SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
ข้อควรจำำเกี่ยวกับคำำรำชำศัพท์ที่มักใช้ผิดกันเสมอ

    1. “ถวายการต้อนรับ” คำานี้ผิด ภาษาไทยมีคำาใช้อยู่แล้ว คือ
 “เฝ้าฯ รับเสด็จ” หรือ “รับเสด็จ”
    2. “ถวายความจงรักภักดี” ความจงรักภักดีเป็นของที่หยิบยื่น
ให้กันไม่ได้ เป็นสิ่งทีมีประจำาตน แสดงปรากฏให้ทราบได้
                       ่
ฉะนั้นใช้ “ถวาย” ไม่ได้ จึงควรใช้ “มีความจงรักภักดี”
   3. “อาคันตุกะ” และ ”ราชอาคันตุกะ” ใช้ต่างกันดังนี้
      “อาคันตุกะ” ใช้เมื่อ
      ก. พระมหากษัตริย์เสด็จฯ ไปทรงเป็นแขกของบุคคลสำาคัญ
      ข. บุคคลสามัญไปเป็นแขกของบุคคลสามัญ
      “ราชอาคันตุกะ” ใช้เมื่อ
      ก. พระมหากษัตริย์เสด็จฯ ไปทรงเป็นแขกของพระมหา
กษัตริย์
      ข. บุคคลสามัญไปเป็นแขกของพระมหากษัตริย์
      สรุป คือให้ดูเจ้าของบ้านเป็นหลัก ถ้าเจ้าของบ้านเป็นพระ
มหากษัตริย์บุคคลทัวไปที่เป็นแขกไม่ว่าจะเป็น
                     ่
พระมหากษัตริย์หรือบุคคลสามัญเป็น “ราชอาคันตุกะ” ทั้งสิ้น
ในทำานองเดียวกัน ถ้าเจ้าของบ้านเป็นบุคคล
สามัญ บุคคลที่ไปเป็นแขกไม่วาจะเป็นพระมหากษัตริย์หรือ
                                ่
บุคคลสามัญเป็น “อาคันตุกะทั้งสิ้น”
4. การใช้คำา “ถวาย” มีใช้อยู่สองคำา คือ “ทูลเกล้าฯ ถวาย”
 และ “น้อมเกล้าฯ ถวาย” ใช้ต่างกันดังนี้
      ก. ถ้าสิ่งของนั้นเป้นของเล็กใช้ “ทูลเกล้าฯ”
      ข. ถ้าสิ่งของนั้นเป็นของใหญ่ใช้ “น้อมเกล้าฯ ถวาย” หรือ
 “ถวาย” เฉยๆ
   5. คำาว่า “ขอบใจ” ถ้าจะกล่าวว่า พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หวทรงขอบใจ ก็ใช้ว่า “ทรงขอบใจ” หรือ
             ั
“พระราชทานกระแสขอบใจ” ไม่ใช้ “ขอบพระทัย” เว้นแต่ผู้ที่
ทรงขอบใจนั้นเป็นพระราชวงศ์จึงใช้
 “ขอบพระทัย”ได้
  6. เมื่อกล่าวถึงการแสดงใด ๆ ถวายทอดพระเนตร มักจะใช้ว่า
 “แสดงหน้าพระพักตร์” หรือ “แสดงหน้าพระที่นั่ง” ซึ่งผิด ต้อง
ใช้วา “แสดงเฉพาะพระพักตร์” หรือ “แสดงหน้าที่นง”
    ่                                             ั่
7. ถ้ามีผู้ถวายสิ่งของ เช่น หมวก ผ้าเช็ดหน้า ฯลฯ ขณะที่
ถวายนั้นต้องใช้คำาสามัญจะใช้คำาราชาศัพท์มิได้
เพราะสิ่งของนั้นยังมิได้เป็นของพระองค์ทาน เช่น
                                          ่
     - เจ้าของร้านทูลเกล้าฯ ถวายหมวกแด่สมเด็จพระนางเจ้า
พระบรมราชินี
     - ผู้แทนนักศึกษาทูลเกล้าฯ ถวายผ้าเช็ดหน้าแด่สมเด็จพระ
เทพฯ
   8. หมายกำาหนดการ หมายถึง หมายรับคำาสั่งทีทางสำานัก
                                                  ่
พระราชวังแจ้งกำาหนดการเสด็จพระราชดำาเนินไปยัง
หน่วยราชการ หรือหน่วยงานที่รบผิดชอบ ใช้เฉพาะกับงานพระ
                                 ั
ราชพิธีเท่านั้น ถ้าเป็นกิจการทั่วๆไปของ
สามัญชนใช้ว่า กำาหนดการ เช่น กำาหนดการเดินทาง
กำาหนดการสัมมนา เป็นต้น
   9. สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
    คำาที่เรียกพระมเหสีของพระเจ้าแผ่นดินมีหลายคำา ปัจจุบันใช่
 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ถ้าได้
สำาเร็จราชการแผ่นดินก็เป็นสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ
    ทีใส่ “ ฯ ” ไว้ทายคำา “สมเด็จพระนางเจ้า” นั้นเพื่อให้ทราบ
      ่              ้
ว่าละพระนามไว้ ถ้าออกพระนามเต็มก็วางไว้
แทนที่ “ ฯ ” เช่น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ
ถ้าเป็นสมเด็จพระอัครมเหสีของพระมหากษัตริย์ประเทศอื่นให้
เรียก สมเด็จพระราชินี
    ถ้าประเทศใดมีสตรีเป็นกษัตริย์ให้ใช้ว่า “สมเด็จพระ
ราชินีนาถ”
  10. พระบรมสาทิสลักษณ์ หรือ พระบรมฉายาทิสลักษณ์ คือ
ภาพเหมือนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรม
ราชวงศ์ชั้นสูง เป็นภาพวาดมิใช่ภาพถ่าย ถ้าภาพถ่ายใช้
พระบรมฉายาลักษณ์

More Related Content

More from kruthai40

ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
kruthai40
 

More from kruthai40 (20)

ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11
 
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
 
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์  พรหมวงศ์
50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
History
HistoryHistory
History
 
ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
การอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณการอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณ
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี2
 
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณีภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี
ภาพประกอบการเรียนพระอภัยมณี
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
 
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามาการวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
การวิจัยการอ่านแบบพาโนรามา
 

ข้อควรจำเกี่ยวกับคำราชาศัพท์ที่มักใช้ผิดกันเสมอ

  • 1. ข้อควรจำำเกี่ยวกับคำำรำชำศัพท์ที่มักใช้ผิดกันเสมอ 1. “ถวายการต้อนรับ” คำานี้ผิด ภาษาไทยมีคำาใช้อยู่แล้ว คือ “เฝ้าฯ รับเสด็จ” หรือ “รับเสด็จ” 2. “ถวายความจงรักภักดี” ความจงรักภักดีเป็นของที่หยิบยื่น ให้กันไม่ได้ เป็นสิ่งทีมีประจำาตน แสดงปรากฏให้ทราบได้ ่ ฉะนั้นใช้ “ถวาย” ไม่ได้ จึงควรใช้ “มีความจงรักภักดี” 3. “อาคันตุกะ” และ ”ราชอาคันตุกะ” ใช้ต่างกันดังนี้ “อาคันตุกะ” ใช้เมื่อ ก. พระมหากษัตริย์เสด็จฯ ไปทรงเป็นแขกของบุคคลสำาคัญ ข. บุคคลสามัญไปเป็นแขกของบุคคลสามัญ “ราชอาคันตุกะ” ใช้เมื่อ ก. พระมหากษัตริย์เสด็จฯ ไปทรงเป็นแขกของพระมหา กษัตริย์ ข. บุคคลสามัญไปเป็นแขกของพระมหากษัตริย์ สรุป คือให้ดูเจ้าของบ้านเป็นหลัก ถ้าเจ้าของบ้านเป็นพระ มหากษัตริย์บุคคลทัวไปที่เป็นแขกไม่ว่าจะเป็น ่ พระมหากษัตริย์หรือบุคคลสามัญเป็น “ราชอาคันตุกะ” ทั้งสิ้น ในทำานองเดียวกัน ถ้าเจ้าของบ้านเป็นบุคคล สามัญ บุคคลที่ไปเป็นแขกไม่วาจะเป็นพระมหากษัตริย์หรือ ่ บุคคลสามัญเป็น “อาคันตุกะทั้งสิ้น”
  • 2. 4. การใช้คำา “ถวาย” มีใช้อยู่สองคำา คือ “ทูลเกล้าฯ ถวาย” และ “น้อมเกล้าฯ ถวาย” ใช้ต่างกันดังนี้ ก. ถ้าสิ่งของนั้นเป้นของเล็กใช้ “ทูลเกล้าฯ” ข. ถ้าสิ่งของนั้นเป็นของใหญ่ใช้ “น้อมเกล้าฯ ถวาย” หรือ “ถวาย” เฉยๆ 5. คำาว่า “ขอบใจ” ถ้าจะกล่าวว่า พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หวทรงขอบใจ ก็ใช้ว่า “ทรงขอบใจ” หรือ ั “พระราชทานกระแสขอบใจ” ไม่ใช้ “ขอบพระทัย” เว้นแต่ผู้ที่ ทรงขอบใจนั้นเป็นพระราชวงศ์จึงใช้ “ขอบพระทัย”ได้ 6. เมื่อกล่าวถึงการแสดงใด ๆ ถวายทอดพระเนตร มักจะใช้ว่า “แสดงหน้าพระพักตร์” หรือ “แสดงหน้าพระที่นั่ง” ซึ่งผิด ต้อง ใช้วา “แสดงเฉพาะพระพักตร์” หรือ “แสดงหน้าที่นง” ่ ั่
  • 3. 7. ถ้ามีผู้ถวายสิ่งของ เช่น หมวก ผ้าเช็ดหน้า ฯลฯ ขณะที่ ถวายนั้นต้องใช้คำาสามัญจะใช้คำาราชาศัพท์มิได้ เพราะสิ่งของนั้นยังมิได้เป็นของพระองค์ทาน เช่น ่ - เจ้าของร้านทูลเกล้าฯ ถวายหมวกแด่สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินี - ผู้แทนนักศึกษาทูลเกล้าฯ ถวายผ้าเช็ดหน้าแด่สมเด็จพระ เทพฯ 8. หมายกำาหนดการ หมายถึง หมายรับคำาสั่งทีทางสำานัก ่ พระราชวังแจ้งกำาหนดการเสด็จพระราชดำาเนินไปยัง หน่วยราชการ หรือหน่วยงานที่รบผิดชอบ ใช้เฉพาะกับงานพระ ั ราชพิธีเท่านั้น ถ้าเป็นกิจการทั่วๆไปของ สามัญชนใช้ว่า กำาหนดการ เช่น กำาหนดการเดินทาง กำาหนดการสัมมนา เป็นต้น 9. สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ คำาที่เรียกพระมเหสีของพระเจ้าแผ่นดินมีหลายคำา ปัจจุบันใช่ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ถ้าได้ สำาเร็จราชการแผ่นดินก็เป็นสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทีใส่ “ ฯ ” ไว้ทายคำา “สมเด็จพระนางเจ้า” นั้นเพื่อให้ทราบ ่ ้ ว่าละพระนามไว้ ถ้าออกพระนามเต็มก็วางไว้ แทนที่ “ ฯ ” เช่น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ถ้าเป็นสมเด็จพระอัครมเหสีของพระมหากษัตริย์ประเทศอื่นให้ เรียก สมเด็จพระราชินี ถ้าประเทศใดมีสตรีเป็นกษัตริย์ให้ใช้ว่า “สมเด็จพระ ราชินีนาถ” 10. พระบรมสาทิสลักษณ์ หรือ พระบรมฉายาทิสลักษณ์ คือ ภาพเหมือนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรม ราชวงศ์ชั้นสูง เป็นภาพวาดมิใช่ภาพถ่าย ถ้าภาพถ่ายใช้ พระบรมฉายาลักษณ์