SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 55
Baixar para ler offline
การให้บริการทางเภสัชกรรมการให้บริการทางเภสัชกรรม
ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชนในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน ((ร้านยาร้านยา))
ภายใต้ระบบประกันสุขภาพของประเทศต่างๆภายใต้ระบบประกันสุขภาพของประเทศต่างๆ
หนวยวิจัยการบริบาลทางเภสัชกรรม
คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
คณะทํางาน
ธีรพล ทิพยพยอม
ภ.บ, ภ.บ.(บริบาลเภสัชกรรม), M.Clin.Pharm, Ph.D.
นิลวรรณ อยูภักดี
ภ.บ, ภ.ม.(บริหารเภสัชกิจ), ปร.ด.
อัลจนา เฟองจันทร
ภ.บ, ภ.บ.(บริบาลเภสัชกรรม), วท.ด.
ชวนชม ธนานิธิศักดิ์
ภ.บ, ภ.บ.(บริบาลเภสัชกรรม), ภ.ม.(เภสัชกรรมชุมชน), วท.ด.
อิศราวรรณ ศกุนรักษ
ภ.บ.(บริบาลเภสัชกรรม)
ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ
ภ.บ, Pharm.D, Ph.D.
หนวยวิจัยการบริบาลทางเภสัชกรรม
คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
คํานํา
สถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชนหรือรานยาจัดเปนหนวยใหบริการดานสุขภาพที่สําคัญลําดับตนๆ
ของระบบสาธารณสุขในหลายประเทศทั่วโลก เนื่องจากมีความใกลชิดกับชุมชนเปนอยางดี และในชวงหลายปที่
ผานมาเภสัชกรชุมชนไดมีการพัฒนาบทบาทและรูปแบบการการใหบริการอยางตอเนื่อง เพื่อสงเสริมการใชยา
อยางเหมาะสม ปลอดภัยและคุมคา การสนับสนุนการใหบริการทางเภสัชกรรมที่ไดรับการพิสูจนวามีประโยชน
ยอมสงผลดีตอระบบสุขภาพของประชาชนโดยรวมในที่สุด
รายงานฉบับนี้จัดทําขึ้นโดยไดรับการสนับสนุนจากมูลนิธิเภสัชกรรมชุมชน เพื่อรวบรวมขอมูลดาน
รูปแบบการใหบริการของเภสัชกรชุมชน ผลลัพธของการใหบริการ รวมถึงรูปแบบการดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลง
กับภาครัฐในการผนวกบริการดังกลาวเขาไวในระบบประกันสุขภาพของรัฐ สําหรับเปนแนวทางนํามาประยุกตใช
พัฒนาบทบาทการใหบริการของเภสัชกรชุมชนในประเทศไทยในการชวยดูแลและจัดการการใชยาอยางเหมาะสม
ใหกับผูรับบริการ และเพื่อสงเสริมใหวิชาชีพเภสัชกรรมเปนที่ยอมรับของสังคมตอไป
คณะทํางาน
กรกฎาคม 2554
สารบัญ
หนา
ขอมูลสรุป i
I. บทนํา
1.1 การบริการทางเภสัชกรรมในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (รานยา) 1
1.2 แนวทางการทบทวนการใหบริการทางเภสัชกรรมในสถานประกอบการเภสัชกรรม
ชุมชน ภายใตระบบประกันสุขภาพของประเทศตางๆ
1
II. การใหบริการเภสัชกรรมชุมชนภายใตระบบประกันสุขภาพในอังกฤษ
2.1 ภาพรวมของระบบ 3
2.2 การดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ 3
2.3 รูปแบบการใหบริการ 5
2.4 การจายคาตอบแทนการใหบริการ 8
2.5 การประเมินผลการใหบริการ 12
III. การใหบริการเภสัชกรรมชุมชนภายใตระบบประกันสุขภาพในสหรัฐอเมริกา
3.1 ภาพรวมของระบบ 17
3.2 การดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ 18
3.3 รูปแบบการใหบริการ 19
3.4 การจายคาตอบแทนการใหบริการ 22
3.5 การประเมินผลการใหบริการ 25
IV. การใหบริการเภสัชกรรมชุมชนภายใตระบบประกันสุขภาพในออสเตรเลีย
4.1 ภาพรวมของระบบ 27
4.2 การดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ 27
4.3 รูปแบบการใหบริการ 26
4.4 การจายคาตอบแทนการใหบริการ 34
4.5 การประเมินผลการใหบริการ 34
V. การใหบริการเภสัชกรรมชุมชนภายใตระบบประกันสุขภาพในไตหวัน
5.1 ภาพรวมของระบบ 39
5.2 การดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ 39
5.3 รูปแบบการใหบริการ 40
5.4 การจายคาตอบแทนการใหบริการ 40
5.5 การประเมินผลการใหบริการ 40
สารบัญ (ตอ)
หนา
VI. ปจจัยสูความสําเร็จ
6.1 ปจจัยที่มีผลตอการขยายบทบาทการใหบริการทางเภสัชกรรมและการจาย
คาตอบแทน
42
6.2 ปจจัยสูความสําเร็จในการบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ 43
6.3 ขอเสนอแนะสําหรับการขยายบทบาทการใหบริการทางเภสัชกรรม 44
6.4 สรุป 45
ภาคผนวก
รายนามเวปไซดที่เกี่ยวของและผูใหขอมูลของแตละประเทศ 47
i
ขอมูลสรุป (Executive Summary)
การทบทวนการใหบริการทางเภสัชกรรมในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (รานยา) ภายใตระบบ
ประกันสุขภาพของประเทศตางๆ นี้จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหไดขอมูลที่ครอบคลุมทั้งดานรูปแบบการ
ใหบริการ ผลลัพธของการใหบริการ รวมถึงรูปแบบการดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐในการผนวกบริการ
ดังกลาวเขาไวในระบบประกันสุขภาพของรัฐ สําหรับนํามาประยุกตใชเปนแนวทางการพัฒนาและขยายบทบาท
การใหบริการทางเภสัชกรรมของเภสัชกรชุมชนในประเทศไทย
รูปแบบการใหบริการทางเภสัชกรรมในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (รานยา)
สามารถแบงรูปแบบบริการทางเภสัชกรรมในรานยาที่ไดรับการสนับสนุนโดยรัฐบาลของประเทศตางๆ
ออกไดเปน 4 ประเภทใหญๆ คือ 1) บริการจัดการดานยา; 2) บริการเพื่อเพิ่มการเขาถึงยา; 3) บริการดาน
สาธารณสุข; และ 4) บริการอื่นๆ
บริการจัดการดานยาเปนบริการที่ไดรับการสนับสนุนโดยรัฐบาลของทุกประเทศ ซึ่งอาจมีขอแตกตางกัน
บางในสวนของแนวทางการปฏิบัติและสถานที่ใหบริการ ตัวอยางบริการในแตละประเทศไดแก บริการ Medication
Therapy Management (MTM) ในสหรัฐอเมริกา บริการ Medication Review ในอังกฤษ บริการตางๆ ใน
Medication Management Programs ของออสเตรเลีย และบริการ Home Pharmaceutical Care ในไตหวัน
บริการเพื่อเพิ่มการเขาถึงยาเปนบริการที่ประเทศอังกฤษและออสเตรเลียใหความสําคัญและใหการ
สนับสนุนคอนขางมาก โดยเฉพาะประเทศออสเตรเลียที่มีการใหเงินสนับสนุนเพื่อสรางแรงจูงใจในการใหบริการ
ทางเภสัชกรรมในพื้นที่ชนบทและพื้นที่หางไกล สําหรับประเทศอังกฤษมีการสนับสนุนบริการเพื่อเพิ่มความเขาถึง
ยาหลากหลายรูปแบบไดแก การเปดใหบริการนอกเวลาทําการ การใหวัคซีนปองกันไขหวัดใหญ การจายยา
คุมกําเนิดฉุกเฉิน สวนประเทศสหรัฐอเมริกาก็มีการสนับสนุนการใหบริการวัคซีนของเภสัชกร
ประเทศอังกฤษเปนประเทศที่ใหความสําคัญกับบริการดานสาธารณสุขของเภสัชกรเปนอยางมาก โดย
ตัวอยางบริการดานสาธารณสุขที่รัฐใหการสนับสนุนไดแก บริการชวยเลิกบุหรี่ บริการคัดกรองและรักษา
Chlamydia และบริการประเมินความเสี่ยงตอการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด นอกจากนี้เภสัชกรในประเทศ
อังกฤษยังไดรับการสนับสนุนการขยายบทบาทการใหบริการรูปแบบตางๆ เพื่อสนับสนุนการใหบริการสุขภาพ และ
เพื่อลดภาระการตรวจรักษาของแพทยอีกดวย บริการดังกลาวไดแก minor ailment service, supplement
prescribing และ patient group direction เปนตน
การประเมินผลการใหบริการ
การใหบริการทางเภสัชกรรมสวนใหญของทั้ง 4 ประเทศไดรับการประเมินผลลัพธทั้งจากนักวิชาการและ
หนวยงานที่เกี่ยวของในหลายบริบท เชน ผลลัพธทางคลินิกและผลลัพธทางเศรษฐศาตร ซึ่งพบวาบริการสวนใหญ
มีประโยชนตอผูรับบริการ ชวยลดภาระงานของแพทย และชวยลดคาใชจายดานบริการสุขภาพโดยรวมได
ii
การดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ
ทุกประเทศมีหนวยงานที่ทําหนาที่เจรจากับภาครัฐเพื่อกําหนดรูปแบบและแนวทางการใหบริการ รวมถึง
การจายคาตอบแทน โดยแนวทางการดําเนินการอาจแตกตางกันไปตามบริบทของแตละประเทศ ยกตัวอยางเชน
ในประเทศออสเตรเลียมุงเนนการสรางหลักฐานเชิงประจักษเพื่อแสดงใหเห็นถึงความคุมคาของบริการทางเภสัช
กรรม สวนในประเทศอังกฤษใชแนวทางการสื่อสารทําความเขาใจกับภาคการเมืองหรือผูเกี่ยวของในการกําหนด
นโยบายทางสาธารณสุข รวมกับการใหการสนับสนุนการพัฒนาบริการในระดับทองถิ่นและนําผลการดําเนินการที่
ประสบความสําเร็จมาขอการรับรองจากสวนกลาง เพื่อใชเปนแมแบบสําหรับการใหบริการในทองถิ่นอื่นดวย
สําหรับการดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐในประเทศสหรัฐอเมริกานั้นมีความแตกตางกัน
ระหวางระบบ Medicare และ Medicaid โดยองคกรวิชาชีพเภสัชกรรมไดมีการรวมตัวกันเปน Pharmacists
Provider Coalition (PPC) เพื่อผลักดันใหมีการผนวกบริการ MTM เขาเปนสวนหนึ่งของ Medicare part D สวน
การพัฒนาเพื่อบรรลุขอตกลงสําหรับระบบ Medicaid นั้นเกิดจากความรวมมือขององคกรวิชาชีพเภสัชกรรมในแต
ละรัฐกับระบบประกันสุขภาพแบบ Medicaid ของรัฐนั้นๆ ในการจัดทําโปรแกรมใหบริการทางคลินิกของเภสัชกร
สวนประเทศไตหวันการเจรจาเริ่มตนจากภาครัฐโดยเปนการติดตอขอความรวมมือไปยังองคกรวิชาชีพ
เพื่อชวยหาแนวทางการแกไขปญหาผูปวยที่เขารับบริการในคลินิกผูปวยนอกสูงผิดปกติ จึงไดมีการเสนอโครงการ
Home Pharmaceutical Care เพื่อแกไขปญหาดังกลาว และก็ไดรับการอนุมัติจากภาครัฐ ซึ่งถือเปนจุดเริ่มตน
ของการพัฒนาบริการรูปแบบตางๆ เสนอตอภาครัฐตอไปในอนาคต
ขอเสนอแนะสําหรับการขยายบทบาทการใหบริการทางเภสัชกรรมในประเทศไทย
• ควรมีองคกรหรือหนวยงานที่รับผิดชอบเพื่อดําเนินการดังตอไปนี้
- สื่อสารทําความเขาใจกับผูมีสวนเกี่ยวของกับการกําหนดนโยบาย และดําเนินการเจรจาตอรอง
กับภาครัฐเพื่อใหการสนับสนุนบริการตางๆ
- กําหนดยุทธศาสตรการสนับสนุนการสรางหลักฐานเชิงประจักษเพื่อแสดงใหเห็นถึงประโยชน
และความคุมคาของบริการ
- สนับสนุนการพัฒนางานบริการทางเภสัชกรม เชน การสรางแรงจูงใจในการใหบริการ
- เจรจาตอรองกับหนวยงานภาครัฐเกี่ยวกับการกําหนดคาตอบแทนการใหบริการทางเภสัชกรรม
ที่เหมาะสมกับระดับความซับซอนของบริการ
- ประชาสัมพันธใหเกิดการรับรูในวงกวางถึงความสําคัญและประโยชนของบริการทางเภสัชกรรม
- ดําเนินการเพื่อรับรองมาตรฐานการใหบริการของเภสัชกร
• ควรมีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนบริการทางเภสัชกรรมแยกไวอยางชัดเจน
• ควรมีการรับรองบริการรูปแบบตางๆ สําหรับใชเปนแมแบบใหหนวยคูสัญญาปฐมภูมินําไปใชเปน
แนวทางในการพิจารณาสนับสนุนบริการใหเหมาะสมกับความตองการของแตละทองถิ่น
• ควรมีการพัฒนาแนวทางการสรางความตระหนักของเภสัชกรเกี่ยวกับบทบาทวิชาชีพในฐานะผู
ใหบริการดานการดูแลสุขภาพ
1
I. บทนํา
ธีรพล ทิพยพยอม
1.1 การบริการทางเภสัชกรรมในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (รานยา)
ในชวงหลายทศวรรษที่ผานมาวิชาชีพเภสัชกรรมไดมีการพัฒนาเปนอยางมากในหลายประเทศ โดยเปน
การเปลี่ยนแปลงบทบาทการทําหนาที่ของเภสัชกรจากการใหบริการกระจายยามาเปนการใหบริการใน
หลากหลายรูปแบบเพื่อใหประชาชนผูใชยาไดรับประโยชนและความปลอดภัยจากการใชยาอยางเหมาะสม
เภสัชกรชุมชนก็ไดมีการขยายบทบาทการดูแลผูปวยใหเพิ่มมากขึ้นดวยเชนกัน จนถึงปจจุบันมีการพัฒนาบริการ
โดยเภสัชกรชุมชนหลากหลายรูปแบบ อาทิเชน การใหบริการทบทวนยาที่ใช (medicines use review: MUR)
บริการจัดการยาเพื่อการบําบัด (medication therapy management: MTM) การเยี่ยมบาน บริการชวยเลิกบุหรี่
บริการปองกันและสงเสริมสุขภาพ และบริการดูแลผูปวยโรคเรื้อรังตางๆ เปนตน
อยางไรก็ตามแมวาการใหบริการของเภสัชกรชุมชนหลายบริการจะไดรับการพิสูจน และยอมรับวามี
ประโยชนตอผูปวยและระบบสาธารณสุขโดยรวม แตผลลัพธดังกลาวมักไดมาจากงานวิจัยหรือโครงการนํารอง
ตางๆ ซึ่งการนํารูปแบบบริการที่ไดรับการพิสูจนวามีประโยชนเหลานั้นมาใชในวงกวางเปนไปอยางจํากัด ทั้งนี้สวน
หนึ่งเปนผลจากการไมไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานที่เกี่ยวของในระบบสาธารณสุขอยางเหมาะสมทั้งในดาน
การสรางเครือขายบริการ การเชื่อมตอขอมูล การสนับสนุนคาตอบแทนบริการ และอื่นๆ
1.2 แนวทางการทบทวนการใหบริการทางเภสัชกรรมในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน ภายใต
ระบบประกันสุขภาพของประเทศตางๆ
การใหการสนับสนุนบริการทางเภสัชกรรมในรานยาโดยระบบประกันสุขภาพของแตละประเทศมีความ
แตกตางกันไป ขึ้นอยูกับการผลักดันจากองคกรวิชาชีพเภสัชกรรม รวมถึงการสนับสนุนในระดับนโยบายของ
ผูบริหารของประเทศนั้นๆ ดังนั้นการทบทวนการใหบริการทางเภสัชกรรมในรานยาภายใตระบบประกันสุขภาพ
ของประเทศตางๆ จึงมีความสําคัญ เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลที่ครอบคลุมทั้งดานรูปแบบการใหบริการ ผลลัพธของ
การใหบริการ รวมถึงการดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ สําหรับนํามาประยุกตใชเปนแนวทางการพัฒนา
และขยายบทบาทการใหบริการทางเภสัชกรรมของเภสัชกรชุมชนในประเทศไทยตอไป
เบื้องตนไดกําหนดประเทศที่จะทําการทบทวนไว 3 ประเทศคือ อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย
เนื่องจากประเทศดังกลาวไดมีการพัฒนาบริการทางเภสัชกรรมชุมชนมาแลวเปนอยางดี อีกทั้งยังไดรับการ
สนับสนุนดานงบประมาณจากระบบประกันสุขภาพของรัฐมานานพอสมควร นอกจากนี้คณะทํางานยังไดนํา
ขอมูลของประเทศไตหวันเพิ่มเขามาในการทบทวนครั้งนี้ดวย ทั้งนี้เนื่องจากไตหวันมีบริบทที่ใกลเคียงกับประเทศ
ไทยหลายดานเชน พัฒนาการของงานบริการทางเภสัชกรรม รูปแบบการใหบริการทางสาธารณสุขและระบบ
ประกันสุขภาพ รวมถึงการเปนประเทศในทวีปเอเชียเหมือนกัน การศึกษาขอมูลและแนวทางการพัฒนาใน
ประเทศไตหวันจึงนาจะเปนประโยชนไมนอยไปกวาขอมูลจากสามประเทศขางตน
2
คณะผูทบทวนไดทําการรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของจากการสืบคนฐานขอมูลทางวิชาการตางๆ เชน MED-
LINE, International Pharmaceutical Abstracts, Scopus และ Google Scholar และจากการสืบคนงานวิจัย
เพิ่มเติมจากรายนามเอกสารอางอิงของการศึกษา/บทความที่คัดเลือก นอกจากนี้คณะผูทบทวนยังไดศึกษาขอมูล
ตามเวปไซดของหนวยงานที่เกี่ยวของในประเทศตางๆ ทั้งหนวยงานราชการ เอกชน และสมาคมวิชาชีพ ขอมูล
บางสวนยังไดจากการติดตอกับผูเชี่ยวชาญหรือผูที่เกี่ยวของในแตละประเทศ โดยนําเสนอขอมูลที่ไดแยกตามแต
ละประเทศดังแสดงในบทถัดไป
บรรณานุกรม
• Farris KB, Fermandez-Limos F, Benrimoj SI. Pharmaceutical care in community pharmacies:
practice and research from around the world. Ann Pharmacother 2005;39:1539-41.
• Roberts AS, Benrimoj S, Chen TF, Williams KA, Aslani P. Implementing cognitive services in
community pharmacy: a review of models and frameworks for change. Int J Pharm Pract
2006;14:105-113.
3
II. การใหบริการเภสัชกรรมชุมชนภายใตระบบประกันสุขภาพในอังกฤษ
อิศราวรรณ ศกุนรักษ
ธีรพล ทิพยพยอม
2.1 ภาพรวมของระบบ
สหราชอาณาจักรมีระบบประกันสุขภาพแหงชาติที่ดูแลโดยระบบประกันสุขภาพแหงชาติ (National
Health Service: NHS) ซึ่งเปนระบบหลักของประเทศทําหนาที่ดูแลรับผิดชอบการใหบริการดานสุขภาพแบบถวน
หนา (universal coverage) ใหกับประชาชนหรือผูที่พํานักอาศัยอยางถาวรในสหราชอาณาจักร และมีการ
บริหารจัดการแบบแบงสวนชัดเจน คือแบงเปนสวนผูใหบริการ (provider) และสวนที่เปนผูซื้อบริการ (purchaser)
โดยงบประมาณสวนใหญ (ประมาณ 75-85%) จะถูกสงมาให Primary Care Organisation (PCO) ซึ่งทําหนาที่
เปนผูซื้อบริการ โดย PCO นี้มีชื่อเรียกแตกตางกันไปในแตละแควน เชน ในอังกฤษใชชื่อวา Primary Care Trust
(PCT) สวนเวลสใชชื่อวา Local Health Board (LHB)
แตละ PCO รับผิดชอบดูแลประชากรประมาณ 150,000 ถึง 300,000 คน และถือเปนหนวยงานสําคัญ
ในการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพของสหราชอาณาจักร การกําหนดนโยบายและทิศทางการดําเนินงานในแต
ละ PCO มาจากคณะกรรมการซึ่งประกอบไปดวยตัวแทนประชาชน เชน นักการเมืองทองถิ่นหรือผูทรงคุณวุฒิ
และตัวแทนวิชาชีพผูใหบริการในพื้นที่ PCO ยังดําเนินงานโดยประสานความรวมมือกับองคกรบริหารสวน
ทองถิ่น (local authority) เพื่อการพัฒนาบริการเชิงสังคมอีกดวย ภายหลังการกระจายอํานาจการปกครองใหกับ
ทั้ง 4 แควน (ไดแก อังกฤษ สกอตแลนด เวลส และไอรแลนดเหนือ) ในป ค.ศ. 1997 (พ.ศ. 2540) ระบบ NHS ของ
ทั้ง 4 แควนก็มีการดําเนินการที่แตกตางกัน สําหรับการทบทวนครั้งนี้จะมุงเนนรูปแบบการใหบริการทางเภสัชกรรม
ในอังกฤษเทานั้น
รานยา (community pharmacy) ในอังกฤษที่สามารถใหบริการรับใบสั่งยาจากโรงพยาบาลและคลินิก
คูสัญญาของ NHS จะเรียกวา NHS pharmacy contractor ซึ่งรานยาเหลานี้จะตองผานมาตรฐานและใหบริการ
ดานสุขภาพไดตามที่ NHS กําหนด
2.2 การดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ
การกําหนดเงื่อนไขหรือกรอบขอตกลง (contractual framework) กับ NHS นั้นมีผูรับผิดชอบและ
ดําเนินการโดยคณะกรรมการที่เรียกวา Pharmaceutical Services Negotiating Committee (PSNC) ซึ่งไดรับ
การรับรองใหเปนตัวแทนของ NHS pharmacy contractors ในการเจรจากรอบขอตกลงกับกระทรวงสาธารณสุข
และ NHS คณะกรรมการหลักของ PSNC มีทั้งสิ้น 32 คน ซึ่งประกอบไปดวย
4
• ตัวแทนที่ไดรับการโหวตเลือกจากแตละภูมิภาค (13 คนจากอังกฤษ และ 1 คนจากเวลส)
• ตัวแทนที่ไดรับการเสนอชื่อจากคณะกรรมการบริหารของสมาคมเภสัชกรรมชุมชน (National
Pharmacy Association) จํานวน 2 คน
• ตัวแทนที่ไดรับการเสนอชื่อจากสมาคมรานยาบริษัท (Company Chemists’ Association: CCA)*
จํานวน 12 คน
• ตัวแทนที่ไดรับการโหวตเลือกจากรานยาที่มีหลายสาขาที่ไมไดเปนสมาชิก CCA จํานวน 3 คน
• ประธานกรรมการอิสระ (non-executive chairman) 1 คน
*CCA มีสมาชิก 9 บริษัท และมีจํานวนรานยารวมคิดเปน 50% ของรานยาในสหราชอาณาจักร
PSNC มีวัตถุประสงคการดําเนินงานในการพัฒนาบริการของ NHS pharmacy contractors เพื่อให
เภสัชกรชุมชนสามารถเพิ่มรูปแบบการใหบริการที่มีคุณภาพและไดรับคาตอบแทนจากบริการนั้น เพื่อตอบสนอง
ความตองการของชุมชนทองถิ่น โดยมีแผนการดําเนินงานสําหรับป ค.ศ. 2011 ถึง ค.ศ. 2015 ดังนี้
• สรางรากฐานการพัฒนางานเภสัชกรรมชุมชนใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล
• สรางหลักประกันการจายคาตอบแทนอยางเหมาะสมใหกับบริการของเภสัชกรชุมชน
• ใหการรับรองวาการพัฒนาดานเทคโนโลยีใดๆ จะสนับสนุนการใหบริการของเภสัชกรชุมชน
• ดําเนินการอยางตอเนื่องเพื่อสรางหลักฐานเชิงประจักษที่แสดงใหเห็นถึงคุณภาพและความคุมคา
ของบริการของเภสัชกรชุมชน
• ใหขอมูล คําแนะนํา และการสนับสนุนเภสัชกรคูสัญญา และสรางพันธมิตรทั้งภายในและภายนอก
วิชาชีพเภสัชกรรมเพื่อเสริมประโยชนใหกับวิชาชีพ
สิ่งที่นาสนใจในการดําเนินงานของ PSNC คือแนวทางการสรางความเชื่อมตอกับนักการเมือง และผูที่มี
สวนเกี่ยวของกับการกําหนดนโยบายดานสาธารณสุข เนื่องจากกลุมบุคคลดังกลาวถือไดวามีความสําคัญตอการ
พิจารณาขอเสนอของ PSNC เกี่ยวกับการดําเนินการและการจายคาตอบแทนใหกับบริการของ NHS pharmacy
contractors โดย PSNC ใหความสําคัญกับการสื่อสารทําความเขาใจกับภาคการเมืองทั้งในระดับชาติและระดับ
ทองถิ่น
ตัวอยางการดําเนินงานสรางความเชื่อมตอกับภาคการเมืองของ PSNC ในสวนกลางไดแกการจัดงาน
เลี้ยงรับประทานอาหารเย็นปละครั้ง โดยเชิญแขกเขารวมงานประมาณ 500 คน ซึ่งประกอบไปดวย
รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข นักการเมือง ตัวแทนจากวิชาชีพดานสุขภาพ NHS กลุมอาสาสมัคร องคกร
การกุศล และสื่อมวลชน นอกจากนี้ PSNC ยังเปนผูสนับสนุนที่สําคัญใหกับกลุมนักการเมืองที่สนใจดานเภสัช
กรรม (All-Party Pharmacy Group)* และพยายามนําเสนอขอมูลการดําเนินการและประเด็นที่นาสนใจตางๆ
ใหกับกลุมดังกลาวทุกครั้งที่มีโอกาส
* All-Party Group เปนกลุมของนักการเมืองจากทุกพรรคไมวาจะเปนฝายคานหรือฝายรัฐบาลที่มีความสนใจงานดานตางๆ เฉพาะ
เปนพิเศษ โดยหัวขอดังกลาวไมขัดแยงกับนโยบายหลักของพรรค
5
สําหรับการสรางความเชื่อมตอกับนักการเมืองในสวนภูมิภาคจะดําเนินการโดยคณะกรรมการเภสัชกรรม
ทองถิ่น (Local Pharmacy Committee: LPC) ซึ่ง PSNC จะมีแนวทางการจัดการตางๆ ใหกับ LPC ตัวอยางเชน
ในชวงเวลาที่ PSNC ยื่นเสนอรางกฎหมายเพื่อขอรับรองแนวทางการใหบริการใดๆ PSNC จะสนับสนุน LPC ให
ดําเนินการตางๆ เพื่อประชาสัมพันธและสรางกระแสใหเกิดการสนับสนุนรางดังกลาว ตัวอยางกิจกรรมที่ PSNC
แนะนําให LPC ดําเนินการไดแก
• การเชิญสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (ส.ส.) เจาของพื้นที่ หรือผูสมัครรับเลือกตั้งในเขตพื้นที่มาที่รานยา
เพื่อใหนักการเมืองไดทําความเขาใจระบบและรูปแบบการใหบริการเภสัชกรรมชุมชน และเพื่อใหเห็น
ความสําคัญและประโยชนของบริการที่ PSNC กําลังเสนอรางกฎหมายอยู โดย PSNC จะจัดเตรียม
สื่อสนับสนุนตางๆ ไวให LPC ไมวาจะเปน ตัวอยางจดหมายเชิญ บันทึกสรุปขอมูลและแนวทางการ
จัดกิจกรรมที่ยื่นเสนอ แนวทางการตอบคําถามที่เกี่ยวของกับกิจกรรมดังกลาว เปนตน
• การจัดกิจกรรมเกี่ยวกับสุขภาพ เชน การจัดอบรม สัมมนา เพื่อใหคนในชุมชนเห็นถึงความสําคัญ
ของการดูแลสุขภาพ และเพื่อใหเห็นถึงความสําคัญและประโยชนของกิจกรรมที่อยูในรางการจัด
กิจกรรมใหบริการ เชน การประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งจะชวยแสดงใหประชาชน
เห็นถึงศักยภาพและความสะดวกในการเขาถึงบริการของเภสัชกร
• การประชาสัมพันธผานสื่อทองถิ่นเกี่ยวกับบริการที่อยูในรางกฎหมาย หรือแจงใหประชาชนใน
ทองถิ่นทราบวาบริการดังกลาวไดรับการสนับสนุนจากนักการเมืองในพื้นที่ (ในกรณีที่นักการเมือง
รับปากใหการสนับสนุน) ทั้งนี้สวนหนึ่งเพื่อเปนหลักประกันการใหการสนับสนุนจากนักการเมืองไป
ดวยในตัว
2.3 รูปแบบการใหบริการ
จนถึงปจจุบัน PSNC ไดมีการพัฒนาขอตกลง เงื่อนไข และรูปแบบการใหบริการดานสุขภาพในรานยา
มาถึงกรอบสัญญาฉบับใหม (ป ค.ศ. 2005) โดยมีเปาหมายเพื่อพัฒนาใหเกิดการใหบริการทางเภสัชกรรมชุมชนที่
มีประสิทธิภาพและตอบสนองตามความตองการของแตละทองถิ่น ซึ่งแบงรูปแบบการใหบริการออกเปน 3 ระดับ
(รูปที่ 2.1) ไดแก essential, advanced และ enhanced service โดยในแตละระดับมีความแตกตางกันทั้งในดาน
รูปแบบการใหบริการ (range of services covered) ที่มาของแหลงทุน (source of funding) และหนวยงานที่
กํากับดูแล (commissioning and governance arrangement) ซึ่งจะไดกลาวถึงโดยละเอียดในหัวขอถัดไป
6
รูปที่ 2.1 ระดับการใหบริการของรานยาคูสัญญากับ NHS
2.3.1 Essential services
เปนรูปแบบการใหบริการพื้นฐานที่รานยาคูสัญญาทุกรานตองปฏิบัติตามที่ NHS กําหนด ไดแก
• Dispensing/repeat dispensing and provision of compliance support
• Disposal of unwanted medicines
• Promotion of healthy lifestyles
• Sign-posting
• Support for self care
Dispensing/repeat dispensing and provision of compliance support เปนการใหบริการจัดหายา
หรือเวชภัณฑตามใบสั่งยา (NHS prescriptions) รวมกับการใหขอมูลและคําแนะนําเกี่ยวกับการใชยา เพื่อ
สงเสริมใหเกิดการใชยาที่ถูกตองเหมาะสมและปลอดภัย และยังครอบคลุมงานในสวนของการเติมยาหลายครั้ง
(repeat dispensing) ซึ่งในกรณีนี้จะแตกตางจากการจายยาทั่วไปตรงที่ผูปวยจะไดรับใบสั่งยาจากแพทยที่
สามารถนํามาเติมยาไดมากกวา 1 ครั้ง ซึ่งเภสัชกรที่ปฏิบัติงานในสวนนี้ จะตองไดรับการอบรมเพิ่มเติมเพื่อให
สามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ จาก Centre for Pharmacy Postgraduate Education (CPPE) ซึ่ง
สวนใหญเปนมหาวิทยาลัยที่ไดรับทุนสนับสนุนจาก Department of Health (DH) สําหรับรับผิดชอบดูแลเรื่อง
การศึกษาตอเนื่อง (continuing professional development) ใหกับเภสัชกรและผูชวยเภสัชกร ในการดําเนินการ
กิจกรรมเหลานี้เภสัชกรที่ปฏิบัติงานจะตองทําการจดบันทึกขอมูล เชน ชื่อยา ขนาดยา ปริมาณ วันที่สงมอบยา
ใหกับผูปวย เปนตน และตองไดรับการประเมินคุณภาพของการใหบริการจาก NHS อยางตอเนื่อง
7
Disposal of unwanted medicines เปนการใหบริการกําจัดยาเหลือใช โดยหนวยคูสัญญาปฐมภูมิ
(Primary care trusts: PCTs) จะเปนผูรับผิดชอบสถานที่ในการกําจัดยาเหลือใชเหลานี้ สวน promotion of
healthy lifestyles เปนการใหบริการที่เนนเรื่องการสงเสริมสุขภาพ ผานการใหคําแนะนําเรื่องยาและการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพใหเหมาะสม โดยครอบคลุมกลุมโรคเบาหวาน ผูปวยที่มีความเสี่ยงในการเกิด
โรคหลอดเลือดหัวใจ ผูที่สูบบุหรี่ และน้ําหนักเกิน เปนตน และมีการจัดทํา Public health campaign ในเชิงรุก ซึ่ง
อาจเปน campaign ที่ทําทั่วทั้งประเทศหรือทําเฉพาะในพื้นที่บางพื้นที่ก็ได หากเปนในระดับทองถิ่น โดยทั่วไปราน
ยาจะใหบริการเหลานี้รวมกับ PCT ซึ่งเปนผูกําหนดหัวขอ campaign ในแตละพื้นที่
Sign-posting เปนรูปแบบการใหบริการในกรณีที่รานยานั้นมีขอจํากัดหรือไมสามารถดูแลผูปวยได หรือ
ผูปวยตองการเขารับการรักษาที่รานยานั้นไมอาจใหบริการได จะมีการทําการสงตอผูปวยไปยังสถานบริการที่
เหมาะสม ผานบันทึกขอมูลของผูปวยแตละราย สวน support for self care เปนการใหคําแนะนําเรื่องการใชยา
และการปฏิบัติตนในผูปวยที่ไมสามารถชวยเหลือตนเองได ตองไดรับการชวยเหลือดูแล
2.3.2 Advanced services
เปนบริการที่เภสัชกรที่ไดรับการรับรองสามารถปฏิบัติได ซึ่งประกอบไปดวยกิจกรรมตอไปนี้
• Medicines use review (MUR) และ prescription intervention service
• Appliance use review (AUR)
• Stoma appliance customization (SAC)
• New medicine service (NMS)
โดยในที่นี้จะขอกลาวถึงการทํา MUR และ prescription intervention service ซึ่งเกี่ยวของกับการใชยา
โดยละเอียดเพียงอยางเดียว สวน new medicine service เปนรูปแบบบริการที่เพิ่มเขามาใหมในป พ.ศ. 2554/55
จึงอาจมีขอมูลรายละเอียดไมมากนัก
ลักษณะการใหบริการของ MUR และ prescription intervention service เปนงานที่เกี่ยวของกับการ
ทบทวนการใชยาที่ผูปวยไดรับ และประเมินความรวมมือในการใชยาของผูปวยผานการซักประวัติจากผูปวย
โดยเฉพาะอยางยิ่งผูปวยที่อยูในกลุมเสี่ยงที่จะเกิดปญหาจากการใชยา เชน ผูสูงอายุที่มีโรคประจําตัวหลายโรค
ผูปวยกลุมโรคเรื้อรัง เปนตน โดยหลังจากที่ประเมินการใชยาแลวบันทึกขอมูลลงในแบบฟอรม MUR ขอมูลเหลานี้
จะถูกสงไปยังแพทยผูทําการรักษา โดยทั่วไป MUR จะมีการทําอยางสม่ําเสมอ เชน ทุกๆ 12 เดือน เปนตน
New medicine service เปนบริการระดับ advanced services ที่เพิ่มเขามาใหม ซึ่งจะเริ่มดําเนินการใน
เดือนตุลาคม ค.ศ. 2011 โดยจะเปนบริการใหกับผูปวยโรคเรื้อรังที่ไดรับการสั่งจายยาตัวใหมเพื่อเพิ่มความรวมมือ
ในการใชยาของผูปวย เบื้องตนจะใหบริการเฉพาะกลุมผูปวยและเฉพาะกลุมโรคตามที่ไดมีการกําหนดไว (ไดแก
โรคหืดและปอดอุดกั้นเรื้อรัง เบาหวานชนิด 2 ผูที่ไดรับการรักษาดวย antiplatelet/anticoagulant และความดัน
โลหิตสูง) และจะใหบริการจนถึงเดือนมีนาคม ค.ศ. 2013 ซึ่งจะมีการประเมินวาบริการนี้มีประโยชนตอ NHS
หรือไม
8
การใหบริการ advanced services ขึ้นกับความสมัครใจของรานยาที่เขารวม ไมมีการบังคับใหทํา
เหมือนกับ essential service อยางไรก็ตามรานยาที่ตองการทํา advanced service จะตองมีเภสัชกรที่ไดรับการ
รับรองวาเปนผูที่มีความสามารถในการปฏิบัติการนี้ได นอกจากนี้จะตองมีพื้นที่และเครื่องอํานวยความสะดวก
เชน หองใหคําปรึกษาที่เพียงพอในการใหบริการ
2.3.3 Enhanced services
แมแบบ (template) ของ enhance services แตละบริการเกิดจากขอตกลงรวมกันระหวาง PSNC กับ
กระทรวงสาธารณสุขและ NHS โดยรูปแบบการจัดการแตละบริการอาจไดมาจากประสบการณการดําเนินการ
ใหบริการนั้นๆ ในระดับทองถิ่นมากอน คณะกรรมการเภสัชกรรมของทองถิ่น (Local Pharmacy Committee:
LPC) และ pharmacy contractors สามารถอางอิงบริการตามแมแบบเพื่อบรรลุขอตกลงกับ PCO ในการ
จัดบริการ enhanced services รูปแบบตางๆ หรือจะรวมกันสราง enhanced service รูปแบบใหมเพื่อตอบสนอง
กับความตองการในแตละทองที่ก็ได จนถึงปจจุบันมี enhanced services แมแบบที่ไดรับการรับรองจาก
สวนกลางทั้งสิ้น 15 บริการ (ตารางที่ 2.1) และยังมี enhanced services ที่อยูในระหวางการเจรจากับ NHS และ
กระทรวงสาธารณสุขอีก 7 บริการ ไดแก weight management (เด็ก), weight management (ผูใหญ), alcohol
screening and brief intervention, anticoagulant management, independent prescribing, sharps
disposal, และ emergency supply
2.4 การจายคาตอบแทนการใหบริการ
2.4.1 การจายคาตอบแทนบริการ essential services
ในการใหบริการ essential services นั้นรานยาคูสัญญาจะไดรับการสนับสนุนงบประมาณจาก National
funding เชนในการจายยาตามใบสั่งยาแตครั้ง รานยาจะไดรับคา dispensing fee ในอัตรา 90 เพนซตอหนึ่ง
รายการยา (prescription item) และในรานยาที่มีการทํา repeating dispensing จะไดรับคาตอบแทนเพิ่มอีก
125 ปอนดตอเดือน หรือ 1,500 ปอนดตอป
2.4.2 การจายคาตอบแทนบริการ advanced services
เภสัชกรจะไดรับคาตอบแทนจากการสงบันทึก MUR ในอัตรา 28 ปอนดตอฉบับ และเนื่องจากที่ผานมามี
รานยาสง MUR เขามาเปนจํานวนมาก ทําใหปจจุบันมีการจํากัดจํานวนการสง MUR ตอรานใหไมเกิน 400 ฉบับ
ตอปงบประมาณ ผลจากการรวบรวมขอมูลการทํา MUR พบวาตั้งแตเดือนเมษายน ค.ศ. 2005 (พ.ศ. 2548) ถึง
มีนาคม ค.ศ. 2006 มีการทํา MUR ทั้งสิ้น 14,623 ฉบับ และมีการจายคาตอบแทน MUR ไปทั้งสิ้น 7,159,454
ปอนด นอกจากนี้เพื่อเปนการประกันคุณภาพของ MUR ที่จัดทําขึ้น PSNC ไดมีการพัฒนา voluntary
checklist เพื่อใหเภสัชกรประเมินคุณภาพของ MUR ของตนเองกอนสงทุกครั้ง
9
ตารางที่ 2.1 รูปแบบการใหบริการ enhanced services ตางๆ
Enhanced services รูปแบบบริการ
Supervised administration
(consumption of prescribed
medicines)
• เภสัชกรมีหนาที่ดูแลใหผูปวยรับประทาน/ใชยาที่แพทยสั่ง ณ จุดที่จายยา
เพื่อใหมั่นใจไดวาผูปวยไดรับยาจริง
• ตัวอยางยาที่อยูในกลุมที่สามารถใหบริการนี้ได ไดแก methadone และยา
อื่นที่ใชในการรักษา opiate dependence ยาที่ใชรักษาความผิดปกติทาง
จิต หรือยารักษาวัณโรค
Needle & syringe exchange • เภสัชกรจัดเตรียมและสงมอบเข็มและหลอดฉีดยาใหกับผูรับบริการแลก
กับเข็มและหลอดฉีดยาที่ใชแลว เพื่อลดความเสี่ยงในการแพรกระจายเชื้อ
ในกลุมผูเสพยาเสพติด
• เภสัชกรใหการสนับสนุน และใหคําแนะนําการใชเข็มฉีดยาที่ถูกวิธี รวมถึง
คําแนะนําเกี่ยวกับโรคติดตอทางเพศสัมพันธ เอดส ไวรัสตับอักเสบซี และ
ขอมูลเกี่ยวกับวัคซีนเพื่อปองกันไวรัสตับอักเสบบี
On demand availability of
specialist drugs
• รานยาที่เขารวมใหบริการนี้ตองจัดเตรียมสต็อคยาพิเศษเฉพาะ
(specialist medicines) ในจํานวนและปริมาณตามที่ไดตกลงไวกับ PCO
เพื่อเปนหลักประกันวาผูปวยสามารถเขาถึงยาดังกลาวไดทันทีทุกเวลา
• ยาพิเศษเฉพาะดังกลาวไดแกยาบรรเทาปวด ยาสําหรับรักษาวัณโรค และ
ยาสําหรับรักษา meningitis
Stop smoking • เภสัชกรใหคําแนะนําแบบตัวตอตัวกับผูรับบริการที่ตองการเลิกบุหรี่ เพื่อ
เปนการเพิ่มโอกาสและทางเลือกในการเขาถึงบริการเลิกบุหรี่ของ NHS
• เภสัชกรใหการชวยเหลือเพื่อใหผูปวยสามารถเขาถึงยาชวยเลิกบุหรี่ได
Care home • เภสัชกรใหการสนับสนุนและใหคําแนะนํากับผูปวยและเจาหนาที่ในสถาน
พักฟน (care home) เพื่อเปนหลักประกันวามีการใชยาอยางเหมาะสม มี
ประสิทธิภาพ มีความคุมคา มีการเก็บรักษาอยางปลอดภัย และมีการจด
บันทึกการบริหารยาไวเปนหลักฐาน
• หลังการไปเยี่ยมและใหคําแนะนําในครั้งแรกแลว เภสัชกรตองมีการเยี่ยม
ติดตามการดําเนินงานของสถานพักฟนอยางนอยทุกๆ 6 เดือน
Medicines assessment &
compliance support
• เภสัชกรทําหนาที่ประเมินและใหการชวยเหลือเพื่อใหผูปวยสามารถใชยา
ไดตามแพทยสั่ง
• การใหการชวยเหลือผูปวยเพื่อเพิ่มความรวมมือในการใชยาไดแก การให
ความรูเกี่ยวกับยาที่ผูปวยไดรับ การจัดทําบันทึกการใชยาใหผูปวยกรอก
การจัดทําฉลากยาดวยตัวหนังสือขนาดใหญ และการจัดเตรียมยาโดยใช
ตลับแบงยา เปนตน
10
ตารางที่ 2.1 (ตอ) รูปแบบการใหบริการ enhanced services ตางๆ
Enhanced services รูปแบบบริการ
Medication review (full
clinical review)
• การประเมินยาที่ผูปวยไดรับเพื่อใหไดรับประสิทธิภาพจากการรักษาอยาง
เต็มที่ และชวยลดปญหาจากการใชยา
• เภสัชกรใหบริการที่ใดก็ไดไมจํากัดวาตองเปนที่รานยาเทานั้น แตตอง
สามารถเขาถึงขอมูลทางการแพทยของผูปวย และผลตรวจทาง
หองปฏิบัติการทีเกี่ยวของได
• ความถี่ในการใหบริการในผูปวยแตละรายขึ้นกับขอตกลงกับ PCO และ
แพทยในพื้นที่ รวมถึงความจําเปนทางคลินิกของผูปวย
Minor ailment service • เภสัชกรใหคําแนะนําและชวยเหลือผูปวยเพื่อบรรเทาและรักษาอาการ
เจ็บปวยเล็กๆ นอยๆ และสามารถเสนอขายยา OTC ใหกับผูปวยไดตาม
ความเหมาะสม
• หากผูปวยไมตองการซื้อยาเองแตประสงคจะไปพบแพทยเพื่อขอใบสั่งยา
เภสัชกรสามารถจายยาใหกับผูปวยไดเอง และเภสัชกรเบิกคายาคืนจาก
NHS ภายหลัง ทั้งนี้ยาที่จายตองเปนยาในบัญชียาที่ไดตกลงไวกับ PCO
และแพทยในพื้นที่
• PCO แตละแหงจะเปนผูกําหนดวาประชาชนในพื้นที่กลุมใดสามารถใช
บริการนี้ได
Out of hours (access to
medicines)
• เภสัชกรใหบริการนอกเหนือจากเวลาเปดทําการตามปกติเพื่อใหผูปวย
สามารถเขาถึงยาไดนอกเวลาทําการ
• บริการดังกลาวถือวานอกเหนือจากการใหบริการตามปกติใน essential
service ซึ่งรูปแบบการจัดการขึ้นกับการตกลงกับ PCO แตละพื้นที่
Supplementary prescribing
by pharmacists
• บริการนี้ขึ้นกับการตกลงโดยสมัครใจระหวาง independent prescriber
(แพทย) กับ supplementary prescriber (เภสัชกร) และผูปวย
• Supplementary prescriber สามารถสั่งตรวจทางหองปฏิบัติการ ติดตาม
ผลการตรวจ ใหการรักษา และปรับเปลี่ยนการรักษาได โดยอยูภายใต
clinical management plan ที่ตกลงไวกับ independent prescriber
Emergency hormonal
contraception
• เภสัชกรจายยาคุมกําเนิดฉุกเฉินใหกับผูรับบริการที่เขาเกณฑการใหบริการ
ตามที่กําหนดไวใน patient group direction (PGD) ของแตละพื้นที่
• เภสัชกรมีหนาที่ใหคําแนะนํากับผูรับบริการ (ไมวาจะเขาเกณฑสามารถรับ
ยาคุมฉุกเฉินไดหรือไมก็ตาม) ในดานตางๆ ไดแก วิธีการคุมกําเนิด
โรคติดตอทางเพศสัมพันธ และหนวยงานที่ใหบริการดานการคุมกําเนิด
Seasonal influenza
vaccination
• เภสัชกรคนหาผูที่เปนกลุมเปาหมายที่จําเปนตองไดรับวัคซีนในชวงรณรงค
การใหวัคซีนปองกันไขหวัดใหญ (1 สิงหาคม ถึง 31 มีนาคมของปถัดไป)
และแนะนําใหกลุมเปาหมายเขารับการฉีดวัคซีน
• เภสัชกรทําการฉีดวัคซีนใหกับผูปวยที่เขาเกณฑ และรายงานใหแพทย
ประจําตัวผูปวยทราบ
11
ตารางที่ 2.1 (ตอ) รูปแบบการใหบริการ enhanced services ตางๆ
Enhanced services รูปแบบบริการ
Patient group directions
(supply and/or administration
of medicines under a PGD)
• Patient group direction (PGD) คือแนวปฏิบัติในการจายยาที่ตองใช
ใบสั่งแพทย (prescription only medicine: POM) ใหกับผูปวยเฉพาะกลุม
โดยแนวปฏิบัติดังกลาวเกิดจากการตกลงรวมกันระหวางแพทยและเภสัช
กรภายใตการรับรองของ PCO แตละพื้นที่
• ตัวอยางยาที่มีการจายไดภายใตโปรแกรม PGD ไดแก วัคซีนปองกัน
ไขหวัดใหญ ยาตานไวรัสชนิดรับประทาน orlistat และ sildenafil เปนตน
Chlamydia screening &
treatment
• เภสัชกรสงมอบชุดทดสอบ Chlamydia ใหกับผูรับบริการตามเกณฑที่
กําหนดไวในแตละ PCO เชน ผูรับบริการที่อายุนอยกวา 25 ปที่มาซื้อ
ถุงยางอนามัย และผูรับบริการยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน เปนตน
• เภสัชกรอาจทําหนาที่แจงผลการทดสอบใหผูรับบริการทราบ และใหการ
รักษาตามเกณฑที่กําหนดไวโดย PGD แตละพื้นที่ดวย
NHS health check • เภสัชกรใชเกณฑ NHS health check มาประเมินความเสี่ยงตอการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือดในผูรับบริการที่มีอายุระหวาง 40 ถึง 74 ปที่ไมได
รับการวินิจฉัยวาเปนโรคดังกลาวมากอน
• เภสัชกรมีหนาที่บันทึกผลการประเมินที่ไดและแจงผลใหแพทยประจําตัว
ผูปวยทราบดวย
• เภสัชกรใหคําแนะนําการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมแก
ผูรับบริการ และใหการรักษาหรือสงตอที่เหมาะสมตามแนวทางการรักษา
2.4.2 การจายคาตอบแทนบริการ advanced services (ตอ)
การจายคาตอบแทนบริการ NMS ขึ้นกับระดับการใหบริการของเภสัชกร รวมกับคาบริการที่จายใหครั้ง
เดียวสําหรับเริ่มตนบริการ (one-off implementation payment) ซึ่ง PSNC และ NHS จะแจงรายละเอียดและ
กลไกการจายคาตอบแทนอีกครั้งหลังจากบรรลุขอตกลงรวมกันแลว โดยไดมีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน
บริการ NMS ไวปละ 50 ลานปอนด
2.4.3 การจายคาตอบแทนบริการ enhanced services
การจายคาตอบแทนบริการ enhanced services ขึ้นกับขอตกลงที่ LPC ทําไวกับ PCO แตละพื้นที่ โดย
อางอิงจากแนวทางการคิดคาตอบแทนที่จัดทําโดย PSNC กระทรวงสาธารณสุข และ NHS
12
2.5 การประเมินผลการใหบริการ
มีการประเมินผลการใหบริการ advanced และ enhanced services ในหลายบริบท เชน ผลลัพธทาง
คลินิก ผลลัพธทางเศรษฐศาตร และความเห็นของผูปฏิบัติงาน แตจากการสืบคนไมพบรายงานการประเมินผล
การใหบริการ enhanced services ครบทุกบริการ ในที่นี้จะขอกลาวถึงผลการศึกษาของการใหบริการ advanced
และ enhanced services บางบริการพอสังเขป ดังนี้
2.5.1 การศึกษาผลการใหบริการ advanced services: MUR
งานวิจัยที่ศึกษาผลลัพธของการใหบริการ MUR มีอยูคอนขางจํากัด จากการสืบคนไดแก การศึกษาของ
Blenkinsopp และคณะ (ค.ศ. 2008) ที่แสดงเห็นวาการใหบริการ MUR ในปที่ 2 (เมษายน ค.ศ. 2006 ถึง มีนาคม
ค.ศ. 2007) เพิ่มขึ้นอยางมากทั้งจํานวนรายงานและผูใหบริการเมื่อเทียบกับปที่ผานมา โดยพบวารานยาอิสระมี
สัดสวนการรายงาน MUR นอยกวารานยาที่บริหารงานโดยบริษัทหรือรานยาที่มีหลายสาขาอยางมาก ซึ่งผล
ดังกลาวสอดคลองกับผลการศึกษาของ Bradley และคณะ (ค.ศ. 2008) ที่พบวาเจาของกิจการมีอิทธิพลในการ
ผลักดันใหเภสัชกรใหบริการ MUR เปนอยางมาก อยางไรก็ตามการศึกษาลาสุดโดย Harding และคณะ (ค.ศ.
2010) รายงานวานโยบายของบริษัทจะมีอิทธิพลตอการทํา MUR ก็ตอเมื่อมีการใหบริการ MUR ต่ํากวาเกณฑ
ที่ตั้งไว สวนปจจัยที่มีผลมากที่สุดตอการใหบริการ MUR ก็คือวิจารณญาณของเภสัชกรเอง
2.5.2 การศึกษาผลการใหบริการ enhanced services: medication review
สําหรับการใหบริการ enhanced service การศึกษาเกี่ยวกับ medication review ในสหราชอาณาจักร
หลายการศึกษาใหผลลัพธที่ไมสอดคลองกัน โดยการศึกษาของ Holland และคณะ (ค.ศ. 2005) แสดงใหเห็นวา
การใหบริการ medication review ในสถานพักฟน (care-home) มีผลเพิ่มอัตราการเขารับการรักษาตัวใน
โรงพยาบาล (hospital admission) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และไมมีผลเพิ่มคุณภาพชีวิตของผูรับบริการ
ในขณะที่การศึกษาของ Zermansky และคณะ (ค.ศ. 2001) พบวา medication review มีผลเปลี่ยนแปลง
ปริมาณการใชยาเล็กนอย สวนการศึกษาของ Mackie และคณะ (ค.ศ. 1999) พบวาสัดสวนของปญหาที่เกี่ยวของ
กับการใชยาที่ไดรับการแกไขแลวเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตามผลจากสองการศึกษาหลังสอดคลองกันในแงที่วา
medication review ไมมีผลตอ hospital admission Holland และคณะ (ค.ศ. 2006) ตั้งขอสังเกตวาบริการ
medication review ที่ประสบความสําเร็จนั้นมักมีรูปแบบการดําเนินการโดยเภสัชกรจํานวนไมมากนัก และมีการ
ประสานงานอยางใกลชิดกับแพทย ในขณะที่บริการที่ดําเนินการโดยไมไดมีการประสานงานกับแพทยเชนใน
การศึกษาของ Holland และคณะในปค.ศ. 2005 นั้นอาจทําใหเกิดผลที่ไมตองการตามมาและไมมีความคุมคา
ทางเศรษฐศาสตร (Pacini และคณะ, ค.ศ. 2007)
แมการประเมินประสิทธิภาพและความคุมคาของบริการจะไมไดแสดงใหเห็นวา medication review มี
ประโยชนตอผูปวยอยางชัดเจน แตบริการดังกลาวยังคงไดรับการสนับสนุนใหมีการดําเนินการอยางตอเนื่อง จึงได
มีความพยายามศึกษาทบทวนบริการดังกลาวในผูปวยเฉพาะกลุมเพิ่มขึ้น โดย Zermansky และคณะ (ค.ศ.
2006) ไดทําการศึกษาการใหบริการ medication review ในผูปวยสูงอายุ (อายุเฉลี่ย 85 ป) ใน care-home และ
13
พบวาการใหบริการดังกลาวไมมีผลเพิ่ม hospital admission ซึ่งตางจากการศึกษากอนหนานี้ของ Holland และ
คณะ (ค.ศ. 2005) ที่นาสนใจคือผลลัพธรองที่พบวาการใหบริการสามารถชวยลดอัตราการหกลมของผูสูงอายุได
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยผูวิจัยใหความเห็นวาผลดังกลาวนาจะเกิดจากการแนะนําของเภสัชกรใหหยุดใช
ยากลุม CNS ที่ทําใหเกิด sedation, confusion และ hypotension ซึ่งมีผลเพิ่มความเสี่ยงตอการหกลม อีกหนึ่ง
งานวิจัยที่ศึกษาผลของ medication review ในผูปวยสูงอายุ (อายุ 80 ปขึ้นไป) คือการศึกษาของ Lenaghan และ
คณะ (ค.ศ. 2007) โดยรูปแบบการใหบริการที่แตกตางจากในการศึกษาของ Zermansky และคณะ (ค.ศ. 2006)
คือสถานที่ใหบริการเปนที่บานของผูปวยเอง ซึ่งหลังจากการติดตามผลการใหบริการเปนระยะเวลา 6 เดือนไมพบ
ความแตกตางของ hospital admission และคุณภาพชีวิตของผูปวยที่ไดรับบริการเมื่อเทียบกับผูที่ไมไดรับบริการ
แตพบวามีการสั่งใชยาลดลงอยางมีนัยสําคัญในผูที่ไดรับบริการ อยางไรก็ตามควรระมัดระวังการนําผลที่ไดจาก
การศึกษาขางตนไปประยุกตใชในวงกวาง เนื่องจากผลลัพธที่รายงานของทั้งสองการศึกษานี้ไดมาจากการ
ใหบริการของเภสัชกรที่มีศักยภาพในการใหบริการสูงเพียงคนเดียว
เพื่อพิสูจนศักยภาพการใหบริการ medication review ของเภสัชกรชุมชน Laaksonen และคณะ (ค.ศ.
2010) จึงไดทําการศึกษาโดยใหเภสัชกรผูเชี่ยวชาญดานเภสัชกรรมคลินิกประเมินขอมูลการสงตอผูปวยจากเภสัช
กรชุมชนจํานวน 20 ราย และพบวาเภสัชกรผูใหบริการ medication review คนพบปญหาที่เกี่ยวของกับการใชยา
75% และใหขอเสนอแนะแนวทางการแกไขที่เหมาะสม 58% เมื่อเทียบกับผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญซี่งผูวิจัย
ใชเปนมาตรฐานในการประเมิน (gold standard) อยางไรก็ตามประสิทธิภาพการใหบริการที่พบในการศึกษานี้
อาจต่ํากวาความเปนจริง เนื่องจากเปนการประเมินจากขอมูลที่เภสัชกรเปนผูบันทึกไว และ gold standard ที่ใช
ในการเปรียบเทียบมาจากผูเชี่ยวชาญเพียงคนเดียวเทานั้น
2.5.3 การศึกษาผลการใหบริการ enhanced services: minor ailment service
การศึกษาเกี่ยวกับผลการใหบริการ minor ailment service เชน การศึกษาของ Whittington และคณะ
(ค.ศ. 2001) ซึ่งเปนการศึกษาแรกๆ ของบริการนี้ โดยทําการศึกษาในผูปวยที่มีอาการเจ็บปวยไมรุนแรง จํานวน
1,522 คน โดยผูปวยที่ตองการนัดพบแพทยเพื่อรับการรักษาความผิดปกติที่ไมรุนแรง 12 ประเภท (ไดแก ทองผูก
ไอ ทองเสีย ไขละอองฟาง เหา ปวดหัว ทองอืด คัดจมูก เจ็บคอ เปนไข ติดเชื้อบริเวณชองคลอด และติดเชื้อบริเวณ
ทางเดินหายใจ) จะไดรับคําแนะนําวาสามารถรับบริการรักษาและรับยาที่รานยาไดโดยตรง ซึ่งผลการศึกษาพบวา
ในชวง 6 เดือนของการศึกษาผูปวยประมาณ 38% เลือกที่จะไปรานยา โดยความผิดปกติที่ผูปวยสวนใหญเลือกไป
รับบริการ minor ailment service คือเปนเหา และติดเชื้อบริเวณชองคลอด แมวาผลการศึกษาจะไมไดแสดงให
เห็นวากิจกรรมนี้ลดภาระงานรวมของแพทย (overall workload of GPs) แตพบวา minor ailment service ลด
ภาระงานในสวนของ 12 self-limiting conditions ไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p <0.001) สวนดานทัศนคติตอ
minor ailment service Vohra (ค.ศ. 2006) แสดงใหเห็นวาผูปวยสวนใหญมีทัศนคติที่ดีตอกิจกรรมนี้ เนื่องจาก
สามารถไดรับยาไดโดยไมจําเปนตองนัดพบแพทยเพื่อรับใบสั่งยา นอกจากนี้ผลการศึกษาลาสุดของ Baqir และ
คณะ (ค.ศ. 2011) ยังพบวา pharmacy based minor ailment scheme สามารถลดคาใชจายดานการใหบริการ
สุขภาพของ PCO ลงได 6,739 ปอนดตอเดือนดวย
14
2.5.4 การศึกษาผลการใหบริการ enhanced services: supplementary prescribing
การศึกษาการใหบริการ supplementary prescribing สวนใหญเปนการศึกษาเกี่ยวกับความคิดเห็นของ
เภสัชกรผูใหบริการและของวิชาชีพอื่นโดยเฉพาะแพทยเกี่ยวกับบริการนี้ และเนื่องจากการใหบริการ
supplementary prescribing โดยเภสัชกรนี้สามารถดําเนินการไดทั้งในรานยา สถานบริการปฐมภูมิ และ
โรงพยาบาล จึงมีการศึกษาในชวงแรกของการเริ่มใหบริการวาเภสัชกรใหบริการ supplementary prescribing ที่
ใดมากที่สุด (George และคณะ, ค.ศ. 2006) ซึ่งพบวาเภสัชกรที่ผานการอบรมและรับรองวาสามารถใหบริการ
supplementary prescribing ไดนั้นสวนใหญจะใหบริการในสถานบริการปฐมภูมิมากกวาในรานยาหรือ
โรงพยาบาล และสิ่งทีผูใหบริการเห็นวาเปนผลดีจากการใหบริการนี้คือ ทําใหมีความพึงพอใจตองานเพิ่มขึ้น เพิ่ม
ความมั่นใจในตัวเอง และไดรับการยอมรับมากขึ้น สวนอุปสรรคสําคัญในการใหบริการคือระบบการจัดการ
คาตอบแทน การไมเขาใจบทบาทของเภสัชกรจากบุคคลทั่วไป และการถูกจํากัดบทบาทเนื่องจากขอกําหนดของ
clinical management plan (CMP) ซึ่งผลจากการศึกษาดังกลาวบางสวนขัดแยงกับการศึกษาของ Hobson และ
คณะ (ค.ศ. 2006) ที่พบวาเภสัชกรที่ใหบริการ supplementary prescribing สวนใหญปฏิบัติงานอยูใน
โรงพยาบาลมากกวาในสถานบริการปฐมภูมิหรือรานยา ความแตกตางที่พบจากสองการศึกษาขางตนอาจ
เนื่องจากเกณฑในการคัดเลือกกลุมตัวอยางที่ตางกัน รวมถึงความแตกตางของสถานที่เก็บขอมูล
ผลการศึกษาลาสุดของ Steward และคณะ (ค.ศ. 2011) ที่สอบถามความเห็นของผูปวยที่ไดรับบริการสั่ง
จายยาโดยเภสัชกรในสถานบริการปฐมภูมิและรานยาพบวาผูปวยสวนใหญพึงพอใจกับบริการของเภสัชกร และ
มั่นใจวาการสั่งจายยาโดยเภสัชกรปลอดภัยไมตางจากแพทย ผูปวยบางสวนยังคงตองการปรึกษาแพทยหาก
พบวาอาการแยลง อยางไรก็ตามแมวาการศึกษาดังกลาวจะมีอัตราการตอบกลับแบบสอบถามจากผูปวยสูง
(73.4%) แตจํานวนผูปวยที่ทําการสํารวจที่คอนขางนอย (143 คน) อาจไมสามารถเปนตัวแทนของผูปวยที่ไดรับ
บริการสั่งจายยาโดยเภสัชกรทั้งหมดได
สําหรับความเห็นของแพทยตอการใหบริการ supplementary prescribing ของแพทยนั้นพบวาแพทยให
การยอมรับบริการดังกลาวของเภสัชกร ทั้งนี้ตองอยูภายใตเงื่อนไขและแนวทางที่มีการตกลงรวมกันอยางชัดเจน
นอกจากนี้แพทยยังแสดงความกังวลตอการพัฒนาบทบาทของเภสัชกรในการใหบริการ independent
prescribing แมวาจะเปนเพียงการใหบริการในภาวะที่ไมซับซอนเชน การสั่งจายยาบรรเทาปวด หรือการเปลี่ยน
ยาปฏิชีวนะจากการใหทางหลอดเลือดดํามาเปนแบบรับประทาน (Bukley และคณะ, ค.ศ. 2006) ผลจากการทํา
สนทนากลุม (focus group) แพทยและเภสัชกรที่เกี่ยวของพบวาเหตุผลหลักที่แพทยไมสนับสนุนการพัฒนา
บทบาทของเภสัชกรในการใหบริการ independent prescribing คือการขาดทักษะในการวินิจฉัยโรคของเภสัชกร
(Lloyd และคณะ, ค.ศ. 2010)
2.5.5 การศึกษาผลการใหบริการ enhanced services: บริการอื่นๆ
การศึกษาผลการใหบริการ enhanced services อื่นๆ ไดแก การศึกษาการใหบริการยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน
(Emergency Hormonal Contraception: EHC) ในพื้นที่ชนบท (Lloyd และคณะ, ค.ศ. 2005) ที่แสดงใหเห็นวา
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพUtai Sukviwatsirikul
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชZiwapohn Peecharoensap
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา GppUtai Sukviwatsirikul
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...Utai Sukviwatsirikul
 
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมายร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมายUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510Utai Sukviwatsirikul
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Utai Sukviwatsirikul
 
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาการให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาZiwapohn Peecharoensap
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Utai Sukviwatsirikul
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิUtai Sukviwatsirikul
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 

Mais procurados (20)

ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gppเอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
เอกสารประกอบ กฎกระทรวงร้านยา Gpp
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
(ร่าง) มาตรฐานการบริการทางเภสัชกรรมชุมชน (Standard of Community Pharmacy Serv...
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมายร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
 
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
ความรู้กฎหมายเกี่ยวกับการขายยา ตาม พรบ.ยา 2510
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
 
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาการให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
ASHP pharmacist role in antimicrobial stewardship N.56
ASHP pharmacist role in antimicrobial stewardship N.56ASHP pharmacist role in antimicrobial stewardship N.56
ASHP pharmacist role in antimicrobial stewardship N.56
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 

Semelhante a การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ

Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 14LIFEYES
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfpraphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Wila Khongcheema
 
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfมาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfPaanSuthahathai
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60Paradee Plodpai
 
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Goldeneyes ToTo
 
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558Utai Sukviwatsirikul
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศแผนงาน นสธ.
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyUtai Sukviwatsirikul
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfVorawut Wongumpornpinit
 

Semelhante a การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ (20)

Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfมาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
Rx samatcha096 25521208
Rx samatcha096 25521208Rx samatcha096 25521208
Rx samatcha096 25521208
 
Anesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medicationAnesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medication
 
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516Geยาในชีวิตประจำวัน102516
Geยาในชีวิตประจำวัน102516
 
CPG for hepatocellular carcinoma
CPG for hepatocellular carcinomaCPG for hepatocellular carcinoma
CPG for hepatocellular carcinoma
 
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพขอ

  • 2. คณะทํางาน ธีรพล ทิพยพยอม ภ.บ, ภ.บ.(บริบาลเภสัชกรรม), M.Clin.Pharm, Ph.D. นิลวรรณ อยูภักดี ภ.บ, ภ.ม.(บริหารเภสัชกิจ), ปร.ด. อัลจนา เฟองจันทร ภ.บ, ภ.บ.(บริบาลเภสัชกรรม), วท.ด. ชวนชม ธนานิธิศักดิ์ ภ.บ, ภ.บ.(บริบาลเภสัชกรรม), ภ.ม.(เภสัชกรรมชุมชน), วท.ด. อิศราวรรณ ศกุนรักษ ภ.บ.(บริบาลเภสัชกรรม) ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ ภ.บ, Pharm.D, Ph.D. หนวยวิจัยการบริบาลทางเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 3. คํานํา สถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชนหรือรานยาจัดเปนหนวยใหบริการดานสุขภาพที่สําคัญลําดับตนๆ ของระบบสาธารณสุขในหลายประเทศทั่วโลก เนื่องจากมีความใกลชิดกับชุมชนเปนอยางดี และในชวงหลายปที่ ผานมาเภสัชกรชุมชนไดมีการพัฒนาบทบาทและรูปแบบการการใหบริการอยางตอเนื่อง เพื่อสงเสริมการใชยา อยางเหมาะสม ปลอดภัยและคุมคา การสนับสนุนการใหบริการทางเภสัชกรรมที่ไดรับการพิสูจนวามีประโยชน ยอมสงผลดีตอระบบสุขภาพของประชาชนโดยรวมในที่สุด รายงานฉบับนี้จัดทําขึ้นโดยไดรับการสนับสนุนจากมูลนิธิเภสัชกรรมชุมชน เพื่อรวบรวมขอมูลดาน รูปแบบการใหบริการของเภสัชกรชุมชน ผลลัพธของการใหบริการ รวมถึงรูปแบบการดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลง กับภาครัฐในการผนวกบริการดังกลาวเขาไวในระบบประกันสุขภาพของรัฐ สําหรับเปนแนวทางนํามาประยุกตใช พัฒนาบทบาทการใหบริการของเภสัชกรชุมชนในประเทศไทยในการชวยดูแลและจัดการการใชยาอยางเหมาะสม ใหกับผูรับบริการ และเพื่อสงเสริมใหวิชาชีพเภสัชกรรมเปนที่ยอมรับของสังคมตอไป คณะทํางาน กรกฎาคม 2554
  • 4. สารบัญ หนา ขอมูลสรุป i I. บทนํา 1.1 การบริการทางเภสัชกรรมในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (รานยา) 1 1.2 แนวทางการทบทวนการใหบริการทางเภสัชกรรมในสถานประกอบการเภสัชกรรม ชุมชน ภายใตระบบประกันสุขภาพของประเทศตางๆ 1 II. การใหบริการเภสัชกรรมชุมชนภายใตระบบประกันสุขภาพในอังกฤษ 2.1 ภาพรวมของระบบ 3 2.2 การดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ 3 2.3 รูปแบบการใหบริการ 5 2.4 การจายคาตอบแทนการใหบริการ 8 2.5 การประเมินผลการใหบริการ 12 III. การใหบริการเภสัชกรรมชุมชนภายใตระบบประกันสุขภาพในสหรัฐอเมริกา 3.1 ภาพรวมของระบบ 17 3.2 การดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ 18 3.3 รูปแบบการใหบริการ 19 3.4 การจายคาตอบแทนการใหบริการ 22 3.5 การประเมินผลการใหบริการ 25 IV. การใหบริการเภสัชกรรมชุมชนภายใตระบบประกันสุขภาพในออสเตรเลีย 4.1 ภาพรวมของระบบ 27 4.2 การดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ 27 4.3 รูปแบบการใหบริการ 26 4.4 การจายคาตอบแทนการใหบริการ 34 4.5 การประเมินผลการใหบริการ 34 V. การใหบริการเภสัชกรรมชุมชนภายใตระบบประกันสุขภาพในไตหวัน 5.1 ภาพรวมของระบบ 39 5.2 การดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ 39 5.3 รูปแบบการใหบริการ 40 5.4 การจายคาตอบแทนการใหบริการ 40 5.5 การประเมินผลการใหบริการ 40
  • 5. สารบัญ (ตอ) หนา VI. ปจจัยสูความสําเร็จ 6.1 ปจจัยที่มีผลตอการขยายบทบาทการใหบริการทางเภสัชกรรมและการจาย คาตอบแทน 42 6.2 ปจจัยสูความสําเร็จในการบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ 43 6.3 ขอเสนอแนะสําหรับการขยายบทบาทการใหบริการทางเภสัชกรรม 44 6.4 สรุป 45 ภาคผนวก รายนามเวปไซดที่เกี่ยวของและผูใหขอมูลของแตละประเทศ 47
  • 6. i ขอมูลสรุป (Executive Summary) การทบทวนการใหบริการทางเภสัชกรรมในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (รานยา) ภายใตระบบ ประกันสุขภาพของประเทศตางๆ นี้จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหไดขอมูลที่ครอบคลุมทั้งดานรูปแบบการ ใหบริการ ผลลัพธของการใหบริการ รวมถึงรูปแบบการดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐในการผนวกบริการ ดังกลาวเขาไวในระบบประกันสุขภาพของรัฐ สําหรับนํามาประยุกตใชเปนแนวทางการพัฒนาและขยายบทบาท การใหบริการทางเภสัชกรรมของเภสัชกรชุมชนในประเทศไทย รูปแบบการใหบริการทางเภสัชกรรมในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (รานยา) สามารถแบงรูปแบบบริการทางเภสัชกรรมในรานยาที่ไดรับการสนับสนุนโดยรัฐบาลของประเทศตางๆ ออกไดเปน 4 ประเภทใหญๆ คือ 1) บริการจัดการดานยา; 2) บริการเพื่อเพิ่มการเขาถึงยา; 3) บริการดาน สาธารณสุข; และ 4) บริการอื่นๆ บริการจัดการดานยาเปนบริการที่ไดรับการสนับสนุนโดยรัฐบาลของทุกประเทศ ซึ่งอาจมีขอแตกตางกัน บางในสวนของแนวทางการปฏิบัติและสถานที่ใหบริการ ตัวอยางบริการในแตละประเทศไดแก บริการ Medication Therapy Management (MTM) ในสหรัฐอเมริกา บริการ Medication Review ในอังกฤษ บริการตางๆ ใน Medication Management Programs ของออสเตรเลีย และบริการ Home Pharmaceutical Care ในไตหวัน บริการเพื่อเพิ่มการเขาถึงยาเปนบริการที่ประเทศอังกฤษและออสเตรเลียใหความสําคัญและใหการ สนับสนุนคอนขางมาก โดยเฉพาะประเทศออสเตรเลียที่มีการใหเงินสนับสนุนเพื่อสรางแรงจูงใจในการใหบริการ ทางเภสัชกรรมในพื้นที่ชนบทและพื้นที่หางไกล สําหรับประเทศอังกฤษมีการสนับสนุนบริการเพื่อเพิ่มความเขาถึง ยาหลากหลายรูปแบบไดแก การเปดใหบริการนอกเวลาทําการ การใหวัคซีนปองกันไขหวัดใหญ การจายยา คุมกําเนิดฉุกเฉิน สวนประเทศสหรัฐอเมริกาก็มีการสนับสนุนการใหบริการวัคซีนของเภสัชกร ประเทศอังกฤษเปนประเทศที่ใหความสําคัญกับบริการดานสาธารณสุขของเภสัชกรเปนอยางมาก โดย ตัวอยางบริการดานสาธารณสุขที่รัฐใหการสนับสนุนไดแก บริการชวยเลิกบุหรี่ บริการคัดกรองและรักษา Chlamydia และบริการประเมินความเสี่ยงตอการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด นอกจากนี้เภสัชกรในประเทศ อังกฤษยังไดรับการสนับสนุนการขยายบทบาทการใหบริการรูปแบบตางๆ เพื่อสนับสนุนการใหบริการสุขภาพ และ เพื่อลดภาระการตรวจรักษาของแพทยอีกดวย บริการดังกลาวไดแก minor ailment service, supplement prescribing และ patient group direction เปนตน การประเมินผลการใหบริการ การใหบริการทางเภสัชกรรมสวนใหญของทั้ง 4 ประเทศไดรับการประเมินผลลัพธทั้งจากนักวิชาการและ หนวยงานที่เกี่ยวของในหลายบริบท เชน ผลลัพธทางคลินิกและผลลัพธทางเศรษฐศาตร ซึ่งพบวาบริการสวนใหญ มีประโยชนตอผูรับบริการ ชวยลดภาระงานของแพทย และชวยลดคาใชจายดานบริการสุขภาพโดยรวมได
  • 7. ii การดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ ทุกประเทศมีหนวยงานที่ทําหนาที่เจรจากับภาครัฐเพื่อกําหนดรูปแบบและแนวทางการใหบริการ รวมถึง การจายคาตอบแทน โดยแนวทางการดําเนินการอาจแตกตางกันไปตามบริบทของแตละประเทศ ยกตัวอยางเชน ในประเทศออสเตรเลียมุงเนนการสรางหลักฐานเชิงประจักษเพื่อแสดงใหเห็นถึงความคุมคาของบริการทางเภสัช กรรม สวนในประเทศอังกฤษใชแนวทางการสื่อสารทําความเขาใจกับภาคการเมืองหรือผูเกี่ยวของในการกําหนด นโยบายทางสาธารณสุข รวมกับการใหการสนับสนุนการพัฒนาบริการในระดับทองถิ่นและนําผลการดําเนินการที่ ประสบความสําเร็จมาขอการรับรองจากสวนกลาง เพื่อใชเปนแมแบบสําหรับการใหบริการในทองถิ่นอื่นดวย สําหรับการดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐในประเทศสหรัฐอเมริกานั้นมีความแตกตางกัน ระหวางระบบ Medicare และ Medicaid โดยองคกรวิชาชีพเภสัชกรรมไดมีการรวมตัวกันเปน Pharmacists Provider Coalition (PPC) เพื่อผลักดันใหมีการผนวกบริการ MTM เขาเปนสวนหนึ่งของ Medicare part D สวน การพัฒนาเพื่อบรรลุขอตกลงสําหรับระบบ Medicaid นั้นเกิดจากความรวมมือขององคกรวิชาชีพเภสัชกรรมในแต ละรัฐกับระบบประกันสุขภาพแบบ Medicaid ของรัฐนั้นๆ ในการจัดทําโปรแกรมใหบริการทางคลินิกของเภสัชกร สวนประเทศไตหวันการเจรจาเริ่มตนจากภาครัฐโดยเปนการติดตอขอความรวมมือไปยังองคกรวิชาชีพ เพื่อชวยหาแนวทางการแกไขปญหาผูปวยที่เขารับบริการในคลินิกผูปวยนอกสูงผิดปกติ จึงไดมีการเสนอโครงการ Home Pharmaceutical Care เพื่อแกไขปญหาดังกลาว และก็ไดรับการอนุมัติจากภาครัฐ ซึ่งถือเปนจุดเริ่มตน ของการพัฒนาบริการรูปแบบตางๆ เสนอตอภาครัฐตอไปในอนาคต ขอเสนอแนะสําหรับการขยายบทบาทการใหบริการทางเภสัชกรรมในประเทศไทย • ควรมีองคกรหรือหนวยงานที่รับผิดชอบเพื่อดําเนินการดังตอไปนี้ - สื่อสารทําความเขาใจกับผูมีสวนเกี่ยวของกับการกําหนดนโยบาย และดําเนินการเจรจาตอรอง กับภาครัฐเพื่อใหการสนับสนุนบริการตางๆ - กําหนดยุทธศาสตรการสนับสนุนการสรางหลักฐานเชิงประจักษเพื่อแสดงใหเห็นถึงประโยชน และความคุมคาของบริการ - สนับสนุนการพัฒนางานบริการทางเภสัชกรม เชน การสรางแรงจูงใจในการใหบริการ - เจรจาตอรองกับหนวยงานภาครัฐเกี่ยวกับการกําหนดคาตอบแทนการใหบริการทางเภสัชกรรม ที่เหมาะสมกับระดับความซับซอนของบริการ - ประชาสัมพันธใหเกิดการรับรูในวงกวางถึงความสําคัญและประโยชนของบริการทางเภสัชกรรม - ดําเนินการเพื่อรับรองมาตรฐานการใหบริการของเภสัชกร • ควรมีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนบริการทางเภสัชกรรมแยกไวอยางชัดเจน • ควรมีการรับรองบริการรูปแบบตางๆ สําหรับใชเปนแมแบบใหหนวยคูสัญญาปฐมภูมินําไปใชเปน แนวทางในการพิจารณาสนับสนุนบริการใหเหมาะสมกับความตองการของแตละทองถิ่น • ควรมีการพัฒนาแนวทางการสรางความตระหนักของเภสัชกรเกี่ยวกับบทบาทวิชาชีพในฐานะผู ใหบริการดานการดูแลสุขภาพ
  • 8. 1 I. บทนํา ธีรพล ทิพยพยอม 1.1 การบริการทางเภสัชกรรมในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (รานยา) ในชวงหลายทศวรรษที่ผานมาวิชาชีพเภสัชกรรมไดมีการพัฒนาเปนอยางมากในหลายประเทศ โดยเปน การเปลี่ยนแปลงบทบาทการทําหนาที่ของเภสัชกรจากการใหบริการกระจายยามาเปนการใหบริการใน หลากหลายรูปแบบเพื่อใหประชาชนผูใชยาไดรับประโยชนและความปลอดภัยจากการใชยาอยางเหมาะสม เภสัชกรชุมชนก็ไดมีการขยายบทบาทการดูแลผูปวยใหเพิ่มมากขึ้นดวยเชนกัน จนถึงปจจุบันมีการพัฒนาบริการ โดยเภสัชกรชุมชนหลากหลายรูปแบบ อาทิเชน การใหบริการทบทวนยาที่ใช (medicines use review: MUR) บริการจัดการยาเพื่อการบําบัด (medication therapy management: MTM) การเยี่ยมบาน บริการชวยเลิกบุหรี่ บริการปองกันและสงเสริมสุขภาพ และบริการดูแลผูปวยโรคเรื้อรังตางๆ เปนตน อยางไรก็ตามแมวาการใหบริการของเภสัชกรชุมชนหลายบริการจะไดรับการพิสูจน และยอมรับวามี ประโยชนตอผูปวยและระบบสาธารณสุขโดยรวม แตผลลัพธดังกลาวมักไดมาจากงานวิจัยหรือโครงการนํารอง ตางๆ ซึ่งการนํารูปแบบบริการที่ไดรับการพิสูจนวามีประโยชนเหลานั้นมาใชในวงกวางเปนไปอยางจํากัด ทั้งนี้สวน หนึ่งเปนผลจากการไมไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานที่เกี่ยวของในระบบสาธารณสุขอยางเหมาะสมทั้งในดาน การสรางเครือขายบริการ การเชื่อมตอขอมูล การสนับสนุนคาตอบแทนบริการ และอื่นๆ 1.2 แนวทางการทบทวนการใหบริการทางเภสัชกรรมในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน ภายใต ระบบประกันสุขภาพของประเทศตางๆ การใหการสนับสนุนบริการทางเภสัชกรรมในรานยาโดยระบบประกันสุขภาพของแตละประเทศมีความ แตกตางกันไป ขึ้นอยูกับการผลักดันจากองคกรวิชาชีพเภสัชกรรม รวมถึงการสนับสนุนในระดับนโยบายของ ผูบริหารของประเทศนั้นๆ ดังนั้นการทบทวนการใหบริการทางเภสัชกรรมในรานยาภายใตระบบประกันสุขภาพ ของประเทศตางๆ จึงมีความสําคัญ เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลที่ครอบคลุมทั้งดานรูปแบบการใหบริการ ผลลัพธของ การใหบริการ รวมถึงการดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ สําหรับนํามาประยุกตใชเปนแนวทางการพัฒนา และขยายบทบาทการใหบริการทางเภสัชกรรมของเภสัชกรชุมชนในประเทศไทยตอไป เบื้องตนไดกําหนดประเทศที่จะทําการทบทวนไว 3 ประเทศคือ อังกฤษ สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย เนื่องจากประเทศดังกลาวไดมีการพัฒนาบริการทางเภสัชกรรมชุมชนมาแลวเปนอยางดี อีกทั้งยังไดรับการ สนับสนุนดานงบประมาณจากระบบประกันสุขภาพของรัฐมานานพอสมควร นอกจากนี้คณะทํางานยังไดนํา ขอมูลของประเทศไตหวันเพิ่มเขามาในการทบทวนครั้งนี้ดวย ทั้งนี้เนื่องจากไตหวันมีบริบทที่ใกลเคียงกับประเทศ ไทยหลายดานเชน พัฒนาการของงานบริการทางเภสัชกรรม รูปแบบการใหบริการทางสาธารณสุขและระบบ ประกันสุขภาพ รวมถึงการเปนประเทศในทวีปเอเชียเหมือนกัน การศึกษาขอมูลและแนวทางการพัฒนาใน ประเทศไตหวันจึงนาจะเปนประโยชนไมนอยไปกวาขอมูลจากสามประเทศขางตน
  • 9. 2 คณะผูทบทวนไดทําการรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของจากการสืบคนฐานขอมูลทางวิชาการตางๆ เชน MED- LINE, International Pharmaceutical Abstracts, Scopus และ Google Scholar และจากการสืบคนงานวิจัย เพิ่มเติมจากรายนามเอกสารอางอิงของการศึกษา/บทความที่คัดเลือก นอกจากนี้คณะผูทบทวนยังไดศึกษาขอมูล ตามเวปไซดของหนวยงานที่เกี่ยวของในประเทศตางๆ ทั้งหนวยงานราชการ เอกชน และสมาคมวิชาชีพ ขอมูล บางสวนยังไดจากการติดตอกับผูเชี่ยวชาญหรือผูที่เกี่ยวของในแตละประเทศ โดยนําเสนอขอมูลที่ไดแยกตามแต ละประเทศดังแสดงในบทถัดไป บรรณานุกรม • Farris KB, Fermandez-Limos F, Benrimoj SI. Pharmaceutical care in community pharmacies: practice and research from around the world. Ann Pharmacother 2005;39:1539-41. • Roberts AS, Benrimoj S, Chen TF, Williams KA, Aslani P. Implementing cognitive services in community pharmacy: a review of models and frameworks for change. Int J Pharm Pract 2006;14:105-113.
  • 10. 3 II. การใหบริการเภสัชกรรมชุมชนภายใตระบบประกันสุขภาพในอังกฤษ อิศราวรรณ ศกุนรักษ ธีรพล ทิพยพยอม 2.1 ภาพรวมของระบบ สหราชอาณาจักรมีระบบประกันสุขภาพแหงชาติที่ดูแลโดยระบบประกันสุขภาพแหงชาติ (National Health Service: NHS) ซึ่งเปนระบบหลักของประเทศทําหนาที่ดูแลรับผิดชอบการใหบริการดานสุขภาพแบบถวน หนา (universal coverage) ใหกับประชาชนหรือผูที่พํานักอาศัยอยางถาวรในสหราชอาณาจักร และมีการ บริหารจัดการแบบแบงสวนชัดเจน คือแบงเปนสวนผูใหบริการ (provider) และสวนที่เปนผูซื้อบริการ (purchaser) โดยงบประมาณสวนใหญ (ประมาณ 75-85%) จะถูกสงมาให Primary Care Organisation (PCO) ซึ่งทําหนาที่ เปนผูซื้อบริการ โดย PCO นี้มีชื่อเรียกแตกตางกันไปในแตละแควน เชน ในอังกฤษใชชื่อวา Primary Care Trust (PCT) สวนเวลสใชชื่อวา Local Health Board (LHB) แตละ PCO รับผิดชอบดูแลประชากรประมาณ 150,000 ถึง 300,000 คน และถือเปนหนวยงานสําคัญ ในการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพของสหราชอาณาจักร การกําหนดนโยบายและทิศทางการดําเนินงานในแต ละ PCO มาจากคณะกรรมการซึ่งประกอบไปดวยตัวแทนประชาชน เชน นักการเมืองทองถิ่นหรือผูทรงคุณวุฒิ และตัวแทนวิชาชีพผูใหบริการในพื้นที่ PCO ยังดําเนินงานโดยประสานความรวมมือกับองคกรบริหารสวน ทองถิ่น (local authority) เพื่อการพัฒนาบริการเชิงสังคมอีกดวย ภายหลังการกระจายอํานาจการปกครองใหกับ ทั้ง 4 แควน (ไดแก อังกฤษ สกอตแลนด เวลส และไอรแลนดเหนือ) ในป ค.ศ. 1997 (พ.ศ. 2540) ระบบ NHS ของ ทั้ง 4 แควนก็มีการดําเนินการที่แตกตางกัน สําหรับการทบทวนครั้งนี้จะมุงเนนรูปแบบการใหบริการทางเภสัชกรรม ในอังกฤษเทานั้น รานยา (community pharmacy) ในอังกฤษที่สามารถใหบริการรับใบสั่งยาจากโรงพยาบาลและคลินิก คูสัญญาของ NHS จะเรียกวา NHS pharmacy contractor ซึ่งรานยาเหลานี้จะตองผานมาตรฐานและใหบริการ ดานสุขภาพไดตามที่ NHS กําหนด 2.2 การดําเนินการเพื่อบรรลุขอตกลงกับภาครัฐ การกําหนดเงื่อนไขหรือกรอบขอตกลง (contractual framework) กับ NHS นั้นมีผูรับผิดชอบและ ดําเนินการโดยคณะกรรมการที่เรียกวา Pharmaceutical Services Negotiating Committee (PSNC) ซึ่งไดรับ การรับรองใหเปนตัวแทนของ NHS pharmacy contractors ในการเจรจากรอบขอตกลงกับกระทรวงสาธารณสุข และ NHS คณะกรรมการหลักของ PSNC มีทั้งสิ้น 32 คน ซึ่งประกอบไปดวย
  • 11. 4 • ตัวแทนที่ไดรับการโหวตเลือกจากแตละภูมิภาค (13 คนจากอังกฤษ และ 1 คนจากเวลส) • ตัวแทนที่ไดรับการเสนอชื่อจากคณะกรรมการบริหารของสมาคมเภสัชกรรมชุมชน (National Pharmacy Association) จํานวน 2 คน • ตัวแทนที่ไดรับการเสนอชื่อจากสมาคมรานยาบริษัท (Company Chemists’ Association: CCA)* จํานวน 12 คน • ตัวแทนที่ไดรับการโหวตเลือกจากรานยาที่มีหลายสาขาที่ไมไดเปนสมาชิก CCA จํานวน 3 คน • ประธานกรรมการอิสระ (non-executive chairman) 1 คน *CCA มีสมาชิก 9 บริษัท และมีจํานวนรานยารวมคิดเปน 50% ของรานยาในสหราชอาณาจักร PSNC มีวัตถุประสงคการดําเนินงานในการพัฒนาบริการของ NHS pharmacy contractors เพื่อให เภสัชกรชุมชนสามารถเพิ่มรูปแบบการใหบริการที่มีคุณภาพและไดรับคาตอบแทนจากบริการนั้น เพื่อตอบสนอง ความตองการของชุมชนทองถิ่น โดยมีแผนการดําเนินงานสําหรับป ค.ศ. 2011 ถึง ค.ศ. 2015 ดังนี้ • สรางรากฐานการพัฒนางานเภสัชกรรมชุมชนใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล • สรางหลักประกันการจายคาตอบแทนอยางเหมาะสมใหกับบริการของเภสัชกรชุมชน • ใหการรับรองวาการพัฒนาดานเทคโนโลยีใดๆ จะสนับสนุนการใหบริการของเภสัชกรชุมชน • ดําเนินการอยางตอเนื่องเพื่อสรางหลักฐานเชิงประจักษที่แสดงใหเห็นถึงคุณภาพและความคุมคา ของบริการของเภสัชกรชุมชน • ใหขอมูล คําแนะนํา และการสนับสนุนเภสัชกรคูสัญญา และสรางพันธมิตรทั้งภายในและภายนอก วิชาชีพเภสัชกรรมเพื่อเสริมประโยชนใหกับวิชาชีพ สิ่งที่นาสนใจในการดําเนินงานของ PSNC คือแนวทางการสรางความเชื่อมตอกับนักการเมือง และผูที่มี สวนเกี่ยวของกับการกําหนดนโยบายดานสาธารณสุข เนื่องจากกลุมบุคคลดังกลาวถือไดวามีความสําคัญตอการ พิจารณาขอเสนอของ PSNC เกี่ยวกับการดําเนินการและการจายคาตอบแทนใหกับบริการของ NHS pharmacy contractors โดย PSNC ใหความสําคัญกับการสื่อสารทําความเขาใจกับภาคการเมืองทั้งในระดับชาติและระดับ ทองถิ่น ตัวอยางการดําเนินงานสรางความเชื่อมตอกับภาคการเมืองของ PSNC ในสวนกลางไดแกการจัดงาน เลี้ยงรับประทานอาหารเย็นปละครั้ง โดยเชิญแขกเขารวมงานประมาณ 500 คน ซึ่งประกอบไปดวย รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข นักการเมือง ตัวแทนจากวิชาชีพดานสุขภาพ NHS กลุมอาสาสมัคร องคกร การกุศล และสื่อมวลชน นอกจากนี้ PSNC ยังเปนผูสนับสนุนที่สําคัญใหกับกลุมนักการเมืองที่สนใจดานเภสัช กรรม (All-Party Pharmacy Group)* และพยายามนําเสนอขอมูลการดําเนินการและประเด็นที่นาสนใจตางๆ ใหกับกลุมดังกลาวทุกครั้งที่มีโอกาส * All-Party Group เปนกลุมของนักการเมืองจากทุกพรรคไมวาจะเปนฝายคานหรือฝายรัฐบาลที่มีความสนใจงานดานตางๆ เฉพาะ เปนพิเศษ โดยหัวขอดังกลาวไมขัดแยงกับนโยบายหลักของพรรค
  • 12. 5 สําหรับการสรางความเชื่อมตอกับนักการเมืองในสวนภูมิภาคจะดําเนินการโดยคณะกรรมการเภสัชกรรม ทองถิ่น (Local Pharmacy Committee: LPC) ซึ่ง PSNC จะมีแนวทางการจัดการตางๆ ใหกับ LPC ตัวอยางเชน ในชวงเวลาที่ PSNC ยื่นเสนอรางกฎหมายเพื่อขอรับรองแนวทางการใหบริการใดๆ PSNC จะสนับสนุน LPC ให ดําเนินการตางๆ เพื่อประชาสัมพันธและสรางกระแสใหเกิดการสนับสนุนรางดังกลาว ตัวอยางกิจกรรมที่ PSNC แนะนําให LPC ดําเนินการไดแก • การเชิญสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (ส.ส.) เจาของพื้นที่ หรือผูสมัครรับเลือกตั้งในเขตพื้นที่มาที่รานยา เพื่อใหนักการเมืองไดทําความเขาใจระบบและรูปแบบการใหบริการเภสัชกรรมชุมชน และเพื่อใหเห็น ความสําคัญและประโยชนของบริการที่ PSNC กําลังเสนอรางกฎหมายอยู โดย PSNC จะจัดเตรียม สื่อสนับสนุนตางๆ ไวให LPC ไมวาจะเปน ตัวอยางจดหมายเชิญ บันทึกสรุปขอมูลและแนวทางการ จัดกิจกรรมที่ยื่นเสนอ แนวทางการตอบคําถามที่เกี่ยวของกับกิจกรรมดังกลาว เปนตน • การจัดกิจกรรมเกี่ยวกับสุขภาพ เชน การจัดอบรม สัมมนา เพื่อใหคนในชุมชนเห็นถึงความสําคัญ ของการดูแลสุขภาพ และเพื่อใหเห็นถึงความสําคัญและประโยชนของกิจกรรมที่อยูในรางการจัด กิจกรรมใหบริการ เชน การประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งจะชวยแสดงใหประชาชน เห็นถึงศักยภาพและความสะดวกในการเขาถึงบริการของเภสัชกร • การประชาสัมพันธผานสื่อทองถิ่นเกี่ยวกับบริการที่อยูในรางกฎหมาย หรือแจงใหประชาชนใน ทองถิ่นทราบวาบริการดังกลาวไดรับการสนับสนุนจากนักการเมืองในพื้นที่ (ในกรณีที่นักการเมือง รับปากใหการสนับสนุน) ทั้งนี้สวนหนึ่งเพื่อเปนหลักประกันการใหการสนับสนุนจากนักการเมืองไป ดวยในตัว 2.3 รูปแบบการใหบริการ จนถึงปจจุบัน PSNC ไดมีการพัฒนาขอตกลง เงื่อนไข และรูปแบบการใหบริการดานสุขภาพในรานยา มาถึงกรอบสัญญาฉบับใหม (ป ค.ศ. 2005) โดยมีเปาหมายเพื่อพัฒนาใหเกิดการใหบริการทางเภสัชกรรมชุมชนที่ มีประสิทธิภาพและตอบสนองตามความตองการของแตละทองถิ่น ซึ่งแบงรูปแบบการใหบริการออกเปน 3 ระดับ (รูปที่ 2.1) ไดแก essential, advanced และ enhanced service โดยในแตละระดับมีความแตกตางกันทั้งในดาน รูปแบบการใหบริการ (range of services covered) ที่มาของแหลงทุน (source of funding) และหนวยงานที่ กํากับดูแล (commissioning and governance arrangement) ซึ่งจะไดกลาวถึงโดยละเอียดในหัวขอถัดไป
  • 13. 6 รูปที่ 2.1 ระดับการใหบริการของรานยาคูสัญญากับ NHS 2.3.1 Essential services เปนรูปแบบการใหบริการพื้นฐานที่รานยาคูสัญญาทุกรานตองปฏิบัติตามที่ NHS กําหนด ไดแก • Dispensing/repeat dispensing and provision of compliance support • Disposal of unwanted medicines • Promotion of healthy lifestyles • Sign-posting • Support for self care Dispensing/repeat dispensing and provision of compliance support เปนการใหบริการจัดหายา หรือเวชภัณฑตามใบสั่งยา (NHS prescriptions) รวมกับการใหขอมูลและคําแนะนําเกี่ยวกับการใชยา เพื่อ สงเสริมใหเกิดการใชยาที่ถูกตองเหมาะสมและปลอดภัย และยังครอบคลุมงานในสวนของการเติมยาหลายครั้ง (repeat dispensing) ซึ่งในกรณีนี้จะแตกตางจากการจายยาทั่วไปตรงที่ผูปวยจะไดรับใบสั่งยาจากแพทยที่ สามารถนํามาเติมยาไดมากกวา 1 ครั้ง ซึ่งเภสัชกรที่ปฏิบัติงานในสวนนี้ จะตองไดรับการอบรมเพิ่มเติมเพื่อให สามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ จาก Centre for Pharmacy Postgraduate Education (CPPE) ซึ่ง สวนใหญเปนมหาวิทยาลัยที่ไดรับทุนสนับสนุนจาก Department of Health (DH) สําหรับรับผิดชอบดูแลเรื่อง การศึกษาตอเนื่อง (continuing professional development) ใหกับเภสัชกรและผูชวยเภสัชกร ในการดําเนินการ กิจกรรมเหลานี้เภสัชกรที่ปฏิบัติงานจะตองทําการจดบันทึกขอมูล เชน ชื่อยา ขนาดยา ปริมาณ วันที่สงมอบยา ใหกับผูปวย เปนตน และตองไดรับการประเมินคุณภาพของการใหบริการจาก NHS อยางตอเนื่อง
  • 14. 7 Disposal of unwanted medicines เปนการใหบริการกําจัดยาเหลือใช โดยหนวยคูสัญญาปฐมภูมิ (Primary care trusts: PCTs) จะเปนผูรับผิดชอบสถานที่ในการกําจัดยาเหลือใชเหลานี้ สวน promotion of healthy lifestyles เปนการใหบริการที่เนนเรื่องการสงเสริมสุขภาพ ผานการใหคําแนะนําเรื่องยาและการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพใหเหมาะสม โดยครอบคลุมกลุมโรคเบาหวาน ผูปวยที่มีความเสี่ยงในการเกิด โรคหลอดเลือดหัวใจ ผูที่สูบบุหรี่ และน้ําหนักเกิน เปนตน และมีการจัดทํา Public health campaign ในเชิงรุก ซึ่ง อาจเปน campaign ที่ทําทั่วทั้งประเทศหรือทําเฉพาะในพื้นที่บางพื้นที่ก็ได หากเปนในระดับทองถิ่น โดยทั่วไปราน ยาจะใหบริการเหลานี้รวมกับ PCT ซึ่งเปนผูกําหนดหัวขอ campaign ในแตละพื้นที่ Sign-posting เปนรูปแบบการใหบริการในกรณีที่รานยานั้นมีขอจํากัดหรือไมสามารถดูแลผูปวยได หรือ ผูปวยตองการเขารับการรักษาที่รานยานั้นไมอาจใหบริการได จะมีการทําการสงตอผูปวยไปยังสถานบริการที่ เหมาะสม ผานบันทึกขอมูลของผูปวยแตละราย สวน support for self care เปนการใหคําแนะนําเรื่องการใชยา และการปฏิบัติตนในผูปวยที่ไมสามารถชวยเหลือตนเองได ตองไดรับการชวยเหลือดูแล 2.3.2 Advanced services เปนบริการที่เภสัชกรที่ไดรับการรับรองสามารถปฏิบัติได ซึ่งประกอบไปดวยกิจกรรมตอไปนี้ • Medicines use review (MUR) และ prescription intervention service • Appliance use review (AUR) • Stoma appliance customization (SAC) • New medicine service (NMS) โดยในที่นี้จะขอกลาวถึงการทํา MUR และ prescription intervention service ซึ่งเกี่ยวของกับการใชยา โดยละเอียดเพียงอยางเดียว สวน new medicine service เปนรูปแบบบริการที่เพิ่มเขามาใหมในป พ.ศ. 2554/55 จึงอาจมีขอมูลรายละเอียดไมมากนัก ลักษณะการใหบริการของ MUR และ prescription intervention service เปนงานที่เกี่ยวของกับการ ทบทวนการใชยาที่ผูปวยไดรับ และประเมินความรวมมือในการใชยาของผูปวยผานการซักประวัติจากผูปวย โดยเฉพาะอยางยิ่งผูปวยที่อยูในกลุมเสี่ยงที่จะเกิดปญหาจากการใชยา เชน ผูสูงอายุที่มีโรคประจําตัวหลายโรค ผูปวยกลุมโรคเรื้อรัง เปนตน โดยหลังจากที่ประเมินการใชยาแลวบันทึกขอมูลลงในแบบฟอรม MUR ขอมูลเหลานี้ จะถูกสงไปยังแพทยผูทําการรักษา โดยทั่วไป MUR จะมีการทําอยางสม่ําเสมอ เชน ทุกๆ 12 เดือน เปนตน New medicine service เปนบริการระดับ advanced services ที่เพิ่มเขามาใหม ซึ่งจะเริ่มดําเนินการใน เดือนตุลาคม ค.ศ. 2011 โดยจะเปนบริการใหกับผูปวยโรคเรื้อรังที่ไดรับการสั่งจายยาตัวใหมเพื่อเพิ่มความรวมมือ ในการใชยาของผูปวย เบื้องตนจะใหบริการเฉพาะกลุมผูปวยและเฉพาะกลุมโรคตามที่ไดมีการกําหนดไว (ไดแก โรคหืดและปอดอุดกั้นเรื้อรัง เบาหวานชนิด 2 ผูที่ไดรับการรักษาดวย antiplatelet/anticoagulant และความดัน โลหิตสูง) และจะใหบริการจนถึงเดือนมีนาคม ค.ศ. 2013 ซึ่งจะมีการประเมินวาบริการนี้มีประโยชนตอ NHS หรือไม
  • 15. 8 การใหบริการ advanced services ขึ้นกับความสมัครใจของรานยาที่เขารวม ไมมีการบังคับใหทํา เหมือนกับ essential service อยางไรก็ตามรานยาที่ตองการทํา advanced service จะตองมีเภสัชกรที่ไดรับการ รับรองวาเปนผูที่มีความสามารถในการปฏิบัติการนี้ได นอกจากนี้จะตองมีพื้นที่และเครื่องอํานวยความสะดวก เชน หองใหคําปรึกษาที่เพียงพอในการใหบริการ 2.3.3 Enhanced services แมแบบ (template) ของ enhance services แตละบริการเกิดจากขอตกลงรวมกันระหวาง PSNC กับ กระทรวงสาธารณสุขและ NHS โดยรูปแบบการจัดการแตละบริการอาจไดมาจากประสบการณการดําเนินการ ใหบริการนั้นๆ ในระดับทองถิ่นมากอน คณะกรรมการเภสัชกรรมของทองถิ่น (Local Pharmacy Committee: LPC) และ pharmacy contractors สามารถอางอิงบริการตามแมแบบเพื่อบรรลุขอตกลงกับ PCO ในการ จัดบริการ enhanced services รูปแบบตางๆ หรือจะรวมกันสราง enhanced service รูปแบบใหมเพื่อตอบสนอง กับความตองการในแตละทองที่ก็ได จนถึงปจจุบันมี enhanced services แมแบบที่ไดรับการรับรองจาก สวนกลางทั้งสิ้น 15 บริการ (ตารางที่ 2.1) และยังมี enhanced services ที่อยูในระหวางการเจรจากับ NHS และ กระทรวงสาธารณสุขอีก 7 บริการ ไดแก weight management (เด็ก), weight management (ผูใหญ), alcohol screening and brief intervention, anticoagulant management, independent prescribing, sharps disposal, และ emergency supply 2.4 การจายคาตอบแทนการใหบริการ 2.4.1 การจายคาตอบแทนบริการ essential services ในการใหบริการ essential services นั้นรานยาคูสัญญาจะไดรับการสนับสนุนงบประมาณจาก National funding เชนในการจายยาตามใบสั่งยาแตครั้ง รานยาจะไดรับคา dispensing fee ในอัตรา 90 เพนซตอหนึ่ง รายการยา (prescription item) และในรานยาที่มีการทํา repeating dispensing จะไดรับคาตอบแทนเพิ่มอีก 125 ปอนดตอเดือน หรือ 1,500 ปอนดตอป 2.4.2 การจายคาตอบแทนบริการ advanced services เภสัชกรจะไดรับคาตอบแทนจากการสงบันทึก MUR ในอัตรา 28 ปอนดตอฉบับ และเนื่องจากที่ผานมามี รานยาสง MUR เขามาเปนจํานวนมาก ทําใหปจจุบันมีการจํากัดจํานวนการสง MUR ตอรานใหไมเกิน 400 ฉบับ ตอปงบประมาณ ผลจากการรวบรวมขอมูลการทํา MUR พบวาตั้งแตเดือนเมษายน ค.ศ. 2005 (พ.ศ. 2548) ถึง มีนาคม ค.ศ. 2006 มีการทํา MUR ทั้งสิ้น 14,623 ฉบับ และมีการจายคาตอบแทน MUR ไปทั้งสิ้น 7,159,454 ปอนด นอกจากนี้เพื่อเปนการประกันคุณภาพของ MUR ที่จัดทําขึ้น PSNC ไดมีการพัฒนา voluntary checklist เพื่อใหเภสัชกรประเมินคุณภาพของ MUR ของตนเองกอนสงทุกครั้ง
  • 16. 9 ตารางที่ 2.1 รูปแบบการใหบริการ enhanced services ตางๆ Enhanced services รูปแบบบริการ Supervised administration (consumption of prescribed medicines) • เภสัชกรมีหนาที่ดูแลใหผูปวยรับประทาน/ใชยาที่แพทยสั่ง ณ จุดที่จายยา เพื่อใหมั่นใจไดวาผูปวยไดรับยาจริง • ตัวอยางยาที่อยูในกลุมที่สามารถใหบริการนี้ได ไดแก methadone และยา อื่นที่ใชในการรักษา opiate dependence ยาที่ใชรักษาความผิดปกติทาง จิต หรือยารักษาวัณโรค Needle & syringe exchange • เภสัชกรจัดเตรียมและสงมอบเข็มและหลอดฉีดยาใหกับผูรับบริการแลก กับเข็มและหลอดฉีดยาที่ใชแลว เพื่อลดความเสี่ยงในการแพรกระจายเชื้อ ในกลุมผูเสพยาเสพติด • เภสัชกรใหการสนับสนุน และใหคําแนะนําการใชเข็มฉีดยาที่ถูกวิธี รวมถึง คําแนะนําเกี่ยวกับโรคติดตอทางเพศสัมพันธ เอดส ไวรัสตับอักเสบซี และ ขอมูลเกี่ยวกับวัคซีนเพื่อปองกันไวรัสตับอักเสบบี On demand availability of specialist drugs • รานยาที่เขารวมใหบริการนี้ตองจัดเตรียมสต็อคยาพิเศษเฉพาะ (specialist medicines) ในจํานวนและปริมาณตามที่ไดตกลงไวกับ PCO เพื่อเปนหลักประกันวาผูปวยสามารถเขาถึงยาดังกลาวไดทันทีทุกเวลา • ยาพิเศษเฉพาะดังกลาวไดแกยาบรรเทาปวด ยาสําหรับรักษาวัณโรค และ ยาสําหรับรักษา meningitis Stop smoking • เภสัชกรใหคําแนะนําแบบตัวตอตัวกับผูรับบริการที่ตองการเลิกบุหรี่ เพื่อ เปนการเพิ่มโอกาสและทางเลือกในการเขาถึงบริการเลิกบุหรี่ของ NHS • เภสัชกรใหการชวยเหลือเพื่อใหผูปวยสามารถเขาถึงยาชวยเลิกบุหรี่ได Care home • เภสัชกรใหการสนับสนุนและใหคําแนะนํากับผูปวยและเจาหนาที่ในสถาน พักฟน (care home) เพื่อเปนหลักประกันวามีการใชยาอยางเหมาะสม มี ประสิทธิภาพ มีความคุมคา มีการเก็บรักษาอยางปลอดภัย และมีการจด บันทึกการบริหารยาไวเปนหลักฐาน • หลังการไปเยี่ยมและใหคําแนะนําในครั้งแรกแลว เภสัชกรตองมีการเยี่ยม ติดตามการดําเนินงานของสถานพักฟนอยางนอยทุกๆ 6 เดือน Medicines assessment & compliance support • เภสัชกรทําหนาที่ประเมินและใหการชวยเหลือเพื่อใหผูปวยสามารถใชยา ไดตามแพทยสั่ง • การใหการชวยเหลือผูปวยเพื่อเพิ่มความรวมมือในการใชยาไดแก การให ความรูเกี่ยวกับยาที่ผูปวยไดรับ การจัดทําบันทึกการใชยาใหผูปวยกรอก การจัดทําฉลากยาดวยตัวหนังสือขนาดใหญ และการจัดเตรียมยาโดยใช ตลับแบงยา เปนตน
  • 17. 10 ตารางที่ 2.1 (ตอ) รูปแบบการใหบริการ enhanced services ตางๆ Enhanced services รูปแบบบริการ Medication review (full clinical review) • การประเมินยาที่ผูปวยไดรับเพื่อใหไดรับประสิทธิภาพจากการรักษาอยาง เต็มที่ และชวยลดปญหาจากการใชยา • เภสัชกรใหบริการที่ใดก็ไดไมจํากัดวาตองเปนที่รานยาเทานั้น แตตอง สามารถเขาถึงขอมูลทางการแพทยของผูปวย และผลตรวจทาง หองปฏิบัติการทีเกี่ยวของได • ความถี่ในการใหบริการในผูปวยแตละรายขึ้นกับขอตกลงกับ PCO และ แพทยในพื้นที่ รวมถึงความจําเปนทางคลินิกของผูปวย Minor ailment service • เภสัชกรใหคําแนะนําและชวยเหลือผูปวยเพื่อบรรเทาและรักษาอาการ เจ็บปวยเล็กๆ นอยๆ และสามารถเสนอขายยา OTC ใหกับผูปวยไดตาม ความเหมาะสม • หากผูปวยไมตองการซื้อยาเองแตประสงคจะไปพบแพทยเพื่อขอใบสั่งยา เภสัชกรสามารถจายยาใหกับผูปวยไดเอง และเภสัชกรเบิกคายาคืนจาก NHS ภายหลัง ทั้งนี้ยาที่จายตองเปนยาในบัญชียาที่ไดตกลงไวกับ PCO และแพทยในพื้นที่ • PCO แตละแหงจะเปนผูกําหนดวาประชาชนในพื้นที่กลุมใดสามารถใช บริการนี้ได Out of hours (access to medicines) • เภสัชกรใหบริการนอกเหนือจากเวลาเปดทําการตามปกติเพื่อใหผูปวย สามารถเขาถึงยาไดนอกเวลาทําการ • บริการดังกลาวถือวานอกเหนือจากการใหบริการตามปกติใน essential service ซึ่งรูปแบบการจัดการขึ้นกับการตกลงกับ PCO แตละพื้นที่ Supplementary prescribing by pharmacists • บริการนี้ขึ้นกับการตกลงโดยสมัครใจระหวาง independent prescriber (แพทย) กับ supplementary prescriber (เภสัชกร) และผูปวย • Supplementary prescriber สามารถสั่งตรวจทางหองปฏิบัติการ ติดตาม ผลการตรวจ ใหการรักษา และปรับเปลี่ยนการรักษาได โดยอยูภายใต clinical management plan ที่ตกลงไวกับ independent prescriber Emergency hormonal contraception • เภสัชกรจายยาคุมกําเนิดฉุกเฉินใหกับผูรับบริการที่เขาเกณฑการใหบริการ ตามที่กําหนดไวใน patient group direction (PGD) ของแตละพื้นที่ • เภสัชกรมีหนาที่ใหคําแนะนํากับผูรับบริการ (ไมวาจะเขาเกณฑสามารถรับ ยาคุมฉุกเฉินไดหรือไมก็ตาม) ในดานตางๆ ไดแก วิธีการคุมกําเนิด โรคติดตอทางเพศสัมพันธ และหนวยงานที่ใหบริการดานการคุมกําเนิด Seasonal influenza vaccination • เภสัชกรคนหาผูที่เปนกลุมเปาหมายที่จําเปนตองไดรับวัคซีนในชวงรณรงค การใหวัคซีนปองกันไขหวัดใหญ (1 สิงหาคม ถึง 31 มีนาคมของปถัดไป) และแนะนําใหกลุมเปาหมายเขารับการฉีดวัคซีน • เภสัชกรทําการฉีดวัคซีนใหกับผูปวยที่เขาเกณฑ และรายงานใหแพทย ประจําตัวผูปวยทราบ
  • 18. 11 ตารางที่ 2.1 (ตอ) รูปแบบการใหบริการ enhanced services ตางๆ Enhanced services รูปแบบบริการ Patient group directions (supply and/or administration of medicines under a PGD) • Patient group direction (PGD) คือแนวปฏิบัติในการจายยาที่ตองใช ใบสั่งแพทย (prescription only medicine: POM) ใหกับผูปวยเฉพาะกลุม โดยแนวปฏิบัติดังกลาวเกิดจากการตกลงรวมกันระหวางแพทยและเภสัช กรภายใตการรับรองของ PCO แตละพื้นที่ • ตัวอยางยาที่มีการจายไดภายใตโปรแกรม PGD ไดแก วัคซีนปองกัน ไขหวัดใหญ ยาตานไวรัสชนิดรับประทาน orlistat และ sildenafil เปนตน Chlamydia screening & treatment • เภสัชกรสงมอบชุดทดสอบ Chlamydia ใหกับผูรับบริการตามเกณฑที่ กําหนดไวในแตละ PCO เชน ผูรับบริการที่อายุนอยกวา 25 ปที่มาซื้อ ถุงยางอนามัย และผูรับบริการยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน เปนตน • เภสัชกรอาจทําหนาที่แจงผลการทดสอบใหผูรับบริการทราบ และใหการ รักษาตามเกณฑที่กําหนดไวโดย PGD แตละพื้นที่ดวย NHS health check • เภสัชกรใชเกณฑ NHS health check มาประเมินความเสี่ยงตอการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือดในผูรับบริการที่มีอายุระหวาง 40 ถึง 74 ปที่ไมได รับการวินิจฉัยวาเปนโรคดังกลาวมากอน • เภสัชกรมีหนาที่บันทึกผลการประเมินที่ไดและแจงผลใหแพทยประจําตัว ผูปวยทราบดวย • เภสัชกรใหคําแนะนําการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมแก ผูรับบริการ และใหการรักษาหรือสงตอที่เหมาะสมตามแนวทางการรักษา 2.4.2 การจายคาตอบแทนบริการ advanced services (ตอ) การจายคาตอบแทนบริการ NMS ขึ้นกับระดับการใหบริการของเภสัชกร รวมกับคาบริการที่จายใหครั้ง เดียวสําหรับเริ่มตนบริการ (one-off implementation payment) ซึ่ง PSNC และ NHS จะแจงรายละเอียดและ กลไกการจายคาตอบแทนอีกครั้งหลังจากบรรลุขอตกลงรวมกันแลว โดยไดมีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน บริการ NMS ไวปละ 50 ลานปอนด 2.4.3 การจายคาตอบแทนบริการ enhanced services การจายคาตอบแทนบริการ enhanced services ขึ้นกับขอตกลงที่ LPC ทําไวกับ PCO แตละพื้นที่ โดย อางอิงจากแนวทางการคิดคาตอบแทนที่จัดทําโดย PSNC กระทรวงสาธารณสุข และ NHS
  • 19. 12 2.5 การประเมินผลการใหบริการ มีการประเมินผลการใหบริการ advanced และ enhanced services ในหลายบริบท เชน ผลลัพธทาง คลินิก ผลลัพธทางเศรษฐศาตร และความเห็นของผูปฏิบัติงาน แตจากการสืบคนไมพบรายงานการประเมินผล การใหบริการ enhanced services ครบทุกบริการ ในที่นี้จะขอกลาวถึงผลการศึกษาของการใหบริการ advanced และ enhanced services บางบริการพอสังเขป ดังนี้ 2.5.1 การศึกษาผลการใหบริการ advanced services: MUR งานวิจัยที่ศึกษาผลลัพธของการใหบริการ MUR มีอยูคอนขางจํากัด จากการสืบคนไดแก การศึกษาของ Blenkinsopp และคณะ (ค.ศ. 2008) ที่แสดงเห็นวาการใหบริการ MUR ในปที่ 2 (เมษายน ค.ศ. 2006 ถึง มีนาคม ค.ศ. 2007) เพิ่มขึ้นอยางมากทั้งจํานวนรายงานและผูใหบริการเมื่อเทียบกับปที่ผานมา โดยพบวารานยาอิสระมี สัดสวนการรายงาน MUR นอยกวารานยาที่บริหารงานโดยบริษัทหรือรานยาที่มีหลายสาขาอยางมาก ซึ่งผล ดังกลาวสอดคลองกับผลการศึกษาของ Bradley และคณะ (ค.ศ. 2008) ที่พบวาเจาของกิจการมีอิทธิพลในการ ผลักดันใหเภสัชกรใหบริการ MUR เปนอยางมาก อยางไรก็ตามการศึกษาลาสุดโดย Harding และคณะ (ค.ศ. 2010) รายงานวานโยบายของบริษัทจะมีอิทธิพลตอการทํา MUR ก็ตอเมื่อมีการใหบริการ MUR ต่ํากวาเกณฑ ที่ตั้งไว สวนปจจัยที่มีผลมากที่สุดตอการใหบริการ MUR ก็คือวิจารณญาณของเภสัชกรเอง 2.5.2 การศึกษาผลการใหบริการ enhanced services: medication review สําหรับการใหบริการ enhanced service การศึกษาเกี่ยวกับ medication review ในสหราชอาณาจักร หลายการศึกษาใหผลลัพธที่ไมสอดคลองกัน โดยการศึกษาของ Holland และคณะ (ค.ศ. 2005) แสดงใหเห็นวา การใหบริการ medication review ในสถานพักฟน (care-home) มีผลเพิ่มอัตราการเขารับการรักษาตัวใน โรงพยาบาล (hospital admission) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และไมมีผลเพิ่มคุณภาพชีวิตของผูรับบริการ ในขณะที่การศึกษาของ Zermansky และคณะ (ค.ศ. 2001) พบวา medication review มีผลเปลี่ยนแปลง ปริมาณการใชยาเล็กนอย สวนการศึกษาของ Mackie และคณะ (ค.ศ. 1999) พบวาสัดสวนของปญหาที่เกี่ยวของ กับการใชยาที่ไดรับการแกไขแลวเพิ่มขึ้น อยางไรก็ตามผลจากสองการศึกษาหลังสอดคลองกันในแงที่วา medication review ไมมีผลตอ hospital admission Holland และคณะ (ค.ศ. 2006) ตั้งขอสังเกตวาบริการ medication review ที่ประสบความสําเร็จนั้นมักมีรูปแบบการดําเนินการโดยเภสัชกรจํานวนไมมากนัก และมีการ ประสานงานอยางใกลชิดกับแพทย ในขณะที่บริการที่ดําเนินการโดยไมไดมีการประสานงานกับแพทยเชนใน การศึกษาของ Holland และคณะในปค.ศ. 2005 นั้นอาจทําใหเกิดผลที่ไมตองการตามมาและไมมีความคุมคา ทางเศรษฐศาสตร (Pacini และคณะ, ค.ศ. 2007) แมการประเมินประสิทธิภาพและความคุมคาของบริการจะไมไดแสดงใหเห็นวา medication review มี ประโยชนตอผูปวยอยางชัดเจน แตบริการดังกลาวยังคงไดรับการสนับสนุนใหมีการดําเนินการอยางตอเนื่อง จึงได มีความพยายามศึกษาทบทวนบริการดังกลาวในผูปวยเฉพาะกลุมเพิ่มขึ้น โดย Zermansky และคณะ (ค.ศ. 2006) ไดทําการศึกษาการใหบริการ medication review ในผูปวยสูงอายุ (อายุเฉลี่ย 85 ป) ใน care-home และ
  • 20. 13 พบวาการใหบริการดังกลาวไมมีผลเพิ่ม hospital admission ซึ่งตางจากการศึกษากอนหนานี้ของ Holland และ คณะ (ค.ศ. 2005) ที่นาสนใจคือผลลัพธรองที่พบวาการใหบริการสามารถชวยลดอัตราการหกลมของผูสูงอายุได อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยผูวิจัยใหความเห็นวาผลดังกลาวนาจะเกิดจากการแนะนําของเภสัชกรใหหยุดใช ยากลุม CNS ที่ทําใหเกิด sedation, confusion และ hypotension ซึ่งมีผลเพิ่มความเสี่ยงตอการหกลม อีกหนึ่ง งานวิจัยที่ศึกษาผลของ medication review ในผูปวยสูงอายุ (อายุ 80 ปขึ้นไป) คือการศึกษาของ Lenaghan และ คณะ (ค.ศ. 2007) โดยรูปแบบการใหบริการที่แตกตางจากในการศึกษาของ Zermansky และคณะ (ค.ศ. 2006) คือสถานที่ใหบริการเปนที่บานของผูปวยเอง ซึ่งหลังจากการติดตามผลการใหบริการเปนระยะเวลา 6 เดือนไมพบ ความแตกตางของ hospital admission และคุณภาพชีวิตของผูปวยที่ไดรับบริการเมื่อเทียบกับผูที่ไมไดรับบริการ แตพบวามีการสั่งใชยาลดลงอยางมีนัยสําคัญในผูที่ไดรับบริการ อยางไรก็ตามควรระมัดระวังการนําผลที่ไดจาก การศึกษาขางตนไปประยุกตใชในวงกวาง เนื่องจากผลลัพธที่รายงานของทั้งสองการศึกษานี้ไดมาจากการ ใหบริการของเภสัชกรที่มีศักยภาพในการใหบริการสูงเพียงคนเดียว เพื่อพิสูจนศักยภาพการใหบริการ medication review ของเภสัชกรชุมชน Laaksonen และคณะ (ค.ศ. 2010) จึงไดทําการศึกษาโดยใหเภสัชกรผูเชี่ยวชาญดานเภสัชกรรมคลินิกประเมินขอมูลการสงตอผูปวยจากเภสัช กรชุมชนจํานวน 20 ราย และพบวาเภสัชกรผูใหบริการ medication review คนพบปญหาที่เกี่ยวของกับการใชยา 75% และใหขอเสนอแนะแนวทางการแกไขที่เหมาะสม 58% เมื่อเทียบกับผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญซี่งผูวิจัย ใชเปนมาตรฐานในการประเมิน (gold standard) อยางไรก็ตามประสิทธิภาพการใหบริการที่พบในการศึกษานี้ อาจต่ํากวาความเปนจริง เนื่องจากเปนการประเมินจากขอมูลที่เภสัชกรเปนผูบันทึกไว และ gold standard ที่ใช ในการเปรียบเทียบมาจากผูเชี่ยวชาญเพียงคนเดียวเทานั้น 2.5.3 การศึกษาผลการใหบริการ enhanced services: minor ailment service การศึกษาเกี่ยวกับผลการใหบริการ minor ailment service เชน การศึกษาของ Whittington และคณะ (ค.ศ. 2001) ซึ่งเปนการศึกษาแรกๆ ของบริการนี้ โดยทําการศึกษาในผูปวยที่มีอาการเจ็บปวยไมรุนแรง จํานวน 1,522 คน โดยผูปวยที่ตองการนัดพบแพทยเพื่อรับการรักษาความผิดปกติที่ไมรุนแรง 12 ประเภท (ไดแก ทองผูก ไอ ทองเสีย ไขละอองฟาง เหา ปวดหัว ทองอืด คัดจมูก เจ็บคอ เปนไข ติดเชื้อบริเวณชองคลอด และติดเชื้อบริเวณ ทางเดินหายใจ) จะไดรับคําแนะนําวาสามารถรับบริการรักษาและรับยาที่รานยาไดโดยตรง ซึ่งผลการศึกษาพบวา ในชวง 6 เดือนของการศึกษาผูปวยประมาณ 38% เลือกที่จะไปรานยา โดยความผิดปกติที่ผูปวยสวนใหญเลือกไป รับบริการ minor ailment service คือเปนเหา และติดเชื้อบริเวณชองคลอด แมวาผลการศึกษาจะไมไดแสดงให เห็นวากิจกรรมนี้ลดภาระงานรวมของแพทย (overall workload of GPs) แตพบวา minor ailment service ลด ภาระงานในสวนของ 12 self-limiting conditions ไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p <0.001) สวนดานทัศนคติตอ minor ailment service Vohra (ค.ศ. 2006) แสดงใหเห็นวาผูปวยสวนใหญมีทัศนคติที่ดีตอกิจกรรมนี้ เนื่องจาก สามารถไดรับยาไดโดยไมจําเปนตองนัดพบแพทยเพื่อรับใบสั่งยา นอกจากนี้ผลการศึกษาลาสุดของ Baqir และ คณะ (ค.ศ. 2011) ยังพบวา pharmacy based minor ailment scheme สามารถลดคาใชจายดานการใหบริการ สุขภาพของ PCO ลงได 6,739 ปอนดตอเดือนดวย
  • 21. 14 2.5.4 การศึกษาผลการใหบริการ enhanced services: supplementary prescribing การศึกษาการใหบริการ supplementary prescribing สวนใหญเปนการศึกษาเกี่ยวกับความคิดเห็นของ เภสัชกรผูใหบริการและของวิชาชีพอื่นโดยเฉพาะแพทยเกี่ยวกับบริการนี้ และเนื่องจากการใหบริการ supplementary prescribing โดยเภสัชกรนี้สามารถดําเนินการไดทั้งในรานยา สถานบริการปฐมภูมิ และ โรงพยาบาล จึงมีการศึกษาในชวงแรกของการเริ่มใหบริการวาเภสัชกรใหบริการ supplementary prescribing ที่ ใดมากที่สุด (George และคณะ, ค.ศ. 2006) ซึ่งพบวาเภสัชกรที่ผานการอบรมและรับรองวาสามารถใหบริการ supplementary prescribing ไดนั้นสวนใหญจะใหบริการในสถานบริการปฐมภูมิมากกวาในรานยาหรือ โรงพยาบาล และสิ่งทีผูใหบริการเห็นวาเปนผลดีจากการใหบริการนี้คือ ทําใหมีความพึงพอใจตองานเพิ่มขึ้น เพิ่ม ความมั่นใจในตัวเอง และไดรับการยอมรับมากขึ้น สวนอุปสรรคสําคัญในการใหบริการคือระบบการจัดการ คาตอบแทน การไมเขาใจบทบาทของเภสัชกรจากบุคคลทั่วไป และการถูกจํากัดบทบาทเนื่องจากขอกําหนดของ clinical management plan (CMP) ซึ่งผลจากการศึกษาดังกลาวบางสวนขัดแยงกับการศึกษาของ Hobson และ คณะ (ค.ศ. 2006) ที่พบวาเภสัชกรที่ใหบริการ supplementary prescribing สวนใหญปฏิบัติงานอยูใน โรงพยาบาลมากกวาในสถานบริการปฐมภูมิหรือรานยา ความแตกตางที่พบจากสองการศึกษาขางตนอาจ เนื่องจากเกณฑในการคัดเลือกกลุมตัวอยางที่ตางกัน รวมถึงความแตกตางของสถานที่เก็บขอมูล ผลการศึกษาลาสุดของ Steward และคณะ (ค.ศ. 2011) ที่สอบถามความเห็นของผูปวยที่ไดรับบริการสั่ง จายยาโดยเภสัชกรในสถานบริการปฐมภูมิและรานยาพบวาผูปวยสวนใหญพึงพอใจกับบริการของเภสัชกร และ มั่นใจวาการสั่งจายยาโดยเภสัชกรปลอดภัยไมตางจากแพทย ผูปวยบางสวนยังคงตองการปรึกษาแพทยหาก พบวาอาการแยลง อยางไรก็ตามแมวาการศึกษาดังกลาวจะมีอัตราการตอบกลับแบบสอบถามจากผูปวยสูง (73.4%) แตจํานวนผูปวยที่ทําการสํารวจที่คอนขางนอย (143 คน) อาจไมสามารถเปนตัวแทนของผูปวยที่ไดรับ บริการสั่งจายยาโดยเภสัชกรทั้งหมดได สําหรับความเห็นของแพทยตอการใหบริการ supplementary prescribing ของแพทยนั้นพบวาแพทยให การยอมรับบริการดังกลาวของเภสัชกร ทั้งนี้ตองอยูภายใตเงื่อนไขและแนวทางที่มีการตกลงรวมกันอยางชัดเจน นอกจากนี้แพทยยังแสดงความกังวลตอการพัฒนาบทบาทของเภสัชกรในการใหบริการ independent prescribing แมวาจะเปนเพียงการใหบริการในภาวะที่ไมซับซอนเชน การสั่งจายยาบรรเทาปวด หรือการเปลี่ยน ยาปฏิชีวนะจากการใหทางหลอดเลือดดํามาเปนแบบรับประทาน (Bukley และคณะ, ค.ศ. 2006) ผลจากการทํา สนทนากลุม (focus group) แพทยและเภสัชกรที่เกี่ยวของพบวาเหตุผลหลักที่แพทยไมสนับสนุนการพัฒนา บทบาทของเภสัชกรในการใหบริการ independent prescribing คือการขาดทักษะในการวินิจฉัยโรคของเภสัชกร (Lloyd และคณะ, ค.ศ. 2010) 2.5.5 การศึกษาผลการใหบริการ enhanced services: บริการอื่นๆ การศึกษาผลการใหบริการ enhanced services อื่นๆ ไดแก การศึกษาการใหบริการยาคุมกําเนิดฉุกเฉิน (Emergency Hormonal Contraception: EHC) ในพื้นที่ชนบท (Lloyd และคณะ, ค.ศ. 2005) ที่แสดงใหเห็นวา