SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 23
Baixar para ler offline
5




                                             บทที่ 2

                                      เอกสารที่เกี่ยวข้ อง

ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (               WebBlog) ด้วย Wordpress
เรื่ อง คอมพิวเตอร์กราฟฟิ กนี้ ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
                                 ้ั
ดังต่อไปนี้

         2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต
         2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media
         2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)


2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต
 ปัจจุบนเป็ นที่ยอมรับแล้วว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology หรื อ IT) ได้
       ั
เจริ ญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ ว และมีบทบาทสาคัญในด้านต่างๆ อย่างกว้างขวาง ทั้งทางด้าน
เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การบริ การสังคม สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านการศึกษา ซึ่งการมี
บทบาทสาคัญนี้อาจกล่าวได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หรื อไอทีน้ นเปรี ยบเหมือนเครื่ องจักรที่
                                                          ั
สามารถรองรับข้อมูลข่าวสารมาทาการประมวลผล และการแสดงผลตามที่ตองการได้รวดเร็ ว โดย
                                                            ้
อาศัยองค์ประกอบอื่นๆ ช่วยในการจัดการ ได้แก่ โปรแกรมปฏิบติการ โปรแกรมชุดคาสังต่างๆ
                                                       ั                   ่
และที่สาคัญคือ ผูที่จะตัดสินใจหรื อสังการให้ทางานได้ถกต้องตามเป้ าหมาย ซึ่งได้แก่ บุคคลที่
                 ้                   ่               ู
เกี่ยวข้อง เช่น ผูใช้ ผูบริ หาร และผูชานาญการ หรื อนักเทคโนโลยีสารสนเทศโดยตรง
                  ้ ้                ้
6




2.2 ข้ อมูลเกี่ยวกับสื่ อสั งคม Social Media
        2.2.1 ความหมายของ Social Media




SMO คือ แนวทางเกี่ยวกับ social media ที่ต้งใจจะดึงดูดความสนใจผูท่ีมาชมเว็บไซต์ ไม่วาจะเป็ น
                                          ั                    ้                   ่
การไป Bookmark เอาไว้, Share Link หรื อว่าส่งลิงค์ให้กบเพื่อนๆ, การเพิ่ม RSS Feeds การเข้าไป
                                                      ั
คอมเม้นต์ในบล็อกของคนอื่นๆ หรื อว่า เขียนบทความในบล็อกต่างๆ ของตัวเอง (ทั้งสิ่งที่เห็นด้วย
หรื อไม่เห็นด้วย) เพื่อที่จะนาไปต่อยอดทางความคิด จากบทความของเรา โดยที่คนเขียนบทความ
ต่างๆ ในกลุ่มพวกนี้ ก็มกจะมีพวกแฟนพันธุแท้ หรื อที่เรี ยกว่า Followers ที่มกจะเข้ามาตามอ่าน
                       ั               ์                                   ั
บทความในสิ่งที่คนเหล่านี้เขียนถึงอยูเ่ สมอๆ ทาให้เว็บไซต์ของเรา สร้างลิงค์เชื่อมกับ Social
network ได้ง่ายขึ้น, ถูกค้นเจอง่ายขึ้นใน Search engine ที่เจาะจงใช้เพื่อค้นหา Social media (เช่น
Technorati) และเพื่อให้บล็อกเกอร์อื่นๆ อ้างถึงบ่อยขึ้นในบล็อก, พอดคาสท์ หรื อ วิดีโอบล็อก
(vlogs) ของเขา เพราะฉะนั้นจะเห็นได้ว่า บทความหรื อว่าเรื่ องที่จะเขียนถึง นั้น ถือว่าเป็ น
ส่วนประกอบที่สาคัญมากที่สุดในเรื่ องของ SMO

SMO คือ 1 ใน 2 วิธีการออนไลน์ของการปรับแต่งเว็ปไซต์ อีกวิธีหนึ่งก็คือ SEO
7




2.2.2 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media
                 ทุกวันนี้อาจกล่าวได้ว่า Social Media คือกระแสความนิยมอย่างกว้างขวาง และใน
2551 ที่ผานมา Social Media ก็ได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า Social Media ไม่ได้จากัดวงอยูเ่ ฉพาะใน
         ่
กลุ่มวัยรุ่ น แต่นกธุรกิจและมืออาชีพแขนงต่างๆ ได้หนไปใช้ Social Media มากขึ้น ทาให้ Social
                  ั                               ั
Media กลายมาเป็ นสื่อในสังคมออนไลน์ที่มีอิทธิพลอย่างมาก จากรายงาน The Wave 3 Report ของ
Universal Maccan (www.universalmccann.com) แสดงว่า Social Media เป็ นสื่อที่มีอิทธิพลต่อแบ
รนด์และ ภาพลักษณ์ขององค์กรธุรกิจอย่างมาก เพราะผูใช้สื่อ Social Media นิยมโพสต์แสดงความ
                                                ้
คิดเห็นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และ แบรนด์ ผ่านบล็อก หรื อ ในกลุ่มสังคมออนไลน์ของตน นอกจากนี้
การวิจยยังแสดงให้เห็นว่าผูใช้อินเตอร์เน็ต มีทศนคติในนเชิวบวกต่อบริ ษทหรื อองค์กรที่สร้าง
      ั                   ้                  ั                      ั
บล็อกเป็ นของตนเอง

จากบรรดาสื่อต่างที่ใช้ในกลุ่มสังคมออนไลน์น้ นตามรายงานของ Universal McCann พบว่า วิดีโอ
                                            ั
ออนไลน์ได้รับความนิยมเป็ นอันดับหนึ่ง โดยคาดว่าจะมีผใช้งานวิดีโอออนไลน์ถึง 394 ล้านราย
                                                    ู้
ในขณะที่ 346 ล้านรายอ่านบล็อก 321 ล้านรายอ่านบล็อกส่วนบุคคล 307 ล้านรายเข้าเยียมชมกลุ่ม
                                                                              ่
สังคมของเพื่อนฝูง และ 303 ล้านรายส่งต่อหรื อแบ่งปันวิดีโอคลิปออนไลน์ พัฒนาการที่รวดเร็ ว
ของ Social Media ส่งผลให้การสร้างบล็อก การส่งต่อรู ปภาพ หรื อ วิดีโอคลิป เป็ นเรื่ องปกติ และ
ทุกวันนี้ นักการเมือง บุคคลที่มชื่อเสียง แบรนด์ต่างๆ หรื อแม้แต่สมาชิกในครอบครัวต่างก็มีกลุ่ม
                               ี
หรื อสื่อ Social Media ของตนเอง ด้วยเหตุน้ ีสื่อรุ่ นเก่าจึงต้องเร่ งปรับตัวและหันมาพึ่งใช้ Social
Media เป็ นช่องทางเสริ มในการกระจายเนื้อหาหรื อข่าวสารของตน
8




เมื่อพิจารณาจากรายงาน 20 อันดับ Social Media ยอดฮิตของโลก ที่ ComScore
(www.comscore.com) ทาไว้ พบว่า Bloger ยังคงความเป็ นผูนาด้วยยอดผูเ้ ข้าใช้ว่า 222 ล้านรายทัว
                                                      ้                                    ่
โลกในเดือนพฤศจิกายน ที่ผานมา ตามมาด้วย Facebook ที่ไล่มาติดๆ และแรงสุดๆ ด้วยจานวนผูใช้
                        ่                                                          ้
200 ล้านราย ส่วนอันดับต่อมาคือ MySpace ด้วยยอดผูใช้ 126 ล้านราย Wordpress 114 ล้านราย
                                                ้
Windows Live Spaces 87 ล้านราย ส่วนอันดับ 6-10 ได้แก่ Yahoo Geocities (69 ล้านราย) Flickr
(64 ล้านราย) hi5 (58 ล้านราย) Orkut (46 ล้านราย) และ Six Apart (46 ล้านราย)

ที่น่าแปลกใจก็คือตลาดเอเชีย เป็ นตลาดที่มีการเติบโตของ Social Media สูงกว่าทวีปอื่นๆ
โดยเฉพาะประเทศจีน นั้นถือเป็ นสังคมบล็อกเกอร์ที่ใหญ่ที่สุดในลกด้วยยอดผูใช้กว่า 42 ล้านราย
                                                                       ้
มากกว่ายุโรปตะวันตกและสหรัฐอเมริ การวมกันเสียอีก

มร. แบรี่ เฮิร์ด (www.123socialmedia.com) เชื่อว่าปัจจัยที่ผลักดันให้ Social Media เติบโตอย่าง
รวดเร็ วนั้นเป็ นเพราะความง่ายในการเข้าถึงสื่ออินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะอินเตอร์เน็ตความเร็ ว
สูง ขณะเดียวกันก็ยงเป็ นผลมาจาก ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดาน Social Media และ
                  ั                                      ้
เทคโนโลยีไร้สาย อาทิ โทรศัพท์เคลื่อนที่ PDAs หรื อเครื่ องเล่นเกมส์แบบพกพาต่างๆ

ผลจากการศึกษายังพบด้วยว่า ผูใช้ส่วนใหญ่จะเข้าร่ วมในสังคมเครื อข่ายโดยเฉลี่ย 3-5 เครื อข่าย
                            ้
ดังนั้นนักธุรกิจรายใดที่คิดว่า “ธุรกิจของฉันไม่ได้เน้นด้านออนไลน์” อาจจะต้องคิดใหม่ เพราะ ไม่
ว่าธุรกิจของคุณจะเกี่ยวข้องกับระบบออนไลน์หรื อไม่ก็ตาม แต่ธุรกิจของคุณจะเกี่ยวพันกับ
เครื อข่ายในสังคมออนไลน์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะลูกค้าของคุณ คู่คาของคุณ แม้แต่เพื่อนฝูง
                                                                    ้
หรื อ คนในองค์กรของคุณได้เข้าไปมีบทบาทหรื อเป็ นส่วนหนึ่งของกลุ่มสังคมออนไลน์ ซึ่งมีความ
เป็ นไปได้สูงที่การสนทนาในบางครั้งอาจจะโยงใยเข้ามาถึงธุรกิจของคุณได้ นันหมายถึงว่า บริ ษท
                                                                       ่                ั
ที่ไม่ได้พิจารณา หรื อ ผนวก Social Media ไว้เป็ นส่วนหนึ่งในกลยุทธ์การตลาดออนไลน์ หรื อ
แผนการตลาดรวม กาลังเสียโอกาสในการเข้าถึงลูกค้าไปอย่างน่าเสียดาย
9




จากการวิจยร่ วมระหว่าง OTX (www.otxresearch.com) และ DEI Worldwide
         ั
(www.deiworldwide.com) พบว่า จากความนิยมที่แพร่ หลายของ Social Media นีเอง ทาให้ Social
Media กลายมาเป็ นแหล่งข้อมูลสาคัญของผูบริ โภค โดยพบว่า ผูบริ โภคส่วนใหญ่จะข้อหาข้อมูล
                                      ้                  ้
ผลิตภัณฑ์ หรื อ สินค้ายีหอต่างๆ จากเว็ปไซต์ Social Media ไปพร้อมๆ กับหาข้อมูลโดยตรงจากเว็ป
                        ่ ้
ไซต์ของบริ ษทผูผลิต โดยผูบริ โภค 7 ใน 10 ราย จะเข้าไปหาข้อมูลในเว็ปไซต์ Social Media ต่างๆ
            ั ้          ้
อาทิ เว็ปบอร์ด กลุ่มชุมชนออนไลน์ หรื อ บล็อกต่างๆ เพื่อหาข้อมูล นอกจากนี้ เถือบครึ่ ง (49%)
ของผูบริ โภคจะตัดสินใจซื้อจากข้อมูลที่ได้จาก Social Media เหล่านี้
     ้

ความนิยมของ Social Media ไม่เพียงแต่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านความสัมพันธ์ระหว่างแบ
รนด์และผูบริ โภคเท่านั้น แต่ยงมีผลต่อมาตรวัดความสาเร็ จด้านการตลาดและการประชาสัมพันธ์
         ้                   ั
ของภาคธุรกิจอีกด้วย ดังนั้นจึงไม่ใช่เป็ นเรื่ องน่าแปลกใจที่องค์กรธุรกิจต่างๆ จะหันมาให้ความ
สนใจกับ Social Media Marketing มากขึ้น โดยรายงานล่าสุดของ eMarketer
(www.emarketer.com) ชี้ให้เห็นว่า บริ ษทส่วนใหญ่ควรที่จะต้องเข้าไปมีบทบาท และ สื่อสารกับ
                                       ั
กลุ่มสังคมในชุมชนออนไลน์เป็ นประจา แน่นอนว่าในขณะนี้ บริ ษทหลายๆ แห่งได้ตระหนักถึง
                                                          ั
ความสาคัญของ Social Media เพราะเล็งเห็นว่าเป็ น Social Media เป็ นเครื่ องมือการตลาดที่ระหยัด
แต่มีประสิทธิภาพในการขายและประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์และบริ การของตนสู่ผบริ โภค
                                                                    ู้
โดยเฉพาะอย่างยิงในภาวะเศรษฐกิจถดถอยที่งบประมาณการตลาดค่อนข้างจากัด อย่างไรก็ดี การ
               ่
ทาการตลาดผ่าน Social Media ไม่ใช่เรื่ องง่าย ถึงแม้จะมีบริ ษทหลายรายที่ประสบความสาเร็ จ แต่ก็
                                                            ั
มีอีกหลายรายที่ลมเหลว หรื อกลายเป็ นผูตองหาของกลุ่มสังคมออนไลน์ไปเลยก็มี
                ้                     ้้

ตัวอย่างหนึ่งของบริ ษทที่ประสบความสาเร็ จ ใน การใช้ Social Media เห็นจะได้แก่ Blendtec ที่ทา
                     ั
คลิปวิดีโอซีรี่ส์ “Will It Blend” หรื อ “ปั่นได้ไหม?” เข้าไปไว้ใน YouTube ดาเนินเรื่ องโดย มร.
ทอม ดิกสัน CEO ของ Blendtec ที่พยายามจะนาทุกอย่างเข้าเครื่ องปั่นของเขา รวมถึง iPhone มือถือ
ยอดฮิต เพื่อพิสูจน์ว่า “ปั่นได้ไหม?” ผลที่ตามมาคือ วิดีโอชุดนี้กลายเป็ น สื่อการตลาดต้นทุนต่า ที่
10




ประสบความสาเร็ จอย่างสูงในโลกออนไลน์ และส่งผลให้ยอดขายของบริ ษทเพิ่มขึ้นไปถึงห้าเท่าตัว
                                                              ั


อึกตัวอย่างที่น่าสนใจคือกรณี ของ IBM ที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์เข้าจับกระแส Social Media ฟี เว่อร์
ได้เป็ นอย่างดี กล่าวคือ แทนที่ IBM จะสร้างบล็อกขึ้นมาเพียงหนึ่งบล็อกเหมือนบริ ษททัวไป IBM
                                                                                ั
กลับสร้างเครื อข่ายของบล็อกขึ้นโดยเปิ ดโอกาสให้พนักงานของตน ที่ต่างก็เป็ นยอดฝี มือในแวดวง
คอมพิวเตอร์ สร้างบล็อกของตัวเองขึ้นมา เขียนเล่าถึงประสบการณ์ ถึงงานที่กาลังทา หรื อเรื่ อง
อะไรก็ได้ตามใจชอบ ผลที่ตามมาคือบล็อก IBMer ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง และเป็ น
เครื่ องมือสาคัญที่ช่วยเชื่อมโยง IBM เข้ากับกลุ่มลูกค้า อีกทั้งยังเป็ นเครื่ องแสดงเจตนารมณ์ที่บริ ษท
                                                                                                    ั
มีต่ออุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ได้เป็ นอย่างดี

“ถึงแม้ Social Media จะเป็ นสื่อยอดนิยม แต่ตองไม่ลืมว่า Social Media Marketing ยังเป็ นเรื่ องที่
                                            ้
ค่อนข้างใหม่ และ เป็ นเรื่ องที่นกการตลาดยังต้องเรี ยนรู้อยูตลอดเวลา” ทั้งนี้จากคากล่าวของ นาย
                                 ั                          ่
ศิระพัฒน์ เกตุธาร กรรมการผูจดการ บริ ษท สป็ อตมาร์ก จากัด ผุจดงาน Internet Marketing
                           ้ั         ั                     ้ั
Conference 2009 Bangkok ระหว่างวันที่ 20-21 พฤษภาคม 2552 ณ โรงแรมโฟร์ซีซนส์ กรุ งเทพฯ
                                                                        ั

นายศิระพัฒน์กล่าวต่อว่า “แต่ดวยเหตุที่ Social Media ได้เข้ามามีบทบาทต่อสังคมผูบริ โภคเพิ่มมาก
                             ้                                                ้
ขึ้นเรื่ อยๆ ความท้าทายของนักการตลาดก็ คือจะตอบสนองกระแสดังกล่าวได้อย่างไร และจะใช้
Social Media เป็ นเครื่ องมือในการสร้างภาพลักษณ์ของแบรนด์ หรื อ การมีส่วนร่ วมในสังคม
ออนไลน์อย่างไรจึงจะประสบความสาเร็ จสูงสุด ภายในงาน Internet Marketing Conference
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้าน Social Media Marketing จะมุ่งเน้นใน 2 ประเด็นหลักที่นกการตลาดอยากรู้ คือ การ
                                                                       ั
วัดผลกระทบของ Social Media และ การวางแผนกลยุทธ์ดาน Social Media Marketing รวมไปถึง
                                                ้
ผลดีและผลเสียที่เกียวข้องกับ Social Media รู ปแบบต่างๆ”
11




นอกจาก Social Media Marketing งาน Internet Marketing Conference 2009 Bangkok ยังจะ
ครอบคลุมไปถึงเครื่ องมือการตลาดออนไลน์ที่กาลังอยูในความสนใจอื่นๆ อาทิ Search Engine
                                                 ่
Markeitng, E-mail Marketing, eCRM, eBranding และ Online Marketing Research สาหรับท่านที่
สนใจสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.sptmrk.com หรื อ ติดต่อ บริ ษท สป็ อตมาร์ก จาดัด ที่
                                                                       ั
02 978 2519 หรื อ info@sptmrk.com

2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ ที่ให้ บริการ Social Media
                เว็บไซต์ ที่ให้บริ การ Social Network หรื อ Social Media

Google Group – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking




-

Wikipedia – เว็บไซต์ในรู ปแบบข้อมูลอ้างอิง
12




-

MySpace – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking




-

Facebook -เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking
13




-

MouthShut – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Product Reviews




-

Yelp – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Product Reviews
14




-

Youmeo – เว็บที่รวม Social Network




-

Last.fm – เว็บเพลงส่ วนตัว Personal Music
15




-

YouTube – เว็บไซต์ Social Networking และ แชร์วดีโอ
                                              ิ




-

Avatars United – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking
16




-

Second Life – เว็บไซต์ในรู ปแบบโลกเสมือนจริ ง Virtual Reality




-

Flickr – เว็บแชร์รูปภาพ
17




2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)
         2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog)
                  เว็บบล็อก (Weblog) เป็ นคาที่มาจากคาว่า เว็บ (Web) กับคาว่า บล็อก (Blog)
รวมกันเรี ยกว่าเว็บบล็อก ความหมายของเว็บบล็อกคือ เครื่ องมือสื่อสารที่ใช้งานบนเว็บไซต์มี
ลักษณะเหมือนกับ เว็บบอร์ด แต่เน้นการใช้งานไปที่การบันทึกเรื่ องราวหรื อข้อมูลส่วนตัว
เหมือนกับไดอารี่ จะแสดงข้อมูลในลักษณะที่เป็ นหัวข้อประกอบบทคัดย่อ แต่จะดีกว่าไดอารี ที่
เขียนด้วยมือ ก็คือเป็ นเว็บที่สามารถเชื่อมโยงไปหาบทความที่เว็บไซด์อื่น และเปิ ดรับความเห็นจาก
ผูอื่นได้ดวยโดยทัวๆไปแล้ว คุณสมบัติของบล็อก ก็คือ 1 มีการจัดหัวข้อของเนื้อหา บทความ โดย
  ้       ้      ่
ให้เรื่ องใหม่สุดอยูดานบนสุด มักจะจัดกลุ่มเรื่ องแบบเดียวกันไว้ดวยกัน 2 มีการเก็บสะสมบทความ
                    ่ ้                                         ้
อย่างเป็ นระบบต่อเนื่องกัน 3 ผูอ่านบทความนั้นๆ สามารถแสดงความเห็นได้ 4 มีลิสต์ของ link ไป
                               ้
เว็บหรื อบล็อกที่มีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องกัน หรื อที่เราเรี ยกว่า blogroll เนื้อหาของบล็อก เนื้อหาของ
บล็อกก็เป็ นไปตามประเภทของบล็อก แต่ไม่ว่าจะเป็ นบล็อกแบบไหนก็ตาม ควรจะมีการอัพเดท
บ่อยๆ มีอะไรใหม่ๆ ให้คนอยากมาเยียมชม
                                ่
18




2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก
                          บล็อกมีดวยกันหลายชนิด แต่ละชนิดมีขอมูลที่แตกต่างกันไปทั้งผูเ้ ขียน
                                  ้                         ้
และผูเ้ ข้าชม โดยบล็อกจะเน้นไปที่เรื่ องต่างๆ เช่น learner blogs, political blogs, travel blogs,
fashion blogs, project blogs,legal blogs และอื่นๆบล็อกที่เราเห็นอยูในปัจจุบนนี้ ใช่มเี พียงแค่บล็อก
                                                                   ่       ั
ที่เป็ นตัวหนังสือและรู ปภาพเท่านั้น หรื อ มีแค่ออนไลน์ไดอารี่ เราแบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้

1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่

        1.1. Linklog บล็อกแบบเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ ที่รวมลิ๊งก์ที่เจ้าของบล็อกสนใจเอาไว้ แม้ว่า
จะบล็อกแบบนี้จะเป็ นการรวมลิ๊งก์เท่านั้น แต่ก็ไม่เรี ยงเหมือนว็บไดเร็ กทอรี่ เพราะเจ้าของบล็อกจะ
โพสต์ลิ๊งก์ของเขา 1 – 2 ลิ๊งก์ต่อโพสต์เท่านั้น

        1.2 Photoblog บล็อกประเภทนี้เน้นโพสต์ภาพถ่ายที่เจ้าของบล็อกอยากนาเสนอ และมักจะ
ไม่เน้นเขียนข้อความมากนัก

        1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่
เรี ยกได้ว่าเป็ นบล็อกที่นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติบโตของไฮสปี ด อินเตอร์เน็ต
หรื อ อินเตอร์เน็ตบอร์ดแบนด์ ที่ทาให้การถ่ายทอดเสียง ภาพเคลื่อนไหว movie



2.แบ่งตามประเภทเนื้อหา ได้แก่

        2.1 บล็อกส่วนตัว( Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็น กิจวัตรประจาวันของเจ้าของ
บล็อกเป็ นหลัก

        2.2 บล็อกข่าว(News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าวเป็ นหลัก

        2.3 บล็อกกลุ่ม(Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม เช่น blognone.com

        2.4 บล็อกการเมือง(Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมืองล้วน ๆ
19




         2.5 บล็อกเพื่อสิ่งแวดล้อม(Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษา
สิ่งแวดล้อม

         2.6 มีเดียบล็อก( Media Blog) เป็ นบล็อกที่วิเคราะห์สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่งที่เกี่ยวกับสื่อ
เช่น oknation.net/blog/black ของสุทธิชย หยุน
                                      ั ่

         2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และ
จอเงิน เรื่ องซุบซุดารา กองถ่าย ฯลฯ

         2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ
มักจะใช้บล็อกเป็ นสื่อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน

         2.9 ติวเตอร์บล็อก(Tutorial Blog) เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง



3.แบ่งตามรู ปแบบของเนื้อหาเฉพาะที่เห็นเด่นชัด

         3.1 Filter Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอแหล่งข้อมูลที่ตนสนใจ (เว็บเพจ
                                       ู้ ั
หรื อเว็บไซต์) โดยปกติมกจะเป็ นข่าว บทความ หรื อความคิดเห็นของบุคคลในวงการที่เผยแพร่ ใน
                       ั
เว็บไซต์ต่าง ๆ อาจเรี ยกได้ว่า เป็ น บล็อก “Bookmark” หรื อ มีชื่อเฉพาะ ว่า Social Bookmarkบล็อก
ลักษณะนี้ จะนาเสนอแค่หวข้อเรื่ อง และ URL ของเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ บางทีอาจเพิ่มคาอธิบายเว็บ
                      ั
เพจหรื อเว็บไซต์น้ น ๆ ได้ดวย และบางที่อาจจะสามารถเพิ่มความคิดเห็นของผูจดทาบล็อกได้อีก
                   ั       ้                                           ้ั
ด้วย เป็ นเหมือนการกลันกรองข้อมูลให้ทราบว่าเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ใดกาลังได้รับความนิยม ซึ่งจะ
                      ่
เป็ นการช่วยจัดลาดับความน่าเชื่อถือของเว็บเพจหรื อเว็บไซต์น้ น ๆ ได้เช่นกัน ตัวอย่างบล็อก
                                                             ั
ลักษณะนี้ได้แก่ http://del.icio.us/ เป็ นต้น

         3.2 Personal Journal Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอความคิดเห็นหรื อ
                                                 ู้ ั
ประสบการณ์ของตนเองผ่านข้อเขียน โดยอาจจะมีภาพประกอบ หรื อมีการเชื่อมโยงออกไปยัง
เว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อให้ขอมูลดูน่าเชื่อถือหรื อมีความน่าสนใจมากยิงขึ้น ซึ่งบล็อกลักษณะนี้ เป็ น
                        ้                                       ่
20




บล็อกตามความเข้าใจของบุคคลทัวไป ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.exteen.comหรื อ
                            ่
http://www.blogger.com เป็ นต้น

        3.3 Photo Blog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บภาพ (ภาพถ่าย , ภาพวาด ฯลฯ) และสามารถใส่
รายละเอียดของภาพ ใส่คาค้น ( tag) ได้ ทาให้การเก็บภาพเป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหามากขึ้น
ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.flickr.com เป็ นต้น

        3.4 Video Blog หรื อ เรี ยกว่า Vlog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บวีดิทศน์ส่วนตัว สามารถใส่
                                                                           ั
รายละเอียดของวีดิทศน์ ใส่คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บวีดิทศน์เป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหา
                  ั                                       ั
มากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่http://www.aolvideoblog.com เป็ นต้น

        3.5 บล็อกผสม มีลกษณะเป็ นบล็อกที่สามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้หลายประเภท ทั้งเก็บ
                        ั
รู ปภาพ เก็บเพลง เก็บวีดิโอ เก็บลิงค์ (link) ต่าง ๆ หรื อบันทึกประจาวัน และใส่ปฏิทินรายการงานที่
ต้องทา ฯลฯ ได้ดวย ปัจจุบนเป็ นบริ การที่ได้รับความนิยมสูงมาก โดยมีชื่อเฉพาะด้วย เรี ยกว่าSocial
               ้        ั
Network Service ซึ่งนอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อให้สมาชิกแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ กันแล้ว ก็ยงมี
                                                                                        ั
จุดประสงค์หลักเพื่อการค้นหาและสะสมเพื่อนจากทัวโลก ตัวอย่าง Social NetworkingWebsites ซึ่ง
                                             ่
ให้บริ การลักษณะนี้ ได้แก่ http://hi5.com หรื อ http://multiply.com หรื อhttp://spaces.live.com เป็ น
ต้น (ซึ่ งปัจจุบน คาว่า blog ใน Social Networking Websites นั้นจะกลายเป็ นแค่ส่วนที่ใช้เขียน
                ั
ข้อความเช่นบันทึกประจาวันแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และยังอาจใช้คาว่า journal แทนคาว่า blog
ด้วย แต่เนื่องจากบริ การนี้ เป็ นการรวมเอาบล็อกลักษณะต่าง ๆที่เคยมี มาอยูในที่เดียว ทาให้
                                                                         ่
ผูใช้งานได้รับความสะดวกสบายมากยิงขึ้น เพราะเพียงแค่เปิ ดใช้บริ การที่เดียว ก็ได้ใช้บริ การ
  ้                             ่
ครบถ้วน ไม่ตองเสียเวลาไปสมัครใช้งานจาก เว็บไซต์หลายที่ให้จดจายากอีกด้วย)
            ้

ตัวอย่างเว็บบล็อก

1.Bloggang
21




แหล่งชุมชน ชาวบล็อก ที่ชอบ สิงสถิตย์ ในเว็บ พันธุทิพย์ มีเว็บ บล็อกมากที่สุดในเวลานี้ แบ่งเป็ น
                                                 ์
หมวดหมู่ หลากหลายประเภท

2 .Gotoknow




บล็อกชุมชน ของ สถาบัน ส่งเสริ ม การจัดการ ความรู้ เพื่อสังคม มีคณาจารย์ และ ผูชานาญการ
                                                                              ้
ร่ วมกัน มาเขียนบล็อก ถ่ายทอดวิชา

3. DiaryHub




แหล่งชุมชน นักเขียนไดอารี แห่งแรก ของประเทศไทย

 4. Blogger




ต้นกาเนิด เว็บบล็อก ต่างประเทศ ที่มีคนใช้มากที่สุด ในโลก

5. OKnation BLog




บล็อกนักข่าวอาสาสมัคร ของ เดอะเนชัน รายงานข่าว เกาะติด สถานการณ์ ทุกเรื่ องราวในสังคม
                                  ่
22




6. Exteen




ชุมชน บล็อกวัยทีน หน้าตา น่ารัก น่าใช้ เขียนง่าย สมัครฟรี เป็ นที่นิยม ในหมู่วยรุ่ น วัยมัน พันธุ์
                                                                              ั
ใหม่

7. Window Live Spaces




เว็บสเปซ ของค่ายไมโครซอฟท์ ที่ชาว msn นิยมเล่น

8. Keng




บล็อกเก่ง เป็ น Event Blog นาเสนอ ความรู้ เรื่ องราวต่างๆ เกี่ยวกับ Blog




9. Bird FC




เว็บสาหรับ แฟนคลับ เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย นักร้องซูเปอร์สตาร์
23




10. คาราบาว




โฮมเพจ คาราบาว เว็๋บไซต์ วงดนตรี เพื่อชีวิต อันโด่งดังตลอดกาล

11. tureLife




ชุมชนบล็อกแห่งใหม่ ของ คน รุ่ นใหม่ ที่ตองการสิ่งใหม่ๆ
                                        ้

12. DiaryClub




รวมบล็อกคนไทย แบ่งเป็ นกลุ่ม มี ทั้ง คลิปวิดีโอ ข่าว บันเทิง ฯลฯ

13. M Blog



เว็บบล็อก ของผูจดการ เปิ ด มิติใหม่ ให้ โอกาสให้ ผูเ้ ขียน บล็อก ก้าวสู่ การเป็ น เจ้าของ หนังสือที่
               ้ั
ตัวเอง เขียนขึ้น จากบล็อก สู่ บุ๊ค

14. Yahoo Geocities
24




สุดยอดของฟรี ที่ให้บริ การ พื้นที่ สร้างโฮมเพจฟรี ที่ใครๆก็เคยใช้

15. โชว์เด็ด




บล็อกวาไรตี้ ที่ให้คุณ แสดงภาพ หรื อ คลิปวิดีโอ แสดงความคิด ตาม ต้องการ และถ้าบล็อกใด โชว์
เด็ด โชว์ดี มีรางวัลให้

16. StoryThai




ศูนย์รวม ของ ผูรัก การอ่าน และ เขียน ถ่ายทอด เรื่ องราว
               ้

17. Mthai Blog




ชุมชนบล็อกวาไรตี้ ที่มี คนเข้ามา ใช้ บริ การมากแห่งหนึ่ง

18. Sanook Blog




ชุมชนบล็อกแห่งใหม่ ของ คน รุ่ นใหม่ ที่ตองการสิ่งใหม่ๆ
                                        ้

19. Technorati
25




รวบรวม ค้นหา Blog จากทัวโลก แบ่งแยกเป็ นหมวดหมู่ จัดอันดับ
                       ่




20. ThaiBlog




สารบัญบล็อกไทย รวบรวมบล็อก ดีๆ สาหรับคนไทย แบ่งเป็ นหมวดหมู่




2.3.3 เว็บไซต์ ที่ให้ บริการเว็บบล็อก
www.blogger.com

www.exteen.com

www.mapandy.com

www.buddythai.com

www.imigg.com

www.5iam.com

www.blogprathai.com
26




www.ndesignsblog.com

www.idatablog.com

www.inewblog.com

www.onblogme.com

www.freeseoblogs.com

www.sumhua.com

www.diaryi.net

www.istoreblog.com

www.skypream.com

www.thailandspace.com

www.sungson.com

www.gujaba.com

www.sabuyblog.com

www.ugetblog.com

www.jaideespace.com

www.maxsiteth.com

www.my2blog.com
27




          2.3.4 ประวัติของเว็บไซต์ Wordpress
          ความเป็ นมาของ wordpres เริ่ มจาก B2 หรื อ cafelog คือผูที่ให้กาเนิดการทางานของเว็บ
                                                                  ้
บล๊อกที่ชื่อว่า wordpress ได้การผลิตบล็อกชนิดนี้ข้ ึนครั้งแรกประมาณปี 2003 ตอนนั้นมีบล็อก
wordpress

อยูประมาณ 2000 บล็อก บล็อกที่ชื่อว่า wordpress นี้ เขียนด้วยภาษา PHP เพื่อที่จะใช้กบ MySQL
   ่                                                                               ั
โดยผูเ้ ขียน wordpress ก็คือ Michel Valdrighi เป็ นผูร่วมพัฒนา wordpress ตอนนั้น wordpress ยังอยู่
                                                     ้
ใน B2evolution

wordpress ได้ปรากฏสู่โลกในปี 2003 โดยเป็ นความพยายามของ Matt Mullenweg และ Mike little

ในปี 2004 ได้ถกเปลี่ยนแปลงโดย six apart ทาให้มีผงาน wordpress จานวนมากขึ้น และเริ่ มก่อเกิด
              ู                                 ู้
แบรนด์ wp หรื อ wordpress ขึ้นมาและมีการใช้งานมากขึ้นและการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนมาถึง
ปัจจุบน
      ั

ในปี 2007 wordpress ได้รับรางวัลชนะเลิศในเรื่ องของ Packt open source CMS award

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2teeraratWI
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPoonyapat Wongpong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2She's Ning
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKot สุรศักดิ์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างShe's Ning
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างKanistha Chudchum
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องSirintip Kongchanta
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องSupaporn Pakdeemee
 

Mais procurados (15)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Destaque (20)

English vi ipresentation
English vi ipresentationEnglish vi ipresentation
English vi ipresentation
 
Dia de la
Dia de laDia de la
Dia de la
 
5.5 notes
5.5 notes5.5 notes
5.5 notes
 
Israel...More than a Pilgrimage
Israel...More than a PilgrimageIsrael...More than a Pilgrimage
Israel...More than a Pilgrimage
 
Film lessons
Film lessonsFilm lessons
Film lessons
 
T1
T1T1
T1
 
5.8 notes
5.8 notes5.8 notes
5.8 notes
 
Country Report Canada
Country Report CanadaCountry Report Canada
Country Report Canada
 
Redbull
RedbullRedbull
Redbull
 
Dia de la
Dia de laDia de la
Dia de la
 
Modern Latin America
Modern Latin AmericaModern Latin America
Modern Latin America
 
Nghichlycuacuocdoi
NghichlycuacuocdoiNghichlycuacuocdoi
Nghichlycuacuocdoi
 
Parallel Session 1.6.1 Managed Clinical Networks and Quality Improvement: A D...
Parallel Session 1.6.1 Managed Clinical Networks and Quality Improvement: A D...Parallel Session 1.6.1 Managed Clinical Networks and Quality Improvement: A D...
Parallel Session 1.6.1 Managed Clinical Networks and Quality Improvement: A D...
 
9.3 notes
9.3 notes9.3 notes
9.3 notes
 
5.1 notes
5.1 notes5.1 notes
5.1 notes
 
3.1 notes
3.1 notes3.1 notes
3.1 notes
 
Wirtualna gra - konkursowa aplikacja na Facebooka
Wirtualna gra - konkursowa aplikacja na FacebookaWirtualna gra - konkursowa aplikacja na Facebooka
Wirtualna gra - konkursowa aplikacja na Facebooka
 
6.8 notes
6.8 notes6.8 notes
6.8 notes
 
Dakota bohan
Dakota bohanDakota bohan
Dakota bohan
 
Sara K Maine Resume
Sara K Maine ResumeSara K Maine Resume
Sara K Maine Resume
 

Semelhante a บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2dargonbail
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2teeraratWI
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKot สุรศักดิ์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องKittipong Suwannachai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรM'suKanya MinHyuk
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องMiw Inthuorn
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct mediapawineeyooin
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างKanistha Chudchum
 

Semelhante a บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 
บทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัยบทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัย
 
แบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่างแบบเสนอโครงร่าง
แบบเสนอโครงร่าง
 

Mais de Tangkwa Tom

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Tangkwa Tom
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Tangkwa Tom
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTangkwa Tom
 
ภาพผนวก
ภาพผนวกภาพผนวก
ภาพผนวกTangkwa Tom
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมTangkwa Tom
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมTangkwa Tom
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Tangkwa Tom
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินงานบทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินงานTangkwa Tom
 
ส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานTangkwa Tom
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินงานบทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินงานTangkwa Tom
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำTangkwa Tom
 

Mais de Tangkwa Tom (11)

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ภาพผนวก
ภาพผนวกภาพผนวก
ภาพผนวก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินงานบทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
 
ส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงานส่วนนำรายงาน
ส่วนนำรายงาน
 
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินงานบทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง

  • 1. 5 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้ อง ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก ( WebBlog) ด้วย Wordpress เรื่ อง คอมพิวเตอร์กราฟฟิ กนี้ ผูจดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ้ั ดังต่อไปนี้ 2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์เน็ต 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.1 ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ต ปัจจุบนเป็ นที่ยอมรับแล้วว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology หรื อ IT) ได้ ั เจริ ญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ ว และมีบทบาทสาคัญในด้านต่างๆ อย่างกว้างขวาง ทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การบริ การสังคม สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านการศึกษา ซึ่งการมี บทบาทสาคัญนี้อาจกล่าวได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หรื อไอทีน้ นเปรี ยบเหมือนเครื่ องจักรที่ ั สามารถรองรับข้อมูลข่าวสารมาทาการประมวลผล และการแสดงผลตามที่ตองการได้รวดเร็ ว โดย ้ อาศัยองค์ประกอบอื่นๆ ช่วยในการจัดการ ได้แก่ โปรแกรมปฏิบติการ โปรแกรมชุดคาสังต่างๆ ั ่ และที่สาคัญคือ ผูที่จะตัดสินใจหรื อสังการให้ทางานได้ถกต้องตามเป้ าหมาย ซึ่งได้แก่ บุคคลที่ ้ ่ ู เกี่ยวข้อง เช่น ผูใช้ ผูบริ หาร และผูชานาญการ หรื อนักเทคโนโลยีสารสนเทศโดยตรง ้ ้ ้
  • 2. 6 2.2 ข้ อมูลเกี่ยวกับสื่ อสั งคม Social Media 2.2.1 ความหมายของ Social Media SMO คือ แนวทางเกี่ยวกับ social media ที่ต้งใจจะดึงดูดความสนใจผูท่ีมาชมเว็บไซต์ ไม่วาจะเป็ น ั ้ ่ การไป Bookmark เอาไว้, Share Link หรื อว่าส่งลิงค์ให้กบเพื่อนๆ, การเพิ่ม RSS Feeds การเข้าไป ั คอมเม้นต์ในบล็อกของคนอื่นๆ หรื อว่า เขียนบทความในบล็อกต่างๆ ของตัวเอง (ทั้งสิ่งที่เห็นด้วย หรื อไม่เห็นด้วย) เพื่อที่จะนาไปต่อยอดทางความคิด จากบทความของเรา โดยที่คนเขียนบทความ ต่างๆ ในกลุ่มพวกนี้ ก็มกจะมีพวกแฟนพันธุแท้ หรื อที่เรี ยกว่า Followers ที่มกจะเข้ามาตามอ่าน ั ์ ั บทความในสิ่งที่คนเหล่านี้เขียนถึงอยูเ่ สมอๆ ทาให้เว็บไซต์ของเรา สร้างลิงค์เชื่อมกับ Social network ได้ง่ายขึ้น, ถูกค้นเจอง่ายขึ้นใน Search engine ที่เจาะจงใช้เพื่อค้นหา Social media (เช่น Technorati) และเพื่อให้บล็อกเกอร์อื่นๆ อ้างถึงบ่อยขึ้นในบล็อก, พอดคาสท์ หรื อ วิดีโอบล็อก (vlogs) ของเขา เพราะฉะนั้นจะเห็นได้ว่า บทความหรื อว่าเรื่ องที่จะเขียนถึง นั้น ถือว่าเป็ น ส่วนประกอบที่สาคัญมากที่สุดในเรื่ องของ SMO SMO คือ 1 ใน 2 วิธีการออนไลน์ของการปรับแต่งเว็ปไซต์ อีกวิธีหนึ่งก็คือ SEO
  • 3. 7 2.2.2 ประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการของ Social Media ทุกวันนี้อาจกล่าวได้ว่า Social Media คือกระแสความนิยมอย่างกว้างขวาง และใน 2551 ที่ผานมา Social Media ก็ได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า Social Media ไม่ได้จากัดวงอยูเ่ ฉพาะใน ่ กลุ่มวัยรุ่ น แต่นกธุรกิจและมืออาชีพแขนงต่างๆ ได้หนไปใช้ Social Media มากขึ้น ทาให้ Social ั ั Media กลายมาเป็ นสื่อในสังคมออนไลน์ที่มีอิทธิพลอย่างมาก จากรายงาน The Wave 3 Report ของ Universal Maccan (www.universalmccann.com) แสดงว่า Social Media เป็ นสื่อที่มีอิทธิพลต่อแบ รนด์และ ภาพลักษณ์ขององค์กรธุรกิจอย่างมาก เพราะผูใช้สื่อ Social Media นิยมโพสต์แสดงความ ้ คิดเห็นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และ แบรนด์ ผ่านบล็อก หรื อ ในกลุ่มสังคมออนไลน์ของตน นอกจากนี้ การวิจยยังแสดงให้เห็นว่าผูใช้อินเตอร์เน็ต มีทศนคติในนเชิวบวกต่อบริ ษทหรื อองค์กรที่สร้าง ั ้ ั ั บล็อกเป็ นของตนเอง จากบรรดาสื่อต่างที่ใช้ในกลุ่มสังคมออนไลน์น้ นตามรายงานของ Universal McCann พบว่า วิดีโอ ั ออนไลน์ได้รับความนิยมเป็ นอันดับหนึ่ง โดยคาดว่าจะมีผใช้งานวิดีโอออนไลน์ถึง 394 ล้านราย ู้ ในขณะที่ 346 ล้านรายอ่านบล็อก 321 ล้านรายอ่านบล็อกส่วนบุคคล 307 ล้านรายเข้าเยียมชมกลุ่ม ่ สังคมของเพื่อนฝูง และ 303 ล้านรายส่งต่อหรื อแบ่งปันวิดีโอคลิปออนไลน์ พัฒนาการที่รวดเร็ ว ของ Social Media ส่งผลให้การสร้างบล็อก การส่งต่อรู ปภาพ หรื อ วิดีโอคลิป เป็ นเรื่ องปกติ และ ทุกวันนี้ นักการเมือง บุคคลที่มชื่อเสียง แบรนด์ต่างๆ หรื อแม้แต่สมาชิกในครอบครัวต่างก็มีกลุ่ม ี หรื อสื่อ Social Media ของตนเอง ด้วยเหตุน้ ีสื่อรุ่ นเก่าจึงต้องเร่ งปรับตัวและหันมาพึ่งใช้ Social Media เป็ นช่องทางเสริ มในการกระจายเนื้อหาหรื อข่าวสารของตน
  • 4. 8 เมื่อพิจารณาจากรายงาน 20 อันดับ Social Media ยอดฮิตของโลก ที่ ComScore (www.comscore.com) ทาไว้ พบว่า Bloger ยังคงความเป็ นผูนาด้วยยอดผูเ้ ข้าใช้ว่า 222 ล้านรายทัว ้ ่ โลกในเดือนพฤศจิกายน ที่ผานมา ตามมาด้วย Facebook ที่ไล่มาติดๆ และแรงสุดๆ ด้วยจานวนผูใช้ ่ ้ 200 ล้านราย ส่วนอันดับต่อมาคือ MySpace ด้วยยอดผูใช้ 126 ล้านราย Wordpress 114 ล้านราย ้ Windows Live Spaces 87 ล้านราย ส่วนอันดับ 6-10 ได้แก่ Yahoo Geocities (69 ล้านราย) Flickr (64 ล้านราย) hi5 (58 ล้านราย) Orkut (46 ล้านราย) และ Six Apart (46 ล้านราย) ที่น่าแปลกใจก็คือตลาดเอเชีย เป็ นตลาดที่มีการเติบโตของ Social Media สูงกว่าทวีปอื่นๆ โดยเฉพาะประเทศจีน นั้นถือเป็ นสังคมบล็อกเกอร์ที่ใหญ่ที่สุดในลกด้วยยอดผูใช้กว่า 42 ล้านราย ้ มากกว่ายุโรปตะวันตกและสหรัฐอเมริ การวมกันเสียอีก มร. แบรี่ เฮิร์ด (www.123socialmedia.com) เชื่อว่าปัจจัยที่ผลักดันให้ Social Media เติบโตอย่าง รวดเร็ วนั้นเป็ นเพราะความง่ายในการเข้าถึงสื่ออินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะอินเตอร์เน็ตความเร็ ว สูง ขณะเดียวกันก็ยงเป็ นผลมาจาก ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดาน Social Media และ ั ้ เทคโนโลยีไร้สาย อาทิ โทรศัพท์เคลื่อนที่ PDAs หรื อเครื่ องเล่นเกมส์แบบพกพาต่างๆ ผลจากการศึกษายังพบด้วยว่า ผูใช้ส่วนใหญ่จะเข้าร่ วมในสังคมเครื อข่ายโดยเฉลี่ย 3-5 เครื อข่าย ้ ดังนั้นนักธุรกิจรายใดที่คิดว่า “ธุรกิจของฉันไม่ได้เน้นด้านออนไลน์” อาจจะต้องคิดใหม่ เพราะ ไม่ ว่าธุรกิจของคุณจะเกี่ยวข้องกับระบบออนไลน์หรื อไม่ก็ตาม แต่ธุรกิจของคุณจะเกี่ยวพันกับ เครื อข่ายในสังคมออนไลน์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะลูกค้าของคุณ คู่คาของคุณ แม้แต่เพื่อนฝูง ้ หรื อ คนในองค์กรของคุณได้เข้าไปมีบทบาทหรื อเป็ นส่วนหนึ่งของกลุ่มสังคมออนไลน์ ซึ่งมีความ เป็ นไปได้สูงที่การสนทนาในบางครั้งอาจจะโยงใยเข้ามาถึงธุรกิจของคุณได้ นันหมายถึงว่า บริ ษท ่ ั ที่ไม่ได้พิจารณา หรื อ ผนวก Social Media ไว้เป็ นส่วนหนึ่งในกลยุทธ์การตลาดออนไลน์ หรื อ แผนการตลาดรวม กาลังเสียโอกาสในการเข้าถึงลูกค้าไปอย่างน่าเสียดาย
  • 5. 9 จากการวิจยร่ วมระหว่าง OTX (www.otxresearch.com) และ DEI Worldwide ั (www.deiworldwide.com) พบว่า จากความนิยมที่แพร่ หลายของ Social Media นีเอง ทาให้ Social Media กลายมาเป็ นแหล่งข้อมูลสาคัญของผูบริ โภค โดยพบว่า ผูบริ โภคส่วนใหญ่จะข้อหาข้อมูล ้ ้ ผลิตภัณฑ์ หรื อ สินค้ายีหอต่างๆ จากเว็ปไซต์ Social Media ไปพร้อมๆ กับหาข้อมูลโดยตรงจากเว็ป ่ ้ ไซต์ของบริ ษทผูผลิต โดยผูบริ โภค 7 ใน 10 ราย จะเข้าไปหาข้อมูลในเว็ปไซต์ Social Media ต่างๆ ั ้ ้ อาทิ เว็ปบอร์ด กลุ่มชุมชนออนไลน์ หรื อ บล็อกต่างๆ เพื่อหาข้อมูล นอกจากนี้ เถือบครึ่ ง (49%) ของผูบริ โภคจะตัดสินใจซื้อจากข้อมูลที่ได้จาก Social Media เหล่านี้ ้ ความนิยมของ Social Media ไม่เพียงแต่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านความสัมพันธ์ระหว่างแบ รนด์และผูบริ โภคเท่านั้น แต่ยงมีผลต่อมาตรวัดความสาเร็ จด้านการตลาดและการประชาสัมพันธ์ ้ ั ของภาคธุรกิจอีกด้วย ดังนั้นจึงไม่ใช่เป็ นเรื่ องน่าแปลกใจที่องค์กรธุรกิจต่างๆ จะหันมาให้ความ สนใจกับ Social Media Marketing มากขึ้น โดยรายงานล่าสุดของ eMarketer (www.emarketer.com) ชี้ให้เห็นว่า บริ ษทส่วนใหญ่ควรที่จะต้องเข้าไปมีบทบาท และ สื่อสารกับ ั กลุ่มสังคมในชุมชนออนไลน์เป็ นประจา แน่นอนว่าในขณะนี้ บริ ษทหลายๆ แห่งได้ตระหนักถึง ั ความสาคัญของ Social Media เพราะเล็งเห็นว่าเป็ น Social Media เป็ นเครื่ องมือการตลาดที่ระหยัด แต่มีประสิทธิภาพในการขายและประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์และบริ การของตนสู่ผบริ โภค ู้ โดยเฉพาะอย่างยิงในภาวะเศรษฐกิจถดถอยที่งบประมาณการตลาดค่อนข้างจากัด อย่างไรก็ดี การ ่ ทาการตลาดผ่าน Social Media ไม่ใช่เรื่ องง่าย ถึงแม้จะมีบริ ษทหลายรายที่ประสบความสาเร็ จ แต่ก็ ั มีอีกหลายรายที่ลมเหลว หรื อกลายเป็ นผูตองหาของกลุ่มสังคมออนไลน์ไปเลยก็มี ้ ้้ ตัวอย่างหนึ่งของบริ ษทที่ประสบความสาเร็ จ ใน การใช้ Social Media เห็นจะได้แก่ Blendtec ที่ทา ั คลิปวิดีโอซีรี่ส์ “Will It Blend” หรื อ “ปั่นได้ไหม?” เข้าไปไว้ใน YouTube ดาเนินเรื่ องโดย มร. ทอม ดิกสัน CEO ของ Blendtec ที่พยายามจะนาทุกอย่างเข้าเครื่ องปั่นของเขา รวมถึง iPhone มือถือ ยอดฮิต เพื่อพิสูจน์ว่า “ปั่นได้ไหม?” ผลที่ตามมาคือ วิดีโอชุดนี้กลายเป็ น สื่อการตลาดต้นทุนต่า ที่
  • 6. 10 ประสบความสาเร็ จอย่างสูงในโลกออนไลน์ และส่งผลให้ยอดขายของบริ ษทเพิ่มขึ้นไปถึงห้าเท่าตัว ั อึกตัวอย่างที่น่าสนใจคือกรณี ของ IBM ที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์เข้าจับกระแส Social Media ฟี เว่อร์ ได้เป็ นอย่างดี กล่าวคือ แทนที่ IBM จะสร้างบล็อกขึ้นมาเพียงหนึ่งบล็อกเหมือนบริ ษททัวไป IBM ั กลับสร้างเครื อข่ายของบล็อกขึ้นโดยเปิ ดโอกาสให้พนักงานของตน ที่ต่างก็เป็ นยอดฝี มือในแวดวง คอมพิวเตอร์ สร้างบล็อกของตัวเองขึ้นมา เขียนเล่าถึงประสบการณ์ ถึงงานที่กาลังทา หรื อเรื่ อง อะไรก็ได้ตามใจชอบ ผลที่ตามมาคือบล็อก IBMer ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง และเป็ น เครื่ องมือสาคัญที่ช่วยเชื่อมโยง IBM เข้ากับกลุ่มลูกค้า อีกทั้งยังเป็ นเครื่ องแสดงเจตนารมณ์ที่บริ ษท ั มีต่ออุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ได้เป็ นอย่างดี “ถึงแม้ Social Media จะเป็ นสื่อยอดนิยม แต่ตองไม่ลืมว่า Social Media Marketing ยังเป็ นเรื่ องที่ ้ ค่อนข้างใหม่ และ เป็ นเรื่ องที่นกการตลาดยังต้องเรี ยนรู้อยูตลอดเวลา” ทั้งนี้จากคากล่าวของ นาย ั ่ ศิระพัฒน์ เกตุธาร กรรมการผูจดการ บริ ษท สป็ อตมาร์ก จากัด ผุจดงาน Internet Marketing ้ั ั ้ั Conference 2009 Bangkok ระหว่างวันที่ 20-21 พฤษภาคม 2552 ณ โรงแรมโฟร์ซีซนส์ กรุ งเทพฯ ั นายศิระพัฒน์กล่าวต่อว่า “แต่ดวยเหตุที่ Social Media ได้เข้ามามีบทบาทต่อสังคมผูบริ โภคเพิ่มมาก ้ ้ ขึ้นเรื่ อยๆ ความท้าทายของนักการตลาดก็ คือจะตอบสนองกระแสดังกล่าวได้อย่างไร และจะใช้ Social Media เป็ นเครื่ องมือในการสร้างภาพลักษณ์ของแบรนด์ หรื อ การมีส่วนร่ วมในสังคม ออนไลน์อย่างไรจึงจะประสบความสาเร็ จสูงสุด ภายในงาน Internet Marketing Conference ผูเ้ ชี่ยวชาญด้าน Social Media Marketing จะมุ่งเน้นใน 2 ประเด็นหลักที่นกการตลาดอยากรู้ คือ การ ั วัดผลกระทบของ Social Media และ การวางแผนกลยุทธ์ดาน Social Media Marketing รวมไปถึง ้ ผลดีและผลเสียที่เกียวข้องกับ Social Media รู ปแบบต่างๆ”
  • 7. 11 นอกจาก Social Media Marketing งาน Internet Marketing Conference 2009 Bangkok ยังจะ ครอบคลุมไปถึงเครื่ องมือการตลาดออนไลน์ที่กาลังอยูในความสนใจอื่นๆ อาทิ Search Engine ่ Markeitng, E-mail Marketing, eCRM, eBranding และ Online Marketing Research สาหรับท่านที่ สนใจสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.sptmrk.com หรื อ ติดต่อ บริ ษท สป็ อตมาร์ก จาดัด ที่ ั 02 978 2519 หรื อ info@sptmrk.com 2.2.3 ประเภทเว็บไซต์ ที่ให้ บริการ Social Media เว็บไซต์ ที่ให้บริ การ Social Network หรื อ Social Media Google Group – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking - Wikipedia – เว็บไซต์ในรู ปแบบข้อมูลอ้างอิง
  • 8. 12 - MySpace – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking - Facebook -เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking
  • 9. 13 - MouthShut – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Product Reviews - Yelp – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Product Reviews
  • 10. 14 - Youmeo – เว็บที่รวม Social Network - Last.fm – เว็บเพลงส่ วนตัว Personal Music
  • 11. 15 - YouTube – เว็บไซต์ Social Networking และ แชร์วดีโอ ิ - Avatars United – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking
  • 12. 16 - Second Life – เว็บไซต์ในรู ปแบบโลกเสมือนจริ ง Virtual Reality - Flickr – เว็บแชร์รูปภาพ
  • 13. 17 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog) เว็บบล็อก (Weblog) เป็ นคาที่มาจากคาว่า เว็บ (Web) กับคาว่า บล็อก (Blog) รวมกันเรี ยกว่าเว็บบล็อก ความหมายของเว็บบล็อกคือ เครื่ องมือสื่อสารที่ใช้งานบนเว็บไซต์มี ลักษณะเหมือนกับ เว็บบอร์ด แต่เน้นการใช้งานไปที่การบันทึกเรื่ องราวหรื อข้อมูลส่วนตัว เหมือนกับไดอารี่ จะแสดงข้อมูลในลักษณะที่เป็ นหัวข้อประกอบบทคัดย่อ แต่จะดีกว่าไดอารี ที่ เขียนด้วยมือ ก็คือเป็ นเว็บที่สามารถเชื่อมโยงไปหาบทความที่เว็บไซด์อื่น และเปิ ดรับความเห็นจาก ผูอื่นได้ดวยโดยทัวๆไปแล้ว คุณสมบัติของบล็อก ก็คือ 1 มีการจัดหัวข้อของเนื้อหา บทความ โดย ้ ้ ่ ให้เรื่ องใหม่สุดอยูดานบนสุด มักจะจัดกลุ่มเรื่ องแบบเดียวกันไว้ดวยกัน 2 มีการเก็บสะสมบทความ ่ ้ ้ อย่างเป็ นระบบต่อเนื่องกัน 3 ผูอ่านบทความนั้นๆ สามารถแสดงความเห็นได้ 4 มีลิสต์ของ link ไป ้ เว็บหรื อบล็อกที่มีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องกัน หรื อที่เราเรี ยกว่า blogroll เนื้อหาของบล็อก เนื้อหาของ บล็อกก็เป็ นไปตามประเภทของบล็อก แต่ไม่ว่าจะเป็ นบล็อกแบบไหนก็ตาม ควรจะมีการอัพเดท บ่อยๆ มีอะไรใหม่ๆ ให้คนอยากมาเยียมชม ่
  • 14. 18 2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก บล็อกมีดวยกันหลายชนิด แต่ละชนิดมีขอมูลที่แตกต่างกันไปทั้งผูเ้ ขียน ้ ้ และผูเ้ ข้าชม โดยบล็อกจะเน้นไปที่เรื่ องต่างๆ เช่น learner blogs, political blogs, travel blogs, fashion blogs, project blogs,legal blogs และอื่นๆบล็อกที่เราเห็นอยูในปัจจุบนนี้ ใช่มเี พียงแค่บล็อก ่ ั ที่เป็ นตัวหนังสือและรู ปภาพเท่านั้น หรื อ มีแค่ออนไลน์ไดอารี่ เราแบ่งบล็อกออกได้ ดังต่อไปนี้ 1. แบ่งตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกได้แก่ 1.1. Linklog บล็อกแบบเป็ นบล็อกรุ่ นแรก ๆ ที่รวมลิ๊งก์ที่เจ้าของบล็อกสนใจเอาไว้ แม้ว่า จะบล็อกแบบนี้จะเป็ นการรวมลิ๊งก์เท่านั้น แต่ก็ไม่เรี ยงเหมือนว็บไดเร็ กทอรี่ เพราะเจ้าของบล็อกจะ โพสต์ลิ๊งก์ของเขา 1 – 2 ลิ๊งก์ต่อโพสต์เท่านั้น 1.2 Photoblog บล็อกประเภทนี้เน้นโพสต์ภาพถ่ายที่เจ้าของบล็อกอยากนาเสนอ และมักจะ ไม่เน้นเขียนข้อความมากนัก 1.3. Vlog ย่อมาจาก Videoblog เป็ นบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไว้ในบล็อก Vlog เป็ นบล็อกที่ เรี ยกได้ว่าเป็ นบล็อกที่นิยมทากันมากในอนาคต เพราะการเจริ ญเติบโตของไฮสปี ด อินเตอร์เน็ต หรื อ อินเตอร์เน็ตบอร์ดแบนด์ ที่ทาให้การถ่ายทอดเสียง ภาพเคลื่อนไหว movie 2.แบ่งตามประเภทเนื้อหา ได้แก่ 2.1 บล็อกส่วนตัว( Personal Blog) นาแสนอความคิดเห็น กิจวัตรประจาวันของเจ้าของ บล็อกเป็ นหลัก 2.2 บล็อกข่าว(News Blog) บล็อกที่นาเสนอข่าวเป็ นหลัก 2.3 บล็อกกลุ่ม(Collaborative Blog) เป็ นบล็อกที่เขียนกันเป็ นกลุ่ม เช่น blognone.com 2.4 บล็อกการเมือง(Politic Blog) ว่าด้วยเรื่ องการเมืองล้วน ๆ
  • 15. 19 2.5 บล็อกเพื่อสิ่งแวดล้อม(Environment Blog) พูดถึงเรื่ องราวของธรรมชาติและการรักษา สิ่งแวดล้อม 2.6 มีเดียบล็อก( Media Blog) เป็ นบล็อกที่วิเคราะห์สื่อต่างๆ สารคดีและสิ่งที่เกี่ยวกับสื่อ เช่น oknation.net/blog/black ของสุทธิชย หยุน ั ่ 2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นาเสนอเรื่ องราวบันเทิงทั้งทางจอแก้ว และ จอเงิน เรื่ องซุบซุดารา กองถ่าย ฯลฯ 2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรี ยน หรื อมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ มักจะใช้บล็อกเป็ นสื่อในการสอนหรื อ แลกเปลี่ยนความคิดกัน 2.9 ติวเตอร์บล็อก(Tutorial Blog) เป็ นบล็อกที่นาเสนอวิธีการต่าง 3.แบ่งตามรู ปแบบของเนื้อหาเฉพาะที่เห็นเด่นชัด 3.1 Filter Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอแหล่งข้อมูลที่ตนสนใจ (เว็บเพจ ู้ ั หรื อเว็บไซต์) โดยปกติมกจะเป็ นข่าว บทความ หรื อความคิดเห็นของบุคคลในวงการที่เผยแพร่ ใน ั เว็บไซต์ต่าง ๆ อาจเรี ยกได้ว่า เป็ น บล็อก “Bookmark” หรื อ มีชื่อเฉพาะ ว่า Social Bookmarkบล็อก ลักษณะนี้ จะนาเสนอแค่หวข้อเรื่ อง และ URL ของเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ บางทีอาจเพิ่มคาอธิบายเว็บ ั เพจหรื อเว็บไซต์น้ น ๆ ได้ดวย และบางที่อาจจะสามารถเพิ่มความคิดเห็นของผูจดทาบล็อกได้อีก ั ้ ้ั ด้วย เป็ นเหมือนการกลันกรองข้อมูลให้ทราบว่าเว็บเพจหรื อเว็บไซต์ใดกาลังได้รับความนิยม ซึ่งจะ ่ เป็ นการช่วยจัดลาดับความน่าเชื่อถือของเว็บเพจหรื อเว็บไซต์น้ น ๆ ได้เช่นกัน ตัวอย่างบล็อก ั ลักษณะนี้ได้แก่ http://del.icio.us/ เป็ นต้น 3.2 Personal Journal Blog เป็ นบล็อกที่ผจดทา จะใช้สาหรับนาเสนอความคิดเห็นหรื อ ู้ ั ประสบการณ์ของตนเองผ่านข้อเขียน โดยอาจจะมีภาพประกอบ หรื อมีการเชื่อมโยงออกไปยัง เว็บไซต์อื่น ๆ เพื่อให้ขอมูลดูน่าเชื่อถือหรื อมีความน่าสนใจมากยิงขึ้น ซึ่งบล็อกลักษณะนี้ เป็ น ้ ่
  • 16. 20 บล็อกตามความเข้าใจของบุคคลทัวไป ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.exteen.comหรื อ ่ http://www.blogger.com เป็ นต้น 3.3 Photo Blog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บภาพ (ภาพถ่าย , ภาพวาด ฯลฯ) และสามารถใส่ รายละเอียดของภาพ ใส่คาค้น ( tag) ได้ ทาให้การเก็บภาพเป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหามากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่ http://www.flickr.com เป็ นต้น 3.4 Video Blog หรื อ เรี ยกว่า Vlog เป็ นบล็อกที่ใช้สาหรับเก็บวีดิทศน์ส่วนตัว สามารถใส่ ั รายละเอียดของวีดิทศน์ ใส่คาค้น (tag) ได้ ทาให้การเก็บวีดิทศน์เป็ นระบบและง่ายต่อการค้นหา ั ั มากขึ้น ตัวอย่างบล็อกลักษณะนี้ได้แก่http://www.aolvideoblog.com เป็ นต้น 3.5 บล็อกผสม มีลกษณะเป็ นบล็อกที่สามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้หลายประเภท ทั้งเก็บ ั รู ปภาพ เก็บเพลง เก็บวีดิโอ เก็บลิงค์ (link) ต่าง ๆ หรื อบันทึกประจาวัน และใส่ปฏิทินรายการงานที่ ต้องทา ฯลฯ ได้ดวย ปัจจุบนเป็ นบริ การที่ได้รับความนิยมสูงมาก โดยมีชื่อเฉพาะด้วย เรี ยกว่าSocial ้ ั Network Service ซึ่งนอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อให้สมาชิกแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ กันแล้ว ก็ยงมี ั จุดประสงค์หลักเพื่อการค้นหาและสะสมเพื่อนจากทัวโลก ตัวอย่าง Social NetworkingWebsites ซึ่ง ่ ให้บริ การลักษณะนี้ ได้แก่ http://hi5.com หรื อ http://multiply.com หรื อhttp://spaces.live.com เป็ น ต้น (ซึ่ งปัจจุบน คาว่า blog ใน Social Networking Websites นั้นจะกลายเป็ นแค่ส่วนที่ใช้เขียน ั ข้อความเช่นบันทึกประจาวันแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น และยังอาจใช้คาว่า journal แทนคาว่า blog ด้วย แต่เนื่องจากบริ การนี้ เป็ นการรวมเอาบล็อกลักษณะต่าง ๆที่เคยมี มาอยูในที่เดียว ทาให้ ่ ผูใช้งานได้รับความสะดวกสบายมากยิงขึ้น เพราะเพียงแค่เปิ ดใช้บริ การที่เดียว ก็ได้ใช้บริ การ ้ ่ ครบถ้วน ไม่ตองเสียเวลาไปสมัครใช้งานจาก เว็บไซต์หลายที่ให้จดจายากอีกด้วย) ้ ตัวอย่างเว็บบล็อก 1.Bloggang
  • 17. 21 แหล่งชุมชน ชาวบล็อก ที่ชอบ สิงสถิตย์ ในเว็บ พันธุทิพย์ มีเว็บ บล็อกมากที่สุดในเวลานี้ แบ่งเป็ น ์ หมวดหมู่ หลากหลายประเภท 2 .Gotoknow บล็อกชุมชน ของ สถาบัน ส่งเสริ ม การจัดการ ความรู้ เพื่อสังคม มีคณาจารย์ และ ผูชานาญการ ้ ร่ วมกัน มาเขียนบล็อก ถ่ายทอดวิชา 3. DiaryHub แหล่งชุมชน นักเขียนไดอารี แห่งแรก ของประเทศไทย 4. Blogger ต้นกาเนิด เว็บบล็อก ต่างประเทศ ที่มีคนใช้มากที่สุด ในโลก 5. OKnation BLog บล็อกนักข่าวอาสาสมัคร ของ เดอะเนชัน รายงานข่าว เกาะติด สถานการณ์ ทุกเรื่ องราวในสังคม ่
  • 18. 22 6. Exteen ชุมชน บล็อกวัยทีน หน้าตา น่ารัก น่าใช้ เขียนง่าย สมัครฟรี เป็ นที่นิยม ในหมู่วยรุ่ น วัยมัน พันธุ์ ั ใหม่ 7. Window Live Spaces เว็บสเปซ ของค่ายไมโครซอฟท์ ที่ชาว msn นิยมเล่น 8. Keng บล็อกเก่ง เป็ น Event Blog นาเสนอ ความรู้ เรื่ องราวต่างๆ เกี่ยวกับ Blog 9. Bird FC เว็บสาหรับ แฟนคลับ เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย นักร้องซูเปอร์สตาร์
  • 19. 23 10. คาราบาว โฮมเพจ คาราบาว เว็๋บไซต์ วงดนตรี เพื่อชีวิต อันโด่งดังตลอดกาล 11. tureLife ชุมชนบล็อกแห่งใหม่ ของ คน รุ่ นใหม่ ที่ตองการสิ่งใหม่ๆ ้ 12. DiaryClub รวมบล็อกคนไทย แบ่งเป็ นกลุ่ม มี ทั้ง คลิปวิดีโอ ข่าว บันเทิง ฯลฯ 13. M Blog เว็บบล็อก ของผูจดการ เปิ ด มิติใหม่ ให้ โอกาสให้ ผูเ้ ขียน บล็อก ก้าวสู่ การเป็ น เจ้าของ หนังสือที่ ้ั ตัวเอง เขียนขึ้น จากบล็อก สู่ บุ๊ค 14. Yahoo Geocities
  • 20. 24 สุดยอดของฟรี ที่ให้บริ การ พื้นที่ สร้างโฮมเพจฟรี ที่ใครๆก็เคยใช้ 15. โชว์เด็ด บล็อกวาไรตี้ ที่ให้คุณ แสดงภาพ หรื อ คลิปวิดีโอ แสดงความคิด ตาม ต้องการ และถ้าบล็อกใด โชว์ เด็ด โชว์ดี มีรางวัลให้ 16. StoryThai ศูนย์รวม ของ ผูรัก การอ่าน และ เขียน ถ่ายทอด เรื่ องราว ้ 17. Mthai Blog ชุมชนบล็อกวาไรตี้ ที่มี คนเข้ามา ใช้ บริ การมากแห่งหนึ่ง 18. Sanook Blog ชุมชนบล็อกแห่งใหม่ ของ คน รุ่ นใหม่ ที่ตองการสิ่งใหม่ๆ ้ 19. Technorati
  • 21. 25 รวบรวม ค้นหา Blog จากทัวโลก แบ่งแยกเป็ นหมวดหมู่ จัดอันดับ ่ 20. ThaiBlog สารบัญบล็อกไทย รวบรวมบล็อก ดีๆ สาหรับคนไทย แบ่งเป็ นหมวดหมู่ 2.3.3 เว็บไซต์ ที่ให้ บริการเว็บบล็อก www.blogger.com www.exteen.com www.mapandy.com www.buddythai.com www.imigg.com www.5iam.com www.blogprathai.com
  • 23. 27 2.3.4 ประวัติของเว็บไซต์ Wordpress ความเป็ นมาของ wordpres เริ่ มจาก B2 หรื อ cafelog คือผูที่ให้กาเนิดการทางานของเว็บ ้ บล๊อกที่ชื่อว่า wordpress ได้การผลิตบล็อกชนิดนี้ข้ ึนครั้งแรกประมาณปี 2003 ตอนนั้นมีบล็อก wordpress อยูประมาณ 2000 บล็อก บล็อกที่ชื่อว่า wordpress นี้ เขียนด้วยภาษา PHP เพื่อที่จะใช้กบ MySQL ่ ั โดยผูเ้ ขียน wordpress ก็คือ Michel Valdrighi เป็ นผูร่วมพัฒนา wordpress ตอนนั้น wordpress ยังอยู่ ้ ใน B2evolution wordpress ได้ปรากฏสู่โลกในปี 2003 โดยเป็ นความพยายามของ Matt Mullenweg และ Mike little ในปี 2004 ได้ถกเปลี่ยนแปลงโดย six apart ทาให้มีผงาน wordpress จานวนมากขึ้น และเริ่ มก่อเกิด ู ู้ แบรนด์ wp หรื อ wordpress ขึ้นมาและมีการใช้งานมากขึ้นและการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนมาถึง ปัจจุบน ั ในปี 2007 wordpress ได้รับรางวัลชนะเลิศในเรื่ องของ Packt open source CMS award