SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
Baixar para ler offline
โจทย์ปัญหา PBL 5
                          เรื่อง ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรในภาษาซี




ภารกิจ
1. จากสถานการณ์นี้ นักเรียนสามารถอธิบายความสาคัญของการแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร ลาดับแรก
   สุดที่นักเรียนควรรู้ในการแก้ปัญหานี้คือสิ่งใด (1 คะแนน)
2. ในการแก้ปัญหานี้ นักเรียนจาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง เรื่องนั้นนาไปใช้ในการ
   แก้ปัญหาอย่างไรบ้าง (1 คะแนน)
3. จากสถานการณ์ปัญหานี้ ถ้านักเรียนต้องการกาหนดตัวแปรให้ถูกต้องตามรูปแบบในภาษาซี
   นักเรียนจะต้องทาอย่างไร และควรจะประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง (3 คะแนน)
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าและการแก้ปัญหา
                โจทย์ปัญหา PBL 5 เรื่อง ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรในภาษาซี
         รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง30201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

สมาชิกในกลุ่ม
   1. นางสาวจิระภรณ์ นนท์พละ เลขที่ 21
   2. นางสาวธนยา คูนีรัตน์   เลขที่ 23
   3. นางสาวสุมิตรา บุษบา    เลขที่ 24

ตอนที่ 1
   หัวข้อปัญหา ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรในภาษาซีทาความเข้าใจปัญหา
   - สิ่ งที่ต้อ งการรู้ ชนิดของข้อ มูล กั บตั วแปรรวมทั้งหลัก การตั้งชื่อ ของตัว แปรคาสงวนมี
         อะไรบ้าง
   - วิธีการหาคาตอบ 1.ปรึกษากันภายในกลุ่ม แล้วแบ่งหน้าที่กัน
                          2.สืบค้นข้อตามเว็บไซต์ต่างๆ
- การศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหา
              ชื่อสมาชิก                 การแบ่ง                แหล่งข้อมูล/อ้างอิง
                                           หน้าที่
   นางสาวจิระภรณ์ นนท์พละ            สืบค้นข้อมูล www.lks.ac.th/kuanjit/page03.htm
   นางสาวธนยา คูนีรัตน์              พิมพ์           -
   นางสาวสุมิตรา บุษบา               สืบค้นข้อมูล www.e-learning.snru.ac.th

ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหาตามภารกิจ
        1.อันดับแรกเราต้องศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับชนิดของข้อมูลและตัวแปรในภาษาซีก่อน แล้ว
ความสาคัญของการแก้ปัญหาคือ มาช่วยกันวิเคราะห์ปัญหา และแลกเปลี่ยนความรู้กันภายในกลุ่ม
        2.ในการแก้ปัญหานั้นเราต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องของตัวแปร หลักการตั้งชื่อของตัวแปร
และพอเรารู้ แล้ ว เราสามารถน าความรู้ จ ากตั วแปรนั้ น มาตอบค าถามได้ เ พราะว่า ตั วแปรต่ า งที่
สนับสนุนการเขียนโปรแกรม และเมื่อเราทราบตัวแปรแล้วเราก็สามารถรู้ว่าการกาหนดค่าตัวแปร
แบบไหนจึงจะเหมาะสมเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
3.การกาหนดตัวแปรในภาษาซีสามารถทาได้ 2 แบบ คือ
         1. กาหนดไว้นอกกลุ่มคาสั่ง หรือฟังก์ชัน เรียกตัวแปรนี้ว่า Global Variable กาหนดไว้นอก
ฟังก์ชัน ใช้งานได้ทั้งโปรแกรม มีค่าเริ่มต้นเป็น 0 (กรณีไม่ได้กาหนดค่าเริ่มต้น)
          2. กาหนดไว้ในกลุ่มคาสั่ง หรือฟังก์ชัน เรียกตัวแปรนี้ว่า Local Variable กาหนดไว้ภายใน
ฟังก์ชัน ใช้งานได้ภายในฟังก์ชันนั้น และไม่ถูกกาหนดค่าเริ่มต้นโดยอัตโนมัติซึ่งประกอบด้วย
-ตัวแปร (variable) เนื่องจากข้อมูลถูกเก็บอยู่ในหน่วยความจา การอ้างถึงตาแหน่งของข้อมูลนี้
จึงมีความซับซ้อน ไม่สะดวกต่อการเขียนโปรแกรม จึงมีการเรียกหน่วยความจา ในตาแหน่งที่
สนใจผ่านตัวแปร
-การประกาศตัวแปร (variable declaration) คือการจองเนื้อที่ในหน่วยความจาสาหรับเก็บค่า
บางอย่างพร้อมทั้งกาหนดชื่อเรียกแทนหน่วยความจาในตาแหน่งนั้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมมีความ
สะดวกในการเข้าถึงค่าที่เก็บอยู่ในหน่วยความจาดังกล่าว
เกณฑ์การให้คะแนน
                 คะแนนรวมได้ระหว่าง              5       คะแนน หมายถึง              ดีมาก
                 คะแนนรวมได้ระหว่าง            3 - 4 คะแนน หมายถึง                  ดี
                 คะแนนรวมได้ระหว่าง            1 - 2 คะแนน หมายถึง                  ปานกลาง
                 คะแนนรวมได้ระหว่าง              0       คะแนน หมายถึง              ควรปรับปรุง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

นอร์มัลไลเซชัน Normalization
นอร์มัลไลเซชัน Normalizationนอร์มัลไลเซชัน Normalization
นอร์มัลไลเซชัน NormalizationPrintZii Subruang
 
นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน Kittipong Joy
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 

Mais procurados (9)

นอร์มัลไลเซชัน Normalization
นอร์มัลไลเซชัน Normalizationนอร์มัลไลเซชัน Normalization
นอร์มัลไลเซชัน Normalization
 
นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน
 
งานคอม#2
งานคอม#2งานคอม#2
งานคอม#2
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 3 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Pbl6
Pbl6Pbl6
Pbl6
 
11
1111
11
 
Outline
OutlineOutline
Outline
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 

Destaque (8)

Pbl6
Pbl6Pbl6
Pbl6
 
Pbl4.1
Pbl4.1Pbl4.1
Pbl4.1
 
Lecture 15
Lecture 15Lecture 15
Lecture 15
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Pbl7.1
Pbl7.1Pbl7.1
Pbl7.1
 
Pbl4.2
Pbl4.2Pbl4.2
Pbl4.2
 

Semelhante a Pbl5

โจทย์ปัญหา Pbl5
โจทย์ปัญหา Pbl5โจทย์ปัญหา Pbl5
โจทย์ปัญหา Pbl5siriyaporn20099
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1siriyaporn20099
 
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม nattapon Arsapanom
 
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดโจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดnattapon Arsapanom
 
ใบงานPbl1
ใบงานPbl1ใบงานPbl1
ใบงานPbl1Sumitrazaza
 
ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2Sumitrazaza
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตโจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตnattapon Arsapanom
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3anusong
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตโจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตnattapon Arsapanom
 

Semelhante a Pbl5 (20)

Pbl5
Pbl5Pbl5
Pbl5
 
โจทย์ปัญหา Pbl5
โจทย์ปัญหา Pbl5โจทย์ปัญหา Pbl5
โจทย์ปัญหา Pbl5
 
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1โจทย์ปัญหา Pbl4.1
โจทย์ปัญหา Pbl4.1
 
Pbl4
Pbl4Pbl4
Pbl4
 
Pbl4.1
Pbl4.1Pbl4.1
Pbl4.1
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
 
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดโจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
 
ใบงานPbl1
ใบงานPbl1ใบงานPbl1
ใบงานPbl1
 
ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2
 
Pbl4.2
Pbl4.2Pbl4.2
Pbl4.2
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตโจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.2 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2
 
Pbl3
Pbl3 Pbl3
Pbl3
 
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ตโจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
โจทย์ปัญหา Pbl 4.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมแบบโฟลวชาร์ต
 
Pbl4.2
Pbl4.2Pbl4.2
Pbl4.2
 

Pbl5

  • 1. โจทย์ปัญหา PBL 5 เรื่อง ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรในภาษาซี ภารกิจ 1. จากสถานการณ์นี้ นักเรียนสามารถอธิบายความสาคัญของการแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร ลาดับแรก สุดที่นักเรียนควรรู้ในการแก้ปัญหานี้คือสิ่งใด (1 คะแนน) 2. ในการแก้ปัญหานี้ นักเรียนจาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง เรื่องนั้นนาไปใช้ในการ แก้ปัญหาอย่างไรบ้าง (1 คะแนน) 3. จากสถานการณ์ปัญหานี้ ถ้านักเรียนต้องการกาหนดตัวแปรให้ถูกต้องตามรูปแบบในภาษาซี นักเรียนจะต้องทาอย่างไร และควรจะประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง (3 คะแนน)
  • 2. แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าและการแก้ปัญหา โจทย์ปัญหา PBL 5 เรื่อง ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรในภาษาซี รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง30201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวจิระภรณ์ นนท์พละ เลขที่ 21 2. นางสาวธนยา คูนีรัตน์ เลขที่ 23 3. นางสาวสุมิตรา บุษบา เลขที่ 24 ตอนที่ 1 หัวข้อปัญหา ชนิดของข้อมูลกับตัวแปรในภาษาซีทาความเข้าใจปัญหา - สิ่ งที่ต้อ งการรู้ ชนิดของข้อ มูล กั บตั วแปรรวมทั้งหลัก การตั้งชื่อ ของตัว แปรคาสงวนมี อะไรบ้าง - วิธีการหาคาตอบ 1.ปรึกษากันภายในกลุ่ม แล้วแบ่งหน้าที่กัน 2.สืบค้นข้อตามเว็บไซต์ต่างๆ - การศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหา ชื่อสมาชิก การแบ่ง แหล่งข้อมูล/อ้างอิง หน้าที่ นางสาวจิระภรณ์ นนท์พละ สืบค้นข้อมูล www.lks.ac.th/kuanjit/page03.htm นางสาวธนยา คูนีรัตน์ พิมพ์ - นางสาวสุมิตรา บุษบา สืบค้นข้อมูล www.e-learning.snru.ac.th ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหาตามภารกิจ 1.อันดับแรกเราต้องศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับชนิดของข้อมูลและตัวแปรในภาษาซีก่อน แล้ว ความสาคัญของการแก้ปัญหาคือ มาช่วยกันวิเคราะห์ปัญหา และแลกเปลี่ยนความรู้กันภายในกลุ่ม 2.ในการแก้ปัญหานั้นเราต้องมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องของตัวแปร หลักการตั้งชื่อของตัวแปร และพอเรารู้ แล้ ว เราสามารถน าความรู้ จ ากตั วแปรนั้ น มาตอบค าถามได้ เ พราะว่า ตั วแปรต่ า งที่ สนับสนุนการเขียนโปรแกรม และเมื่อเราทราบตัวแปรแล้วเราก็สามารถรู้ว่าการกาหนดค่าตัวแปร แบบไหนจึงจะเหมาะสมเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
  • 3. 3.การกาหนดตัวแปรในภาษาซีสามารถทาได้ 2 แบบ คือ 1. กาหนดไว้นอกกลุ่มคาสั่ง หรือฟังก์ชัน เรียกตัวแปรนี้ว่า Global Variable กาหนดไว้นอก ฟังก์ชัน ใช้งานได้ทั้งโปรแกรม มีค่าเริ่มต้นเป็น 0 (กรณีไม่ได้กาหนดค่าเริ่มต้น) 2. กาหนดไว้ในกลุ่มคาสั่ง หรือฟังก์ชัน เรียกตัวแปรนี้ว่า Local Variable กาหนดไว้ภายใน ฟังก์ชัน ใช้งานได้ภายในฟังก์ชันนั้น และไม่ถูกกาหนดค่าเริ่มต้นโดยอัตโนมัติซึ่งประกอบด้วย -ตัวแปร (variable) เนื่องจากข้อมูลถูกเก็บอยู่ในหน่วยความจา การอ้างถึงตาแหน่งของข้อมูลนี้ จึงมีความซับซ้อน ไม่สะดวกต่อการเขียนโปรแกรม จึงมีการเรียกหน่วยความจา ในตาแหน่งที่ สนใจผ่านตัวแปร -การประกาศตัวแปร (variable declaration) คือการจองเนื้อที่ในหน่วยความจาสาหรับเก็บค่า บางอย่างพร้อมทั้งกาหนดชื่อเรียกแทนหน่วยความจาในตาแหน่งนั้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมมีความ สะดวกในการเข้าถึงค่าที่เก็บอยู่ในหน่วยความจาดังกล่าว เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนรวมได้ระหว่าง 5 คะแนน หมายถึง ดีมาก คะแนนรวมได้ระหว่าง 3 - 4 คะแนน หมายถึง ดี คะแนนรวมได้ระหว่าง 1 - 2 คะแนน หมายถึง ปานกลาง คะแนนรวมได้ระหว่าง 0 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรุง