SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 45
Baixar para ler offline
ผลงานหมายเลข 2




ภาษีที่ดิน (Quit Rent) และภาษีการประเมินมูลค่า (Assessment Tax) :
       กรณีศึกษาเมืองยะโฮร์ บาห์รู รัฐยะโฮร์ ประเทศมาเลเซีย




                    นางสาวจริยะดา จันทรังษี
                         เศรษฐกร 5




                        สํ านักนโยบายภาษี
                   สํานักงานเศรษฐกจการคลง
                                     ิ    ั



       เพอประเมินคุณสมบัติและผลงานในการแต่งต้ังให้ดํารง
         ื่
                    ตําแหน่ง เศรษฐกร 6 ว.
สารบัญ

                                                                         หนา
                                                                           ้
บทที่ 1 บทนํา
        1.1 ความเป็ นมา                                                   1
        1.2 ความจําเป็ น                                                  6
        1.3 วัตถุประสงค์การศึกษา                                          6
บทที่ 2 วธีดาเนินการ
         ิ ํ                                                              7
บทที่ 3 เนือหาสาระของผลงานวิชาการ
           ้
        3.1 โครงสร้างความสัมพันธ์ของการบริ หารประเทศมาเลเซี ย             8
        3.2 แหล่งที่มาของรายได้ของประเทศมาเลเซีย                         11
        3.3 โครงสร้างรายไดของรัฐบาลทองถิ่นของประเทศมาเลเซีย
                               ้           ้                             15
        3.4 การจัดเก็บภาษีที่ดิน (Quit rent) และภาษีการประเมินมูลค่า     20
             (Assessment Tax) กรณี ศึกษาเมืองยะโฮร์ บาห์รู รัฐยะโฮร์
             ประเทศมาเลเซีย
        3.5 หลักการจัดเก็บภาษีโรงเรื อนและภาษีบารุ งท้องที่
                                                  ํ                      25
             ของประเทศไทย
        3.6 เปรียบเทียบหลกการจดเก็บภาษีที่ดิน (Quite rent) และภาษีการ
                             ั    ั                                      27
             ประเมินมูลค่า (Assessment Tax) ของเมืองเมืองยะโฮร์ บาห์รู
             รัฐยะโฮร์ ประเทศมาเลเซี ย และการจัดเก็บภาษีโรงเรื อนและ
             ภาษีบารุงทองที่ของประเทศไทย
                       ํ ้
บทที่ 4 สรุปผลการวเิ คราะห์และข้อเสนอแนะ                                 29
บทที่ 5 ความย่ ุงยากในการดาเนินการ
                           ํ                                             31
บทที่ 6 ประโยชน์ทได้รับ
                    ี่                                                   32
ภาคผนวก                                                                  33
สารบัญตาราง


ตารางที่                                                                  หน้ า
           1 โครงสร้างการปกครองของประเทศมาเลเซีย                           3
           2 โครงสร้างการกระจายอํานาจแบ่งตามมลรัฐของประเทศมาเลเซี ย        4
           3 การกระจายอํานาจและหน้าที่รับผิดชอบระหว่างรัฐบาลกลาง มลรัฐ     9
             และรัฐบาลทองถ่ิน ของประเทศมาเลเซีย
                           ้
           4 แหล่งที่มาของรายได้ของรัฐบาลกลาง มลรัฐ และรัฐบาลทองถิ่น
                                                                 ้         14
             ของประเทศมาเลเซีย
           5 อัตราส่ วนของแหล่งที่มาของรายได้ของรัฐบาลท้องถิ่นของประเทศ    20
             มาเลเซี ยในปี 2542
           6 อัตราการจัดเก็บภาษีการประเมินมูลค่าในเมืองยะโฮร์ บาห์รู       24
             ในรัฐยะโฮร์ ประเทศมาเลเซีย
           7 ภาษีที่จดเกบจากที่ดินและอสังหาริมทรัพยในประเทศไทยและ
                     ั ็                           ์                       27
             ประเทศมาเลเซีย
           8 เปรียบเทียบความแตกต่างการจดเก็บภาษีที่ดินในประเทศไทยและ
                                          ั                                28
             ประเทศมาเลเซีย
บทที่ 1 : บทนํา

1.1 ความเป็นมา

         1.1.1) ขอมูลทวไป
                  ้    ่ั
                 ประเทศมาเลเซี ยเป็ นประเทศหนึ่ งในสมาชิกอาเซี ยน ตั้งอยู่บนแหลมมลายู และ
เกาะบอร์เนียว มีพ้ืนที่ท้ งหมด 329,750 ตารางกิ โลเมตร มี อาณาเขตติ ดต่ อกับประเทศไทย
                            ั
สิงคโปร์ บรูไน และอินโดนี เซี ย สภาพทางภูมิศาสตร์ ส่วนบนแหลมมลายูจะเป็ นที่ราบชายฝั่ง
ทะเล ท้ งฝั่งมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิ ฟิก ถัดจากชายฝั่งจะเป็ นที่ราบ แลวจะเป็น
           ั                                                                           ้
ภูเขาพาดกลางแนวเหนื อใต้ ส่ วนบนเกาะบอร์ เนี ยวจะเป็นที่ต้ งของรัฐซาบาห์ และซาราวัค ซ่ ึ ง
                                                                ั
เป็ นที่ราบแคบๆ ชายฝั่ งทะเล ถัดมาเป็ นภูเขาแบบป่ าทึบแบบป่ าดงดิ บเขตมรสุ ม มีป่าไมแบบ    ้
ธรรมชาติด้ งเดิมที่อุดมสมบูรณ์มาก ประเทศมาเลเซียมีจานวนประชากรประมาณ 24.5 ลานคน
               ั                                        ํ                                ้
ในปี 2546 มีอาณาเขตเท่ากับ 330,242 ตารางกิ โลเมตร ในจานวนประชากรท้ งหมด เป็นภูมิ
                                                                  ํ             ั
                          ่ ั
บุตร (มาลายู และชาวเผาด้ งเดิม) ร้อยละ 59 เป็ นผูที่มีเชื้อชาติจีนร้อยละ 32 และเช้ือชาติอินเดีย
                                                   ้
ร้อยละ 9 กลุ่มเชื้อชาติมาลายูนบถือศาสนาอิสลาม ส่ วนชาวจีนส่ วนใหญ่นบถือศาสนาพุทธ
                                    ั                                         ั
และชาวอินเดียส่วนใหญ่นบถือศาสนาฮินดู ส่วนชาวเขานบถือลทธิและความเชื่อด้ งเดิมของแต่
                              ั                            ั        ั              ั
       ่
ละเผา (Tribal Religions) ประเทศมาเลเซี ยใช้หน่ วยเงินตราที่เรี ยกว่า ริ งกิ ตมาเลเซีย (1 ริ งกิ ต
เท่ากบ 0.2632 ดอลลาร์ สหรัฐ หรื อประมาณ 10.42 บาท)
     ั
2

       1.1.2) การเมืองและการปกครอง
                 ประเทศมาเลเซี ยได้รับเอกราชจากจักรภพอังกฤษ เมื่อวนที่ 31 สิงหาคม 2505 เป็น
                                                                  ั
ประเทศหน่ ึงที่ปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษตริย ์ (Constitutional Monarchy
                                                             ั
) ที่มีราชาธิ บดี (Paramount Ruler / Yang Di-pertuan Agong) เป็นประมุข ซึ่ งมาจาก สุลต่าน
(Sultan) ของแต่ละรัฐ (State / Negeri) หมุนเวียนกนเป็นราชาธิบดี ในแต่ละรัฐจะมีสุลต่านเป็ น
                                                   ั
ประมุข ยกเวนรัฐปีนง (Pulau Pinang) และ รัฐมะละกา (Melaka)
               ้        ั
                 การบริ หารประเทศมีรัฐบาลกลาง (Federal Government /Kerajaan Pusat) เป็น
ผูบริ หาร มีนายกรัฐมนตรีเป็นผบริหารสูงสุด ส่วนในแต่ละรัฐจะมีรัฐบาลประจารัฐบริหาร/
    ้                              ู้                                           ํ
คณะมนตรีแห่งรัฐ (State Governor / Kerajaan Negeri) โดยมีมุขมนตรีแห่งรัฐ (Governor /
Menteri Besar) เป็นหวหนา อานาจของรัฐบาลแห่ งรัฐมีจากัดตามรัฐธรรมนูญแห่ งชาติกาหนด
                          ั ้ ํ                        ํ                            ํ
                 1) รัฐบาลกลาง (Federal Government) ในส่ วนการบริ หารของรัฐบาลกลางจะมี
นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) มาจากการเลือกตั้ง (หัวหน้าพรรคฝ่ ายรัฐบาล) เป็นผบริหาร  ู้
ประเทศ อํานาจนิ ติบญญัติใช้ระบบรัฐสภาแบบ 2 สภา (Bicameral Parliament) คือสภา
                           ั
ผูแทนราษฎร (House of Representatives) และวุฒิสภา (House of Senate) ซ่ ึ งสมาชิกทั้ง 2 สภา
  ้
มาจากการเลือกตั้ง
                 2) มลรัฐ (State / Negeri-negeri) ประเทศมาเลเซี ยแบ่งเขตการปกครองเป็ นมล
รัฐทั้งหมด 13 มลรัฐ โดยตั้งอยในเขต 2 เขตการปกครอง ไม่รวม กรุงกวลาลมเปร์ เกาะลาบวน
                                ู่                                   ั ั
และเมืองปุตราจายา โดยมีรายละเอียดดังนี้
                     2.1) เขตการปกครองเพนนิ นซู ลา (Peninsular) ประกอบไปด้วยรัฐ 11 รัฐ
ได้แก่ ปะหง สลงงอร์ เนกรี เซมบิลน มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน ตรังกานู ปี นัง เกดะห์ และ
             ั ั                      ั
ปะลิส
                                        ั     ั ู่
                     2.2) มาเลเซียตะวนออก ต้ งอยบนเกาะบอร์เนียว (กาลิมนตน) ประกอบดวย
                                                                         ั ั             ้
2 รัฐ คือ ซาบาห์ และซาราวัก
                     2.3) เขตการปกครองภายใต้รัฐบาลกลาง (Federal Territory) อีก 3 เขต คือ
กรุ งกัวลาลัมเปอร์ (เมืองหลวง) เมืองปุตราจายา (เมืองราชการ) และเกาะลาบวน ดังปรากฏตาม
ตารางที่ 1
3

                    ตารางที่ 1 โครงสร้างการปกครองของประเทศมาเลเซีย
                                   รัฐบาลกลาง (Federal)
                      มลรัฐ (State)                            เขตการปกครองพเิ ศษ
                        13 มลรัฐ                            (Federal Territory) 3 เขต
เพนิซูลา (Peninsular)         มาเลเซียตะวนออก (เกาะ 1. กรุ งกัวลาลัมเปอร์
                                         ั
                              บอร์เนียว)                2. เมืองปุตราจายา
1. ปะหัง                      1. ซาบาห์                 3. เกาะลาบวน
2. สลงงอร์
        ั                     2. ซาราวัก
3. เนกรี เซมบิลน
               ั
4. มะละกา
5. ยะโฮร์
6. เประ
7. กลนตน
       ั ั
8. ตรังกานู
9. ปี นัง
10 เกดะห์
11. ปะลิส

             3) รัฐบาลทองถิ่น (Local Government)
                          ้
                   การแบ่งเขตการปกครอง
                     รัฐบาลทองถิ่นของประเทศมาเลเซียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 3 ส่วน
                            ้
ได้แก่ (รายละเอียดปรากฏตามตารางที่ 2)
                     3.1) ชุมชนเมื อง/เขตเมื อง 1 (Cities) จานวน 9 เขต โดยแต่ละเขตมี
                                                            ํ                    0




จา นวนประชากรมากกว่า 300,000 คน และมี ร ายได้ที่ม ากกว่ า 80 ล้า นริ งกิ ต และเป็นเขต
  ํ
ศูนย์กลางของอุตสาหกรรม ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 60 อาศยอยในชุมชนเมือง
                                                          ั ู่



1
   เขตเมืองที่จดว่าใหญ่ทสุดคือ เมืองกัวลาลัมเปอร์ ซึ่ งมีประชากรจํานวน 1.4 ล้านคน และเมือง ที่จดว่าเล็กทีสุดได้แก่เมือง คุชชิง เหนือ (Kuching North)
               ั        ี่                                                                     ั         ่
ซ่ ึ งมีประชากรจานวน 152,310 คน
                 ํ
4

                       3.2) เขตชุ ม ชนหรื อเขตเทศบาล 2 (Municipalities) จํา นวน 34 เขต   1




โดยแต่ละเขตมีจานวนประชากรต้ งแต่ 100,000 คน ถึง 300,000 คน และมีรายไดมากกว่า 10
                ํ                ั                                           ้
ลานริงกิต
 ้
                       3.3) เขตตําบล/เขตชนบท 3 (District councils) จานวน 101 เขต โดย
                                                                     ํ        2




แต่ละเขตมีจานวนประชากรน้อยกว่า 100,000 คน
            ํ
          ตารางที่ 2 โครงสร้างการกระจายอานาจแบ่งตามมลรัฐของประเทศมาเลเซีย
                                        ํ
                               จํานวนท้ องถิ่นภายใต้ การปกครอง
                          มลรัฐ                                  จํานวนประชากร
                                 เมือง       เทศบาล       เขต
                ยะโฮร์             1            4           9        2,721,900
                เกดะห์             1            3           7        1,652,000
                กลนตน
                    ั ั                         1          11        1,314,900
                ลาบวน                                                   7,871
                มะละกา             1            1           1         634,100
                เนกรีเซมบิลนั                   3           5         858,900
                ปะหัง                           2           9        1,290,000
                เประ               1            4          10        2,109,700
                ปะลิส                           1                     204,500
                ปี นัง                          2                    1,307,600
                ปุตราจายา                                              26,713
                สลังงอร์           1            6           5        4,175,000
                ตรังกานู                        2           5         899,000
                ซาราวก  ั          2            3          20        2,071,800
                ซาบาห์             1            2          19        2,656,400
                   ั ั
                กวลาลมเปอร์        1                                 1,370,300
                รวมทั้งหมด         9           34         101       23,300,684
    ที่มา: “The local government system in Malaysia”, www.clgf.org.uk/2005updates/Malaysia.pdf

2
   เขตเทศบาลทีใหญ่ทสุดได้แก่ ปี ทอร์ ลิง ฮายา (Petaling Haya ) ซ่ ึ งมีประชากรจานวน 480,000 คน และเทศบาลทเี่ ลกทสุดไดแก่ กนการ์ มีประชากร
              ่    ี่                                                          ํ                              ็ ี่   ้ ั
จานวน 230,000 คน
 ํ
3
    เขตตําบลทีใหญ่ทสุดคือ เคอร์ เรี่ ยน (Kerian) มีประชากรจานวน 162,980 คน และตาบลที่เลกทสุดคือ ราอบ (Raub) ซ่ ึ งมีประชากร 80,000 คน
              ่    ี่                                      ํ                   ํ       ็ ี่        ั
5

                         หน้าที่ของรัฐบาลทองถ่ิน        ้
                              รัฐบาลทองถ่ิ น (Local Government) ของประเทศมาเลเซี ยมีหน้าที่
                                          ้
              ิ             ้                          ั           ั   ํ ั
สาคญคือรับผดชอบดูแลดานสุขภาพพลานามย สุขอนามย การกาจดและควบคุมส่ิ งปฏิกูล การ
  ํ ั
วางแผนผังเมือง การป้ องกันและควบคุมดูแลการจัดการการวางผังเมือง การพัฒนาสังคมและ
เศรษฐกิจ รวมถึงการดูแลรักษาต่าง ๆ ในทองถ่ิน โดยมี The Ministry of Housing and Local
                                                   ้
Government ทําหน้าที่ดูแลและรับผิดชอบการออกกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้องกับการปกครอง
ของรัฐบาลท้องถิ่น รวมถึงการออกกฎหมายเพื่อการพัฒนารัฐบาลท้องถิ่นด้วย
                ดงน้ นการศึกษาข้อมูลทัวไปของประเทศมาเลเซี ย เช่น รู ปแบบการปกครอง การ
                 ั ั                        ่
กระจายอํานาจ การแบ่งส่ วนการปกครองของประเทศมาเลเซีย จึงเป็นขอมูลพื้นฐานเพื่อนําไปสู่
                                                                             ้
การศึกษาโครงสร้างรายได้และแหล่งที่มาของรายได้หลาย ๆ ประเภทของประเทศมาเลเซี ย และ
ประเทศมาเลเซียได้แบ่งส่ วนการปกครองออกเป็ นรัฐบาลกลาง มลรัฐ และรัฐบาลท้องถิ่น ซึ่ งแต่
ละส่ วนการปกครองนั้นมี แหล่ งที่มาของรายไดที่แตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ งานเขี ยนฉบับนี้
                                                             ้
ต้องการศึกษาโดยเฉพาะประเด็นการจัดเก็บภาษีที่ดิน (Quit Rent) และภาษีการประเมินมูลค่า
(Assessment Tax) ของประเทศมาเลเซี ย เพื่อนามาใชเ้ ป็นแนวทางการเปรียบเทียบกบแนวคิด
                                                           ํ                               ั
การนําภาษีที่ดินและสิ่ งปลูกสร้างที่อาจจะนํามาใช้ในประเทศไทยในอนาคต
                การศึ กษาโครงสร้ างและหลกการจดเก็บภาษี ที่ดิน (Quit Rent) และภาษีการ
                                                     ั          ั
ประเมินมูลค่ า (Assessment Tax)ของประเทศมาเลเซี ยจําเป็ นต ้องศึ กษาแต่ล ะรั ฐ เนื่ องจาก
หลักการและอัตราการจัดเก็บที่ไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ ผูเ้ ขียนได้เลือกเมืองยะโฮร์ บาห์รู รัฐยะโฮร์
(Johore Bharu) เป็นกรณีตวอย่างสําหรับการศึกษาน้ ี เนื่องจากขอจากัดในการคนหาขอมูล
                                 ั                                         ้ ํ           ้     ้
            ั
ขณะเดียวกนรัฐยะโฮร์ เป็ นรัฐที่ใหญ่ที่สุดอับดับ 3 ของประเทศมาเลเซี ย เป็นหน่ ึ งใน 11 รัฐใน
เขตเพนิ น ซู ล า ซึ่ งเป็ นรั ฐ ที่ มี ค วามสํ า คัญ ของประเทศมาเลเซี ย ซึ่ งสมบู ร ณ์ ใ นด้า นการ
เกษตรกรรม ผลิตสิ นค้าประเภท ยาง นํ้ามันปาล์ม และสัปปะรด และเป็ นรัฐอันดับหนึ่งด้านการ
ผลิตสิ นค้าเกษตรกรรม รัฐยะโฮร์ กลายเป็ นเมืองอุตสาหรรม และมีเมืองหลวงที่ชื่อว่า ยะโฮร์
บาห์รู (Johor Bahru/JB) ซ่ ึ งเป็นเมืองหลวงที่ใหญ่อนดบสองของประเทศมาเลเซีย ขณะเดียวกน
                                                               ั ั                               ั
เมืองยะโฮร์ บาห์รู ยงมีอาณาเขตติดต่อกบประเทศสิ งค์โปร์ ยงผลให้ง่ายต่อการเดินทางและการ
                      ั                       ั                      ั
พัฒนาด้านเศรษฐกิจ
6

1.2 ความจําเป็ น
                 การศึ ก ษาการจ ัด เก็ บ ภาษี ที่ ดิ น (Quit Rent) และภาษี ก ารประเมิ น มู ล ค่ า
(Assessment Tax) หรือภาษีทรัพยสิน โดยใชกรณีศึกษาเมืองยะโฮร์ บาห์รู รัฐยะโฮร์ ประเทศ
                                    ์              ้
มาเลเซี ย เพื่อศึกษาแนวทางการจัดเก็บภาษี ดงกล่ าว และเปรี ยบเทียบกับการจัดเก็บภาษีบารุ ง
                                                     ั                                      ํ
ทองที่ และภาษีโรงเรือนของทองถ่ินในประเทศไทย โดยการเปรี ยบเทียบดังกล่าว สามารถนํามา
  ้                            ้
เป็นนโยบายในการนามาใช้ และเป็นกรณีศึก ษา เพื่อการปรับปรุงระบบภาษีทรัพยสิน หรื อ
                        ํ                                                           ์
ปรั บปรุ งการจัดเก็บภาษี บารุ งท้องที่ และภาษีโรงเรือนของทองถิ่นในประเทศไทยในอนาคต
                            ํ                                    ้
ต่อไป

1.3 วตถุประสงค์การศึกษา
     ั
           1. เพื่อศึกษาโครงสร้างรายได้ของรัฐบาลกลาง มลรั ฐ และรัฐบาลทองถ่ินของ
                                                                              ้
               ประเทศมาเลเซีย
           2. เพื่อศึกษาแหล่งที่มาของรายไดของรัฐบาลทองถิ่นของประเทศมาเลเซีย
                                            ้           ้
           3. เพื่อศึกษาการจัดเก็บรายได้ประเภทภาษีการประเมินมูลค่า (Assessment Tax)
               ของเมืองยะโฮร์ บาห์รู ในรัฐยะโฮร์ และภาษีที่ดิน (Quit rent) ของรัฐยะโฮร์
               ของประเทศมาเลเซีย
           4. เพื่อนํามาใช้เป็ นแนวทางการเปรี ยบเทียบกับแนวคิดการนําภาษีที่ดินและสิ่ ง
               ปลูกสร้างที่อาจจะนามาใชในประเทศไทยในอนาคต
                                   ํ    ้
7

                                  บทที่ 2 : วิธีดําเนินการ



2. วธดาเนินการ
     ิี ํ
               2.1 รวมรวมขอมู ลและศึกษาขอมูล ต่างๆ จากบทความ งานวิจย และหนังสื อ
                             ้               ้                            ั
เกี่ยวกบประเทศมาเลเซีย ไดแก่ ขอมูลทวไป ขอมูลโครงสร้างและภาพรวมรายไดของประเทศ
        ั                   ้ ้       ั่   ้                                ้
มาเลเซี ย โครงสร้างรายได้ของรัฐบาลท้องถิ่น การจัดเก็บภาษีที่ดิน (Quit Rent) และภาษีการ
ประเมินมูลค่า (Assessment Tax)
               2.2 รวมรวมข้อมูลและศึกษาหลักการจัดเก็บภาษีบารุ งท้องที่ และภาษีโรงเรื อน
                                                              ํ
ของประเทศไทย
               2.3 เปรียบเทียบและวิเคราะห์หลกการจดเก็บภาษีบารุงทองที่ และภาษีโรงเรือน
                                               ั ั              ํ ้
ของประเทศไทย และหลัก การจัด เก็บภาษี ที่ดิน (Quit Rent) และภาษี การประเมิ นมูล ค่ า
(Assessment Tax)
8

                            บทที่ 3:เนื้อหาสาระของผลงานวิชาการ



3.1     โครงสร้างและความสัมพนธ์ของการบริหารของประเทศมาเลเซีย
                              ั
        โครงสร้ า งและความสั ม พันธ์ ข องการกระจายอํา นาจหน้า ที่ก ารบริ ห าร และแหล่ ง
ทรัพยากร ของประเทศมาเลเซี ยนั้นแบ่งได้สองระดับ ได้แก่ การร่ วมรั บผิดชอบของรัฐบาล
กลางและมลรัฐ และการร่ วมกันรับผิดชอบของมลรัฐและรัฐบาลท้องถิ่น โดยมีความสัมพนธ์     ั
 ั ั
กนดงน้ ี

        3.1.1 ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางและมลรัฐ
                                                                   ้          ั ้ ํ
                การกระจายอํานาจระหว่างรัฐบาลกลางและรัฐบาลทองถิ่นน้ นไดกาหนดไวใน         ้
ราชธรรมนูญ ตามตารางที่ 3 เกี่ยวกับความรับผดชอบของรัฐบาลกลางและมลรัฐ รวมทั้งอํานาจ
                                             ิ
และความรั บผิด ชอบที่ รัฐ บาลกลางและมลรั ฐต้องมี ส่ วนร่ วมกันรั บผิด ชอบ ทั้งในด้า นการ
ป้ องกัน ความปลอดภัย ดําเนินงานภายใต้กรอบกฎหมายแพ่งและอาญา รวมถึงกระบวนการทาง
ศาล สัญชาติ สิ ทธิ ของประชากร การเปลี่ยนและการโอนสัญชาติ การเงินการคลัง การค้า การ
พาณิชย ์ และอื่น ๆ
                หน้าที่ดานศาสนาอิสลามและจารี ตประเพณี การที่ดิน การเกษตรกรรม และ
                         ้
   ั                           ้                 ้                     ั ั
ลกษณะโครงสร้างของรัฐบาลทองถิ่นใหเ้ ป็นหนาที่ของมลรัฐ ขณะเดียวกนท้ งรัฐบาลกลางและ
มลรัฐยงตองมีหนาที่ร่วมกันเช่น สวัสดิการทางสังคม การให้ทุนการศึกษา การวางแผนเมือง
        ั ้        ้
และประเทศ การสาธารณะ และการระบายน้ าและชลประทาน
                                           ํ
        3.1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างมลรัฐและรัฐบาลท้องถิ่น
                มลรัฐมีอานาจในการพิจารณาคัดเลือกผูนาเมือง ผูนาเขตเทศบาล และเขตต่าง ๆ
                           ํ                        ้ ํ        ้ ํ
เพื่อให้มีอานาจหน้าที่การบริ หารท้องถิ่น รวมถึงการพิจารณาด้านการจัดจ้าง และเงินเดือน และ
           ํ
การตั้งคณะกรรมการการบริ ห ารมลรั ฐ ขณะเดี ย วกันมลรั ฐ ยังเป็ นที่ ป รึ ก ษาและชี้ แ นะใน
ประเด็นการเพิ่มขึ้นของการจัดเก็บภาษีของท้องถิ่น และรายได้ต่าง ๆ ของท้องถิ่น
                รัฐบาลกลาง มลรั ฐและทองถิ่ นมีบทบาทหน้าที่ที่ต ้องทาร่ วมกัน ท้ งด ้านการ
                                         ้                              ํ             ั
วางแผนเมืองและที่อยอาศย การขนส่ง สิ่งแวดลอมและสุขอนามย และวฒนธรรม บนเทิง และ
                       ู่ ั                    ้             ั       ั              ั
กีฬา ขณะที่ตามกฎหมายรัฐบาลทองถิ่น (Local government Act.) ไดกาหนดหน้าที่ความ
                                   ้                                      ้ ํ
9

รับผิดชอบแหล่งทรัพยากรระหว่างมลรัฐและรัฐบาลทองถิ่น โดยกําหนดให้รัฐบาลท้องถิ่นมี
                                                   ้
อํานาจหน้าที่ ดังนี้
               1). อานาจในการวางแผนทองถิ่น
                       ํ                  ้
               2). อํานาจในการออกใบอนุญาต
               3). การจัดเก็บภาษีบางประเภท
               4). การก่อสร้างอาคาร สถานที่สาธารณะ ตลาด สถานที่ขายแผงหาบเร่ เป็ นต้น
               5). การวางแผนและการจัดการของชุมชม
               6). การวางแผนและจัดหาสิ่ งอํานวยความสะดวก
               รัฐบาลทองถิ่นมีบทบาทหน้าที่ตามกฎหมายการวางแผนประเทศและบ้านเมือง
                         ้
และกฎหมายเกี่ยวกับถนน การระบายน้ า และอาคาร และตวกฎหมายรัฐบาลทองถิ่น (Local
                                       ํ                ั               ้
                                                          ํ
government Act.) ทั้งนี้ กฎหมายที่ได้กล่ าวมาทั้งหมดได้กาหนดให้รัฐบาลท้องถิ่ นมี หน้า ที่
โดยรวมคือ หน้าที่ดานสิ่ งแวดล้อม อํานายความสะดวกด้านสาธารณะ สังคม และการพัฒนา
                     ้

                     ตารางที่ 3 การกระจายอํานาจและหน้ าทีรับผิดชอบระหว่ าง
                                                         ่
                     รัฐบาลกลาง มลรัฐ และรัฐบาลท้องถน ของประเทศมาเลเซีย
                                                    ิ่

                                               อํานาจและหน้าที่
          การให้บริ การ                                                      หมายเหตุ
                                  รัฐบาลกลาง        มลรัฐ         ท้องถิ่น
การดําเนินการทัวไป
                ่
ตํารวจ                                
ป้ องกันอัคคีภย
              ั                       
ป้ องกันพลเมือง                       
ศาลแพ่ง                               
ศาลอาญา                               
จดทะเบียนพลเมือง                      
สถิติ                                 
การเลือกตั้ง                          
การศึกษา
อนุบาล                                
ประถม                                 
10
                                        อํานาจและหน้าที่
          การให้บริ การ                                                   หมายเหตุ
                           รัฐบาลกลาง        มลรัฐ         ท้องถิ่น
มัธยม                           
สายอาชีพ                        
มหาวิทยาลัย                     
อื่น ๆ                          
สวัสดิการสังคม                  
สถานเล้ ียงเด็ก                 
สวัสดิการครอบครัว               
สวัสดิการครัวเรื อน             
ความปลอดภัยทางสังคม             
การสาธารณสุข
การดูแลเบ้ืองต้น               
โรงพยาบาล                      
การป้ องกันสุขภาพ              
      ่
ที่อยูอาศัย                                                        กระทําร่ วมกัน
หมู่บาน   ้                                                        กระทําร่ วมกัน
เขต                                                                กระทําร่ วมกัน
การขนส่ง
ถนน                                                         
การขนส่ง                                                    
ถนนชุมชนเมือง                                               
ท่าเรือ                        
ท่าอากาศยาน                    
สิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย
นํ้าและสุขาภิบาล                             
จัดเก็บและจํากัดขยะ                                          
สุสานและเมรุ                                                  
โรงฆ่าสัตว์                                                   
การคุมครองสิ่งแวดล้อม
        ้                                                     
วัฒนธรรม บันเทิง และกีฬา
โรงภาพยนตร์และคอนเสิร์ต                                      
11
                                             อํานาจและหน้าที่              หมายเหตุ
         การให้บริ การ
                               รัฐบาลกลาง         มลรัฐ         ท้องถิ่น
โรงมหรสพและห้องสมุด                                
สวนสาธารณะ                                                         
กีฬา                                                               
สิ่งอํานวยความสะดวกด้านศาสนา
สิ่งอํานวยความสะดวก
บริ การแก๊ส                                                         
กระแสไฟฟ้ า                        
นํ้า                                               
เศรษฐกิจ
การเกษตรกรรม ป่ าไม้ ประมง                        
การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ                              
การค้าและอุตสาหกรรม                               
การท่องเที่ยว                                     
การให้บริ การอื่น ๆ                               
ที่มา: “Country profile: The local government system in Malaysia”,
www.clgf.org.uk/2005updates/Malaysia.pdf

3.2 แหล่งทมาของรายได้ของประเทศมาเลเซีย
              ี่
                                                                  ํ
       แหล่ งที่มาของรายได้ระหว่างรัฐบาลกลางและมลรั ฐได้กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ โดย
อํานาจหน้าที่โดยส่ วนใหญ่เป็ นของรัฐบาลกลาง และในการจัดเก็บภาษีและรายได้อื่น ๆ และ
มลรัฐมีหน้าที่จดเก็บรายไดในส่วนใบอนุ ญาต ค่าบริ การ ค่าเช่า เป็ นต้น อย่างไรก็ตามมลรัฐซา
                 ั           ้
บาห์และ ซาราวกเป็นมลรัฐที่มีอานาจจดเก็บภาษีและอากรที่มลรัฐอื่นไม่มีอานาจจดเก็บซ่ ึ ง
                   ั                 ํ    ั                                 ํ     ั
ได้แก่ อากรนําเข้า อากรสรรพสามิตของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและอากรส่ งออกของสิ นค้าที่ทา       ํ
จากและท่ อนซุ ง ขณะเดี ย วกันมลรั ฐ ก็ ย งคงถู ก จํากัด อํา นาจทางด้า นการกู้ยืม เนื่ องจาก
                                               ั
รั ฐ ธรรมนู ญ ได้ก ํา หนดว่ า มลรั ฐ สามารถกู้ยืม ได้จ ากรั ฐ บาลกลางและจากสถาบันการเงิ น
ภายในประเทศเท่านั้น (Domestic financial market) โดยรายละเอียดด้านแหล่งที่มาของรายได ้
ของรัฐบาลกลาง มลรัฐ และรัฐบาลทองถ่ินมีดงน้ ี
                                       ้         ั
12

      3.2.1 รายได้ของรัฐบาลกลาง
               รายได้ของรัฐบาลกลาง ประกอบด้วยรายได้ที่เป็ นภาษีอากร ซึ่ งเป็ นการจัดเก็บภาษี
ท้งทางตรงและทางออม รายไดที่ไม่ใช่ภาษี และรายไดที่เป็นเงินคืน ดงรายละเอียดต่อไปนี้
  ั                    ้               ้                         ้         ั
               1) รายได้ทางภาษีอากร ประกอบด้วยภาษี 2 ประเภทหลัก ได้แก่ ภาษีทางตรงและ
ภาษีทางออม้
                  1.1) ภาษี ท างตรง ซึ่ งประกอบด้ว ยภาษี ร ายได้ (income tax) และ
ภาษีมูลค่าเพิ่มของทรัพยสิน (property tax and capital gains) ดงต่อไปน้ ี
                              ์                                       ั
                              ภาษีรายได้ ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (individuals) ภาษีเงินได้
                                นิติบุคคล (companies) ภาษีปิโตรเลียม อากรแสตมป์ และอื่น ๆ
                              ภาษีทรัพย์สินส่วนเพมและ Capital Gain ได้แก่ Real Property Gains
                                                       ่ิ
                                Tax Estate duty และ ค่าธรรมเนียมการโอนที่ดิน
                  1.2) ภาษี ทางอ้อม แบ่ งเป็ น 2 ประเภทได้แ ก่ ภาษี จ ากการค้า ขายระหว่ า ง
ประเทศ ภาษีของสินคา/บริการและการบริ โภค และภาษีอื่น ๆ ดังนี้
                           ้
                              ภาษีจากการค้าขายระหว่างประเทศ ประกอบไปด้วยอากรการนําเข้า
                                และส่งออก
                              ภาษีของสิ นค้า/บริ การและการบริ โภค ได้แก่ อากรสรรพสามิต ภาษี
                                ซื้ อ ภาษีการให้บริ การ
                              ภาษี อื่น ๆ ได้แ ก่ ภาษี เ กี่ ย วกับความบันเทิ ง (Entertainment tax)
                                อากรแสตมป์ ภาษี เ กม ภาษี ก ารพนั น ภาษี ส ลากกิ น แบ่ ง ภาษี
                                ลอตเตอรี่ ภาษีคาสิโน
                  1.2 รายไดที่ไม่ไดมาจากภาษี และรายไดเ้ งินคืน ไดแก่รายไดที่มาจาก ภาษี
                                     ้      ้                                  ้         ้
ถนน ใบอนุญาต ค่าธรรมเนียมการให้บริ การ เงินปรับ เงินริ บ ดอกเบี้ย เงินบริ จาค เงินช่วยเหลือ
จากองค์กรของภาครัฐของต่างประเทศ เงินคืน รายไดจากหน่วยงานอื่นของรัฐ ค่าลิขสิทธ์ ิ และ
                                                               ้
ค่าแก๊ส
        3.2.2 รายได้ของมลรัฐ
                 รายไดของมลรัฐประกอบไปดวยรายไดที่เป็นภาษีอากร และไม่เป็นภาษีอากร
                         ้                           ้             ้
และรายได้ที่ไม่ได้จดเก็บเอง ดังนี้
                     ั
13

                 1) รายได้ภาษีอากร
                      รายได้จากอากรนําเข้าและอากรสรรพสามิตของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
                           และอากรส่ งออกของไม้ และสิ นค้าไม้ป่า สําหรับมลรัฐซาบาห์ และซา
                           ราวก รวมถึงการจัดเก็บอากรสรรพสามิตสําหรับนํ้าตาลเมา (toddy) ใน
                                  ั
                           ทุกๆ มลรัฐ
                      ภาษีป่า (Forests)
                      ภาษีจากที่ดินและเหมือง (Land and Mines)
                      อากรจากการบันเทิง (Entertainment duties)
                 2) รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร ได้แก่ การออกใบอนุ ญาต (Licenses and permits)
ค่าธรรมเนียมการให้บริ การ (Service fees) ค่าธรรมเนี ยมการให้บริ การด้าน นํ้า แก็ส ท่าอากาศ
ยาน และท่ าเรื อ ต่ อด าเนินการของบริ ษทธุ ร กิจ ค่ าธรรมเนีย มจากการขายที่ดิ น การให้เ ช่ า
                         ํ                  ั
ทรัพยสินของรัฐ และเงินปันผลและดอกเบ้ ย
       ์                                      ี
                 3) รายได้เงินคืนและอื่น ๆ ได้แก่ เงินอุดหนุนจากรัฐบาลกลางและ เงินคืน
         3.2.3 รายไดของรัฐบาลทองถิ่น
                       ้             ้
                 รายได้ของรัฐบาลท้องถิ่นสามารถแบ่งได้หลัก ๆ 3 ประเภท ไดแก่            ้
                 1). รายไดที่จดเก็บเอง โดยมีรายไดที่จดเก็บเองไดแก่ ภาษีการประเมินมูลค่ า
                                 ้ ั                   ้ ั                ้
ราคา (Assessment Tax) ใบอนุ ญาต (Licenses and Permits) การให้เช่า (Rental) ค่าที่จอดรถ
ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และดอกเบี้ย
                 2). เงิ นอุ ด หนุ น (Grants) รั ฐ บาลท้อ งถิ่ น ได้รั บเงิ น อุ ด หนุ น จากมลรั ฐ และ
รั ฐ บาลกลางในประเภทเงินอุด หนุน 5 ประเภท โดยไดรั บจากมลรั ฐ 2 ประเภทได ้แก่ เงิน
                                                               ้
อุดหนุนเพื่อชดเชยการขาดดุลการคลงและ เงินอุดหนุนเพื่อการพฒนาทองถ่ิน เช่น ระบบระบาย
                                       ั                             ั        ้
น้ า โดยการกาหนดเม็ดเงินในการอุหนุนน้ ันมีความไม่แน่นอนข้ ึ นอย่กบแผนการพฒนาของ
     ํ         ํ                                                                ู ั          ั
ทองถ่ินน้ น ๆ หรือสามารถแบ่งเป็นประเภทยอยๆ โดยรายละเอียดจะปรากฏในบทถัดไป
   ้       ั                                    ่
                 3). เงินกยมู้ ื
14

          ตารางที่ 4 แหล่งทมาของรายได้ของรัฐบาลกลาง มลรัฐ และรัฐบาลท้องถิ่น
                           ี่
                                 ของประเทศมาเลเซีย
               รั ฐบาลกลาง                        มลรัฐ              รั ฐบาลท้องถิ่น
รายได้ ที่เป็ นภาษีอากร          รายได้ ที่เป็ นภาษีอากร      รายได้ ที่เป็ นภาษีอากร
ภาษีทางตรง                           อากรนาเขา อากรสรรพสามิต  การประเมินราคา
                                                ํ ้
 - ภาษีเงินได้                   ของผลิตภณฑปิโตรเลียมแบะ
                                               ั ์
   • บุคคลธรรมดา                 อากรส่งออกของสินคาที่ทาจาก
                                                          ้ ํ
   • นิติบุคคล/บริษท      ั      จากและท่อนซุง สาหรับมลรัฐซา
                                                        ํ
   • สมาคม/สหกรณ์                บาห์และซาราวก และอากรสรรพา
                                                    ั
   • ปิโตรเลียม                  สามิตของสุรา สาหรับทุก มลรัฐ
                                                      ํ
   • อื่น ๆ
- ภาษีทรัพยสินส่วนเพม์      ่ิ
- อื่น ๆ
ภาษีทางออม   ้
- ภาษีการคาระหวางประเทศ
                  ้     ่
  • อากรส่งออก
  • อากรนาเขาและภาษีส่วน
                    ํ ้
      เพม ่ิ
- ภาษีสินคาและบริการ
                ้
  • อากรสรรพาสามิต
  • ภาษีซ้ื อ
  • ภาษีขาย

  ภาษีอื่น ๆ
 • ภาษีเกี่ยวกบการบนเทิง
              ั    ั
 • อากรแสตมป์
 • คาสิโน
 • ภาษีเกมส์
 • ภาษีการพนน   ั
 • ลอตเตอรี่
15

              รั ฐบาลกลาง                             มลรัฐ                   รั ฐบาลท้องถิ่น
รายได้ ที่ไม่ ใช่ ภาษีอากรและรายได้ รายได้ ที่ไม่ ใช่ ภาษีอากร         รายได้ ที่ไม่ ใช่ ภาษีอากร
จากการชําระคน      ื                 • ใบอนุญาต                          ใบอนุญาต
  • ภาษีถนน                          • สัมปทาน/ลิขสิทธ์ ิ                ค่าเช่า
  • ใบอนุญาต                         • ค่าบริการ                         ค่าธรรมเนียม
  • ค่าบริการ                        • ค่าบริการสาธารณะ                  ค่าปรับ
  • ค่าปรับ                          • รายรับจากการขายที่ดิน
  • ดอกเบ้ ย     ี                   • ค่าเช่าของทรัพยสินของมล ์
  • เงินบริจาค                          รัฐ
  • เงินคืน                          • ดอกเบ้ ย ส่วนแบ่งผลกาไร
                                                   ี             ํ
  • รายรับจากหน่วยงานของรัฐ
  • รายรับจากรัฐบาลกลาง
  • ค่าสัมปทาน/แกส       ๊
                                    รายได้จากการชําระคน      ื             รายได้จากการชําระคน
                                                                                             ื
                                      เงินอุดหนุนและเงินคืนจาก             • เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
                                        รัฐบาลกลาง                             กลาง
                                                                            • เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
                                                                               ทองถิ่น
                                                                                 ้
ที่มา: 1. The Constitution of Malaysia; Ministry of Finance economic Reports as cited in Anuar,
2000:294
       2. Alica B. Celestino, “Malaysia: Does it really need decentralization?”
         http://www.decentralization.ws/srcbook/malaysia.pdf

3.3 โครงสร้างรายได้ของรัฐบาลท้องถนของประเทศมาเลเซีย
                                     ิ่
    รายไดรัฐ บาลทองถ่ิ นสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภทหลก ๆ ซ่ ึ งไดแ ก่ รายไดที่รัฐบาล
            ้        ้                                        ั          ้         ้
ทองถ่ินจดเก็บเอง เงินอุดหนุน และเงินกูยม ตามที่ได้กล่าวไว้อย่างคร่ าว ๆ ในบทที่ 2 โดยแต่ละ
  ้     ั                               ้ื
ประเภทหลก มีรายละเอียดดงต่อไปน้ ี
          ั                ั
16

            3.3.1 รายได้ทรัฐบาลท้องถนจดเกบเอง
                               ี่               ิ่ ั ็
                       รายได้ที่รัฐ บาลท้องถิ่ นจัดเก็ บเองประกอบไปด้ว ย ภาษี ก ารประเมิ นมู ล ค่ า
(Assessment Tax) ใบอนุ ญาต (Licenses and Permits) ค่าเช่า (Rental) ค่าจอดรถ (Car parking)
กําไรจากการลงทุน และดอกเบี้ย โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
                       1) ภาษีการประเมินมูลค่า (Assessment Tax)
                          ภาษีการประเมินมูลค่า (Assessment Tax) มีฐานภาษีการจัดเก็บจากราคา
ประเมิน (improve value) ของมูลค่าค่าเช่า หรื อมูลค่าเพิ่มของทรัพย์สิน (ราคาขาย) ซ่ ึ งกฎหมาย
                                                                 ํ
ของรัฐบาลท้องถิ่น (The Local Government Act.)ได้กาหนดเพดานภาษีไว้ที่อตราร้อยละ 35        ั
ของมูล ค่ าประเมิ นรายปี (Annual value) หรือร้อยละ 5 ของมู ลค่าเพิ่ม (Value-added) ของ
ทรัพยสินที่ถือครอง โดยเพดานภาษีดงกล่าว ไม่อยู่ภายใตกฎหมายการควบคุมการเช่า (Rent
          ์                                       ั                    ้
Control Act (1960)) โดยอตราภาษีจะผนแปรไปตามการใชประโยชน์และทาเลที่ต้ งของ
                                      ั               ั                    ้               ํ           ั
ทรัพย์สินนั้น ๆ และกฎหมายได้ให้อานาจแก่มลรัฐ (State Government) ในการพิจารณาระหว่าง
                                          ํ
มูลค่าค่าเช่าหรื อมูลค่าตลาดเพื่อเป็ นฐานการจัดเก็บภาษีการประเมินมูลค่า ดงน้ นจานวนรายได ้
                                                                                    ั ั ํ
ที่สามารถจดเก็บจากภาษีชนิดน้ ีข้ ึนอยกบการพฒนาแต่ละทองที่ ไม่ว่าทองที่น้ น ๆ จะมีจานวนที่
               ั                            ู่ ั          ั          ้       ้         ั         ํ
อยู่อาศัย อาคารพาณิ ชย์ โรงงาน และที่ดินมากเพียงใด อย่างไรก็ตามรั ฐบาลท้องถิ่นบางแห่ ง
จัดเก็บภาษีจากที่ดินว่างเปล่าเพื่อเป็ นบทลงโทษสําหรับผูเ้ ป็ นเจ้าของที่ดินที่ไม่ก่อให้เกิ ดรายได้
และการพัฒนาที่ดิน
                          รายได้จ ากภาษี การประเมิ นมู ล ค่ า จะผันแปรไปตามอัต ราภาษี ที่จด เก็ บ    ั
มูลค่าประเมินประจําปี หรื อมูลค่าเพิ่ม และจํานวนของประเภทของทรัพย์สินที่ถือครอง การเพิ่ม
อัตราภาษีจะต้องผ่านการอนุมติจากสภา (Councils) ของทองถ่ิน และมลรัฐน้ น ๆ อย่างไรก็ตาม
                                    ั                              ้              ั
การปรับเปลี่ยนมูลค่าประเมินประจาปีหรือมูลค่าเพมสาหรับการถือครองน้ นตองทาการประเมิน
                                        ํ                   ่ิ ํ               ั ้ ํ
มู ล ค่ า ใหม่ อ ย่ า งรอบคอบ ซ่ ึ งกระท า ได ้ย ากเนื่ อ งจากการประเมิ น มู ล ค่ า ใหม่ น้ ันค่ อ นข ้า ง
                                              ํ
สิ้นเปลืองงบประมาณสาหรับหน่วยงานทองถิ่น
                             ํ                      ้
                       2) ค่าธรรมเนียม
                          ค่าธรรมเนียมเป็นรายไดอีกประเภทหน่ ึ งที่รวมถึงค่าเช่า ค่าบริการต่าง ๆ
                                                        ้
โดยค่าธรรมเนียมจะถูกเรี ยกเก็บจากการได้รับการบริ การหรื อดําเนินการโดยรัฐบาลท้องถิ่น เช่น
การออกใบอนุญาตเพื่อก่อต้ งธุรกิจ ค่าเช่าจากทรัพยสินที่รัฐบาลทองถ่ินเป็นเจาของ เป็นตน
                                  ั                           ์          ้           ้             ้
                          2.1) ค่ า ออกใบอนุ ญ าต (Licenses and Permits) กํา หนดโดยรั ฐ บาล
ท้องถิ่ นเพื่ อจัด เก็บในกิ จ กรรมภายในท้องถิ่ นนั้น ๆ โดยปกติ รั ฐ บาลท้องถิ่ นจะทํา การออก
17

ใบอนุญาตให้สาหรับการจัดตั้ง ความเป็ นเจ้าของ และกิจกรรมของธุ รกิ จ ซึ่ งรายได้จากการออก
                  ํ
ใบอนุญาตหรือการต่ออายใบอนุญาตน้ นถือว่าเป็ นแหล่งที่มาของรายได้ที่สาคัญของท้องถิ่นของ
                                  ุ            ั                                  ํ
ประเทศมาเลเซี ย รวมถึงการออกใบอนุ ญาตสําหรับร้านถ่ายรู ป ร้านอาหาร ร้านซักรี ด ร้านชํา
โรงรับจํานํา ร้านทอง และการหามเร่ ขายของ โดยอัตราการจัดเก็บนั้นขึ้นอยูกบขนาดของชุมชน่ ั
ซึ่ งเป็ นรายจ่ายที่ธุรกิจสามารถรับได้ แต่อย่างไรก็ตามธุรกิจมักจะหลีกเลี่ยงการเสี ยค่าธรรมเนี ยม
ทําให้รัฐบาลท้องถิ่นไม่สามารถที่จะจัดเก็บรายรับจากการออกใบอนุญาตได้เท่าที่ควร
                             2.2) ค่าเช่า (Rental) เป็ นรายได้จากการให้เช่าทรัพย์สินของรัฐบาลท้องถิ่น
โดยรายได้ชนิ ดนี้ จดว่าเป็ นรายได้ที่ค่อนข้างแน่ นอน ขณะเดี ยวกันก็สามารถยืดหยุนได้ โดย
                         ั                                                                 ่
รัฐบาลท้องถิ่นสามารถที่จะเพิ่มอัตราค่าเช่าในขณะที่สภาวะทางเศรษฐกิ จดีและความต้องการ
ดานอสังหาริมทรัพยสูงค่า
    ้                      ์
                             2.3) ธรรมเนียม ค่าปรับ ค่าจอดรถ และดอกเบี้ย (Car parking, fine, fee,
interest) ค่าธรรมเนียม เป็ นรายได้ที่ได้รับจากการได้รับการบริ การจากรัฐบาลท้องถิ่น เช่นค่าคํา
ร้อง ค่าทําพิธีกรรมเกี่ยวกับศพ เป็ นต้น ขณะที่ค่าปรับจะจัดเก็บจาก การทิ้งขยะเรี่ ยราด การหาบ
เร่ การจอดรถในที่ห้ามจอด รวมถึงดอกเบี้ยจัดว่าเป็ นรายได้ประเภทหนึ่ งของรัฐบาลท้องถิ่ น
และเป็ นรายได้ที่สาคัญสําหรับรัฐบาลทองถ่ินที่มีฐานะมงคงที่สามารถลงทุนในสถาบนการเงิน
                       ํ                         ้               ั่ ั่                       ั
หรือลงทุนในกิจการอื่น ๆ

              3.3.2 เงนอดหนุน
                        ิ ุ
                     Ministry of Housing and Local Government (MHLG) ได้ให้เงินอุดหนุ นแก่
รัฐบาลท้องถิ่น เพื่อใช้ในการปรับโครงสร้างด้านสังคมและเศรษฐกิจ โดยจะมีเพดานการให้เงิน
อุดหนุนแต่ละท้องถิ่น เงินอุดหนุนดังกล่าว รัฐบาลท้องถิ่นนํามาใช้ในการทุก ๆ รัฐบาลท้องถิ่น
ซึ่ งใช้เ งิ นอุ ด หนุ นสํา หรั บการขยายสิ่ งอํา นายความสะดวกด้า นที่ อยู่อาศัย การค้า ขาย และ
อุต สาหกรรม ในปี 2526 รั ฐ บาลกลางได้จ่ า ยเงิ นอุด หนุ นสํา หรั บบํา รุ งรั ก ษาประจํา ปี โดย
คํา นึ งถึ งปั จ จัย ต่ า ง ๆ ได้แ ก่ ขนาดของรั ฐ บาลท้องถิ่ น และรายได้ เป็ นต้น นอกจากนี้ เงิ น
อุดหนุนยังช่วยแบ่งเบาภาระที่เพิ่มขึ้นจากการจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างของรัฐบาลท้องถิ่น รวมทั้ง
ค่ าก่ อสร้ า งถนนของเทศบาลเมื อง ซึ่ งไม่ มี คุณสมบัติข องการได้รับเงิ นอุด หนุ นเนื่ องจากอยู่
ภายใต ้การปกครองของรั ฐบาลท้องถิ่ น ในปี 2541 รัฐ บาลกลางไดประกาศให้มีการให้เงิน
                                                                        ้
อุดหนุนสําหรับถนน ตรอก และซอย เพื่อที่จะช่วยในการดูแลถนนของรัฐบาลท้องถิ่นที่จากเดิม
ไม่มีงบประมาณเงินอุดหนุนให้
18

                   รัฐบาลทองถ่ินของประเทศมาเลเซียมีบทบาทในดานการปกครองตนเอง รวมถึง
                                 ้                                 ้
การบริ หารด้านการคลัง พิจารณาได้จากการมีอานาจในการจัดเก็บภาษีการประเมินมูลค่า แต่
                                                       ํ
อย่างไรก็ตามรัฐบาลทองถิ่นยงคงตองการเงินอุดหนุ นจากรัฐบาลกลางและมลรัฐเพื่อนํามาเติม
                              ้         ั ้
                                            ่                    ่
ในส่ วนงบประมาณของขาดดุล ที่ผานมารัฐบาลท้องถิ่นอยูภายใต้การรับผิดชอบของมลรัฐผูซ่ ึ ง      ้
มีหนาที่และความรับผดชอบในการจัดการด้านการเงินและการคลัง โดยรัฐบาลท้องถิ่นจะได้รับ
       ้                    ิ
เงินอดหนุนเพียงจานวนเล็กนอย เฉลี่ยแลวมีจานวนนอยกว่าร้อยละ 10 ของรายไดของท้องถ่ิน
     ุ                ํ               ้          ้ ํ         ้                     ้
ทั้งหมด ทั้งนี้ เงินอุดหนุ นที่รัฐบาลท้องถิ่นนาไดรับ แบ่งเป็น 5 ประเภท จาแนกตามแหล่งที่มา
                                                   ํ ้                      ํ
รายไดดงน้ ี
         ้ ั
                       เงินอุดหนุนที่ได้มาจากรัฐบาลกลาง จําแนกเป็ น 3 ประเภท ไดแก่
                                                                                 ้
                        1) เงินอุดหนุนเพื่อการดําเนินกิจการ (Launching grants)
                        2) เงินอุดหนุนเพื่อการบํารุ งรักษาถนน และเพื่อระบบการระบายนํ้า (Road
                                maintenance and drainage grants)
                        3) เงินอุดหนุนเพื่อให้เกิดความสมดุล (Balancing grants)
                       เงินอุดหนุนที่ได้รับจากมลรัฐจาแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
                                                         ํ
                        1) เงินอุดหนุนเพื่อให้ความเสมอภาค (Annual equalization grants)
                        2) เงินอุดหนุนเพื่อการพัฒนาโครงการ (Development project grants)

             1) เงินอุดหนุนที่ได้มาจากรัฐบาลกลาง
                  1.1) เงินอุดหนุ นเพื่อการดําเนิ นกิ จการ (Launching grants) เงินอุดหนุ นจาก
รัฐบาลกลางที่จดสรรให้แก่ ทองถิ่ นเพื่อเป็ นแรงจูงใจให้รัฐบาลท้องถิ่ นในการปรั บปรุ งหรื อ
                ั              ้
เปลี่ยนแปลงโครงสร้ าง ของท้องถิ่นของตนเอง และยกระดับสิ่ งอานวยความสะดวก รวมถึง
                                                                    ํ
จัดหาวัสดุอุปกรณ์ใหม่ ๆ เพื่อการให้การบริ การที่กว้างขวางยิงขึ้น โดย MHLG มีอานาจในการ
                                                              ่                   ํ
พิจารณาและจัดสรร
                  1.2) เงินอุดหนุนเพื่อการบํารุ งรักษาถนน และเพื่อระบบการระบายนํ้า (Road
maintenance and drainage grants) โดยทุกรัฐบาลท้องถิ่นจะได้รับเงินจัดสรรประเภทนี้ เพื่อการ
บํารุ งรักษาและยกระดับระบบการระบายนํ้า เกื้ อหนุ นและบรรเทาภัยนํ้าท่วม แนวทางป้ องกัน
และควบคุมการเกิดอุทกภัยภายหลัง และการบํารุ งรักษาถนนที่รัฐบาลเป็ นเจ้าของ
19

                    1.3) เงินอุดหนุ นเพื่อให้เกิ ดความสมดุล (Balancing grants) เงินอุดหนุ นจาก
รัฐบาลกลางที่จดสรรให้ทองถิ่นเพื่อทดแทนส่ วนที่ขาดดุ ล โครงการขนาดย่อมเพื่อการพัฒนา
                  ั             ้
สังคมและเศรษฐกิจ รวมถึงการจดสรรใหแก่รัฐบาลทองถิ่นที่ดอยกว่า
                                     ั            ้         ้     ้
                2) เงินอุดหนุนที่ได้รับจากมลรัฐ
                    2.1) เงิ น อุ ด หนุ น เพื่ อ ให้ค วามเสมอภาค (Annual equalization grants)
เงินอุดหนุนประเภทน้ ีมีไวเ้ พื่อสําหรับเติมเต็มความไม่สอดคลองกนระหว่างรายไดของรัฐบาล
                                                                    ้ ั                    ้
ทองถ่ินที่สามารถหาได้ และรายจ่ายของรัฐบาลท้องถิ่ น โดยรัฐบาลกลางเป็ นผูให้เงินอุดหนุ น
   ้                                                                                     ้
ประเภทน้ ีแก่ รัฐบาลทองถิ่นของ peninsular โดยผ่านมลรัฐของ peninsular ทั้งนี้ รัฐซาบาห์ และ
                         ้
ซาราวัก ไม่ ได้รั บเงิ นอุ ดหนุ นประเภทนี้ เ นื่ องจากทั้งสองรั ฐเป็ นรั ฐ อิ ส ระที่ มี กฎหมายจัด ตั้ง
โดยเฉพาะ และมีอานาจในการบริ หารจัดการด้านการคลังมากกว่ารัฐอื่น ๆ
                      ํ
                    2.2) เงิ นอุด หนุ นเพื่อการพัฒนาโครงการ (Development project grants)
เป็ นเงิ นอุดหนุ นให้แก่ รัฐบาลท้องถิ่นเพื่อพัฒนาโครงการต่าง ๆ เพื่อเศรษฐกิ จและสังคม เช่ น
การพฒนาดานโครงสร้างพ้ืนฐาน สิ่งอํานวยความสะดวก เพื่อชุมชน การรักษาความสะอาด การ
       ั      ้
สร้างความน่าอยู่ สุ ขอนามย เป็นตน
                              ั         ้

       3.3.3 เงนก้ยม (Loan)
                    ิ ูื
                รั ฐ บาลท้องถิ่ นสามารถกู้เ งิ นจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ สู ง กว่ า หรื อ จากสถาบัน
การเงิ น ซ่ ึ งรั ฐ บาลท ้อ งถิ่ น จะท า การกู้เ งิ น สํ า หรั บ การลงทุ น ในโปรเจ็ ค ต่ า ง ๆ และกู้เ พื่ อ
                                       ํ
ครอบคลุมกับรายจ่ายจากสถานบนการเงิน อย่างไรก็ตามรัฐบาลทองถิ่นจะไดรับการอนุมติ
                                         ั                                    ้             ้              ั
                ่ ั
หรื อไม่ข้ ึนอยูกบการพิจารณาด้านความสามารถในการชําระคืน โดยต้องได้รับการอนุมติจากมล             ั
รัฐ (state government) ขณะเดียวกนจานวนเงินกตองไม่เกินกว่าห้าเท่าของมูลค่าที่ประเมินได ้
                                           ั ํ              ู้ ้
และเวลาชําระคืนต้องไม่เกิน 6 ปี
20

 ตารางที่ 5 อตราส่วนของแหล่งทมาของรายได้ของรัฐบาลท้องถิ่นของประเทศมาเลเซียในปี 2542
             ั               ี่

           แหล่งทมาของรายได้
                  ี่                                       เปอร์ เซ็นต์
ภาษีการประเมินมูลค่า                                         47.38
ค่าเช่าจากการถือครองทรัพย์สินโดยท้องถิ่น                      5.27
ค่าใบอนุญาต                                                   5.97
ค่าธรรมเนียม ค่าบริ การ                                      20.10
เงินอุดหนุน (รัฐบาลกลางและมลรัฐ)                             20.67
รายได้ภาษีอื่น ๆ                                              0.50
รวม                                                           100
ที่มา: Mohamed Affandi Ismail (1995), Ministry of Housing and Local Government.

        จากตารางที่ 5 จะเห็นได้ว่า อัตราส่ วนของแหล่งที่มาของรายได้ของรัฐบาลท้องถิ่นในปี
2542 นั้น ภาษี ก ารประเมิ นมู ล ค่ า จัด ว่ า เป็ นรายได้ที่มี สั ด ส่ ว นสู ง ที่ สุ ด หรื อ รร้ อ ยละ 47.38
รองลงมาคือรายไดประเภทเงินอุดหนุน และ ค่าธรรมเนียม และค่าบริการ ส่วนรายไดจากการ
                  ้                                                                                   ้
ให้เช่าและใบอนุญาตเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 5-6

3.4 การจัด เก็บ ภาษี ที่ดิน (Quit rent) และภาษี การประเมินมู ลค่ า (Assessment Tax):
กรณีศึกษาเมืองยะโฮร์ บาห์ รู รัฐยะโฮร์ ประเทศมาเลเซีย
              ประเทศมาเลเซี ยมีการจัดเก็บภาษีที่ดิน (Quit Rent) และภาษีการประเมินมูลค่า
(Assessment Tax) โดยจัดเก็บจากผูถื อครองที่ดิ น และสิ่ งปลู กสร้ าง โดยมลรัฐและรั ฐ บาล
                                     ้
ทองถ่ิ นมีอานาจการจัดเก็บ และมีการกําหนดอัตราการจัดเก็บที่แตกต่างกันออกไปตามมลรัฐ
  ้        ํ
และทองถิ่น โดยมีรายละเอียดดงต่อไปน้ ี
       ้                        ั

    3.4.1 ภาษีทดน (Quit Rent)
                   ี่ ิ
          1) หลักการจัดเก็บ
                 Quit rent เป็ นรู ปแบบการจัดเก็บภาษีแบบหนึ่ งของมลรัฐ ซึ่ งจะจัดเก็บจากผูถือ
                                                                                          ้
ครองหรือผเู ้ ป็นเจาของ (ยกเว้นที่ดินที่ใช้ประโยชน์ทางศาสนา) อัตราการจัดเก็บจะไม่แน่ นอน
                     ้
21

         ่ ั
ขึ้นอยูกบมลรัฐนั้น ๆ และอัตราการจัดเก็บผันแปรไปตามทําเลที่ต้ งและวัตถุประสงค์ในการใช้
                                                                                 ั
ประโยชน์ของที่ดินนั้น ๆ โดยปกติแล้วมลรัฐแต่ละแห่ งจะมีอตราการจัดเก็บที่แตกต่างกัน ไม่ว่า
                                                                         ั
จะเป็ นที่ดินที่มีไว้เพื่อเกษตรกรรม สํานักงาน อาคารหรื อสิ่ งปลูกสร้าง หรื อเพื่ออุตสาหกรรม
ภายใต้ก ารใช้ประโยชน์ข องที่ดินสําหรั บอาคารหรื อสิ่ งปลูก สร้ างยังมี อตราจัดเก็บย่อย โดย
                                                                                       ั
จําแนกจากการใช้ประโยชน์ว่าเป็ นลักษณะใช้เพื่อการค้าหรื ออยูอาศัย ขณะเดียวกันสิ่ งปลูกสร้าง
                                                                           ่
เพื่ออยอาศยก็มีอตราการจดเก็บที่แตกต่างกนดวย ซ่ ึ งข้ ึนอย่กบทาเลและที่ต้ งน้ นอย่ในเมืองหรือ
          ู่ ั         ั           ั             ั ้               ู ั ํ                 ั ั ู
ชนบท
                     The National Land Code ได้กาหนดให้ผถือครองกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินทุกคนมี
                                                        ํ           ู้
                                                    ํ
หน้าที่ตองเสี ยภาษีที่ดิน (Quit rent) ตามวันที่กาหนด การกําหนดวันสุ ดท้ายของการชําระภาษีจะ
             ้
ถูก กํา หนดโดยมลรั ฐ แต่ ล ะมลรั ฐ แต่ โ ดยส่ ว นใหญ่ แ ล้ว จะกําหนดให้ชา ระภายในวันที่ 31ํ
พฤษภาคม ของทุก ๆ ปี และมีบทลงโทษสําหรับกรณี การชําระล่าช้าเกิ นกําหนด โดยอาจจะถูก
ริบที่ดินน้ น ๆ หรือเงินปรับ
                 ั
                   2) อัตราการจัดเก็บ Quit Rent ในรัฐยะโฮร์
                         การจัดเก็บ Quit Rent ในรัฐยะโฮร์ เริ่ มจัดเก็บตั้งแต่ปี 2544 โดยแบ่งประเภท
การจัด เก็ บภาษี ที่ดิ น 4 ประเภท ได้แ ก่ ที่ ดิ นเพื่ อการเกษตรกรรม ที่ ดิ นสํา หรั บอาคาร ตึ ก
สํา นัก งาน ที่ ดิ น เพื่ อการอุ ต สาหกรรม และที่ ดิ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ก ํา หนดประเภทไว้แ ต่ ส ามารถใช้
ประโยชน์ได ้ และที่ดินอื่น ๆ โดยมีอตราการจดเก็บดงน้ ี (รายละเอียดปรากฏตามภาคผนวก
                                              ั       ั        ั
ตารางที่ 6)
                         2.1) ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม มีหลักการจดเก็บโดยจาแนกตามประเภทของ
                                                                       ั             ํ
การเกษตร และขนาดของที่ดินในการทําการเกษตร เช่ นการทาไร่ยาง มะพร้าว น้ ามนปาล์ม ํ               ํ ั
สวนผลไม้ ชา กาแฟ นํ้าตาล กล้วย การประมง และการปศุสัตว์ โดยอัตราการจัดเก็บด้านกสิ กร
รมจะอยูระหว่าง 10 ริ งกิต – 124 ริ งกิ ต ต่อพื้นที่ต้ งแต่ 2 เฮกตาร์ 4เป็นตนไป การประมงจดเก็บ
               ่                                          ั                 3      ้               ั
ตั้งแต่ 50 ริ งกิ ต – 500 ริงกิต ต่อเฮกตาร์ การปศุสัตว์จดเก็บต้ งแต่ 50 ริงกิต – 250 ริงกิต ต่อ
                                                                 ั           ั
เฮกตาร์
                         2.2) ที่ดินสําหรับอาคาร ตึก สํานักงาน มีหลักการจัดเก็บตามประเภทการใช้
ประโยชน์เช่น สถานีน้ ามัน ร้านค้า ห้องแถว โรงงาน ท่าเรื อ อ่างเก็บนํ้า ที่จอดรถ ท่าอากาศยาน
                              ํ
เป็นตน โดยมีอตราการจดเก็บต้ งแต่ 3 ริ งกิต – 540 ริ งกิต ต่อ ตารางเมตร
       ้             ั           ั       ั

4
    หน่วยวัดของพืนที่ (1 เฮกตาร์เท่ากับ 100 เอเคอร์ หรือ 10000 ตารางเมตร)
                 ้
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม
Paper malay19รวม

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Kerajaan samudra pasai
Kerajaan samudra pasaiKerajaan samudra pasai
Kerajaan samudra pasaiKrisdiana 1911
 
Kerajaan Aceh dan Samudra Pasai
Kerajaan Aceh dan Samudra PasaiKerajaan Aceh dan Samudra Pasai
Kerajaan Aceh dan Samudra PasaiValencia Rizal
 
Kelompok 1.Kerajaan Samudra Pasai (Sejarah kelas II SMA/MA ~ Kerajaan Islam d...
Kelompok 1.Kerajaan Samudra Pasai (Sejarah kelas II SMA/MA ~ Kerajaan Islam d...Kelompok 1.Kerajaan Samudra Pasai (Sejarah kelas II SMA/MA ~ Kerajaan Islam d...
Kelompok 1.Kerajaan Samudra Pasai (Sejarah kelas II SMA/MA ~ Kerajaan Islam d...Mulia Fathan
 
Kerajaan samudra pasai
Kerajaan samudra pasaiKerajaan samudra pasai
Kerajaan samudra pasaiFikri Yaqin
 
Kerajaan – kerajaan bercorak islam di indonesia (ms. power point)
Kerajaan – kerajaan bercorak islam di indonesia (ms. power point)Kerajaan – kerajaan bercorak islam di indonesia (ms. power point)
Kerajaan – kerajaan bercorak islam di indonesia (ms. power point)Visi Utami
 
Kerajaan samudra pasai
Kerajaan samudra pasaiKerajaan samudra pasai
Kerajaan samudra pasaiAudy Yusuf
 

Destaque (7)

Sejarah kerajaan samudra pasai
Sejarah kerajaan samudra pasaiSejarah kerajaan samudra pasai
Sejarah kerajaan samudra pasai
 
Kerajaan samudra pasai
Kerajaan samudra pasaiKerajaan samudra pasai
Kerajaan samudra pasai
 
Kerajaan Aceh dan Samudra Pasai
Kerajaan Aceh dan Samudra PasaiKerajaan Aceh dan Samudra Pasai
Kerajaan Aceh dan Samudra Pasai
 
Kelompok 1.Kerajaan Samudra Pasai (Sejarah kelas II SMA/MA ~ Kerajaan Islam d...
Kelompok 1.Kerajaan Samudra Pasai (Sejarah kelas II SMA/MA ~ Kerajaan Islam d...Kelompok 1.Kerajaan Samudra Pasai (Sejarah kelas II SMA/MA ~ Kerajaan Islam d...
Kelompok 1.Kerajaan Samudra Pasai (Sejarah kelas II SMA/MA ~ Kerajaan Islam d...
 
Kerajaan samudra pasai
Kerajaan samudra pasaiKerajaan samudra pasai
Kerajaan samudra pasai
 
Kerajaan – kerajaan bercorak islam di indonesia (ms. power point)
Kerajaan – kerajaan bercorak islam di indonesia (ms. power point)Kerajaan – kerajaan bercorak islam di indonesia (ms. power point)
Kerajaan – kerajaan bercorak islam di indonesia (ms. power point)
 
Kerajaan samudra pasai
Kerajaan samudra pasaiKerajaan samudra pasai
Kerajaan samudra pasai
 

Mais de MissAey Chantarungsri

การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการMissAey Chantarungsri
 
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการMissAey Chantarungsri
 
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการMissAey Chantarungsri
 
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)MissAey Chantarungsri
 
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสีการตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสีMissAey Chantarungsri
 
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)MissAey Chantarungsri
 
สินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลังสินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลังMissAey Chantarungsri
 
ค่าเงินและดอกเบี้ย
ค่าเงินและดอกเบี้ยค่าเงินและดอกเบี้ย
ค่าเงินและดอกเบี้ยMissAey Chantarungsri
 

Mais de MissAey Chantarungsri (10)

การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
 
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
 
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
 
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสีการตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
 
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
 
สินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลังสินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลัง
 
ค่าเงินและดอกเบี้ย
ค่าเงินและดอกเบี้ยค่าเงินและดอกเบี้ย
ค่าเงินและดอกเบี้ย
 
Time value of money tables
Time value of money tablesTime value of money tables
Time value of money tables
 

Paper malay19รวม

  • 1. ผลงานหมายเลข 2 ภาษีที่ดิน (Quit Rent) และภาษีการประเมินมูลค่า (Assessment Tax) : กรณีศึกษาเมืองยะโฮร์ บาห์รู รัฐยะโฮร์ ประเทศมาเลเซีย นางสาวจริยะดา จันทรังษี เศรษฐกร 5 สํ านักนโยบายภาษี สํานักงานเศรษฐกจการคลง ิ ั เพอประเมินคุณสมบัติและผลงานในการแต่งต้ังให้ดํารง ื่ ตําแหน่ง เศรษฐกร 6 ว.
  • 2. สารบัญ หนา ้ บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเป็ นมา 1 1.2 ความจําเป็ น 6 1.3 วัตถุประสงค์การศึกษา 6 บทที่ 2 วธีดาเนินการ ิ ํ 7 บทที่ 3 เนือหาสาระของผลงานวิชาการ ้ 3.1 โครงสร้างความสัมพันธ์ของการบริ หารประเทศมาเลเซี ย 8 3.2 แหล่งที่มาของรายได้ของประเทศมาเลเซีย 11 3.3 โครงสร้างรายไดของรัฐบาลทองถิ่นของประเทศมาเลเซีย ้ ้ 15 3.4 การจัดเก็บภาษีที่ดิน (Quit rent) และภาษีการประเมินมูลค่า 20 (Assessment Tax) กรณี ศึกษาเมืองยะโฮร์ บาห์รู รัฐยะโฮร์ ประเทศมาเลเซีย 3.5 หลักการจัดเก็บภาษีโรงเรื อนและภาษีบารุ งท้องที่ ํ 25 ของประเทศไทย 3.6 เปรียบเทียบหลกการจดเก็บภาษีที่ดิน (Quite rent) และภาษีการ ั ั 27 ประเมินมูลค่า (Assessment Tax) ของเมืองเมืองยะโฮร์ บาห์รู รัฐยะโฮร์ ประเทศมาเลเซี ย และการจัดเก็บภาษีโรงเรื อนและ ภาษีบารุงทองที่ของประเทศไทย ํ ้ บทที่ 4 สรุปผลการวเิ คราะห์และข้อเสนอแนะ 29 บทที่ 5 ความย่ ุงยากในการดาเนินการ ํ 31 บทที่ 6 ประโยชน์ทได้รับ ี่ 32 ภาคผนวก 33
  • 3. สารบัญตาราง ตารางที่ หน้ า 1 โครงสร้างการปกครองของประเทศมาเลเซีย 3 2 โครงสร้างการกระจายอํานาจแบ่งตามมลรัฐของประเทศมาเลเซี ย 4 3 การกระจายอํานาจและหน้าที่รับผิดชอบระหว่างรัฐบาลกลาง มลรัฐ 9 และรัฐบาลทองถ่ิน ของประเทศมาเลเซีย ้ 4 แหล่งที่มาของรายได้ของรัฐบาลกลาง มลรัฐ และรัฐบาลทองถิ่น ้ 14 ของประเทศมาเลเซีย 5 อัตราส่ วนของแหล่งที่มาของรายได้ของรัฐบาลท้องถิ่นของประเทศ 20 มาเลเซี ยในปี 2542 6 อัตราการจัดเก็บภาษีการประเมินมูลค่าในเมืองยะโฮร์ บาห์รู 24 ในรัฐยะโฮร์ ประเทศมาเลเซีย 7 ภาษีที่จดเกบจากที่ดินและอสังหาริมทรัพยในประเทศไทยและ ั ็ ์ 27 ประเทศมาเลเซีย 8 เปรียบเทียบความแตกต่างการจดเก็บภาษีที่ดินในประเทศไทยและ ั 28 ประเทศมาเลเซีย
  • 4. บทที่ 1 : บทนํา 1.1 ความเป็นมา 1.1.1) ขอมูลทวไป ้ ่ั ประเทศมาเลเซี ยเป็ นประเทศหนึ่ งในสมาชิกอาเซี ยน ตั้งอยู่บนแหลมมลายู และ เกาะบอร์เนียว มีพ้ืนที่ท้ งหมด 329,750 ตารางกิ โลเมตร มี อาณาเขตติ ดต่ อกับประเทศไทย ั สิงคโปร์ บรูไน และอินโดนี เซี ย สภาพทางภูมิศาสตร์ ส่วนบนแหลมมลายูจะเป็ นที่ราบชายฝั่ง ทะเล ท้ งฝั่งมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิ ฟิก ถัดจากชายฝั่งจะเป็ นที่ราบ แลวจะเป็น ั ้ ภูเขาพาดกลางแนวเหนื อใต้ ส่ วนบนเกาะบอร์ เนี ยวจะเป็นที่ต้ งของรัฐซาบาห์ และซาราวัค ซ่ ึ ง ั เป็ นที่ราบแคบๆ ชายฝั่ งทะเล ถัดมาเป็ นภูเขาแบบป่ าทึบแบบป่ าดงดิ บเขตมรสุ ม มีป่าไมแบบ ้ ธรรมชาติด้ งเดิมที่อุดมสมบูรณ์มาก ประเทศมาเลเซียมีจานวนประชากรประมาณ 24.5 ลานคน ั ํ ้ ในปี 2546 มีอาณาเขตเท่ากับ 330,242 ตารางกิ โลเมตร ในจานวนประชากรท้ งหมด เป็นภูมิ ํ ั ่ ั บุตร (มาลายู และชาวเผาด้ งเดิม) ร้อยละ 59 เป็ นผูที่มีเชื้อชาติจีนร้อยละ 32 และเช้ือชาติอินเดีย ้ ร้อยละ 9 กลุ่มเชื้อชาติมาลายูนบถือศาสนาอิสลาม ส่ วนชาวจีนส่ วนใหญ่นบถือศาสนาพุทธ ั ั และชาวอินเดียส่วนใหญ่นบถือศาสนาฮินดู ส่วนชาวเขานบถือลทธิและความเชื่อด้ งเดิมของแต่ ั ั ั ั ่ ละเผา (Tribal Religions) ประเทศมาเลเซี ยใช้หน่ วยเงินตราที่เรี ยกว่า ริ งกิ ตมาเลเซีย (1 ริ งกิ ต เท่ากบ 0.2632 ดอลลาร์ สหรัฐ หรื อประมาณ 10.42 บาท) ั
  • 5. 2 1.1.2) การเมืองและการปกครอง ประเทศมาเลเซี ยได้รับเอกราชจากจักรภพอังกฤษ เมื่อวนที่ 31 สิงหาคม 2505 เป็น ั ประเทศหน่ ึงที่ปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษตริย ์ (Constitutional Monarchy ั ) ที่มีราชาธิ บดี (Paramount Ruler / Yang Di-pertuan Agong) เป็นประมุข ซึ่ งมาจาก สุลต่าน (Sultan) ของแต่ละรัฐ (State / Negeri) หมุนเวียนกนเป็นราชาธิบดี ในแต่ละรัฐจะมีสุลต่านเป็ น ั ประมุข ยกเวนรัฐปีนง (Pulau Pinang) และ รัฐมะละกา (Melaka) ้ ั การบริ หารประเทศมีรัฐบาลกลาง (Federal Government /Kerajaan Pusat) เป็น ผูบริ หาร มีนายกรัฐมนตรีเป็นผบริหารสูงสุด ส่วนในแต่ละรัฐจะมีรัฐบาลประจารัฐบริหาร/ ้ ู้ ํ คณะมนตรีแห่งรัฐ (State Governor / Kerajaan Negeri) โดยมีมุขมนตรีแห่งรัฐ (Governor / Menteri Besar) เป็นหวหนา อานาจของรัฐบาลแห่ งรัฐมีจากัดตามรัฐธรรมนูญแห่ งชาติกาหนด ั ้ ํ ํ ํ 1) รัฐบาลกลาง (Federal Government) ในส่ วนการบริ หารของรัฐบาลกลางจะมี นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) มาจากการเลือกตั้ง (หัวหน้าพรรคฝ่ ายรัฐบาล) เป็นผบริหาร ู้ ประเทศ อํานาจนิ ติบญญัติใช้ระบบรัฐสภาแบบ 2 สภา (Bicameral Parliament) คือสภา ั ผูแทนราษฎร (House of Representatives) และวุฒิสภา (House of Senate) ซ่ ึ งสมาชิกทั้ง 2 สภา ้ มาจากการเลือกตั้ง 2) มลรัฐ (State / Negeri-negeri) ประเทศมาเลเซี ยแบ่งเขตการปกครองเป็ นมล รัฐทั้งหมด 13 มลรัฐ โดยตั้งอยในเขต 2 เขตการปกครอง ไม่รวม กรุงกวลาลมเปร์ เกาะลาบวน ู่ ั ั และเมืองปุตราจายา โดยมีรายละเอียดดังนี้ 2.1) เขตการปกครองเพนนิ นซู ลา (Peninsular) ประกอบไปด้วยรัฐ 11 รัฐ ได้แก่ ปะหง สลงงอร์ เนกรี เซมบิลน มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน ตรังกานู ปี นัง เกดะห์ และ ั ั ั ปะลิส ั ั ู่ 2.2) มาเลเซียตะวนออก ต้ งอยบนเกาะบอร์เนียว (กาลิมนตน) ประกอบดวย ั ั ้ 2 รัฐ คือ ซาบาห์ และซาราวัก 2.3) เขตการปกครองภายใต้รัฐบาลกลาง (Federal Territory) อีก 3 เขต คือ กรุ งกัวลาลัมเปอร์ (เมืองหลวง) เมืองปุตราจายา (เมืองราชการ) และเกาะลาบวน ดังปรากฏตาม ตารางที่ 1
  • 6. 3 ตารางที่ 1 โครงสร้างการปกครองของประเทศมาเลเซีย รัฐบาลกลาง (Federal) มลรัฐ (State) เขตการปกครองพเิ ศษ 13 มลรัฐ (Federal Territory) 3 เขต เพนิซูลา (Peninsular) มาเลเซียตะวนออก (เกาะ 1. กรุ งกัวลาลัมเปอร์ ั บอร์เนียว) 2. เมืองปุตราจายา 1. ปะหัง 1. ซาบาห์ 3. เกาะลาบวน 2. สลงงอร์ ั 2. ซาราวัก 3. เนกรี เซมบิลน ั 4. มะละกา 5. ยะโฮร์ 6. เประ 7. กลนตน ั ั 8. ตรังกานู 9. ปี นัง 10 เกดะห์ 11. ปะลิส 3) รัฐบาลทองถิ่น (Local Government) ้  การแบ่งเขตการปกครอง รัฐบาลทองถิ่นของประเทศมาเลเซียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 3 ส่วน ้ ได้แก่ (รายละเอียดปรากฏตามตารางที่ 2) 3.1) ชุมชนเมื อง/เขตเมื อง 1 (Cities) จานวน 9 เขต โดยแต่ละเขตมี ํ 0 จา นวนประชากรมากกว่า 300,000 คน และมี ร ายได้ที่ม ากกว่ า 80 ล้า นริ งกิ ต และเป็นเขต ํ ศูนย์กลางของอุตสาหกรรม ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 60 อาศยอยในชุมชนเมือง ั ู่ 1 เขตเมืองที่จดว่าใหญ่ทสุดคือ เมืองกัวลาลัมเปอร์ ซึ่ งมีประชากรจํานวน 1.4 ล้านคน และเมือง ที่จดว่าเล็กทีสุดได้แก่เมือง คุชชิง เหนือ (Kuching North) ั ี่ ั ่ ซ่ ึ งมีประชากรจานวน 152,310 คน ํ
  • 7. 4 3.2) เขตชุ ม ชนหรื อเขตเทศบาล 2 (Municipalities) จํา นวน 34 เขต 1 โดยแต่ละเขตมีจานวนประชากรต้ งแต่ 100,000 คน ถึง 300,000 คน และมีรายไดมากกว่า 10 ํ ั ้ ลานริงกิต ้ 3.3) เขตตําบล/เขตชนบท 3 (District councils) จานวน 101 เขต โดย ํ 2 แต่ละเขตมีจานวนประชากรน้อยกว่า 100,000 คน ํ ตารางที่ 2 โครงสร้างการกระจายอานาจแบ่งตามมลรัฐของประเทศมาเลเซีย ํ จํานวนท้ องถิ่นภายใต้ การปกครอง มลรัฐ จํานวนประชากร เมือง เทศบาล เขต ยะโฮร์ 1 4 9 2,721,900 เกดะห์ 1 3 7 1,652,000 กลนตน ั ั 1 11 1,314,900 ลาบวน 7,871 มะละกา 1 1 1 634,100 เนกรีเซมบิลนั 3 5 858,900 ปะหัง 2 9 1,290,000 เประ 1 4 10 2,109,700 ปะลิส 1 204,500 ปี นัง 2 1,307,600 ปุตราจายา 26,713 สลังงอร์ 1 6 5 4,175,000 ตรังกานู 2 5 899,000 ซาราวก ั 2 3 20 2,071,800 ซาบาห์ 1 2 19 2,656,400 ั ั กวลาลมเปอร์ 1 1,370,300 รวมทั้งหมด 9 34 101 23,300,684 ที่มา: “The local government system in Malaysia”, www.clgf.org.uk/2005updates/Malaysia.pdf 2 เขตเทศบาลทีใหญ่ทสุดได้แก่ ปี ทอร์ ลิง ฮายา (Petaling Haya ) ซ่ ึ งมีประชากรจานวน 480,000 คน และเทศบาลทเี่ ลกทสุดไดแก่ กนการ์ มีประชากร ่ ี่ ํ ็ ี่ ้ ั จานวน 230,000 คน ํ 3 เขตตําบลทีใหญ่ทสุดคือ เคอร์ เรี่ ยน (Kerian) มีประชากรจานวน 162,980 คน และตาบลที่เลกทสุดคือ ราอบ (Raub) ซ่ ึ งมีประชากร 80,000 คน ่ ี่ ํ ํ ็ ี่ ั
  • 8. 5  หน้าที่ของรัฐบาลทองถ่ิน ้ รัฐบาลทองถ่ิ น (Local Government) ของประเทศมาเลเซี ยมีหน้าที่ ้ ิ ้ ั ั ํ ั สาคญคือรับผดชอบดูแลดานสุขภาพพลานามย สุขอนามย การกาจดและควบคุมส่ิ งปฏิกูล การ ํ ั วางแผนผังเมือง การป้ องกันและควบคุมดูแลการจัดการการวางผังเมือง การพัฒนาสังคมและ เศรษฐกิจ รวมถึงการดูแลรักษาต่าง ๆ ในทองถ่ิน โดยมี The Ministry of Housing and Local ้ Government ทําหน้าที่ดูแลและรับผิดชอบการออกกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้องกับการปกครอง ของรัฐบาลท้องถิ่น รวมถึงการออกกฎหมายเพื่อการพัฒนารัฐบาลท้องถิ่นด้วย ดงน้ นการศึกษาข้อมูลทัวไปของประเทศมาเลเซี ย เช่น รู ปแบบการปกครอง การ ั ั ่ กระจายอํานาจ การแบ่งส่ วนการปกครองของประเทศมาเลเซีย จึงเป็นขอมูลพื้นฐานเพื่อนําไปสู่ ้ การศึกษาโครงสร้างรายได้และแหล่งที่มาของรายได้หลาย ๆ ประเภทของประเทศมาเลเซี ย และ ประเทศมาเลเซียได้แบ่งส่ วนการปกครองออกเป็ นรัฐบาลกลาง มลรัฐ และรัฐบาลท้องถิ่น ซึ่ งแต่ ละส่ วนการปกครองนั้นมี แหล่ งที่มาของรายไดที่แตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ งานเขี ยนฉบับนี้ ้ ต้องการศึกษาโดยเฉพาะประเด็นการจัดเก็บภาษีที่ดิน (Quit Rent) และภาษีการประเมินมูลค่า (Assessment Tax) ของประเทศมาเลเซี ย เพื่อนามาใชเ้ ป็นแนวทางการเปรียบเทียบกบแนวคิด ํ ั การนําภาษีที่ดินและสิ่ งปลูกสร้างที่อาจจะนํามาใช้ในประเทศไทยในอนาคต การศึ กษาโครงสร้ างและหลกการจดเก็บภาษี ที่ดิน (Quit Rent) และภาษีการ ั ั ประเมินมูลค่ า (Assessment Tax)ของประเทศมาเลเซี ยจําเป็ นต ้องศึ กษาแต่ล ะรั ฐ เนื่ องจาก หลักการและอัตราการจัดเก็บที่ไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ ผูเ้ ขียนได้เลือกเมืองยะโฮร์ บาห์รู รัฐยะโฮร์ (Johore Bharu) เป็นกรณีตวอย่างสําหรับการศึกษาน้ ี เนื่องจากขอจากัดในการคนหาขอมูล ั ้ ํ ้ ้ ั ขณะเดียวกนรัฐยะโฮร์ เป็ นรัฐที่ใหญ่ที่สุดอับดับ 3 ของประเทศมาเลเซี ย เป็นหน่ ึ งใน 11 รัฐใน เขตเพนิ น ซู ล า ซึ่ งเป็ นรั ฐ ที่ มี ค วามสํ า คัญ ของประเทศมาเลเซี ย ซึ่ งสมบู ร ณ์ ใ นด้า นการ เกษตรกรรม ผลิตสิ นค้าประเภท ยาง นํ้ามันปาล์ม และสัปปะรด และเป็ นรัฐอันดับหนึ่งด้านการ ผลิตสิ นค้าเกษตรกรรม รัฐยะโฮร์ กลายเป็ นเมืองอุตสาหรรม และมีเมืองหลวงที่ชื่อว่า ยะโฮร์ บาห์รู (Johor Bahru/JB) ซ่ ึ งเป็นเมืองหลวงที่ใหญ่อนดบสองของประเทศมาเลเซีย ขณะเดียวกน ั ั ั เมืองยะโฮร์ บาห์รู ยงมีอาณาเขตติดต่อกบประเทศสิ งค์โปร์ ยงผลให้ง่ายต่อการเดินทางและการ ั ั ั พัฒนาด้านเศรษฐกิจ
  • 9. 6 1.2 ความจําเป็ น การศึ ก ษาการจ ัด เก็ บ ภาษี ที่ ดิ น (Quit Rent) และภาษี ก ารประเมิ น มู ล ค่ า (Assessment Tax) หรือภาษีทรัพยสิน โดยใชกรณีศึกษาเมืองยะโฮร์ บาห์รู รัฐยะโฮร์ ประเทศ ์ ้ มาเลเซี ย เพื่อศึกษาแนวทางการจัดเก็บภาษี ดงกล่ าว และเปรี ยบเทียบกับการจัดเก็บภาษีบารุ ง ั ํ ทองที่ และภาษีโรงเรือนของทองถ่ินในประเทศไทย โดยการเปรี ยบเทียบดังกล่าว สามารถนํามา ้ ้ เป็นนโยบายในการนามาใช้ และเป็นกรณีศึก ษา เพื่อการปรับปรุงระบบภาษีทรัพยสิน หรื อ ํ ์ ปรั บปรุ งการจัดเก็บภาษี บารุ งท้องที่ และภาษีโรงเรือนของทองถิ่นในประเทศไทยในอนาคต ํ ้ ต่อไป 1.3 วตถุประสงค์การศึกษา ั 1. เพื่อศึกษาโครงสร้างรายได้ของรัฐบาลกลาง มลรั ฐ และรัฐบาลทองถ่ินของ ้ ประเทศมาเลเซีย 2. เพื่อศึกษาแหล่งที่มาของรายไดของรัฐบาลทองถิ่นของประเทศมาเลเซีย ้ ้ 3. เพื่อศึกษาการจัดเก็บรายได้ประเภทภาษีการประเมินมูลค่า (Assessment Tax) ของเมืองยะโฮร์ บาห์รู ในรัฐยะโฮร์ และภาษีที่ดิน (Quit rent) ของรัฐยะโฮร์ ของประเทศมาเลเซีย 4. เพื่อนํามาใช้เป็ นแนวทางการเปรี ยบเทียบกับแนวคิดการนําภาษีที่ดินและสิ่ ง ปลูกสร้างที่อาจจะนามาใชในประเทศไทยในอนาคต ํ ้
  • 10. 7 บทที่ 2 : วิธีดําเนินการ 2. วธดาเนินการ ิี ํ 2.1 รวมรวมขอมู ลและศึกษาขอมูล ต่างๆ จากบทความ งานวิจย และหนังสื อ ้ ้ ั เกี่ยวกบประเทศมาเลเซีย ไดแก่ ขอมูลทวไป ขอมูลโครงสร้างและภาพรวมรายไดของประเทศ ั ้ ้ ั่ ้ ้ มาเลเซี ย โครงสร้างรายได้ของรัฐบาลท้องถิ่น การจัดเก็บภาษีที่ดิน (Quit Rent) และภาษีการ ประเมินมูลค่า (Assessment Tax) 2.2 รวมรวมข้อมูลและศึกษาหลักการจัดเก็บภาษีบารุ งท้องที่ และภาษีโรงเรื อน ํ ของประเทศไทย 2.3 เปรียบเทียบและวิเคราะห์หลกการจดเก็บภาษีบารุงทองที่ และภาษีโรงเรือน ั ั ํ ้ ของประเทศไทย และหลัก การจัด เก็บภาษี ที่ดิน (Quit Rent) และภาษี การประเมิ นมูล ค่ า (Assessment Tax)
  • 11. 8 บทที่ 3:เนื้อหาสาระของผลงานวิชาการ 3.1 โครงสร้างและความสัมพนธ์ของการบริหารของประเทศมาเลเซีย ั โครงสร้ า งและความสั ม พันธ์ ข องการกระจายอํา นาจหน้า ที่ก ารบริ ห าร และแหล่ ง ทรัพยากร ของประเทศมาเลเซี ยนั้นแบ่งได้สองระดับ ได้แก่ การร่ วมรั บผิดชอบของรัฐบาล กลางและมลรัฐ และการร่ วมกันรับผิดชอบของมลรัฐและรัฐบาลท้องถิ่น โดยมีความสัมพนธ์ ั ั ั กนดงน้ ี 3.1.1 ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางและมลรัฐ ้ ั ้ ํ การกระจายอํานาจระหว่างรัฐบาลกลางและรัฐบาลทองถิ่นน้ นไดกาหนดไวใน ้ ราชธรรมนูญ ตามตารางที่ 3 เกี่ยวกับความรับผดชอบของรัฐบาลกลางและมลรัฐ รวมทั้งอํานาจ ิ และความรั บผิด ชอบที่ รัฐ บาลกลางและมลรั ฐต้องมี ส่ วนร่ วมกันรั บผิด ชอบ ทั้งในด้า นการ ป้ องกัน ความปลอดภัย ดําเนินงานภายใต้กรอบกฎหมายแพ่งและอาญา รวมถึงกระบวนการทาง ศาล สัญชาติ สิ ทธิ ของประชากร การเปลี่ยนและการโอนสัญชาติ การเงินการคลัง การค้า การ พาณิชย ์ และอื่น ๆ หน้าที่ดานศาสนาอิสลามและจารี ตประเพณี การที่ดิน การเกษตรกรรม และ ้ ั ้ ้ ั ั ลกษณะโครงสร้างของรัฐบาลทองถิ่นใหเ้ ป็นหนาที่ของมลรัฐ ขณะเดียวกนท้ งรัฐบาลกลางและ มลรัฐยงตองมีหนาที่ร่วมกันเช่น สวัสดิการทางสังคม การให้ทุนการศึกษา การวางแผนเมือง ั ้ ้ และประเทศ การสาธารณะ และการระบายน้ าและชลประทาน ํ 3.1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างมลรัฐและรัฐบาลท้องถิ่น มลรัฐมีอานาจในการพิจารณาคัดเลือกผูนาเมือง ผูนาเขตเทศบาล และเขตต่าง ๆ ํ ้ ํ ้ ํ เพื่อให้มีอานาจหน้าที่การบริ หารท้องถิ่น รวมถึงการพิจารณาด้านการจัดจ้าง และเงินเดือน และ ํ การตั้งคณะกรรมการการบริ ห ารมลรั ฐ ขณะเดี ย วกันมลรั ฐ ยังเป็ นที่ ป รึ ก ษาและชี้ แ นะใน ประเด็นการเพิ่มขึ้นของการจัดเก็บภาษีของท้องถิ่น และรายได้ต่าง ๆ ของท้องถิ่น รัฐบาลกลาง มลรั ฐและทองถิ่ นมีบทบาทหน้าที่ที่ต ้องทาร่ วมกัน ท้ งด ้านการ ้ ํ ั วางแผนเมืองและที่อยอาศย การขนส่ง สิ่งแวดลอมและสุขอนามย และวฒนธรรม บนเทิง และ ู่ ั ้ ั ั ั กีฬา ขณะที่ตามกฎหมายรัฐบาลทองถิ่น (Local government Act.) ไดกาหนดหน้าที่ความ ้ ้ ํ
  • 12. 9 รับผิดชอบแหล่งทรัพยากรระหว่างมลรัฐและรัฐบาลทองถิ่น โดยกําหนดให้รัฐบาลท้องถิ่นมี ้ อํานาจหน้าที่ ดังนี้ 1). อานาจในการวางแผนทองถิ่น ํ ้ 2). อํานาจในการออกใบอนุญาต 3). การจัดเก็บภาษีบางประเภท 4). การก่อสร้างอาคาร สถานที่สาธารณะ ตลาด สถานที่ขายแผงหาบเร่ เป็ นต้น 5). การวางแผนและการจัดการของชุมชม 6). การวางแผนและจัดหาสิ่ งอํานวยความสะดวก รัฐบาลทองถิ่นมีบทบาทหน้าที่ตามกฎหมายการวางแผนประเทศและบ้านเมือง ้ และกฎหมายเกี่ยวกับถนน การระบายน้ า และอาคาร และตวกฎหมายรัฐบาลทองถิ่น (Local ํ ั ้ ํ government Act.) ทั้งนี้ กฎหมายที่ได้กล่ าวมาทั้งหมดได้กาหนดให้รัฐบาลท้องถิ่ นมี หน้า ที่ โดยรวมคือ หน้าที่ดานสิ่ งแวดล้อม อํานายความสะดวกด้านสาธารณะ สังคม และการพัฒนา ้ ตารางที่ 3 การกระจายอํานาจและหน้ าทีรับผิดชอบระหว่ าง ่ รัฐบาลกลาง มลรัฐ และรัฐบาลท้องถน ของประเทศมาเลเซีย ิ่ อํานาจและหน้าที่ การให้บริ การ หมายเหตุ รัฐบาลกลาง มลรัฐ ท้องถิ่น การดําเนินการทัวไป ่ ตํารวจ  ป้ องกันอัคคีภย ั  ป้ องกันพลเมือง  ศาลแพ่ง  ศาลอาญา  จดทะเบียนพลเมือง  สถิติ  การเลือกตั้ง  การศึกษา อนุบาล  ประถม 
  • 13. 10 อํานาจและหน้าที่ การให้บริ การ หมายเหตุ รัฐบาลกลาง มลรัฐ ท้องถิ่น มัธยม  สายอาชีพ  มหาวิทยาลัย  อื่น ๆ  สวัสดิการสังคม  สถานเล้ ียงเด็ก  สวัสดิการครอบครัว  สวัสดิการครัวเรื อน  ความปลอดภัยทางสังคม  การสาธารณสุข การดูแลเบ้ืองต้น  โรงพยาบาล  การป้ องกันสุขภาพ  ่ ที่อยูอาศัย    กระทําร่ วมกัน หมู่บาน ้    กระทําร่ วมกัน เขต    กระทําร่ วมกัน การขนส่ง ถนน    การขนส่ง    ถนนชุมชนเมือง    ท่าเรือ  ท่าอากาศยาน  สิ่งแวดล้อมและสุขอนามัย นํ้าและสุขาภิบาล   จัดเก็บและจํากัดขยะ   สุสานและเมรุ  โรงฆ่าสัตว์  การคุมครองสิ่งแวดล้อม ้  วัฒนธรรม บันเทิง และกีฬา โรงภาพยนตร์และคอนเสิร์ต  
  • 14. 11 อํานาจและหน้าที่ หมายเหตุ การให้บริ การ รัฐบาลกลาง มลรัฐ ท้องถิ่น โรงมหรสพและห้องสมุด   สวนสาธารณะ    กีฬา    สิ่งอํานวยความสะดวกด้านศาสนา สิ่งอํานวยความสะดวก บริ การแก๊ส   กระแสไฟฟ้ า  นํ้า  เศรษฐกิจ การเกษตรกรรม ป่ าไม้ ประมง   การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ   การค้าและอุตสาหกรรม   การท่องเที่ยว   การให้บริ การอื่น ๆ   ที่มา: “Country profile: The local government system in Malaysia”, www.clgf.org.uk/2005updates/Malaysia.pdf 3.2 แหล่งทมาของรายได้ของประเทศมาเลเซีย ี่ ํ แหล่ งที่มาของรายได้ระหว่างรัฐบาลกลางและมลรั ฐได้กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ โดย อํานาจหน้าที่โดยส่ วนใหญ่เป็ นของรัฐบาลกลาง และในการจัดเก็บภาษีและรายได้อื่น ๆ และ มลรัฐมีหน้าที่จดเก็บรายไดในส่วนใบอนุ ญาต ค่าบริ การ ค่าเช่า เป็ นต้น อย่างไรก็ตามมลรัฐซา ั ้ บาห์และ ซาราวกเป็นมลรัฐที่มีอานาจจดเก็บภาษีและอากรที่มลรัฐอื่นไม่มีอานาจจดเก็บซ่ ึ ง ั ํ ั ํ ั ได้แก่ อากรนําเข้า อากรสรรพสามิตของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและอากรส่ งออกของสิ นค้าที่ทา ํ จากและท่ อนซุ ง ขณะเดี ย วกันมลรั ฐ ก็ ย งคงถู ก จํากัด อํา นาจทางด้า นการกู้ยืม เนื่ องจาก ั รั ฐ ธรรมนู ญ ได้ก ํา หนดว่ า มลรั ฐ สามารถกู้ยืม ได้จ ากรั ฐ บาลกลางและจากสถาบันการเงิ น ภายในประเทศเท่านั้น (Domestic financial market) โดยรายละเอียดด้านแหล่งที่มาของรายได ้ ของรัฐบาลกลาง มลรัฐ และรัฐบาลทองถ่ินมีดงน้ ี ้ ั
  • 15. 12 3.2.1 รายได้ของรัฐบาลกลาง รายได้ของรัฐบาลกลาง ประกอบด้วยรายได้ที่เป็ นภาษีอากร ซึ่ งเป็ นการจัดเก็บภาษี ท้งทางตรงและทางออม รายไดที่ไม่ใช่ภาษี และรายไดที่เป็นเงินคืน ดงรายละเอียดต่อไปนี้ ั ้ ้ ้ ั 1) รายได้ทางภาษีอากร ประกอบด้วยภาษี 2 ประเภทหลัก ได้แก่ ภาษีทางตรงและ ภาษีทางออม้ 1.1) ภาษี ท างตรง ซึ่ งประกอบด้ว ยภาษี ร ายได้ (income tax) และ ภาษีมูลค่าเพิ่มของทรัพยสิน (property tax and capital gains) ดงต่อไปน้ ี ์ ั  ภาษีรายได้ ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (individuals) ภาษีเงินได้ นิติบุคคล (companies) ภาษีปิโตรเลียม อากรแสตมป์ และอื่น ๆ  ภาษีทรัพย์สินส่วนเพมและ Capital Gain ได้แก่ Real Property Gains ่ิ Tax Estate duty และ ค่าธรรมเนียมการโอนที่ดิน 1.2) ภาษี ทางอ้อม แบ่ งเป็ น 2 ประเภทได้แ ก่ ภาษี จ ากการค้า ขายระหว่ า ง ประเทศ ภาษีของสินคา/บริการและการบริ โภค และภาษีอื่น ๆ ดังนี้ ้  ภาษีจากการค้าขายระหว่างประเทศ ประกอบไปด้วยอากรการนําเข้า และส่งออก  ภาษีของสิ นค้า/บริ การและการบริ โภค ได้แก่ อากรสรรพสามิต ภาษี ซื้ อ ภาษีการให้บริ การ  ภาษี อื่น ๆ ได้แ ก่ ภาษี เ กี่ ย วกับความบันเทิ ง (Entertainment tax) อากรแสตมป์ ภาษี เ กม ภาษี ก ารพนั น ภาษี ส ลากกิ น แบ่ ง ภาษี ลอตเตอรี่ ภาษีคาสิโน 1.2 รายไดที่ไม่ไดมาจากภาษี และรายไดเ้ งินคืน ไดแก่รายไดที่มาจาก ภาษี ้ ้ ้ ้ ถนน ใบอนุญาต ค่าธรรมเนียมการให้บริ การ เงินปรับ เงินริ บ ดอกเบี้ย เงินบริ จาค เงินช่วยเหลือ จากองค์กรของภาครัฐของต่างประเทศ เงินคืน รายไดจากหน่วยงานอื่นของรัฐ ค่าลิขสิทธ์ ิ และ ้ ค่าแก๊ส 3.2.2 รายได้ของมลรัฐ รายไดของมลรัฐประกอบไปดวยรายไดที่เป็นภาษีอากร และไม่เป็นภาษีอากร ้ ้ ้ และรายได้ที่ไม่ได้จดเก็บเอง ดังนี้ ั
  • 16. 13 1) รายได้ภาษีอากร  รายได้จากอากรนําเข้าและอากรสรรพสามิตของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และอากรส่ งออกของไม้ และสิ นค้าไม้ป่า สําหรับมลรัฐซาบาห์ และซา ราวก รวมถึงการจัดเก็บอากรสรรพสามิตสําหรับนํ้าตาลเมา (toddy) ใน ั ทุกๆ มลรัฐ  ภาษีป่า (Forests)  ภาษีจากที่ดินและเหมือง (Land and Mines)  อากรจากการบันเทิง (Entertainment duties) 2) รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอากร ได้แก่ การออกใบอนุ ญาต (Licenses and permits) ค่าธรรมเนียมการให้บริ การ (Service fees) ค่าธรรมเนี ยมการให้บริ การด้าน นํ้า แก็ส ท่าอากาศ ยาน และท่ าเรื อ ต่ อด าเนินการของบริ ษทธุ ร กิจ ค่ าธรรมเนีย มจากการขายที่ดิ น การให้เ ช่ า ํ ั ทรัพยสินของรัฐ และเงินปันผลและดอกเบ้ ย ์ ี 3) รายได้เงินคืนและอื่น ๆ ได้แก่ เงินอุดหนุนจากรัฐบาลกลางและ เงินคืน 3.2.3 รายไดของรัฐบาลทองถิ่น ้ ้ รายได้ของรัฐบาลท้องถิ่นสามารถแบ่งได้หลัก ๆ 3 ประเภท ไดแก่ ้ 1). รายไดที่จดเก็บเอง โดยมีรายไดที่จดเก็บเองไดแก่ ภาษีการประเมินมูลค่ า ้ ั ้ ั ้ ราคา (Assessment Tax) ใบอนุ ญาต (Licenses and Permits) การให้เช่า (Rental) ค่าที่จอดรถ ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และดอกเบี้ย 2). เงิ นอุ ด หนุ น (Grants) รั ฐ บาลท้อ งถิ่ น ได้รั บเงิ น อุ ด หนุ น จากมลรั ฐ และ รั ฐ บาลกลางในประเภทเงินอุด หนุน 5 ประเภท โดยไดรั บจากมลรั ฐ 2 ประเภทได ้แก่ เงิน ้ อุดหนุนเพื่อชดเชยการขาดดุลการคลงและ เงินอุดหนุนเพื่อการพฒนาทองถ่ิน เช่น ระบบระบาย ั ั ้ น้ า โดยการกาหนดเม็ดเงินในการอุหนุนน้ ันมีความไม่แน่นอนข้ ึ นอย่กบแผนการพฒนาของ ํ ํ ู ั ั ทองถ่ินน้ น ๆ หรือสามารถแบ่งเป็นประเภทยอยๆ โดยรายละเอียดจะปรากฏในบทถัดไป ้ ั ่ 3). เงินกยมู้ ื
  • 17. 14 ตารางที่ 4 แหล่งทมาของรายได้ของรัฐบาลกลาง มลรัฐ และรัฐบาลท้องถิ่น ี่ ของประเทศมาเลเซีย รั ฐบาลกลาง มลรัฐ รั ฐบาลท้องถิ่น รายได้ ที่เป็ นภาษีอากร รายได้ ที่เป็ นภาษีอากร รายได้ ที่เป็ นภาษีอากร ภาษีทางตรง อากรนาเขา อากรสรรพสามิต  การประเมินราคา ํ ้ - ภาษีเงินได้ ของผลิตภณฑปิโตรเลียมแบะ ั ์ • บุคคลธรรมดา อากรส่งออกของสินคาที่ทาจาก ้ ํ • นิติบุคคล/บริษท ั จากและท่อนซุง สาหรับมลรัฐซา ํ • สมาคม/สหกรณ์ บาห์และซาราวก และอากรสรรพา ั • ปิโตรเลียม สามิตของสุรา สาหรับทุก มลรัฐ ํ • อื่น ๆ - ภาษีทรัพยสินส่วนเพม์ ่ิ - อื่น ๆ ภาษีทางออม ้ - ภาษีการคาระหวางประเทศ ้ ่ • อากรส่งออก • อากรนาเขาและภาษีส่วน ํ ้ เพม ่ิ - ภาษีสินคาและบริการ ้ • อากรสรรพาสามิต • ภาษีซ้ื อ • ภาษีขาย ภาษีอื่น ๆ • ภาษีเกี่ยวกบการบนเทิง ั ั • อากรแสตมป์ • คาสิโน • ภาษีเกมส์ • ภาษีการพนน ั • ลอตเตอรี่
  • 18. 15 รั ฐบาลกลาง มลรัฐ รั ฐบาลท้องถิ่น รายได้ ที่ไม่ ใช่ ภาษีอากรและรายได้ รายได้ ที่ไม่ ใช่ ภาษีอากร รายได้ ที่ไม่ ใช่ ภาษีอากร จากการชําระคน ื • ใบอนุญาต  ใบอนุญาต • ภาษีถนน • สัมปทาน/ลิขสิทธ์ ิ  ค่าเช่า • ใบอนุญาต • ค่าบริการ  ค่าธรรมเนียม • ค่าบริการ • ค่าบริการสาธารณะ  ค่าปรับ • ค่าปรับ • รายรับจากการขายที่ดิน • ดอกเบ้ ย ี • ค่าเช่าของทรัพยสินของมล ์ • เงินบริจาค รัฐ • เงินคืน • ดอกเบ้ ย ส่วนแบ่งผลกาไร ี ํ • รายรับจากหน่วยงานของรัฐ • รายรับจากรัฐบาลกลาง • ค่าสัมปทาน/แกส ๊ รายได้จากการชําระคน ื รายได้จากการชําระคน ื  เงินอุดหนุนและเงินคืนจาก • เงินอุดหนุนจากรัฐบาล รัฐบาลกลาง กลาง • เงินอุดหนุนจากรัฐบาล ทองถิ่น ้ ที่มา: 1. The Constitution of Malaysia; Ministry of Finance economic Reports as cited in Anuar, 2000:294 2. Alica B. Celestino, “Malaysia: Does it really need decentralization?” http://www.decentralization.ws/srcbook/malaysia.pdf 3.3 โครงสร้างรายได้ของรัฐบาลท้องถนของประเทศมาเลเซีย ิ่ รายไดรัฐ บาลทองถ่ิ นสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภทหลก ๆ ซ่ ึ งไดแ ก่ รายไดที่รัฐบาล ้ ้ ั ้ ้ ทองถ่ินจดเก็บเอง เงินอุดหนุน และเงินกูยม ตามที่ได้กล่าวไว้อย่างคร่ าว ๆ ในบทที่ 2 โดยแต่ละ ้ ั ้ื ประเภทหลก มีรายละเอียดดงต่อไปน้ ี ั ั
  • 19. 16 3.3.1 รายได้ทรัฐบาลท้องถนจดเกบเอง ี่ ิ่ ั ็ รายได้ที่รัฐ บาลท้องถิ่ นจัดเก็ บเองประกอบไปด้ว ย ภาษี ก ารประเมิ นมู ล ค่ า (Assessment Tax) ใบอนุ ญาต (Licenses and Permits) ค่าเช่า (Rental) ค่าจอดรถ (Car parking) กําไรจากการลงทุน และดอกเบี้ย โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1) ภาษีการประเมินมูลค่า (Assessment Tax) ภาษีการประเมินมูลค่า (Assessment Tax) มีฐานภาษีการจัดเก็บจากราคา ประเมิน (improve value) ของมูลค่าค่าเช่า หรื อมูลค่าเพิ่มของทรัพย์สิน (ราคาขาย) ซ่ ึ งกฎหมาย ํ ของรัฐบาลท้องถิ่น (The Local Government Act.)ได้กาหนดเพดานภาษีไว้ที่อตราร้อยละ 35 ั ของมูล ค่ าประเมิ นรายปี (Annual value) หรือร้อยละ 5 ของมู ลค่าเพิ่ม (Value-added) ของ ทรัพยสินที่ถือครอง โดยเพดานภาษีดงกล่าว ไม่อยู่ภายใตกฎหมายการควบคุมการเช่า (Rent ์ ั ้ Control Act (1960)) โดยอตราภาษีจะผนแปรไปตามการใชประโยชน์และทาเลที่ต้ งของ ั ั ้ ํ ั ทรัพย์สินนั้น ๆ และกฎหมายได้ให้อานาจแก่มลรัฐ (State Government) ในการพิจารณาระหว่าง ํ มูลค่าค่าเช่าหรื อมูลค่าตลาดเพื่อเป็ นฐานการจัดเก็บภาษีการประเมินมูลค่า ดงน้ นจานวนรายได ้ ั ั ํ ที่สามารถจดเก็บจากภาษีชนิดน้ ีข้ ึนอยกบการพฒนาแต่ละทองที่ ไม่ว่าทองที่น้ น ๆ จะมีจานวนที่ ั ู่ ั ั ้ ้ ั ํ อยู่อาศัย อาคารพาณิ ชย์ โรงงาน และที่ดินมากเพียงใด อย่างไรก็ตามรั ฐบาลท้องถิ่นบางแห่ ง จัดเก็บภาษีจากที่ดินว่างเปล่าเพื่อเป็ นบทลงโทษสําหรับผูเ้ ป็ นเจ้าของที่ดินที่ไม่ก่อให้เกิ ดรายได้ และการพัฒนาที่ดิน รายได้จ ากภาษี การประเมิ นมู ล ค่ า จะผันแปรไปตามอัต ราภาษี ที่จด เก็ บ ั มูลค่าประเมินประจําปี หรื อมูลค่าเพิ่ม และจํานวนของประเภทของทรัพย์สินที่ถือครอง การเพิ่ม อัตราภาษีจะต้องผ่านการอนุมติจากสภา (Councils) ของทองถ่ิน และมลรัฐน้ น ๆ อย่างไรก็ตาม ั ้ ั การปรับเปลี่ยนมูลค่าประเมินประจาปีหรือมูลค่าเพมสาหรับการถือครองน้ นตองทาการประเมิน ํ ่ิ ํ ั ้ ํ มู ล ค่ า ใหม่ อ ย่ า งรอบคอบ ซ่ ึ งกระท า ได ้ย ากเนื่ อ งจากการประเมิ น มู ล ค่ า ใหม่ น้ ันค่ อ นข ้า ง ํ สิ้นเปลืองงบประมาณสาหรับหน่วยงานทองถิ่น ํ ้ 2) ค่าธรรมเนียม ค่าธรรมเนียมเป็นรายไดอีกประเภทหน่ ึ งที่รวมถึงค่าเช่า ค่าบริการต่าง ๆ ้ โดยค่าธรรมเนียมจะถูกเรี ยกเก็บจากการได้รับการบริ การหรื อดําเนินการโดยรัฐบาลท้องถิ่น เช่น การออกใบอนุญาตเพื่อก่อต้ งธุรกิจ ค่าเช่าจากทรัพยสินที่รัฐบาลทองถ่ินเป็นเจาของ เป็นตน ั ์ ้ ้ ้ 2.1) ค่ า ออกใบอนุ ญ าต (Licenses and Permits) กํา หนดโดยรั ฐ บาล ท้องถิ่ นเพื่ อจัด เก็บในกิ จ กรรมภายในท้องถิ่ นนั้น ๆ โดยปกติ รั ฐ บาลท้องถิ่ นจะทํา การออก
  • 20. 17 ใบอนุญาตให้สาหรับการจัดตั้ง ความเป็ นเจ้าของ และกิจกรรมของธุ รกิ จ ซึ่ งรายได้จากการออก ํ ใบอนุญาตหรือการต่ออายใบอนุญาตน้ นถือว่าเป็ นแหล่งที่มาของรายได้ที่สาคัญของท้องถิ่นของ ุ ั ํ ประเทศมาเลเซี ย รวมถึงการออกใบอนุ ญาตสําหรับร้านถ่ายรู ป ร้านอาหาร ร้านซักรี ด ร้านชํา โรงรับจํานํา ร้านทอง และการหามเร่ ขายของ โดยอัตราการจัดเก็บนั้นขึ้นอยูกบขนาดของชุมชน่ ั ซึ่ งเป็ นรายจ่ายที่ธุรกิจสามารถรับได้ แต่อย่างไรก็ตามธุรกิจมักจะหลีกเลี่ยงการเสี ยค่าธรรมเนี ยม ทําให้รัฐบาลท้องถิ่นไม่สามารถที่จะจัดเก็บรายรับจากการออกใบอนุญาตได้เท่าที่ควร 2.2) ค่าเช่า (Rental) เป็ นรายได้จากการให้เช่าทรัพย์สินของรัฐบาลท้องถิ่น โดยรายได้ชนิ ดนี้ จดว่าเป็ นรายได้ที่ค่อนข้างแน่ นอน ขณะเดี ยวกันก็สามารถยืดหยุนได้ โดย ั ่ รัฐบาลท้องถิ่นสามารถที่จะเพิ่มอัตราค่าเช่าในขณะที่สภาวะทางเศรษฐกิ จดีและความต้องการ ดานอสังหาริมทรัพยสูงค่า ้ ์ 2.3) ธรรมเนียม ค่าปรับ ค่าจอดรถ และดอกเบี้ย (Car parking, fine, fee, interest) ค่าธรรมเนียม เป็ นรายได้ที่ได้รับจากการได้รับการบริ การจากรัฐบาลท้องถิ่น เช่นค่าคํา ร้อง ค่าทําพิธีกรรมเกี่ยวกับศพ เป็ นต้น ขณะที่ค่าปรับจะจัดเก็บจาก การทิ้งขยะเรี่ ยราด การหาบ เร่ การจอดรถในที่ห้ามจอด รวมถึงดอกเบี้ยจัดว่าเป็ นรายได้ประเภทหนึ่ งของรัฐบาลท้องถิ่ น และเป็ นรายได้ที่สาคัญสําหรับรัฐบาลทองถ่ินที่มีฐานะมงคงที่สามารถลงทุนในสถาบนการเงิน ํ ้ ั่ ั่ ั หรือลงทุนในกิจการอื่น ๆ 3.3.2 เงนอดหนุน ิ ุ Ministry of Housing and Local Government (MHLG) ได้ให้เงินอุดหนุ นแก่ รัฐบาลท้องถิ่น เพื่อใช้ในการปรับโครงสร้างด้านสังคมและเศรษฐกิจ โดยจะมีเพดานการให้เงิน อุดหนุนแต่ละท้องถิ่น เงินอุดหนุนดังกล่าว รัฐบาลท้องถิ่นนํามาใช้ในการทุก ๆ รัฐบาลท้องถิ่น ซึ่ งใช้เ งิ นอุ ด หนุ นสํา หรั บการขยายสิ่ งอํา นายความสะดวกด้า นที่ อยู่อาศัย การค้า ขาย และ อุต สาหกรรม ในปี 2526 รั ฐ บาลกลางได้จ่ า ยเงิ นอุด หนุ นสํา หรั บบํา รุ งรั ก ษาประจํา ปี โดย คํา นึ งถึ งปั จ จัย ต่ า ง ๆ ได้แ ก่ ขนาดของรั ฐ บาลท้องถิ่ น และรายได้ เป็ นต้น นอกจากนี้ เงิ น อุดหนุนยังช่วยแบ่งเบาภาระที่เพิ่มขึ้นจากการจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างของรัฐบาลท้องถิ่น รวมทั้ง ค่ าก่ อสร้ า งถนนของเทศบาลเมื อง ซึ่ งไม่ มี คุณสมบัติข องการได้รับเงิ นอุด หนุ นเนื่ องจากอยู่ ภายใต ้การปกครองของรั ฐบาลท้องถิ่ น ในปี 2541 รัฐ บาลกลางไดประกาศให้มีการให้เงิน ้ อุดหนุนสําหรับถนน ตรอก และซอย เพื่อที่จะช่วยในการดูแลถนนของรัฐบาลท้องถิ่นที่จากเดิม ไม่มีงบประมาณเงินอุดหนุนให้
  • 21. 18 รัฐบาลทองถ่ินของประเทศมาเลเซียมีบทบาทในดานการปกครองตนเอง รวมถึง ้ ้ การบริ หารด้านการคลัง พิจารณาได้จากการมีอานาจในการจัดเก็บภาษีการประเมินมูลค่า แต่ ํ อย่างไรก็ตามรัฐบาลทองถิ่นยงคงตองการเงินอุดหนุ นจากรัฐบาลกลางและมลรัฐเพื่อนํามาเติม ้ ั ้ ่ ่ ในส่ วนงบประมาณของขาดดุล ที่ผานมารัฐบาลท้องถิ่นอยูภายใต้การรับผิดชอบของมลรัฐผูซ่ ึ ง ้ มีหนาที่และความรับผดชอบในการจัดการด้านการเงินและการคลัง โดยรัฐบาลท้องถิ่นจะได้รับ ้ ิ เงินอดหนุนเพียงจานวนเล็กนอย เฉลี่ยแลวมีจานวนนอยกว่าร้อยละ 10 ของรายไดของท้องถ่ิน ุ ํ ้ ้ ํ ้ ้ ทั้งหมด ทั้งนี้ เงินอุดหนุ นที่รัฐบาลท้องถิ่นนาไดรับ แบ่งเป็น 5 ประเภท จาแนกตามแหล่งที่มา ํ ้ ํ รายไดดงน้ ี ้ ั  เงินอุดหนุนที่ได้มาจากรัฐบาลกลาง จําแนกเป็ น 3 ประเภท ไดแก่ ้ 1) เงินอุดหนุนเพื่อการดําเนินกิจการ (Launching grants) 2) เงินอุดหนุนเพื่อการบํารุ งรักษาถนน และเพื่อระบบการระบายนํ้า (Road maintenance and drainage grants) 3) เงินอุดหนุนเพื่อให้เกิดความสมดุล (Balancing grants)  เงินอุดหนุนที่ได้รับจากมลรัฐจาแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ํ 1) เงินอุดหนุนเพื่อให้ความเสมอภาค (Annual equalization grants) 2) เงินอุดหนุนเพื่อการพัฒนาโครงการ (Development project grants) 1) เงินอุดหนุนที่ได้มาจากรัฐบาลกลาง 1.1) เงินอุดหนุ นเพื่อการดําเนิ นกิ จการ (Launching grants) เงินอุดหนุ นจาก รัฐบาลกลางที่จดสรรให้แก่ ทองถิ่ นเพื่อเป็ นแรงจูงใจให้รัฐบาลท้องถิ่ นในการปรั บปรุ งหรื อ ั ้ เปลี่ยนแปลงโครงสร้ าง ของท้องถิ่นของตนเอง และยกระดับสิ่ งอานวยความสะดวก รวมถึง ํ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ใหม่ ๆ เพื่อการให้การบริ การที่กว้างขวางยิงขึ้น โดย MHLG มีอานาจในการ ่ ํ พิจารณาและจัดสรร 1.2) เงินอุดหนุนเพื่อการบํารุ งรักษาถนน และเพื่อระบบการระบายนํ้า (Road maintenance and drainage grants) โดยทุกรัฐบาลท้องถิ่นจะได้รับเงินจัดสรรประเภทนี้ เพื่อการ บํารุ งรักษาและยกระดับระบบการระบายนํ้า เกื้ อหนุ นและบรรเทาภัยนํ้าท่วม แนวทางป้ องกัน และควบคุมการเกิดอุทกภัยภายหลัง และการบํารุ งรักษาถนนที่รัฐบาลเป็ นเจ้าของ
  • 22. 19 1.3) เงินอุดหนุ นเพื่อให้เกิ ดความสมดุล (Balancing grants) เงินอุดหนุ นจาก รัฐบาลกลางที่จดสรรให้ทองถิ่นเพื่อทดแทนส่ วนที่ขาดดุ ล โครงการขนาดย่อมเพื่อการพัฒนา ั ้ สังคมและเศรษฐกิจ รวมถึงการจดสรรใหแก่รัฐบาลทองถิ่นที่ดอยกว่า ั ้ ้ ้ 2) เงินอุดหนุนที่ได้รับจากมลรัฐ 2.1) เงิ น อุ ด หนุ น เพื่ อ ให้ค วามเสมอภาค (Annual equalization grants) เงินอุดหนุนประเภทน้ ีมีไวเ้ พื่อสําหรับเติมเต็มความไม่สอดคลองกนระหว่างรายไดของรัฐบาล ้ ั ้ ทองถ่ินที่สามารถหาได้ และรายจ่ายของรัฐบาลท้องถิ่ น โดยรัฐบาลกลางเป็ นผูให้เงินอุดหนุ น ้ ้ ประเภทน้ ีแก่ รัฐบาลทองถิ่นของ peninsular โดยผ่านมลรัฐของ peninsular ทั้งนี้ รัฐซาบาห์ และ ้ ซาราวัก ไม่ ได้รั บเงิ นอุ ดหนุ นประเภทนี้ เ นื่ องจากทั้งสองรั ฐเป็ นรั ฐ อิ ส ระที่ มี กฎหมายจัด ตั้ง โดยเฉพาะ และมีอานาจในการบริ หารจัดการด้านการคลังมากกว่ารัฐอื่น ๆ ํ 2.2) เงิ นอุด หนุ นเพื่อการพัฒนาโครงการ (Development project grants) เป็ นเงิ นอุดหนุ นให้แก่ รัฐบาลท้องถิ่นเพื่อพัฒนาโครงการต่าง ๆ เพื่อเศรษฐกิ จและสังคม เช่ น การพฒนาดานโครงสร้างพ้ืนฐาน สิ่งอํานวยความสะดวก เพื่อชุมชน การรักษาความสะอาด การ ั ้ สร้างความน่าอยู่ สุ ขอนามย เป็นตน ั ้ 3.3.3 เงนก้ยม (Loan) ิ ูื รั ฐ บาลท้องถิ่ นสามารถกู้เ งิ นจากหน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ สู ง กว่ า หรื อ จากสถาบัน การเงิ น ซ่ ึ งรั ฐ บาลท ้อ งถิ่ น จะท า การกู้เ งิ น สํ า หรั บ การลงทุ น ในโปรเจ็ ค ต่ า ง ๆ และกู้เ พื่ อ ํ ครอบคลุมกับรายจ่ายจากสถานบนการเงิน อย่างไรก็ตามรัฐบาลทองถิ่นจะไดรับการอนุมติ ั ้ ้ ั ่ ั หรื อไม่ข้ ึนอยูกบการพิจารณาด้านความสามารถในการชําระคืน โดยต้องได้รับการอนุมติจากมล ั รัฐ (state government) ขณะเดียวกนจานวนเงินกตองไม่เกินกว่าห้าเท่าของมูลค่าที่ประเมินได ้ ั ํ ู้ ้ และเวลาชําระคืนต้องไม่เกิน 6 ปี
  • 23. 20 ตารางที่ 5 อตราส่วนของแหล่งทมาของรายได้ของรัฐบาลท้องถิ่นของประเทศมาเลเซียในปี 2542 ั ี่ แหล่งทมาของรายได้ ี่ เปอร์ เซ็นต์ ภาษีการประเมินมูลค่า 47.38 ค่าเช่าจากการถือครองทรัพย์สินโดยท้องถิ่น 5.27 ค่าใบอนุญาต 5.97 ค่าธรรมเนียม ค่าบริ การ 20.10 เงินอุดหนุน (รัฐบาลกลางและมลรัฐ) 20.67 รายได้ภาษีอื่น ๆ 0.50 รวม 100 ที่มา: Mohamed Affandi Ismail (1995), Ministry of Housing and Local Government. จากตารางที่ 5 จะเห็นได้ว่า อัตราส่ วนของแหล่งที่มาของรายได้ของรัฐบาลท้องถิ่นในปี 2542 นั้น ภาษี ก ารประเมิ นมู ล ค่ า จัด ว่ า เป็ นรายได้ที่มี สั ด ส่ ว นสู ง ที่ สุ ด หรื อ รร้ อ ยละ 47.38 รองลงมาคือรายไดประเภทเงินอุดหนุน และ ค่าธรรมเนียม และค่าบริการ ส่วนรายไดจากการ ้ ้ ให้เช่าและใบอนุญาตเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 5-6 3.4 การจัด เก็บ ภาษี ที่ดิน (Quit rent) และภาษี การประเมินมู ลค่ า (Assessment Tax): กรณีศึกษาเมืองยะโฮร์ บาห์ รู รัฐยะโฮร์ ประเทศมาเลเซีย ประเทศมาเลเซี ยมีการจัดเก็บภาษีที่ดิน (Quit Rent) และภาษีการประเมินมูลค่า (Assessment Tax) โดยจัดเก็บจากผูถื อครองที่ดิ น และสิ่ งปลู กสร้ าง โดยมลรัฐและรั ฐ บาล ้ ทองถ่ิ นมีอานาจการจัดเก็บ และมีการกําหนดอัตราการจัดเก็บที่แตกต่างกันออกไปตามมลรัฐ ้ ํ และทองถิ่น โดยมีรายละเอียดดงต่อไปน้ ี ้ ั 3.4.1 ภาษีทดน (Quit Rent) ี่ ิ 1) หลักการจัดเก็บ Quit rent เป็ นรู ปแบบการจัดเก็บภาษีแบบหนึ่ งของมลรัฐ ซึ่ งจะจัดเก็บจากผูถือ ้ ครองหรือผเู ้ ป็นเจาของ (ยกเว้นที่ดินที่ใช้ประโยชน์ทางศาสนา) อัตราการจัดเก็บจะไม่แน่ นอน ้
  • 24. 21 ่ ั ขึ้นอยูกบมลรัฐนั้น ๆ และอัตราการจัดเก็บผันแปรไปตามทําเลที่ต้ งและวัตถุประสงค์ในการใช้ ั ประโยชน์ของที่ดินนั้น ๆ โดยปกติแล้วมลรัฐแต่ละแห่ งจะมีอตราการจัดเก็บที่แตกต่างกัน ไม่ว่า ั จะเป็ นที่ดินที่มีไว้เพื่อเกษตรกรรม สํานักงาน อาคารหรื อสิ่ งปลูกสร้าง หรื อเพื่ออุตสาหกรรม ภายใต้ก ารใช้ประโยชน์ข องที่ดินสําหรั บอาคารหรื อสิ่ งปลูก สร้ างยังมี อตราจัดเก็บย่อย โดย ั จําแนกจากการใช้ประโยชน์ว่าเป็ นลักษณะใช้เพื่อการค้าหรื ออยูอาศัย ขณะเดียวกันสิ่ งปลูกสร้าง ่ เพื่ออยอาศยก็มีอตราการจดเก็บที่แตกต่างกนดวย ซ่ ึ งข้ ึนอย่กบทาเลและที่ต้ งน้ นอย่ในเมืองหรือ ู่ ั ั ั ั ้ ู ั ํ ั ั ู ชนบท The National Land Code ได้กาหนดให้ผถือครองกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินทุกคนมี ํ ู้ ํ หน้าที่ตองเสี ยภาษีที่ดิน (Quit rent) ตามวันที่กาหนด การกําหนดวันสุ ดท้ายของการชําระภาษีจะ ้ ถูก กํา หนดโดยมลรั ฐ แต่ ล ะมลรั ฐ แต่ โ ดยส่ ว นใหญ่ แ ล้ว จะกําหนดให้ชา ระภายในวันที่ 31ํ พฤษภาคม ของทุก ๆ ปี และมีบทลงโทษสําหรับกรณี การชําระล่าช้าเกิ นกําหนด โดยอาจจะถูก ริบที่ดินน้ น ๆ หรือเงินปรับ ั 2) อัตราการจัดเก็บ Quit Rent ในรัฐยะโฮร์ การจัดเก็บ Quit Rent ในรัฐยะโฮร์ เริ่ มจัดเก็บตั้งแต่ปี 2544 โดยแบ่งประเภท การจัด เก็ บภาษี ที่ดิ น 4 ประเภท ได้แ ก่ ที่ ดิ นเพื่ อการเกษตรกรรม ที่ ดิ นสํา หรั บอาคาร ตึ ก สํา นัก งาน ที่ ดิ น เพื่ อการอุ ต สาหกรรม และที่ ดิ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ก ํา หนดประเภทไว้แ ต่ ส ามารถใช้ ประโยชน์ได ้ และที่ดินอื่น ๆ โดยมีอตราการจดเก็บดงน้ ี (รายละเอียดปรากฏตามภาคผนวก ั ั ั ตารางที่ 6) 2.1) ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม มีหลักการจดเก็บโดยจาแนกตามประเภทของ ั ํ การเกษตร และขนาดของที่ดินในการทําการเกษตร เช่ นการทาไร่ยาง มะพร้าว น้ ามนปาล์ม ํ ํ ั สวนผลไม้ ชา กาแฟ นํ้าตาล กล้วย การประมง และการปศุสัตว์ โดยอัตราการจัดเก็บด้านกสิ กร รมจะอยูระหว่าง 10 ริ งกิต – 124 ริ งกิ ต ต่อพื้นที่ต้ งแต่ 2 เฮกตาร์ 4เป็นตนไป การประมงจดเก็บ ่ ั 3 ้ ั ตั้งแต่ 50 ริ งกิ ต – 500 ริงกิต ต่อเฮกตาร์ การปศุสัตว์จดเก็บต้ งแต่ 50 ริงกิต – 250 ริงกิต ต่อ ั ั เฮกตาร์ 2.2) ที่ดินสําหรับอาคาร ตึก สํานักงาน มีหลักการจัดเก็บตามประเภทการใช้ ประโยชน์เช่น สถานีน้ ามัน ร้านค้า ห้องแถว โรงงาน ท่าเรื อ อ่างเก็บนํ้า ที่จอดรถ ท่าอากาศยาน ํ เป็นตน โดยมีอตราการจดเก็บต้ งแต่ 3 ริ งกิต – 540 ริ งกิต ต่อ ตารางเมตร ้ ั ั ั 4 หน่วยวัดของพืนที่ (1 เฮกตาร์เท่ากับ 100 เอเคอร์ หรือ 10000 ตารางเมตร) ้