 1-5 ปี จากการสารวจความชุกภาวะน้าหนักเกิน อ้วน เด็กกรุงเทพมหานครวัยก่อนเรียน มีภาวะ
น้าหนักเกินมากที่สุด ร้อยละ 8.7 ภาวะอ้วน ร้อยละ 6.2 ส่วนภาวะเตี้ย น้าหนักน้อย ผอมร้อยละ 6.6, 3.3
และร้อยละ 1.0 ตามลาดับ
 กลุ่มอายุ 6-11 ปี มีภาวะน้าหนักเกิน อ้วน ร้อยละ 7.3 และร้อยละ 5.6 มีภาวะเตี้ย น้าหนักน้อย และผอม
ร้อยละ 2.9, 3.4 และร้อยละ 2.9 ตามลาดับ
 กลุ่มอายุ 12-14 ปี มีภาวะน้าหนักเกิน อ้วน ร้อยละ 3.9 และร้อยละ 10.2 เตี้ย น้าหนักน้อย ผอมร้อยละ 3.4,
4.5, และร้อยละ 4.9 ตามลาดับ เด็กกลุ่มนี้มีแนวโน้มเตี้ย น้าหนักน้อย ผอมมากยิ่งขึ้น ซึ่งบ่งบอกถึงภาวะ
โภชนาการเกินและขาดพร้อมกันในกลุ่มอายุดังกล่าว
ภาวะโรคเบาหวาน คนกรุงเทพมหานคร มีภาวะโรคเบาหวานมากที่สุดในปี 2547 ร้อยละ 12 และลดน้อยลง
ในปี 2552 เหลือร้อยละ 9.2 (รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีภาวะเบาหวาน ร้อยละ 7.6 ในปี 2547 และ
ลดน้อยลงในปี 2552 เหลือร้อยละ 7)
ภาวะไขมันคอเลสเทอรอลในเลือดสูง คนกรุงเทพมหานคร มีภาวะไขมันคอเลสเทอรอลในเลือดสูงถึงร้อยละ
30 ในปี 2547 และลดลงเหลือร้อยละ 25.8 ในปี 2552
ภาวะความดันโลหิตสูงของคนกรุงเทพมหานคร พบร้อยละ 21 ในปี 2547 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 29.8
ในปี 2552 ผู้ป่วยไม่ได้รับการวินิจฉัย ร้อยละ 36.8 ได้รับการวินิจฉัยแต่ไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 8.7 รักษาและ
ควบคุมได้ ร้อยละ 28.1 รักษาและควบคุมไม่ได้ ร้อยละ 26.4
ภาวะโรคหลอดเลือดหัวใจ/กล้ามเนื้อหัวใจตายในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เคยได้รับการวินิจฉัย พบอัตราใน
กรุงเทพมหานครสูงที่สุด ร้อยละ 3.6 โดยแบ่งเป็น ร้อยละ 4.7 ในเพศชาย และร้อยละ 2.6 ในเพศหญิง โดยมีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้น
XIII
การได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกใน 2 ปีที่ผ่านมา สตรีทั้งประเทศได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
ร้อยละ 42.5 ส่วนสตรีกรุงเทพมหานคร ได้รับการตรวจน้อยกว่าทุกภาค คือ ร้อยละ 28.9
ปัญหาและข้อเสนอแนะ
1) ระบบข้อมูล (Information System)
ปัญหา
 สานักการแพทย์และสานักอนามัย กรุงเทพมหานคร ไม่มีศูนย์กลางที่จะนาข้อมูลที่
จัดเก็บไว้เพื่อบริหารจัดการ และนามาใช้ประโยชน์ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจะทาให้เห็นภาพรวมของปัญหาด้าน
สุขภาพของคนกรุงเทพมหานครอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อจัดทานโยบาย แผนงาน/โครงการ ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา
สุขภาพจริง ๆ ของประชาชน
ข้อเสนอแนะ:
 ควรจัดให้มีหน่วยงานหลัก ในการประสานงาน จัดเก็บข้อมูล รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลด้าน
สุขภาพจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งของกรุงเทพมหานครและกระทรวงอื่น ๆ ที่มีงานบริการสาธารณสุข รวมทั้งประสาน
ความร่วมมือจากภาคเอกชน
 ให้มีการวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร และเผยแพร่ข้อมูลและปัจจัยเสี่ยง
ด้วยสื่อ social media หลายรูปแบบ เพื่อกระตุ้นให้เกิดความตระหนักถึงภัยสุขภาพ และนาไปสู่ความร่วมมือในการ
แก้ปัญหา
 ผลิตสื่อ หรือเพิ่มช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่เป็นประโยชน์แก่คน
กรุงเทพมหานคร
2) ระบบบริการด้านสุขภาพ
ปัญหา:
 การกระจายตัวของสถานพยาบาล สังกัดกรุงเทพมหานครยังไม่ครอบคลุมทุกเขตพื้นที่ของ
กรุงเทพมหานคร
ข้อเสนอแนะ:
 สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับโรงพยาบาลของรัฐสังกัดกระทรวงอื่นในพื้นที่ จัดทานโยบายการ
เปิดสถานบริการทางสาธารณสุขใหม่ ๆ ให้มีการกระจายตัวครอบคลุมเขตพื้นที่ที่ยังไม่มีสถานบริการ
XIV
3) พฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพ
ปัญหา:
 มีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม การบริโภคผักและผลไม้ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ประชาชน
ในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป มีการบริโภคผักและผลไม้ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานและต่ากว่าภาคอื่นๆ ในขณะที่กลุ่มเด็ก
กรุงเทพมหานครอายุ 2-14 ปี มีการดื่มน้าอัดลมและขนมกรุบกรอบสูงกว่าประชากรเด็กภาคอื่น
ข้อเสนอแนะ
 ประชาสัมพันธ์สื่อสารหลายรูปแบบ/รณรงค์ให้แก่ อสส.เรื่อง DPAC และโภชนาการ ลด อาหาร
หวาน มัน เค็ม แนะนาประชาชนบริโภคผักผลไม้เพิ่มขึ้น“บริโภคผักผลไม้ครึ่งหนึ่ง อย่างอื่นครึ่งหนึ่ง” ด้วยการบริโภค
ผักผลไม้ปลอดสารพิษ
 รณรงค์ปลูกผักเพื่อบริโภคเองในกระถาง บนหลังคาอาคารที่อยู่อาศัย หรือในที่รกร้างว่างเปล่า
ศึกษาดูงานเขตที่มีการปลูกผักบนอาคารได้ผลดี เช่น ที่ทาการเขตหลักสี่ เขตภาษีเจริญ ฯลฯ
 ประชาสัมพันธ์สื่อสารหลายรูปแบบ/รณรงค์ให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูในโรงเรียนให้ความสนใจการ
บริโภคอาหารและการเลือกซื้ออาหารให้ถูกหลักโภชนาการ ไม่ส่งเสริมการดื่มน้าอัดลมและขนมกรุบกรอบในกลุ่มเด็ก
โรงเรียนควรมีนโยบายในการห้ามไม่ให้มีการขายน้าอัดลมและขนมกรุบกรอบในโรงเรียนและบริเวณหน้าโรงเรียน
ส่งเสริมการบริโภคผลไม้ไทยและผลไม้ตามฤดูกาลแทน
ปัญหา:
 คนกรุงเทพมหานครมีกิจกรรมทางกาย หรือออกกาลังกายน้อยกว่าภูมิภาคอื่น ๆทุกภาค
ข้อเสนอแนะ:
 สร้างกระแสการออกกาลังกาย เช่น การณรงค์ปั่นจักรยานอย่างต่อเนื่อง ประชาสัมพันธ์สื่อสาร
ทาง social media สร้างแรงจูงใจในการออกกาลังกาย
 มุ่งเน้นคากล่าวที่ว่า ‘Exercise is Medicine’ และเผยแพร่การใช้ชีวิต active life style มาก
ขึ้น
 เพิ่มสถานที่สาหรับการออกกาลังกายให้มากขึ้น เช่น เพิ่มเลนสาหรับการขี่จักรยานเพื่อสุขภาพ
โดยเฉพาะหรือสร้างทางสาหรับการเดิน
 จัดทาโครงการ “กรุงเทพมหานครเมืองแห่งการออกกาลังกาย” มีผู้นาการออกกาลังกายทุก
ชุมชน เพื่อสร้างพฤติกรรมที่ดีช่วยลดกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (NCD)
4) การเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ปัญหา:
 คนกรุงเทพมหานครพบโรคอ้วน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหลอด
เลือดหัวใจ/กล้ามเนื้อหัวใจตาย ไขมันคอเลสเทอรอลในเลือดสูงกว่าภาคอื่น รวมทั้งกลุ่มเด็กอายุ 1-5 ปี และกลุ่มอายุ
15 ปี ที่มีภาวะอ้วนมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น
XV
ข้อเสนอแนะ
 สนับสนุนการสร้างชุมชนตัวอย่าง ชุมชนสุขภาพดีปลอดโรคไม่ติดต่อ ให้ความสาคัญ
การดูแลสุขภาพตนเอง ส่งเสริมกิจกรรม “สร้างสุขภาพ นาการซ่อมสุขภาพ” ทุกรูปแบบ ให้ชุมชนคิดเองได้ตาม
ต้องการ เชิดชูชุมชนดีเด่น
 สร้างชุมชนเข้มแข็งในการคิดนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อดูแลสุขภาพของคนในชุมชน
มีอสส. เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง ฯลฯ
ปัญหา:
 สตรีกรุงเทพมหานครทุกกลุ่มอายุได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก เพียงร้อยละ 28.9
และแนวโน้มที่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกน้อยกว่าทุกภาค
 อัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกของสตรีกรุงเทพมหานคร
สูงกว่าสตรีทั่วประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
 สตรีกรุงเทพหานคร ไม่ยอมรับการตรวจมะเร็งปากมดลูก เนื่องจากมีความเชื่อและ
ทัศนคติที่ผิด เชื่อว่าการไปตรวจ “จะต้องมีอาการผิดปกติ” อ้างเหตุผลในการไม่ไปตรวจเพราะ “ไม่มีอาการผิดปกติ”
ข้อเสนอแนะ:
 สร้างมาตรการใหม่ ๆ เพื่อจูงใจให้สตรีมารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก โดยหน่วยงาน
สาธารณสุขทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ควรร่วมมือกันจัดกิจกรรมรณรงค์ตรวจพร้อมกันทั่วทุกเขตกรุงเทพมหานคร
 ดาเนินมาตรการเชิงรุกในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และการ
ตรวจสุขภาพให้แก่ประชาชนในชุมชนให้ครอบคลุมมากขึ้น การจัดสรรงบประมาณในการจัดหารถตรวจสุขภาพ
เคลื่อนที่ให้สานักอนามัยเพิ่มขึ้น และเพิ่มบุคลากรสาธารณสุขให้เพียงพอ
 ให้ข้อมูลและความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน
มุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมาย เฉพาะเพศหญิงช่วงอายุระหว่าง 50-59 ปี ที่ต้องดูแลเป็นพิเศษด้วยการติดตามให้มารับการตรวจ
คัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างต่อเนื่อง ในทุกชุมชนที่รับผิดชอบ
XVI
ข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร 1
บทที่ 1
บทนำ
หลักกำรและเหตุผล
ข้อมูลด้านสุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร ได้รับความร่วมมือจากหลายหน่วยงาน เช่น กระทรวง
สาธารณสุขสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานสถิติแห่งชาติ
กรุงเทพมหานคร สานักการแพทย์ สานักอนามัย กระทรวงศึกษาธิการซึ่งมีโรงพยาบาลในสังกัดของมหาวิทยาลัยที่
มีการเรียนการสอนด้านสุขภาพในเขตกรุงเทพมหานคร เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์หน่วยงานดังกล่าว ได้จัดทาข้อมูลรายงานในวาระต่างๆกันเช่นรายงานผลงานประจาปี
รายงานผลการปฏิบัติราชการ รายงานประจาเดือน ฯลฯ และกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีบทบาทภารกิจในการ
กาหนดนโยบายระดับชาติด้านสุขภาพ และให้บริการทั้งการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ
การป้องกันควบคุมโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ประชาชนโดยตรง
กรุงเทพมหานครได้ก่อกาเนิดมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช และมีการดาเนินการมายาวนานและต่อเนื่อง
โดยมีคณะที่เกี่ยวข้องกับด้านสุขภาพคือ คณะแพทยศาสตร์วชิพยาบาลและคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์
นอกจากนั้น ยังมีสานักการแพทย์ซึ่งมีโรงพยาบาลในสังกัดรวม 9 แห่ง และสานักอนามัยซึ่งมีศูนย์บริการ
สาธารณสุขอยู่กระจายในชุมชนต่าง ๆ ในเขตพื้นที่ รวม 68 แห่งเพื่อดูแลสุขภาพของคนกรุงเทพมหานครให้
ครอบคลุมและทั่วถึง
ปัจจุบันการจัดเก็บข้อมูลด้านสุขภาพของแต่ละหน่วยงานมีรูปแบบและเนื้อหาที่มีความหลากหลายขึ้นกับ
วัตถุประสงค์และภารกิจของคณะกรรมการบริหารองค์กร หรือหน่วยงานนั้นๆ ทาให้ไม่สามารถรวบรวมข้อมูล
ข่าวสารที่มีอยู่ในระบบสุขภาพให้เห็นภาพรวมของคนกรุงเทพมหานครได้อย่างครบถ้วนและชัดเจน นอกจากนี้ยัง
ไม่มีกระทรวงหรือหน่วยงานใดที่ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการบูรณาการข้อมูลข่าวสารได้อย่างจริงจัง ทาให้ไม่
สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้วให้เกิดประสิทธิภาพได้ แม้ว่าจะได้มีการลงทุนทั้งทรัพยากรบุคคล
งบประมาณค่าใช้จ่าย และเวลา
ศูนย์เตือนภัยสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร (Bangkok Health Awareness Center: BHAC) ได้
ดาเนินการรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานครจากฐานข้อมูลหลายแหล่งเพื่อให้เห็นภาพรวม
สถานการณ์และทรัพยากรด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานครโดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาใหญ่ของคน
ในเขตเมือง ซึ่งข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์ในการวางแผนดาเนินการด้านสุขภาพ รวมทั้งนาเสนอปัญหาอุปสรรค เพื่อ
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลต่อไป
หน่วยงำนที่รับผิดชอบโครงกำร
1. มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร โดยคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
2. แผนงานเครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
วัตถุประสงค์ทั่วไป
เพื่อรวบรวมข้อมูล (data collection) จากฐานข้อมูลของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์
สังเคราะห์ สถานการณ์ปัญหาสุขภาพ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ต่าง ๆ ด้านสุขภาพ อันจะนาไปสู่การ
สร้างความตระหนักถึงภัยสุขภาพในกลุ่มคนกรุงเทพมหานคร รวมทั้งมีข้อเสนอแนะเพื่อการพิจารณาปรับปรุง
ระบบบริการสุขภาพของคนกรุงเทพมหานครให้ดียิ่งขึ้น
ข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร 2
กำรดำเนินกำรรวบรวมข้อมูล
มีขั้นตอนดังนี้
1. กาหนดวัตถุประสงค์ (set objective)
2. กาหนดประเด็นเกี่ยวกับสุขภาพที่จะทบทวน (set target health issues)
3. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (collect data)
4. ประเมินและพิจารณาข้อมูลที่มีประโยชน์และควรนาเสนอ (assess and select data)
5. เรียบเรียงและเขียนรายงาน (report preparation)
6. จัดพิมพ์และเผยแพร่รายงานไปส่วนงานที่เกี่ยวข้อง (distribute report)
ข้อมูลที่รวบรวม ได้แก่
1. ภาพรวมของข้อมูลด้านกายภาพของคนกรุงเทพมหานคร ประชากร อาณาเขต สภาพทาง
ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจและสังคม การดูแลด้านสิ่งแวดล้อม
2. ภาพรวมของข้อมูลด้านสุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร ในประเด็นต่างๆ
 นโยบายด้านสุขภาพ
 สถานการณ์และปัญหาภาระโรค (Health status & Health problem) การเกิด การ
ป่วย การตาย พฤติกรรมสุขภาพ และการสูญเสียปีสุขภาวะ
 การให้บริการของกรุงเทพมหานครตั้งแต่การป้องกันควบคุมโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรค
ไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable diseases: NCD) ซึ่งพบสูงขึ้น รวมทั้งการ
รักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพ
3. สิทธิการรักษาของผู้มารับบริการ เช่น สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ สิทธิหลักประกัน
สุขภาพ และสิทธิประกันสังคม เป็นต้น โดยรวบรวมข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุขสานักนโยบายและยุทธศาสตร์
สานักตรวจและประเมินผล เขตสุขภาพ 13 สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และ กระทรวงเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารสานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงแรงงาน สานักงานประกันสังคม และสานักการแพทย์
สานักอนามัย กรุงเทพมหานคร
4. การบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนระบบบริการสุขภาพ
 รูปแบบการให้บริการ ระบบสนับสนุน และการส่งต่อ (Service delivery)
 ทรัพยากรทางการแพทย์และฝ่ายสนับสนุน (Health workforce) รวมทั้งเครือข่ายการ
ทางานและศักยภาพของชุมชน
 ระบบข้อมูลข่าวสาร (Information) การพัฒนาและความก้าวหน้าของระบบจัดเก็บ
ข้อมูล
 ผู้ให้บริการซึ่งประกอบด้วยภาครัฐและภาคเอกชน (Health care providers)
- โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงต่าง ๆ และโรงพยาบาลของเอกชน
- หน่วยบริการสุขภาพทั่วไป เช่น สถานพยาบาลภาครัฐ สถานพยาบาล
ภาคเอกชน
- คลินิกชุมชนอบอุ่น เครือข่ายของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
 ระบบส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน และระบบส่งต่อเพื่อให้การดูแลที่ต่อเนื่องด้านแม่และเด็ก
5. การประเมินภาวการณ์สูญเสียด้านสุขภาพ (Disability Adjusted Life Years: DALYs)เช่น
ภาระโรค การสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรและการบกพร่องทางสุขภาพ
6. สรุปปัญหาสุขภาพที่สาคัญ และบทสรุปย่อสาหรับผู้บริหาร
ข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร 3
นิยำมศัพท์
1. ดัชนีมวลกาย ( Body mass : BMI) เป็นค่าที่คานวณจากน้าหนักและส่วนสูง เพื่อใช้เปรียบเทียบความ
สมดุลระหว่างน้าหนักตัว ต่อความสูงของมนุษย์ ซึ่งคิดค้นโดย Adolphe Quetelet ชาวเบลเยียมค่าดัชนี
มวลกายหาได้โดยนาน้าหนักตัวหารด้วยส่วนสูงตนเองยกกาลังสอง ดังนี้
BMI = น้าหนัก/ส่วนสูง2
โดยปกติ ให้ใช้น้าหนักตัวเป็นกิโลกรัม และส่วนสูงเป็นเมตร จะได้หน่วยเป็น กก./ม.2
เมื่อได้คานวณค่าดัชนี
มวลกายแล้ว นามาเปรียบเทียบกับเกณฑ์สาหรับคนเอเชีย ดังนี้
 ผอมเกินไป: น้อยกว่า 18.5 (<18.5)
 เหมาะสม: มากกว่าหรือเท่ากับ 18.5 แต่น้อยกว่า 23 (≥18.5 แต่ <23)
 น้าหนักเกิน: มากกว่าหรือเท่ากับ 23 แต่น้อยกว่า 25 (≥23 แต่ <25)
 อ้วน: มากกว่าหรือเท่ากับ 25 แต่น้อยกว่า 30 (≥25 แต่ <30)
 อ้วนมาก: มากกว่าหรือเท่ากับ 30 (≥30)
2. อัตราส่วนการตายมาตรฐานหรืออัตราตายปรับฐานคือ อัตราตายที่ปรับความแตกต่างในองค์ประกอบอายุ
ของประชากรต่างกลุ่มในเวลาเดียวกันหรือของประชากรกลุ่มเดียวกันในต่างเวลาเพราะการเปลี่ยนแปลง
ของอัตราตายอย่างหยาบอาจเกิดขึ้นหากความแตกต่างขององค์ประกอบอายุดังนั้นเพื่อขจัดอิทธิพลของ
ความแตกต่างดังกล่าวจึงใช้ประชากรมาตรฐานและการปรับองค์ประกอบอายุและเพศรวมถึงการปรับ
ลักษณะอื่นๆของประชากรหรือเรียกว่าการทาให้เป็นมาตรฐาน (Standardization)
อัตราตายปรับฐานเป็นอัตราการปรับอายุให้เป็นมาตรฐานเดียวกันไม่ใช่ค่าตัวเลขที่แท้จริงแต่สามารถ
นาไปใช้ในความหมายของการเปรียบเทียบระหว่างชุมชนในเวลาเดียวกันหรือต่างเวลา สาหรับการศึกษา
ในครั้งนี้ได้นาอัตราตายปรับฐานมาใช้ในการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มอายุและระหว่างภาค
วิธีการที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คืออัตราตายปรับฐานวิธีตรง (Direct method) โดย
อัตรำตำยปรับฐำน = โครงสร้างประชากรปรับมาตรฐาน
ประชากรปรับมาตรฐาน
โครงสร้างประชากรปรับมาตรฐาน คือโครงสร้างประชากรที่มีการปรับสัดส่วนประชากรให้มีการกระจาย
เหมาะสมกับฐานอายุในลักษณะเดียวกับประชากรที่ศึกษา
3. การประเมินภาวะโภชนาการใช้กราฟของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ปี 2542 เป็นเครื่องชี้วัดภาวะ
โภชนาการของประชาชนไทย อายุตั้งแต่ 1 วัน -19 ปี มีการจาแนกตามกลุ่มอายุ และเพศหญิงชาย(กราฟ
แสดงรายละเอียดของตามกลุ่มอายุอยู่ในภาคผนวก)
 ภาวะ อ้วน สมส่วน ผอม โดยการใช้น้าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง (Weight for Height)
 ภาวะ สูง เตี้ย ใช้ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ (Height for Age)
 ภาวะน้าหนักน้อยกว่าเกณฑ์ น้าหนักค่อนข้างน้อยน้าหนักมากเกินเกณฑ์ โดยการใช้น้าหนักตาม
เกณฑ์อายุ (Weight for Age)
3. มาตรฐานการบริโภคผักและผลไม้ตามมาตรฐานของกลุ่มการศึกษาของปัจจัยเสี่ยงต่อโรคขององค์การ
อนามัยโลก กาหนดให้บริโภคผักและผลไม้ 400-800 กรัมต่อคนต่อวัน หรืออย่างน้อย 5 ถ้วยมาตรฐาน
ต่อคนต่อวัน
ข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร 4
ข้อจำกัดของกำรรวบรวมข้อมูล
การรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพในการจัดทารายงานฉบับนี้ มีข้อจากัดหลายประการ ได้แก่
 ข้อมูลที่รวบรวมเป็นข้อมูลทุติยภูมิจากหลายแหล่งจึงอาจมีความคลาดเคลื่อนไม่ถูกต้องได้
เนื่องจากการเก็บข้อมูลรายงานที่ยังไม่เป็นมาตรฐานหรือระบบเดียวกัน
 ข้อมูลด้านสุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร กระจายอยู่ในหลายหน่วยงาน และหลายกระทรวง
ด้วยกัน การจัดเก็บข้อมูลเป็นไปตามภารกิจและวัตถุประสงค์หรือการใช้จ่ายงบประมาณของแต่ละ
หน่วยงาน ไม่มีการบูรณาการระบบข้อมูลด้านสุขภาพในระดับประเทศให้เป็นหนึ่งเดียว
 สถานบริการในสังกัดกรุงเทพมหานครสานักการแพทย์และสานักอนามัยไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูล
ด้านบริการและยังไม่มีศูนย์กลางในการรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพให้เห็นภาพรวมด้านสุขภาพของ
คนกรุงเทพมหานครให้ชัดเจน
 สถานบริการสุขภาพภาคเอกชนยังไม่เห็นความสาคัญในการส่งข้อมูลให้กระทรวงสาธารณสุข หรือ
หน่วยงานภาครัฐอื่นๆทาให้ข้อมูลไม่ครบถ้วน ไม่สามารถวิเคราะห์ให้เป็นภาพรวมปัญหาสุขภาพ
ของคนกรุงเทพมหานครได้
 การให้บริการด้านสุขภาพ มีสถานบริการมากมายให้เลือกใช้บริการ ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของ
ผู้ป่วยและญาติ อาจมีการนับจานวนการใช้บริการซ้ากัน
 ปัญหาประชากรแฝง และแรงงานข้ามชาติที่เข้ามาประกอบอาชีพในกรุงเทพมหานครอีกนับล้าน
คนโดยไม่ได้ย้ายทะเบียนเข้ามาในกรุงเทพมหานคร ทาให้ขาดข้อมูลในการเตรียมการรองรับ
โดยเฉพาะหากเกิดปัญหาด้านสุขภาพเร่งด่วน หรือกรณีเกิดโรคระบาดขึ้น
ข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร 5
บทที่ 2
ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลพื้นฐำนของกรุงเทพมหำนคร
ลักษณะภูมิประเทศและกำรแบ่งเขต
กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย เป็นมหานครที่เป็นศูนย์กลางความเจริญทุกด้าน มีสิ่ง
อานวยความสะดวกครบครัน มีสาธารณูปโภคต่าง ๆ อย่างครบสมบูรณ์ อีกทั้งเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม การค้า
และการบริการต่าง ๆ
กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1,569 ตารางกิโลเมตร มีแม่น้าเจ้าพระยายาว 372 กิโลเมตร
พาดผ่าน มีอาณาเขตทางบกติดต่อกับจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดปทุมธานี จังหวัดฉะเชิงเทรา
และจังหวัดสมุทรปราการ ส่วนอาณาเขตทางทะเลอ่าวไทย ติดต่อกับจังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัด
สมุทรปราการ และจังหวัดชลบุรี โดยมีรายละเอียดดังนี้
ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อ จังหวัดนนทบุรีและจังหวัดปทุมธานี
ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อ จังหวัดฉะเชิงเทรา
ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อ จังหวัดสมุทรปราการและอ่าวไทย (ส่วนที่เป็นอ่าวไทยที่เป็นพื้นที่เดิม
ของจังหวัดธนบุรี ปัจจุบันคือเขตบางขุนเทียน ซึ่งมีอาณาเขตทางทะเล
ติดต่อทางอ่าวไทยกับจังหวัดเพชรบุรีจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัด
สมุทรปราการ และจังหวัดชลบุรี)
ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อ จังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดนครปฐม
กรุงเทพมหานครมีการแบ่งกลุ่มการปฏิบัติงานของสานักงานเขต เพื่อให้การปฏิบัติงานราชการมีความ
สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ เศรษฐกิจ สังคม และวิถีการดารงชีวิตของประชาชนและสามารถตอบสนองต่อความ
ต้องการของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเพื่อประโยชน์ในการประสานงาน การกากับ และการติดตาม
การปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามนโยบายของกรุงเทพมหานคร เขตพื้นที่ของกรุงเทพมหานครแบ่งออกเป็น 6
กลุ่ม และเขตย่อย 50 เขต ดังนี้
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
สร้อยข้อมือ
สร้อยข้อมือสร้อยข้อมือ
สร้อยข้อมือTossaporn Sri
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)Nomjeab Nook
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านAimmary
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์I'Lay Saruta
 
การวัดการกระจาย
การวัดการกระจายการวัดการกระจาย
การวัดการกระจายCholticha Boonliang
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4Sombom
 
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานWachiraya Thasnapanth
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดSircom Smarnbua
 
รายงานวิจัย
รายงานวิจัยรายงานวิจัย
รายงานวิจัยEnooann Love
 

Mais procurados (20)

4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
สร้อยข้อมือ
สร้อยข้อมือสร้อยข้อมือ
สร้อยข้อมือ
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
 
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
การวัดการกระจาย
การวัดการกระจายการวัดการกระจาย
การวัดการกระจาย
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
การสำรวจพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
 
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการ
 
รายงานวิจัย
รายงานวิจัยรายงานวิจัย
รายงานวิจัย
 
โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5          โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5
 

Destaque

รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559Utai Sukviwatsirikul
 
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558Utai Sukviwatsirikul
 
Thai guideline on the hypertension 2015
Thai  guideline on the hypertension 2015Thai  guideline on the hypertension 2015
Thai guideline on the hypertension 2015Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...Utai Sukviwatsirikul
 
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
Cpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionCpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีหลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีpluakdeang Hospital
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
พัฒนาการสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ (Milestones in Health Promotion)
พัฒนาการสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ (Milestones in Health Promotion) พัฒนาการสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ (Milestones in Health Promotion)
พัฒนาการสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ (Milestones in Health Promotion) Dr.Sinsakchon Aunprom-me
 

Destaque (20)

รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
 
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558
 
Thai guideline on the hypertension 2015
Thai  guideline on the hypertension 2015Thai  guideline on the hypertension 2015
Thai guideline on the hypertension 2015
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
 
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
 
Cpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionCpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addiction
 
samutprakan
samutprakansamutprakan
samutprakan
 
Cpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of dermCpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of derm
 
Psoriatic arthritis
Psoriatic arthritisPsoriatic arthritis
Psoriatic arthritis
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
Thai hypertension guideline 2015
Thai hypertension guideline 2015Thai hypertension guideline 2015
Thai hypertension guideline 2015
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดีหลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
หลักการปรับพฤติกรรมให้ได้ผลดี
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
พัฒนาการสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ (Milestones in Health Promotion)
พัฒนาการสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ (Milestones in Health Promotion) พัฒนาการสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ (Milestones in Health Promotion)
พัฒนาการสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ (Milestones in Health Promotion)
 

Semelhante a รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558

Area based health system evaluation
Area based health system evaluationArea based health system evaluation
Area based health system evaluationThira Woratanarat
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุลService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุลKamol Khositrangsikun
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospitalDMS Library
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...Pattie Pattie
 
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรคnawaporn khamseanwong
 
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...Thira Woratanarat
 
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถีnawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
 Loadแนวข้อสอบ นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค Loadแนวข้อสอบ นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรคnawaporn khamseanwong
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...Utai Sukviwatsirikul
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถีnawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรคLoadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรคnawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถีnawaporn khamseanwong
 
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...BAINIDA
 
Hand out service plan 4 มีนาคม 2559
Hand out   service plan 4 มีนาคม 2559 Hand out   service plan 4 มีนาคม 2559
Hand out service plan 4 มีนาคม 2559 Kamol Khositrangsikun
 
คู่มือ59 เล่ม3 ไต
คู่มือ59 เล่ม3 ไตคู่มือ59 เล่ม3 ไต
คู่มือ59 เล่ม3 ไตChuchai Sornchumni
 

Semelhante a รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558 (20)

Area based health system evaluation
Area based health system evaluationArea based health system evaluation
Area based health system evaluation
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุลService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
 
3.is bph 15_rwm24oct_(9)
3.is bph 15_rwm24oct_(9)3.is bph 15_rwm24oct_(9)
3.is bph 15_rwm24oct_(9)
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมควบคุมโรค
 
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
 
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
 
Loadแนวข้อสอบ นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
 Loadแนวข้อสอบ นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค Loadแนวข้อสอบ นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรคLoadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
 
Hand out service plan 4 มีนาคม 2559
Hand out   service plan 4 มีนาคม 2559 Hand out   service plan 4 มีนาคม 2559
Hand out service plan 4 มีนาคม 2559
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2559
 
คู่มือ59 เล่ม3 ไต
คู่มือ59 เล่ม3 ไตคู่มือ59 เล่ม3 ไต
คู่มือ59 เล่ม3 ไต
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558

  • 2. ชื่อเรื่อง : รายงานเบื้องต้นข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร รวบรวม : ศูนย์เตือนภัยสุขภาพกรุงเทพมหานคร ผู้สนับสนุนโครงการฯ และสนับสนุนการจัดพิมพ์ : แผนงานเครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข ครั้งที่พิมพ์ : ครั้งที่ 1 ปีที่จัดพิมพ์ : พ.ศ. 2559 จํานวนพิมพ์ : 300 เล่ม บรรณาธิการ : รศ.พญ.ศิริวรรรณ ตั้งจิตกมล นธีรัตน์ ธรรม์โรจน์ พ.ญ.ชาดากานต์ ผโลประการ จัดทําและเผยแพร่โดย ฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 681 ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทร. 0 2244 3005-6 โทรสาร. 0 2244 3636 E-mail: vajiramedj@gmail.com พิมพ์ที่ : บริษัท ไอ ปริ้นติ้ง คัลเลอร์ (ประเทศไทย) จํากัด ที่อยู่ 466 ซอยลาดพร้าว 107 แยก 36 (ดีสมโชค) แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์ 02 736 1479 โทรสาร 02 736 1478 ISBN : 978-616-7741-24-6               รายงานเบื้องต้นข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร. ศิริวรรรณ ตั้งจิตกมล และคณะ, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช, 2559. 150 หน้า. -- (ข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร). 1. สุขภาพ--ไทย--การสํารวจ. I. ชื่อเรื่อง. 613.0212 ISBN 978-616-7741-24-6
  • 3. คณะผู้จัดทํา ดร. พิจิตต รัตตกุล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษา นพ. อนันต์ มโนมัยพิบูลย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษา ผศ.ดร.นพ.ภูดิท เตชาติวัฒน์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษา ศ.นพ.วิชัย เอกพลากร ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล และแผนงานสํารวจสุขภาพประชาชนไทย สวปก, สวรส. ที่ปรึกษา ดร.นพ.วิชช์ เกษมทรัพย์ แผนงานเครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ และภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ปรึกษา รศ.พญ.ศิริวรรณ ตั้งจิตกมล คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร รอ.พญ.ชาดากานต์ ผโลประการ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร นางนธีรัตน์ ธรรม์โรจน์ โครงการศูนย์เตือนภัยสุขภาพคนกรุงเทพเทพมหานคร นางสาวสุชาดา ตาสาย มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร นางสาวบุษบง นครกัณฑ์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร นายภูรีสิชฌ์ บัวศิริธนารัชต์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร                    
  • 4. คํานํา การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก เกิดจากนานาประเทศต่างเร่งพัฒนาสู่ความเจริญทั้งด้านสังคม วัฒนธรรม และ เศรษฐกิจ กรุงเทพมหานครจัดเป็นเมืองขนาดใหญ่ที่กําลังเร่งพัฒนาเมืองเช่นกัน การขยายตัวของกรุงเทพมหานคร ในปัจจุบัน ทําให้มีประชากรโยกย้ายเข้ามาประกอบอาชีพต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น การมีวิถีชีวิตที่ต้องเร่งรีบ การเดินทางที่ ต้องใช้เวลามากขึ้น จากการจราจรที่หนาแน่น ทําให้ไม่มีเวลาออกกําลังกายหรือมีกิจกรรมทางกายน้อย การบริโภคผัก และผลไม้น้อย การบริโภคน้ําอัดลม น้ําหวาน อาหารทอดและอาหารเค็มมากขึ้น รวมทั้งการดื่มสุราและสูบบุหรี่ ซึ่ง เป็นพฤติกรรมที่เป็นภัยต่อสุขภาพอนามัย ประชากรเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่งต่อการพัฒนาในทุกมิติและทุกประเทศ ทั่วโลก เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนจึงควรมีการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชนให้มีสุขภาพแข็งแรง ไม่ให้เจ็บป่วยด้วย โรคต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเรื้อรังซึ่งจะมีผลกระทบต่อบุคคลและสังคมในระยะยาว โครงการศูนย์เตือนภัยสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร ที่จัดทําโดยมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร ด้วยความร่วมมือของแผนงานเครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ สํานักพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ จึงได้จัดทํา ข้อมูลด้านสุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร เพื่อใช้ประโยชน์และเป็นข้อมูลในการเตือนภัยสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร ต่อไป จากรายงานภาระโรคระดับเขตและภูมิภาคของประเทศไทย ปี 2554 พบว่าคนกรุงเทพมหานครมีอัตราการ สูญเสียปีสุขภาวะจากโรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง ทั้งในเพศชายและเพศหญิงเป็นอันดับแรก และ จากการสํารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายของสํานักงานสํารวจสุขภาพประชาชนไทย พบว่าคน กรุงเทพมหานคร มีความชุกของภาวะไขมันคอเลสเทอรอลในเลือดสูง โรคความดันโลหิตสูง มีโรคเบาหวานมากกว่าทุก ภาคของประเทศ รายงานฉบับนี้เป็นผลการดําเนินงานโครงการในระยะแรก เพื่อรวบรวมข้อมูลที่สําคัญเกี่ยวกับสุขภาพ ที่เป็นปัญหาของคนกรุงเทพมหานคร โดยการขอรับการสนับสนุนข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ด้านสุขภาพและจาก แหล่งข้อมูลที่ได้มีการเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ คณะผู้จัดทํา
  • 5. หน้า คํานํา สารบัญ II กิตติกรรมประกาศ X บทสรุปผู้บริหาร XI บทที่ 1 บทนํา 1 นิยามศัพท์ 3 ข้อจํากัดของการรวบรวมข้อมูล 4 บทที่ 2 5 2.1 ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของกรุงเทพมหานคร 5 2.2 ประชากร 7 1) จํานวนประชากรกลางปีประเทศ 8 2) จํานวนประชากรกลางปีกรุงเทพมหานคร 9 3) อายุคาดเฉลี่ย 11 บทที่ 3 ทรัพยากร 12 3.1 การลงทุนด้านสุขภาพ 12 3.2 ทรัพยากรสุขภาพ 13 สถานบริการสุขภาพในเขตกรุงเทพมหานคร 13 คลินิกชุมชนอบอุ่นเครือข่ายของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 23 บุคลากรทางการแพทย์ 25 อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร 27 การมีหลักประกันสุขภาพ 29 ผู้มีสิทธิประกันสังคม 32 ระบบส่งต่อ 33 บทที่ 4 สถิติสุขภาพที่สําคัญ 37 กระบวนการจัดทําข้อมูลสถิติชีพของสํานักนโยบายยุทธศาสตร์ 37 การเกิดมีชีพ 38 การตาย 40 ภาระโรค 47 โรคที่มีอัตราตายปรับฐานและอัตราการสูญเสียปีสุขภาวะของกรุงเทพมหานคร 51 โรคที่มีอัตราตายปรับฐานและอัตราการสูญเสียปีสุขภาวะจําแนกรายภาค 52 ขั้นตอนการจัดทําข้อมูลของสํานักการแพทย์ 54 II
  • 6. สารบัญ (ต่อ) หน้า สาเหตุและการป่วยของผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน 55 ขั้นตอนการจัดทาข้อมูลของสานักอนามัย 64 ความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและกรุงเทพมหานครในการพัฒนา ระบบข้อมูลภายใต้ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ 65 ปัญหาสุขภาพจิต 67 บทที่ 5 พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อของคนไทยและกรุงเทพมหานคร 68 บทที่ 6 บทสรุป ปัญหาและข้อเสนอแนะ 78 บรรณานุกรม 86 ภาคผนวก 89 III
  • 7. สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 จานวนประชากรกลางปีประเทศ และกรุงเทพมหานคร จาแนกตามเพศ ปี 2552 – 2557 8 ตารางที่ 2 จานวนประชากรกลางปี จาแนกตามเพศและกลุ่มอายุ 5 ปี กรุงเทพมหานคร ปี 2555 – 2557 9 ตารางที่ 3 อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดและอายุคาดเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ปี จาแนกรายภาค และเพศ ปี 2548-2549 11 ตารางที่ 4 งบประมาณที่สานักการแพทย์ได้รับการจัดสรร จาแนกตามแผนงาน ปี 2555-2557 12 ตารางที่ 5 งบประมาณที่สานักการแพทย์ได้รับ จาแนกตามหมวดการใช้จ่าย ปี 2555-2557 12 ตารางที่ 6 งบประมาณที่สานักอนามัยได้รับการจัดสรร จาแนกตามแผนงาน ปี 2555-2557 13 ตารางที่ 7 งบประมาณที่สานักอนามัยได้รับ จาแนกตามหมวดค่าใช้จ่าย ปี 2555-2557 13 ตารางที่ 8 จานวนและร้อยละของเตียงรองรับผู้ป่วยของหน่วยบริการสุขภาพ ในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ปี 2556 15 ตารางที่ 9 จานวนและร้อยละของหน่วยบริการสุขภาพประเภทที่มีเตียงรองรับผู้ป่วย ในเขตกรุงเทพมหานคร จาแนก ตามศักยภาพและความสามารถ 16 ตารางที่ 10 โรงพยาบาลเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร สังกัดกระทรวงต่างๆมูลนิธิ สภากาชาด ไทยและเอกชน 17 ตารางที่ 11 ข้อมูลโรงพยาบาลเอกชน ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตามการขึ้นทะเบียน เป็นเครือข่ายหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและประกันสังคม ปี 2558 22 ตารางที่ 12 คลินิกชุมชนอบอุ่นเครือข่ายสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จาแนก ตามกลุ่ม/เขตกรุงเทพมหานคร ปี 2558 23 ตารางที่ 13 จานวนศูนย์บริการสาธารณสุขในสังกัดกรุงเทพมหานครจาแนกตามกลุ่ม/เขต 24 ตารางที่ 14 สัดส่วนบุคลากร 5 กลุ่มวิชาชีพต่อประชากร ของประเทศและกรุงเทพมหานคร ปี 2555-2557 25 ตารางที่ 15 จานวนและสัดส่วนบุคลากรทางการแพทย์ต่อประชากรของประเทศ และ กรุงเทพมหานคร จาแนกตามภาครัฐ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน อิสระและเอกชน ปี 2557 26 ตารางที่ 16 จานวนอาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) เขตกรุงเทพมหานคร ปี 2554-2558 27 ตารางที่ 17 ร้อยละของประชากรที่มีสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล จาแนกรายภาคและ ประเภทสวัสดิการ ปี 2556 30 IV
  • 8. สารบัญตาราง (ต่อ) หน้า ตารางที่ 18 จานวนการใช้บริการของผู้ประกันตน จาแนกรายภาคและตามการใช้บริการ ปี 2556 32 ตารางที่ 19 การรับการส่งต่อของศูนย์ส่งต่อ เพื่อการดูแลมารดาและทารกหลังคลอดภายใน 6 สัปดาห์แรกที่บ้าน ปี 2557 34 ตารางที่ 20 จานวนมารดาและร้อยละของกลุ่มอายุของมารดา ที่ได้รับการส่งต่อจาก โรงพยาบาลสังกัดสานักการแพทย์ ปี 2557 35 ตารางที่ 21 อัตราตายต่อแสนประชากรของคนกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสาเหตุการตาย ปี 2549-2556 43 ตารางที่ 22 อัตราตายต่อแสนประชากร ของคนกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสาเหตุและ เพศชาย ปี 2549-2556 44 ตารางที่ 23 อัตราตายต่อแสนประชากร กรุงเทพมหานคร จาแนกตามเพศหญิงและสาเหตุ ปี 2549-2556 45 ตารางที่ 24 โรคที่มีอัตราตายปรับฐานและอัตราการสูญเสียปีสุขภาวะสูงสุด 5 อันดับแรก จาแนกตามเพศ ชายและหญิง ในเขตกรุงเทพมหานคร ปี 2554 51 ตารางที่ 25 โรคที่มีอัตราตายปรับฐานและอัตราการสูญเสียปีสุขภาวะสูงสุด 5 อันดับแรก จาแนกตามเพศชาย และรายภาค ปี 2554 52 ตารางที่ 26 โรคที่มีอัตราตายปรับฐานและอัตราการสูญเสียปีสุขภาวะสูงสุด 5 อันดับแรก จาแนกตามเพศหญิงและรายภาค ปี 2554 53 ตารางที่ 27 จานวนและอัตราผู้ป่วยในต่อแสนประชากรสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และสวัสดิการข้าราชการ จาแนกตามสาเหตุกลุ่มโรคปี 2555 – 2557 55 ตารางที่ 28 จานวนผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลสังกัดสานักการแพทย์ จาแนกตามสาเหตุป่วย 58 ตารางที่ 29 จานวนผู้ป่วยในของโรงพยาบาล สังกัดสานักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จาแนกตามสาเหตุการป่วย ปี 2556 59 ตารางที่ 30 สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอก จาแนกตามกลุ่มสาเหตุการป่วย 5 อันดับของ โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2555-2557 60 ตารางที่ 31 สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยใน จาแนกตามกลุ่มสาเหตุ 5 อันดับ โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2555 – 2557 61 ตารางที่ 32 จานวนและร้อยละผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี จาแนกตามสาเหตุ ป่วยปี 2555-2557 62 ตารางที่ 33 จานวนและร้อยละผู้ป่วยใน โรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข จาแนกตามสาเหตุการป่วย ปี 2555 -2557 62 ตารางที่ 34 จานวนและร้อยละผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลคณะแพทยศาสตร์ชิรพยาบาล จาแนกตามสาเหตุการป่วย ปี 2555-2557 63 V
  • 9. สารบัญตาราง (ต่อ) หน้า ตารางที่ 35 จานวนและร้อยละผู้ป่วยในของโรงพยาบาลคณะแพทยศาสตร์ชิรพยาบาล จาแนกตามสาเหตุการป่วย ปี 2555 -2557 63 ตารางที่ 36 จานวนและร้อยละของผู้ป่วยนอกที่มารับบริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุข สานักอนามัยกรุงเทพมหานคร จาแนกกลุ่มโรค 5 อันดับ ปี 2555 – 2557 66 ตารางที่ 37 ร้อยละของผู้ที่มีความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแล บาบัดรักษา จาแนกตามรายภาค 75 VI
  • 10. สารบัญรูป หน้า รูปที่ 1 แผนที่แสดงการแบ่งกลุ่มเขตพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร 6 รูปที่ 2 จานวนประชากรกลางปี กรุงเทพมหานคร จาแนกตามเพศ ปี 2552-2557 10 รูปที่ 3 ร้อยละของประชากรกลางปีกรุงเทพมหานคร จาแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2555 – 2557 10 รูปที่ 4 การกระจายของหน่วยบริการ จาแนกระดับบริการและเขตกรุงเทพมหานคร 14 รูปที่ 5 หน่วยบริการสุขภาพที่มีเตียงรองรับ จาแนกตามสังกัด ในเขตกรุงเทพมหานคร ปี 2556 16 รูปที่ 6 หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิเขตกรุงเทพมหานคร และสังกัดกระทรวงต่างๆ 20 รูปที่ 7 คลินิกเอกชน ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จาแนกตามประเภทบริการ ปี 2556 21 รูปที่ 8 โรงพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสังกัดภาครัฐและภาคเอกชน ปี 2556 21 รูปที่ 9 ร้อยละเตียงรับผู้ป่วยในเขตกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสังกัดภาครัฐและเอกชน ปี 2556 22 รูปที่ 10 ผู้มีหลักประกันสุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร จาแนกตามที่อยู่ในทะเบียนราษฎร์ ปี 2556 30 รูปที่ 11 ผู้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จาแนกตามที่อยู่ในทะเบียนบ้านในเขต กรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ปี 2556 31 รูปที่ 12 ร้อยละของการใช้สวัสดิการประเภทต่าง ๆ เมื่อเจ็บป่วยครั้งล่าสุด จาแนกตามรายภาค 31 รูปที่ 13 ผู้ประกันตน (ทุกมาตรา) จาแนกรายภาค ปี 2556 32 รูปที่ 14 กระบวนการจัดทาข้อมูลสถิติชีพของสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวง สาธารณสุข และสานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย 37 รูปที่ 15 อัตราเกิดมีชีพทั่วประเทศและกรุงเทพมหานคร ปี 2552 -2556 38 รูปที่ 16 อัตราเกิดมีชีพในเขตกรุงเทพมหานครจาแนกตามเพศ ปี 2552-2556 38 รูปที่ 17 อัตราการเกิดมีชีพที่มีน้าหนักตัวต่ากว่า 2,500 กรัม กรุงเทพมหานคร ปี 2552 - 2556 39 รูปที่ 18 อัตราการเกิดมีชีพในมารดาอายุ 15-19 ปี กรุงเทพมหานครปี 2552- 2556 39 รูปที่ 19 อัตรามารดาตายต่อการเกิดมีชีพแสนประชากรของประเทศและเขตกรุงเทพมหานคร ปี 2554 - 2556 40 รูปที่ 20 อัตราทารก อายุต่ากว่า 1 ปี ตายต่อการเกิดมีชีพพันคนทั่วประเทศและ กรุงเทพมหานคร ปี 2554-2556 41 รูปที่ 21 อัตราตายเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี กรุงเทพมหานครและทั่วประเทศ ปี 2554-2556 41 รูปที่ 22 อัตราตายต่อแสนประชากรของกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสาเหตุ ปี 2549-2556 42 รูปที่ 23 อัตราตายจากโรคมะเร็งทุกชนิดทั่วประเทศ และกรุงเทพมหานคร ปี 2554 -2556 42 รูปที่ 24 อัตราตายด้วยโรคมะเร็งปอด ของประเทศและกรุงเทพมหานคร ปี 2554-2556 43 VII
  • 11. สารบัญรูป (ต่อ) หน้า รูปที่ 25 อัตราตายของคนกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสาเหตุ เพศชาย ปี 2549-2556 44 รูปที่ 26 อัตราตายของคนกรุงเทพมหานคร จาแนกตามสาเหตุ เพศหญิง ปี 2549-2556 45 รูปที่ 27 อัตราตายจากโรคมะเร็ง 3 อันดับของประเทศและกรุงเทพมหานคร ปี2554-2556 45 รูปที่ 28 อัตราตายด้วยโรคมะเร็งเต้านมของประเทศและกรุงเทพมหานคร ปี 2554-2556 46 รูปที่ 29 อัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกของประเทศและกรุงเทพมหานคร ปี 2554-2556 46 รูปที่ 30 การสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรจาแนกตามเขตสุขภาพและภูมิภาค ปี 2554 (รวม) 48 รูปที่ 31 การสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรจาแนกตามเพศชาย และเขตสุขภาพ และภูมิภาค ปี 2554 48 รูปที่ 32 การสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรจาแนกตามเพศหญิง และเขต สุขภาพและภูมิภาค ปี 2554 49 รูปที่ 33 การสูญเสียปีสุขภาวะจากการบกพร่องทางสุขภาพ จาแนกตามเขตสุขภาพ และภูมิภาค ปี 2554 (รวม) 49 รูปที่ 34 การสูญเสียปีสุขภาวะจากการบกพร่องทางสุขภาพจาแนกกาาเเพชาาย เขาสุขภาพ แนละภูเิภาค ปี 2554 50 รูปที่ 35 การสูญเสียปีสุขภาวะจากการบกพร่องทางสุขภาพจาแนกกเพชญญิง เขาสุขภาพแนละ ภูเิภาค ปี 2554 50 รูปที่ 36 ระบบจัดทาข้อมูลสานักการแพทย์ 54 รูปที่ 37 อัตราป่วยต่อแสนประชากร ของผู้ป่วยในสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และสวัสดิการข้าราชการ (รวมทุกการวินิจฉัยโรค) จาแนกตามสาเหตุกลุ่มโรค ปี 2555 – 2557 56 รูปที่ 38 ระบบจัดทาข้อมูลสานักอนามัย 64 รูปที่ 39 อัตราป่วยด้วยโรคทางสุขภาพจิตของคนกรุงเทพมหานคร ปี 2554-2556 67 รูปที่ 40 ร้อยละการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จาแนกตามเพศ และรายภาค ปี 2551-2552 68 รูปที่ 41 ร้อยละการสูบบุหรี่เป็นประจา จาแนกตามเพศและรายภาค ปี 2551-2552 69 รูปที่ 42 ร้อยละการสูบบุหรี่ และดื่มสุราในประชากร อายุ 15ปีขึ้นไปจาแนกตามเพศและรายภาค 69 รูปที่ 43 ร้อยละของการบริโภคผักและผลไม้ในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามเพศ และรายภาคปี 2551-2552 70 รูปที่ 44 ความชุกของภาวะน้าหนักเกิน อ้วน เตี้ย น้าหนักน้อย และผอม ของเด็กกลุ่มอายุ 1-5 ปี จาแนกรายภาค 71 VIII
  • 12. สารบัญรูป (ต่อ) หน้า รูปที่ 45 ความชุกของภาวะน้าหนักเกิน อ้วน เตี้ย น้าหนักน้อย และผอม ของเด็กกลุ่มอายุ 6-11 ปี จาแนกรายภาค 71 รูปที่ 46 ความชุกของภาวะน้าหนักเกิน อ้วน เตี้ย น้าหนักน้อย และผอม ของเด็กกลุ่มอายุ 12-14 ปี จาแนกตามภาค 72 รูปที่ 47 ร้อยละของเด็กอายุ 2 ถึง 14 ปี ดื่มน้าอัดลมน้าชาขวด 4-7 วันต่อสัปดาห์ 72 รูปที่ 48 ภาวะอ้วนของกลุ่มเด็กอายุ 15 ปี ขึ้นไป จาแนกตามดัชนีมวลกายและรายภาค ปี 2547 และ 2552 73 รูปที่ 49 ร้อยละของกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ จาแนกตามเพศ และเขตสุขภาพ ปี 2551-2552 73 รูปที่ 50 ร้อยละของการมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ จาแนกรายภาคและตามเพศ ปี 2551-2552 74 รูปที่ 51 ภาวะความชุกโรคเบาหวานจาแนกรายภาค เปรียบเทียบปี 2547 และปี 2552 74 รูปที่ 52 ความชุกโรคความดันโลหิตสูงจาแนกตามรายภาค เปรียบเทียบปี 2547 และปี 2552 75 รูปที่ 53 ภาวะไขมัน คอเลสเทอรอล ในเลือดสูง>=240 mg/dl จาแนกรายภาคเปรียบเทียบปี 2547 และปี 2552 76 รูปที่ 54 ภาวะโรคหลอดเลือดหัวใจ/กล้ามเนื้อหัวใจตาย ในประชากรไทย อายุ 35 ปีขึ้นไป จาแนกตามเพศและภาค 76 รูปที่ 55 ภาวะโรคหลอดเลือดสมอง/อัมพฤกษ์ อัมพาต ในกลุ่มประชากร อายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามภาคและเพศ 77 รูปที่ 56 การได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ใน 2 ปีที่ผ่านมา จาแนกตามกลุ่มอายุ และรายภาค 77 IX
  • 13. กิตติกรรมประกาศ ข้อมูลด้านสุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร เป็นข้อมูลที่ได้รวบรวมขึ้นจากหน่วยงานของกระทรวงต่าง ๆ ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข กรมสุขภาพจิต กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สานักสถานพยาบาลและการประกอบโรค ศิลปะ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักตรวจและประเมินผล สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สานักงาน พัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดัชนีประเมินภาระโรคและสุขภาพประชากรไทย สานักงานสารวจสุขภาพประชาชนไทย สานักงานเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงแรงงาน สานักงาน ประกันสังคม สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขตที่ 13 กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร สานักการแพทย์ สานักอนามัย สานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร สานักยุทธศาสตร์และประเมินผล และข้อมูลที่นามาอ้างอิงได้รับการ ตรวจทานโดยคณะทางานจากหน่วยงานต่าง ๆ ดังกล่าว ขอขอบพระคุณทุกท่านและทุกหน่วยงานเป็นอย่างสูง มาใน โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณ ศ.นพ.วิชัย เอกพลากร คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และแผนงานสารวจ สุขภาพประชาชนไทย สานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพ (สวปก) และสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส) ที่กรุณาให้ข้อมูลการสารวจสุขภาพประชาชนไทย ทบทวนและให้ข้อเสนอแนะที่มีคุณค่ายิ่ง ทาให้รายงานฉบับ นี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี คณะผู้จัดทาข้อมูล X
  • 14. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร รายงานฉบับนี้ได้ทาการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิด้านสุขภาพ จากกระทรวงต่าง ๆ หลายหน่วยงาน เช่น กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข สานักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ เขตสุขภาพที่ 13 สานักตรวจและประเมินผล แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดัชนีประเมินภาระโรคและ สุขภาพของประชากรไทย สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ สานักงานสารวจสุขภาพประชาชนไทย สานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กรมสุขภาพจิต กระทรวงแรงงาน สานักงานประกันสังคม กรุงเทพมหานคร สานักการแพทย์ สานักอนามัย สานักงบประมาณกรุงเทพมหานคร คณะ แพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ข้อมูลด้านสุขภาพของคนกรุงเทพมหานครที่สาคัญสรุปได้ ดังนี้ 1. ภาระโรค (Burden of Disease) ข้อมูลปี 2554 อัตราการสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควร (Year of Life Lost due to premature death: YLL) พบว่ากรุงเทพมหานครหรือเขตสุขภาพที่ 13 มีอัตราสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรต่าสุดเท่ากับ 72 คนต่อประชากรพันคน (เพศชาย 91 และเพศหญิง 55) เมื่อเทียบกับภูมิภาคอื่น ๆ การสูญเสียปีสุขภาวะจากการบกพร่องทางสุขภาพ (Year Lost due to Disability: YLD) พบว่า กรุงเทพมหานครมีอัตราต่าสุด เท่ากับ 47 คนต่อประชากรพันคน (เพศชาย 45 คนต่อประชากรพันคน เพศหญิง 48 คนต่อประชากรพันคน) เมื่อเทียบกับภูมิภาคอื่น ๆ โรคที่มีอัตราตายปรับฐานและมีอัตราการสูญเสียปีสุขภาวะสูงสุด 5 อันดับแรก กรุงเทพมหานครจาแนกตาม เพศ ดังนี้  เพศชาย มีอัตราตายปรับฐาน 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็งหลอดลม/ปอด โรคมะเร็งตับ และการติดเชื้อ HIV/AIDS ตามลาดับ ส่วนอัตราการ สูญเสียปีสุขภาวะอันดับ 1 ได้แก่ โรคเลือดสมอง และโรคหัวใจขาดเลือด การติดเชื้อ HIV /AIDS อุบัติเหตุทางถนน และมะเร็งตับ ตามลาดับ  เพศหญิงมีอัตราตายปรับฐาน 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็งลาไส้ใหญ่และทวารหนัก และโรคมะเร็งเต้านม ตามลาดับ ส่วนอัตราการ สูญเสียปีสุขภาวะ 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคซึมเศร้า โรคหลอดเลือดสมอง ต้อกระจก โรคหัวใจ ขาดเลือด และโรคเบาหวาน ตามลาดับ XI
  • 15. 2. ข้อมูลการตายและสาเหตุการตายของคนกรุงเทพมหานคร ปี 2549 -2556 สาเหตุการตาย 10 อันดับ ในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ โรคมะเร็งทุกชนิด โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2550 และเพิ่มมากที่สุด ในปี 2556 ซึ่งมีอัตราตายเท่ากับ 161.6 ต่อแสนประชากร (อัตราตายจากโรคมะเร็ง ของประชากรทั้งประเทศ เท่ากับ 103.9 ต่อแสนประชากร) โรคหัวใจและโรคปอดอักเสบ และโรคอื่น ๆ ของปอด โรค ความดันเลือดสูงและโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งเป็นสาเหตุการตายรองลงมาก็มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น  สาเหตุการตายในเพศหญิง 3 อันดับแรก ปี 2556 ได้แก่ มะเร็งเต้านม โดยสูงสุดในช่วงอายุ ระหว่าง 50-59 ปี เท่ากับ 22 ต่อแสนประชากร และมะเร็งปากมดลูก โดยสูงสุดในช่วงอายุ 50 ปีขึ้นไป เท่ากับ 10.7 สาเหตุการตายโรคหัวใจปอดอักเสบและโรคอื่น ๆ พบรองลงมา แต่มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกัน  สาเหตุการตายในเพศชาย 3 อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งทุกชนิดซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2550 และเพิ่มมากที่สุด ในปี 2556 ซึ่งมีอัตราตายเท่ากับ 181.6 ต่อแสน ประชากร โดยพบมะเร็งปอดมีอัตราตายสูงสุด เท่ากับ 29.8 (ทั้งประเทศ มีอัตราตายจาก มะเร็งปอด เท่ากับ 17.9) และโรคหัวใจ อัตราตายเท่ากับ 63.9 3. การเจ็บป่วยด้วยโรค/กลุ่มโรคที่พบ ข้อมูลปี 2555 – 2557 ข้อมูลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน เป็นข้อมูลรายงานการให้บริการของโรงพยาบาลในสังกัด กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลวชิรพยาบาล โรงพยาบาลราชวิถี และโรงพยาบาลนพรัตน์ราชธานี ซึ่งเป็นโรงพยาบาลที่ให้บริการแก่คน กรุงเทพกรุงเทพมหานครเป็นส่วนใหญ่ จึงเป็นข้อมูลที่สามารถบ่งบอกถึงปัญหาสุขภาพคนกรุงเทพมหานครได้ชัดเจน ขึ้น ซึ่งโรคที่พบส่วนใหญ่เป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมแทบอลิซึม โรคมะเร็งอวัยวะต่าง ๆ และต้อกระจก ข้อมูลการป่วยของผู้ป่วยในของคนกรุงเทพมหานคร ที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และสวัสดิการ ข้าราชการฯ ย้อนหลัง 3 (ปี 2555 – 2557) โรคที่พบ 5 อันดับแรก ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรค โลหิตจางจากไขกระดูกฝ่อและโลหิตจางชนิดอื่น ๆ โรคหัวใจ และโรคไตวาย ตามลาดับ โดยโรคความดันโลหิตสูง และ โรคเบาหวาน มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย 4. พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของประชากรไทยและกรุงเทพมหานคร ข้อมูลปี 2551-2552 การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พบว่าคนกรุงเทพมหานคร มีอัตราการดื่มในภาพรวม ร้อยละ 6.9 (เพศชายดื่ม ร้อยละ 13.1 และเพศหญิง ร้อยละ 1.9) การสูบบุหรี่ประจาเฉลี่ย พบว่าภาพรวมคนกรุงเทพมหานคร สูบบุหรี่ประจาร้อยละ 16.1 (เพศชาย และเพศ หญิงมีการสูบบุหรี่ประจาเฉลี่ยร้อยละ 28.4 และร้อยละ 4.3 ตามลาดับ) อัตราการสูบบุหรี่ประจาน้อยกว่าทุกภาค การ สูบบุหรี่ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ข้อมูลการสารวจอนามัยและสวัสดิการ สานักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2556 พบว่า เพศชายกรุงเทพมหานครสูบบุหรี่สูงถึงร้อยละ 39 XII
  • 16. การบริโภคผักและผลไม้ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ประชาชนในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป คนกรุงเทพมหานครมีการ บริโภคผักและผลไม้น้อยกว่าภาคอื่น ๆ (ร้อยละ 69 ในเพศชาย และร้อยละ 65 ในเพศหญิง) การสารวจความชุกของการดื่มน้าอัดลมและขนมกรุบกรอบ กลุ่มเด็กอายุ 2-14 ปี ทั้งประเทศ ดื่มน้าอัดลม น้าชาขวด 4-7 วันต่อสัปดาห์ อัตราสูงที่สุดในกรุงเทพมหานคร คือ ร้อยละ 42.2 ส่วนการกินขนม กรุบกรอบ 4-7 วันต่อสัปดาห์ในกรุงเทพมหานครพบร้อยละ 48.2 ซึ่งใกล้เคียงกับภาคอื่น ๆ การออกกาลังกายหรือกิจกรรมทางกาย คนกรุงเทพมหานคร มีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ เพศหญิง ร้อย ละ 27.1 และเพศชายร้อยละ 23.4 โดยกรุงเทพมหานครและเขตสุขภาพภาคใต้ มีกิจกรรมทางกายน้อยกว่าภาคอื่น ๆ ดัชนีมวลกาย คนกรุงเทพมหานคร กลุ่มอายุเท่ากับหรือมากกว่า 15 ปี ที่มีดัชนีมวลกายเท่ากับหรือมากกว่า 25 kg/m2 สูงถึงร้อยละ 35 ในปี 2547 และเพิ่มเป็น ร้อยละ 44.3 ในปี 2552 ภาวะน้าหนักเกิน อ้วน หรือเตี้ย น้าหนักน้อยและ ผอม คือ  กลุ่มอายุ 1-5 ปี จากการสารวจความชุกภาวะน้าหนักเกิน อ้วน เด็กกรุงเทพมหานครวัยก่อนเรียน มีภาวะ น้าหนักเกินมากที่สุด ร้อยละ 8.7 ภาวะอ้วน ร้อยละ 6.2 ส่วนภาวะเตี้ย น้าหนักน้อย ผอมร้อยละ 6.6, 3.3 และร้อยละ 1.0 ตามลาดับ  กลุ่มอายุ 6-11 ปี มีภาวะน้าหนักเกิน อ้วน ร้อยละ 7.3 และร้อยละ 5.6 มีภาวะเตี้ย น้าหนักน้อย และผอม ร้อยละ 2.9, 3.4 และร้อยละ 2.9 ตามลาดับ  กลุ่มอายุ 12-14 ปี มีภาวะน้าหนักเกิน อ้วน ร้อยละ 3.9 และร้อยละ 10.2 เตี้ย น้าหนักน้อย ผอมร้อยละ 3.4, 4.5, และร้อยละ 4.9 ตามลาดับ เด็กกลุ่มนี้มีแนวโน้มเตี้ย น้าหนักน้อย ผอมมากยิ่งขึ้น ซึ่งบ่งบอกถึงภาวะ โภชนาการเกินและขาดพร้อมกันในกลุ่มอายุดังกล่าว ภาวะโรคเบาหวาน คนกรุงเทพมหานคร มีภาวะโรคเบาหวานมากที่สุดในปี 2547 ร้อยละ 12 และลดน้อยลง ในปี 2552 เหลือร้อยละ 9.2 (รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีภาวะเบาหวาน ร้อยละ 7.6 ในปี 2547 และ ลดน้อยลงในปี 2552 เหลือร้อยละ 7) ภาวะไขมันคอเลสเทอรอลในเลือดสูง คนกรุงเทพมหานคร มีภาวะไขมันคอเลสเทอรอลในเลือดสูงถึงร้อยละ 30 ในปี 2547 และลดลงเหลือร้อยละ 25.8 ในปี 2552 ภาวะความดันโลหิตสูงของคนกรุงเทพมหานคร พบร้อยละ 21 ในปี 2547 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 29.8 ในปี 2552 ผู้ป่วยไม่ได้รับการวินิจฉัย ร้อยละ 36.8 ได้รับการวินิจฉัยแต่ไม่ได้รับการรักษา ร้อยละ 8.7 รักษาและ ควบคุมได้ ร้อยละ 28.1 รักษาและควบคุมไม่ได้ ร้อยละ 26.4 ภาวะโรคหลอดเลือดหัวใจ/กล้ามเนื้อหัวใจตายในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปที่เคยได้รับการวินิจฉัย พบอัตราใน กรุงเทพมหานครสูงที่สุด ร้อยละ 3.6 โดยแบ่งเป็น ร้อยละ 4.7 ในเพศชาย และร้อยละ 2.6 ในเพศหญิง โดยมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น XIII
  • 17. การได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกใน 2 ปีที่ผ่านมา สตรีทั้งประเทศได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 42.5 ส่วนสตรีกรุงเทพมหานคร ได้รับการตรวจน้อยกว่าทุกภาค คือ ร้อยละ 28.9 ปัญหาและข้อเสนอแนะ 1) ระบบข้อมูล (Information System) ปัญหา  สานักการแพทย์และสานักอนามัย กรุงเทพมหานคร ไม่มีศูนย์กลางที่จะนาข้อมูลที่ จัดเก็บไว้เพื่อบริหารจัดการ และนามาใช้ประโยชน์ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจะทาให้เห็นภาพรวมของปัญหาด้าน สุขภาพของคนกรุงเทพมหานครอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อจัดทานโยบาย แผนงาน/โครงการ ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา สุขภาพจริง ๆ ของประชาชน ข้อเสนอแนะ:  ควรจัดให้มีหน่วยงานหลัก ในการประสานงาน จัดเก็บข้อมูล รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลด้าน สุขภาพจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งของกรุงเทพมหานครและกระทรวงอื่น ๆ ที่มีงานบริการสาธารณสุข รวมทั้งประสาน ความร่วมมือจากภาคเอกชน  ให้มีการวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร และเผยแพร่ข้อมูลและปัจจัยเสี่ยง ด้วยสื่อ social media หลายรูปแบบ เพื่อกระตุ้นให้เกิดความตระหนักถึงภัยสุขภาพ และนาไปสู่ความร่วมมือในการ แก้ปัญหา  ผลิตสื่อ หรือเพิ่มช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่เป็นประโยชน์แก่คน กรุงเทพมหานคร 2) ระบบบริการด้านสุขภาพ ปัญหา:  การกระจายตัวของสถานพยาบาล สังกัดกรุงเทพมหานครยังไม่ครอบคลุมทุกเขตพื้นที่ของ กรุงเทพมหานคร ข้อเสนอแนะ:  สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับโรงพยาบาลของรัฐสังกัดกระทรวงอื่นในพื้นที่ จัดทานโยบายการ เปิดสถานบริการทางสาธารณสุขใหม่ ๆ ให้มีการกระจายตัวครอบคลุมเขตพื้นที่ที่ยังไม่มีสถานบริการ XIV
  • 18. 3) พฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพ ปัญหา:  มีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม การบริโภคผักและผลไม้ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ประชาชน ในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป มีการบริโภคผักและผลไม้ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานและต่ากว่าภาคอื่นๆ ในขณะที่กลุ่มเด็ก กรุงเทพมหานครอายุ 2-14 ปี มีการดื่มน้าอัดลมและขนมกรุบกรอบสูงกว่าประชากรเด็กภาคอื่น ข้อเสนอแนะ  ประชาสัมพันธ์สื่อสารหลายรูปแบบ/รณรงค์ให้แก่ อสส.เรื่อง DPAC และโภชนาการ ลด อาหาร หวาน มัน เค็ม แนะนาประชาชนบริโภคผักผลไม้เพิ่มขึ้น“บริโภคผักผลไม้ครึ่งหนึ่ง อย่างอื่นครึ่งหนึ่ง” ด้วยการบริโภค ผักผลไม้ปลอดสารพิษ  รณรงค์ปลูกผักเพื่อบริโภคเองในกระถาง บนหลังคาอาคารที่อยู่อาศัย หรือในที่รกร้างว่างเปล่า ศึกษาดูงานเขตที่มีการปลูกผักบนอาคารได้ผลดี เช่น ที่ทาการเขตหลักสี่ เขตภาษีเจริญ ฯลฯ  ประชาสัมพันธ์สื่อสารหลายรูปแบบ/รณรงค์ให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูในโรงเรียนให้ความสนใจการ บริโภคอาหารและการเลือกซื้ออาหารให้ถูกหลักโภชนาการ ไม่ส่งเสริมการดื่มน้าอัดลมและขนมกรุบกรอบในกลุ่มเด็ก โรงเรียนควรมีนโยบายในการห้ามไม่ให้มีการขายน้าอัดลมและขนมกรุบกรอบในโรงเรียนและบริเวณหน้าโรงเรียน ส่งเสริมการบริโภคผลไม้ไทยและผลไม้ตามฤดูกาลแทน ปัญหา:  คนกรุงเทพมหานครมีกิจกรรมทางกาย หรือออกกาลังกายน้อยกว่าภูมิภาคอื่น ๆทุกภาค ข้อเสนอแนะ:  สร้างกระแสการออกกาลังกาย เช่น การณรงค์ปั่นจักรยานอย่างต่อเนื่อง ประชาสัมพันธ์สื่อสาร ทาง social media สร้างแรงจูงใจในการออกกาลังกาย  มุ่งเน้นคากล่าวที่ว่า ‘Exercise is Medicine’ และเผยแพร่การใช้ชีวิต active life style มาก ขึ้น  เพิ่มสถานที่สาหรับการออกกาลังกายให้มากขึ้น เช่น เพิ่มเลนสาหรับการขี่จักรยานเพื่อสุขภาพ โดยเฉพาะหรือสร้างทางสาหรับการเดิน  จัดทาโครงการ “กรุงเทพมหานครเมืองแห่งการออกกาลังกาย” มีผู้นาการออกกาลังกายทุก ชุมชน เพื่อสร้างพฤติกรรมที่ดีช่วยลดกลุ่มโรคไม่ติดต่อ (NCD) 4) การเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปัญหา:  คนกรุงเทพมหานครพบโรคอ้วน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหลอด เลือดหัวใจ/กล้ามเนื้อหัวใจตาย ไขมันคอเลสเทอรอลในเลือดสูงกว่าภาคอื่น รวมทั้งกลุ่มเด็กอายุ 1-5 ปี และกลุ่มอายุ 15 ปี ที่มีภาวะอ้วนมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น XV
  • 19. ข้อเสนอแนะ  สนับสนุนการสร้างชุมชนตัวอย่าง ชุมชนสุขภาพดีปลอดโรคไม่ติดต่อ ให้ความสาคัญ การดูแลสุขภาพตนเอง ส่งเสริมกิจกรรม “สร้างสุขภาพ นาการซ่อมสุขภาพ” ทุกรูปแบบ ให้ชุมชนคิดเองได้ตาม ต้องการ เชิดชูชุมชนดีเด่น  สร้างชุมชนเข้มแข็งในการคิดนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อดูแลสุขภาพของคนในชุมชน มีอสส. เป็นผู้นาการเปลี่ยนแปลง ฯลฯ ปัญหา:  สตรีกรุงเทพมหานครทุกกลุ่มอายุได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก เพียงร้อยละ 28.9 และแนวโน้มที่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกน้อยกว่าทุกภาค  อัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูกของสตรีกรุงเทพมหานคร สูงกว่าสตรีทั่วประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น  สตรีกรุงเทพหานคร ไม่ยอมรับการตรวจมะเร็งปากมดลูก เนื่องจากมีความเชื่อและ ทัศนคติที่ผิด เชื่อว่าการไปตรวจ “จะต้องมีอาการผิดปกติ” อ้างเหตุผลในการไม่ไปตรวจเพราะ “ไม่มีอาการผิดปกติ” ข้อเสนอแนะ:  สร้างมาตรการใหม่ ๆ เพื่อจูงใจให้สตรีมารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก โดยหน่วยงาน สาธารณสุขทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ควรร่วมมือกันจัดกิจกรรมรณรงค์ตรวจพร้อมกันทั่วทุกเขตกรุงเทพมหานคร  ดาเนินมาตรการเชิงรุกในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และการ ตรวจสุขภาพให้แก่ประชาชนในชุมชนให้ครอบคลุมมากขึ้น การจัดสรรงบประมาณในการจัดหารถตรวจสุขภาพ เคลื่อนที่ให้สานักอนามัยเพิ่มขึ้น และเพิ่มบุคลากรสาธารณสุขให้เพียงพอ  ให้ข้อมูลและความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน มุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมาย เฉพาะเพศหญิงช่วงอายุระหว่าง 50-59 ปี ที่ต้องดูแลเป็นพิเศษด้วยการติดตามให้มารับการตรวจ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างต่อเนื่อง ในทุกชุมชนที่รับผิดชอบ XVI
  • 20. ข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร 1 บทที่ 1 บทนำ หลักกำรและเหตุผล ข้อมูลด้านสุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร ได้รับความร่วมมือจากหลายหน่วยงาน เช่น กระทรวง สาธารณสุขสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสานักงานสถิติแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร สานักการแพทย์ สานักอนามัย กระทรวงศึกษาธิการซึ่งมีโรงพยาบาลในสังกัดของมหาวิทยาลัยที่ มีการเรียนการสอนด้านสุขภาพในเขตกรุงเทพมหานคร เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์หน่วยงานดังกล่าว ได้จัดทาข้อมูลรายงานในวาระต่างๆกันเช่นรายงานผลงานประจาปี รายงานผลการปฏิบัติราชการ รายงานประจาเดือน ฯลฯ และกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีบทบาทภารกิจในการ กาหนดนโยบายระดับชาติด้านสุขภาพ และให้บริการทั้งการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ประชาชนโดยตรง กรุงเทพมหานครได้ก่อกาเนิดมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช และมีการดาเนินการมายาวนานและต่อเนื่อง โดยมีคณะที่เกี่ยวข้องกับด้านสุขภาพคือ คณะแพทยศาสตร์วชิพยาบาลและคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ นอกจากนั้น ยังมีสานักการแพทย์ซึ่งมีโรงพยาบาลในสังกัดรวม 9 แห่ง และสานักอนามัยซึ่งมีศูนย์บริการ สาธารณสุขอยู่กระจายในชุมชนต่าง ๆ ในเขตพื้นที่ รวม 68 แห่งเพื่อดูแลสุขภาพของคนกรุงเทพมหานครให้ ครอบคลุมและทั่วถึง ปัจจุบันการจัดเก็บข้อมูลด้านสุขภาพของแต่ละหน่วยงานมีรูปแบบและเนื้อหาที่มีความหลากหลายขึ้นกับ วัตถุประสงค์และภารกิจของคณะกรรมการบริหารองค์กร หรือหน่วยงานนั้นๆ ทาให้ไม่สามารถรวบรวมข้อมูล ข่าวสารที่มีอยู่ในระบบสุขภาพให้เห็นภาพรวมของคนกรุงเทพมหานครได้อย่างครบถ้วนและชัดเจน นอกจากนี้ยัง ไม่มีกระทรวงหรือหน่วยงานใดที่ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการบูรณาการข้อมูลข่าวสารได้อย่างจริงจัง ทาให้ไม่ สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้วให้เกิดประสิทธิภาพได้ แม้ว่าจะได้มีการลงทุนทั้งทรัพยากรบุคคล งบประมาณค่าใช้จ่าย และเวลา ศูนย์เตือนภัยสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร (Bangkok Health Awareness Center: BHAC) ได้ ดาเนินการรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานครจากฐานข้อมูลหลายแหล่งเพื่อให้เห็นภาพรวม สถานการณ์และทรัพยากรด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานครโดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาใหญ่ของคน ในเขตเมือง ซึ่งข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์ในการวางแผนดาเนินการด้านสุขภาพ รวมทั้งนาเสนอปัญหาอุปสรรค เพื่อ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลต่อไป หน่วยงำนที่รับผิดชอบโครงกำร 1. มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช กรุงเทพมหานคร โดยคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล 2. แผนงานเครือข่ายควบคุมโรคไม่ติดต่อ สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อรวบรวมข้อมูล (data collection) จากฐานข้อมูลของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ สถานการณ์ปัญหาสุขภาพ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ต่าง ๆ ด้านสุขภาพ อันจะนาไปสู่การ สร้างความตระหนักถึงภัยสุขภาพในกลุ่มคนกรุงเทพมหานคร รวมทั้งมีข้อเสนอแนะเพื่อการพิจารณาปรับปรุง ระบบบริการสุขภาพของคนกรุงเทพมหานครให้ดียิ่งขึ้น
  • 21. ข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร 2 กำรดำเนินกำรรวบรวมข้อมูล มีขั้นตอนดังนี้ 1. กาหนดวัตถุประสงค์ (set objective) 2. กาหนดประเด็นเกี่ยวกับสุขภาพที่จะทบทวน (set target health issues) 3. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (collect data) 4. ประเมินและพิจารณาข้อมูลที่มีประโยชน์และควรนาเสนอ (assess and select data) 5. เรียบเรียงและเขียนรายงาน (report preparation) 6. จัดพิมพ์และเผยแพร่รายงานไปส่วนงานที่เกี่ยวข้อง (distribute report) ข้อมูลที่รวบรวม ได้แก่ 1. ภาพรวมของข้อมูลด้านกายภาพของคนกรุงเทพมหานคร ประชากร อาณาเขต สภาพทาง ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจและสังคม การดูแลด้านสิ่งแวดล้อม 2. ภาพรวมของข้อมูลด้านสุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร ในประเด็นต่างๆ  นโยบายด้านสุขภาพ  สถานการณ์และปัญหาภาระโรค (Health status & Health problem) การเกิด การ ป่วย การตาย พฤติกรรมสุขภาพ และการสูญเสียปีสุขภาวะ  การให้บริการของกรุงเทพมหานครตั้งแต่การป้องกันควบคุมโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable diseases: NCD) ซึ่งพบสูงขึ้น รวมทั้งการ รักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพ 3. สิทธิการรักษาของผู้มารับบริการ เช่น สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ สิทธิหลักประกัน สุขภาพ และสิทธิประกันสังคม เป็นต้น โดยรวบรวมข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุขสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักตรวจและประเมินผล เขตสุขภาพ 13 สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และ กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารสานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงแรงงาน สานักงานประกันสังคม และสานักการแพทย์ สานักอนามัย กรุงเทพมหานคร 4. การบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนระบบบริการสุขภาพ  รูปแบบการให้บริการ ระบบสนับสนุน และการส่งต่อ (Service delivery)  ทรัพยากรทางการแพทย์และฝ่ายสนับสนุน (Health workforce) รวมทั้งเครือข่ายการ ทางานและศักยภาพของชุมชน  ระบบข้อมูลข่าวสาร (Information) การพัฒนาและความก้าวหน้าของระบบจัดเก็บ ข้อมูล  ผู้ให้บริการซึ่งประกอบด้วยภาครัฐและภาคเอกชน (Health care providers) - โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงต่าง ๆ และโรงพยาบาลของเอกชน - หน่วยบริการสุขภาพทั่วไป เช่น สถานพยาบาลภาครัฐ สถานพยาบาล ภาคเอกชน - คลินิกชุมชนอบอุ่น เครือข่ายของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  ระบบส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน และระบบส่งต่อเพื่อให้การดูแลที่ต่อเนื่องด้านแม่และเด็ก 5. การประเมินภาวการณ์สูญเสียด้านสุขภาพ (Disability Adjusted Life Years: DALYs)เช่น ภาระโรค การสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรและการบกพร่องทางสุขภาพ 6. สรุปปัญหาสุขภาพที่สาคัญ และบทสรุปย่อสาหรับผู้บริหาร
  • 22. ข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร 3 นิยำมศัพท์ 1. ดัชนีมวลกาย ( Body mass : BMI) เป็นค่าที่คานวณจากน้าหนักและส่วนสูง เพื่อใช้เปรียบเทียบความ สมดุลระหว่างน้าหนักตัว ต่อความสูงของมนุษย์ ซึ่งคิดค้นโดย Adolphe Quetelet ชาวเบลเยียมค่าดัชนี มวลกายหาได้โดยนาน้าหนักตัวหารด้วยส่วนสูงตนเองยกกาลังสอง ดังนี้ BMI = น้าหนัก/ส่วนสูง2 โดยปกติ ให้ใช้น้าหนักตัวเป็นกิโลกรัม และส่วนสูงเป็นเมตร จะได้หน่วยเป็น กก./ม.2 เมื่อได้คานวณค่าดัชนี มวลกายแล้ว นามาเปรียบเทียบกับเกณฑ์สาหรับคนเอเชีย ดังนี้  ผอมเกินไป: น้อยกว่า 18.5 (<18.5)  เหมาะสม: มากกว่าหรือเท่ากับ 18.5 แต่น้อยกว่า 23 (≥18.5 แต่ <23)  น้าหนักเกิน: มากกว่าหรือเท่ากับ 23 แต่น้อยกว่า 25 (≥23 แต่ <25)  อ้วน: มากกว่าหรือเท่ากับ 25 แต่น้อยกว่า 30 (≥25 แต่ <30)  อ้วนมาก: มากกว่าหรือเท่ากับ 30 (≥30) 2. อัตราส่วนการตายมาตรฐานหรืออัตราตายปรับฐานคือ อัตราตายที่ปรับความแตกต่างในองค์ประกอบอายุ ของประชากรต่างกลุ่มในเวลาเดียวกันหรือของประชากรกลุ่มเดียวกันในต่างเวลาเพราะการเปลี่ยนแปลง ของอัตราตายอย่างหยาบอาจเกิดขึ้นหากความแตกต่างขององค์ประกอบอายุดังนั้นเพื่อขจัดอิทธิพลของ ความแตกต่างดังกล่าวจึงใช้ประชากรมาตรฐานและการปรับองค์ประกอบอายุและเพศรวมถึงการปรับ ลักษณะอื่นๆของประชากรหรือเรียกว่าการทาให้เป็นมาตรฐาน (Standardization) อัตราตายปรับฐานเป็นอัตราการปรับอายุให้เป็นมาตรฐานเดียวกันไม่ใช่ค่าตัวเลขที่แท้จริงแต่สามารถ นาไปใช้ในความหมายของการเปรียบเทียบระหว่างชุมชนในเวลาเดียวกันหรือต่างเวลา สาหรับการศึกษา ในครั้งนี้ได้นาอัตราตายปรับฐานมาใช้ในการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มอายุและระหว่างภาค วิธีการที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คืออัตราตายปรับฐานวิธีตรง (Direct method) โดย อัตรำตำยปรับฐำน = โครงสร้างประชากรปรับมาตรฐาน ประชากรปรับมาตรฐาน โครงสร้างประชากรปรับมาตรฐาน คือโครงสร้างประชากรที่มีการปรับสัดส่วนประชากรให้มีการกระจาย เหมาะสมกับฐานอายุในลักษณะเดียวกับประชากรที่ศึกษา 3. การประเมินภาวะโภชนาการใช้กราฟของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ปี 2542 เป็นเครื่องชี้วัดภาวะ โภชนาการของประชาชนไทย อายุตั้งแต่ 1 วัน -19 ปี มีการจาแนกตามกลุ่มอายุ และเพศหญิงชาย(กราฟ แสดงรายละเอียดของตามกลุ่มอายุอยู่ในภาคผนวก)  ภาวะ อ้วน สมส่วน ผอม โดยการใช้น้าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง (Weight for Height)  ภาวะ สูง เตี้ย ใช้ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ (Height for Age)  ภาวะน้าหนักน้อยกว่าเกณฑ์ น้าหนักค่อนข้างน้อยน้าหนักมากเกินเกณฑ์ โดยการใช้น้าหนักตาม เกณฑ์อายุ (Weight for Age) 3. มาตรฐานการบริโภคผักและผลไม้ตามมาตรฐานของกลุ่มการศึกษาของปัจจัยเสี่ยงต่อโรคขององค์การ อนามัยโลก กาหนดให้บริโภคผักและผลไม้ 400-800 กรัมต่อคนต่อวัน หรืออย่างน้อย 5 ถ้วยมาตรฐาน ต่อคนต่อวัน
  • 23. ข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร 4 ข้อจำกัดของกำรรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพในการจัดทารายงานฉบับนี้ มีข้อจากัดหลายประการ ได้แก่  ข้อมูลที่รวบรวมเป็นข้อมูลทุติยภูมิจากหลายแหล่งจึงอาจมีความคลาดเคลื่อนไม่ถูกต้องได้ เนื่องจากการเก็บข้อมูลรายงานที่ยังไม่เป็นมาตรฐานหรือระบบเดียวกัน  ข้อมูลด้านสุขภาพของคนกรุงเทพมหานคร กระจายอยู่ในหลายหน่วยงาน และหลายกระทรวง ด้วยกัน การจัดเก็บข้อมูลเป็นไปตามภารกิจและวัตถุประสงค์หรือการใช้จ่ายงบประมาณของแต่ละ หน่วยงาน ไม่มีการบูรณาการระบบข้อมูลด้านสุขภาพในระดับประเทศให้เป็นหนึ่งเดียว  สถานบริการในสังกัดกรุงเทพมหานครสานักการแพทย์และสานักอนามัยไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูล ด้านบริการและยังไม่มีศูนย์กลางในการรวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพให้เห็นภาพรวมด้านสุขภาพของ คนกรุงเทพมหานครให้ชัดเจน  สถานบริการสุขภาพภาคเอกชนยังไม่เห็นความสาคัญในการส่งข้อมูลให้กระทรวงสาธารณสุข หรือ หน่วยงานภาครัฐอื่นๆทาให้ข้อมูลไม่ครบถ้วน ไม่สามารถวิเคราะห์ให้เป็นภาพรวมปัญหาสุขภาพ ของคนกรุงเทพมหานครได้  การให้บริการด้านสุขภาพ มีสถานบริการมากมายให้เลือกใช้บริการ ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของ ผู้ป่วยและญาติ อาจมีการนับจานวนการใช้บริการซ้ากัน  ปัญหาประชากรแฝง และแรงงานข้ามชาติที่เข้ามาประกอบอาชีพในกรุงเทพมหานครอีกนับล้าน คนโดยไม่ได้ย้ายทะเบียนเข้ามาในกรุงเทพมหานคร ทาให้ขาดข้อมูลในการเตรียมการรองรับ โดยเฉพาะหากเกิดปัญหาด้านสุขภาพเร่งด่วน หรือกรณีเกิดโรคระบาดขึ้น
  • 24. ข้อมูลด้านสุขภาพคนกรุงเทพมหานคร 5 บทที่ 2 ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลพื้นฐำนของกรุงเทพมหำนคร ลักษณะภูมิประเทศและกำรแบ่งเขต กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย เป็นมหานครที่เป็นศูนย์กลางความเจริญทุกด้าน มีสิ่ง อานวยความสะดวกครบครัน มีสาธารณูปโภคต่าง ๆ อย่างครบสมบูรณ์ อีกทั้งเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม การค้า และการบริการต่าง ๆ กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 1,569 ตารางกิโลเมตร มีแม่น้าเจ้าพระยายาว 372 กิโลเมตร พาดผ่าน มีอาณาเขตทางบกติดต่อกับจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดปทุมธานี จังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดสมุทรปราการ ส่วนอาณาเขตทางทะเลอ่าวไทย ติดต่อกับจังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัด สมุทรปราการ และจังหวัดชลบุรี โดยมีรายละเอียดดังนี้ ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อ จังหวัดนนทบุรีและจังหวัดปทุมธานี ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อ จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อ จังหวัดสมุทรปราการและอ่าวไทย (ส่วนที่เป็นอ่าวไทยที่เป็นพื้นที่เดิม ของจังหวัดธนบุรี ปัจจุบันคือเขตบางขุนเทียน ซึ่งมีอาณาเขตทางทะเล ติดต่อทางอ่าวไทยกับจังหวัดเพชรบุรีจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัด สมุทรปราการ และจังหวัดชลบุรี) ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อ จังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดนครปฐม กรุงเทพมหานครมีการแบ่งกลุ่มการปฏิบัติงานของสานักงานเขต เพื่อให้การปฏิบัติงานราชการมีความ สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ เศรษฐกิจ สังคม และวิถีการดารงชีวิตของประชาชนและสามารถตอบสนองต่อความ ต้องการของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเพื่อประโยชน์ในการประสานงาน การกากับ และการติดตาม การปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามนโยบายของกรุงเทพมหานคร เขตพื้นที่ของกรุงเทพมหานครแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม และเขตย่อย 50 เขต ดังนี้