SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
Baixar para ler offline
การสร้างและออกแบบเว็บไซต์ โดยครูสมร ตาระพันธ์
โรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา อ.เมือง จ.เลย
ใบความรู้ที่ 1.1
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก
(International Network) ซึ่งประกอบด้วยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ย่อยจานวนมากมายที่กระจายอยู่
ทั่วทุกมุมโลก โดยในการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายจะสามารถติดต่อสื่อสารเพื่อการเรียกใช้หรือ
และแลกเปลี่ยนข้อมูลตลอดจนสนทนากันได้ตลอด 24 ชั่วโมง ลักษณะข้อมูลที่ปรากฏในเครือข่ายมี
ทั้งข้อมูลที่เป็นตัวอักษร รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง ที่ปรากฏในรูปแบบของสื่อประสมหรือ
มัลติมีเดีย (Multimedia) เครือข่ายอินเทอร์เน็ตถือเป็นห้องสมุดโลก ทั้งนี้เนื่องจากเปิดให้ผู้ที่ต้องการ
เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารใส่ข้อมูลข่าวสารไว้ในเครือข่าย ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นข้อมูลสาธารณะที่เปิด
สามารถเรียกหรือค้นคืนได้ ส่งผลทาให้อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลขนาดมหาศาลกระจัดกระจาย
เชื่อมโยงกันอยู่ทั่วโลก
อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่เติบโตมาจากเครือข่ายคอมพิวเตอร์ด้านการทหารของ
กระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกาที่ชื่อว่า อาร์ปาเน็ต (ARPANET : Advanced Research
Projects Agency Network) เมื่อปี พ.ศ. 2512 แรกเริ่มมีวัตถุประสงค์จัดทาเครือข่ายเพื่อเป็น
ศูนย์กลางแลกเปลี่ยนข้อมูลทางด้านการศึกษาและวิจัยด้านการทหาร ต่อมาเมื่อมีมหาวิทยาลัยต่าง ๆ
ขอเข้าใช้มากขึ้น จึงได้แยกเครือข่ายออกเป็นอีกเครือข่ายคือ เครือข่าย MILNET (Military Network)
ความเป็นมาของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ความหมายของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ที่ใช้สาหรับด้านการทหาร และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) สาหรับผู้ใช้ทั่วไปในประเทศ
สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันมีผู้เข้าร่วมเครือข่ายทั่วโลกและมีการเจริญเติบโตประมาณ 50-70 %
วัตถุประสงค์ของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คือ เพื่อประโยชน์ในการแบ่งบันแลกเปลี่ยน
ข่าวสารความรู้ต่าง ๆ เป็นแหล่งความรู้สาหรับนักวิชาการและนักวิจัยทั่วโลก และเป็นแหล่งศึกษาเพื่อ
การพัฒนาเครือข่ายโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในปี พ.ศ. 2530 ประเทศไทยได้มีการเชื่อมโยงการใช้อินเทอร์เน็ตโดยสถาบันเทคโนโลยีแห่ง
เอเชียหรือเอที (AIT) และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เชื่อมต่อไปยังมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศ
ออสเตรเลีย
จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติหรือ
เน็คเทค (NECTEC) ได้ทาการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับมหาวิทยาลัย 6 แห่ง ได้แก่ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย(AIT),มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สถาบันเทคโนโลยีและ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เข้าด้วยกัน
เรียกว่า "เครือข่ายไทยสาร" โดยสานักวิทยบริการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจรสื่อสาร
ความเร็ว 9600 บิตต่อวินาทีจากการสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตกับบริษัทยู
ยูเน็ตเทคโนโลยีประเทศสหรัฐอเมริกา
ในปี พ.ศ. 2536 เน็คเทคได้เช่าวงจรสื่อสารความเร็ว 64 กิโลบิตต่อวินาทีจาก
การสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเพิ่มความสามารถในการขนส่งข้อมูล ทาให้ประเทศไทยมีวงจรสื่อสาร
ระดับ ที่ให้บริการแก่ผู้ใช้ไทยสารอินเทอร์เน็ต 2 วงจร ในปัจจุบันวงจรเชื่อมต่อไปยังต่างประเทศที่
จุฬา ลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเน็คเทค ได้รับการปรับปรุงให้มีความ เร็วสูงขึ้นตามลาดับและมี
หน่วยงานอื่นเชื่อมเข้ากับไทยสารอีกหลายแห่งในช่วงต่อมา
ต่อมาในปี พ.ศ. 2537 ความต้องการในการใช้อินเทอร์เน็ตจากภาคเอกชนมีมากขึ้น
การสื่อสารแห่งประเทศไทย(กสท.)จึงได้ร่วมมือกับบริษัทเอกชนเปิดบริการอินเทอร์เน็ตให้แก่
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
บุคคล ผู้สนใจทั่วไปได้สมัครเป็นสมาชิก และได้ตั้งรูปแบบของบริษัทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิง
พาณิชย์ เรียกว่า "ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต"หรือไอเอสพี (ISP- Internet Service Provider)
บริการต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตมีหลายลักษณะและจะเพิ่มขึ้นตลอดเวลา เนื่องจากมีสมาชิกส่วน
หนึ่งได้จัดเสนอข้อมูลของตนเองเพื่อไว้ใช้หรืออานวยความสะดวกแก่ผู้สนใจอื่น ๆ ซึ่งบริการ
โดยทั่วไปของอินเทอร์เน็ตมีหลายด้าน ดังนี้
1. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมล์ (E-mail : electronics mail) เป็นบริการรับส่ง
จดหมายผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การส่งเอกสารข้อความมีลักษณะเหมือนการส่งจดหมาย แต่ระบบ
คอมพิวเตอร์ทางานให้เองโดยอัตโนมัติทาให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว สามารถติดต่อกันได้อย่างทั่วถึง
ทุกภูมิภาพที่ใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้อีเมล์จะต้องมีที่อยู่หรืออีเมล์แอดเดรส (E-mail address)
เช่น smo_t@yahoo.com,smo@srisongkram.ac.th
2. บริการขอเข้าใช้เครื่องระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet) เป็นบริการใช้งานเครื่อง
คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นซึ่งตั้งอยู่ไกลออกไป สามารถใช้บริการ Telnet เพื่อเข้าใช้งานเครื่องดังกล่าวได้
เหมือนกับเราไปนั่งที่หน้าเครื่องนั้นเอง โดยจาลองคอมพิวเตอร์ของเราให้เป็นเสมือนจอภาพบนเครื่อง
คอมพิวเตอร์นั้นได้
3. การถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลหรือเอฟทีพี (FTP : File Transfer Protocol) เป็นบริการถ่าย
โอนแฟ้มข้อมูลหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการจากเครื่องอื่นมาเก็บไว้ยังเครื่องของตน โดยในการโอนย้าย
ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบนอินเทอร์เน็ตมาลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราจะเรียกว่า
ดาวน์โหลด (Download) ส่วนกระบวนการนาข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปไว้ยังเครื่อง
คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบนอินเทอร์เน็ตจะเรียกว่า อัฟโหลด (Upload)
4. การสนทนาบนเครือข่าย (Talk, Chat) บริการนี้จะแตกต่างจากจดหมายซึ่งเขียนไปไว้ที่
ตู้ไปรษณีย์ของผู้รับคือ ผู้ส่งผู้รับโต้ตอบกันทางตัวอักษรบนจอคอมพิวเตอร์ หรือที่เรียกว่า IRC
(Internet Relay Chat) ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นให้สามารถพูดโต้ตอบกันผ่านระบบ
คอมพิวเตอร์ได้ดังเช่นพูดกันทางโทรศัพท์
6. เวิลด์ไวด์เว็บหรือเว็บ (World Wide Web) เป็นบริการเชื่อมโยงแหล่งข้อมูล ข่าวสาร
เข้าด้วยกันทางอินเทอร์เน็ตที่มีผู้คนนิยมใช้กันในปัจจุบันที่ได้ผนวกเอาความก้าวหน้าและบริการต่างๆ
มารวมกันไว้ เพราะนอกจากการค้นหาข้อมูลข่าวสารต่างๆได้แล้ว ยังสามารถ หาความบันเทิงได้
บริการต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
หมายเลขอินเทอร์เน็ต (IP Address)
หลากหลายรูปแบบบนอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว แฟ้มภาพ วีดิทัศน์หรือ
แม้กระทั่งการดูภาพยนตร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายเพื่อให้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่มีระบบการ
สื่อสารและอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์แตกต่างกันสามารถทางานร่วมกันได้นั้น ต้องมีภาษากลางที่ใช้ในการ
ติดต่อสื่อกันกันเรียกว่า โปโตคอล (Prtocal) ทั้งนี้เพื่อกาหนดวิธีการรับส่งข้อมูลเพื่อให้มีการสื่อสาร
กันได้อย่างถูกต้องไม่ผิดพลาด สาหรับโปโตคอลที่ใช้นั้นมีการออกแบบมามากมายเพื่อใช้เป็น
มาตรฐานภาษากลางในระบบเครือข่ายแต่ที่ที่นิยมในปัจจุบันคือทีซีพี/ไอพี TCP/IP (Transmission
Control Protocol / Internet Protocol)
สรุป TCP/IP คือ โปรโตคอล หรือภาษากลางที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่อง
คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ในระบบเครือข่ายให้สามารถสื่อสารกันได้
เพื่อให้การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสารได้สะดวก และถูกต้อง ตรง
ความต้องการในการติดต่อ จึงต้องมีการกาหนดหมายเลขประจาตัวให้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์
(Internet Protocol Number) โดยวิธีการกาหนดจะใช้ตัวเลข 4 จานวน เขียนเรียงต่อกัน และคั่น
ด้วยเครื่องจุด ซึ่งในการกาหนดตัวเลขแต่ละจานวนนั้นสามารถกาหนดใช้ได้ตั้งแต่เลข0-255
เช่น 158.108.2.71 หรือ 192.185.1.1
เนื่องจากตัวเลขแต่ละจานวนจะแจ้งให้ทราบถึงกลุ่มของเครือข่ายและหมายเลขประจาตัว
เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ดังนั้นในระบบเครือข่ายจะต้องไม่มีการใช้เลขซ้ากัน โดยตัวเลข
4 จานวนนี้เราเรียกว่า IP Address ใช้เพื่อกาหนดแจ้งที่อยู่เพื่อการสื่อสาร โดยในการกาหนดหรือขอ
ตัวเลข IP Address นั้น จะต้องติดต่อขอจาก InterNic (Internet Network Information Center)
ซึ่งทาหน้าที่ดูแลการกาหนดตัวเลขเพื่อป้องกันการกาหนดที่ซ้าซ้อนกัน
ในการติดต่อทางอินเทอร์เน็ต เมื่อเราต้องการติดต่อไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องใดๆ ทางไกลจะ
ใช้ IP Address เป็นตัวกาหนดในการติดต่อ เช่นใช้คาสั่ง Telnet 192.133.10.1 ก็จะสามารถเข้าสู่
ภาษากลางของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System-DNS)
ระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์นั้นได้ แต่เนื่องจากตัวเลข IP Address ยากต่อการจดจาจึงมีการ
กาหนดมาตรฐานชื่อคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย เรียกว่าโดเมนเนม (Domain Name) (หรือ Host
name)
การตั้งชื่อโดเมนจะมีหลักเกณฑ์เพื่อป้องกันการตั้งชื่อซ้ากันและให้สามารถบอกถึงกลุ่ม
เครือข่ายได้ ดังนั้นการกาหนดชื่อโดเมนจะมีการกาหนดเป็นลาดับชั้นเรียกว่า ระบบชื่อโดเมน โดยมี
เครื่องหมายจุดแบ่งลาดับของโดเมนจากขวาไปซ้าย ชื่อโดเมนที่อยู่ขวาสุดจะเป็นโดเมนที่ใหญ่ขึ้นเป็น
ลาดับและครอบคลุมโดเมนที่อยู่ซ้ายมือ ชื่อโดเมนขวาสุดจะแจ้งชื่อประเทศ ชื่อด้านซ้ายสุดมักเป็นชื่อ
คอมพิวเตอร์ หรือชื่อย่อสถาบัน
ชื่อโดเมนประกอบด้วยชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ ชื่อเครือข่ายท้องถิ่น ชื่อSubDomain
(ประเภทองค์กร) และชื่อ ประเทศ ตัวอย่างเช่น
ชื่อเครื่อง (Domain Name) IP number องค์กร
nukul.ac.th 203.185.96.203 โรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา
tu.ac.th 192.150.249.21 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สาหรับประเทศสหรัฐอเมริกาจะไม่มีโดเมนชื่อประเทศ เนื่องจากถือว่าเป็นผู้ริเริ่มเครือข่าย
เช่น dialog.com, yahoo.com เป็นต้น เช่นเดียวกับการกาหนดชื่อโดเมนของลักษณะสถาบันอาจมี
ความแตกต่างตามประเทศ เช่นในประเทศสหรัฐอเมริกาจะเป็นผู้กาหนดเป็น edu ในขณะที่แห่งอื่น
จะเป็น ac เป็นต้น
ตัวอย่าง การกาหนดชื่อโดเมนของโรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา
ชื่อคอมพิวเตอร์ nukul.ac.th
ตัวอย่าง การกาหนดชื่อโดเมน ตามประเภทหน่วยงาน
ชื่อโดเมน ประเภทองค์กรในสหรัฐอเมริกา
com = commercial องค์กรด้านการค้า
edu = educational สถาบันการศึกษา
gov = government องค์กรของรัฐ
mil = military องค์กรของทหาร
net = network services องค์กรบริการด้านเครือข่าย
org = other organizations องค์กรอื่นๆ นอกเหนือจากเบื้องต้น
ตัวอย่าง ชื่อโดเมน ซึ่งเป็นชื่อย่อประเทศต่างๆ
ที่อยู่อินเทอร์เน็ต (E-mail Address)
au = Australia th = Thailand
fr = France uk = United of Kingdom
jp = Japan ca = Canada
ในการติดต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้แต่ละคนจะต้องมีที่อยู่อินเทอร์เน็ตสาหรับการ
ติดต่อทางอีเมล์ ซึ่งจะมีรูปแบบคือ
username@domainname
username คือ บัญชีชื่อสมาชิกหรือชื่ออีเมล์ จะต้องอักษรเป็นภาษาอังกฤษหรือ
ตัวเลข ประกอบด้วยตัวอักษรตั้งแต่ 3-15 ตัว ที่สาคัญในชื่อต้องไม่มีช่องว่าง อักขระ หรือ
เครื่องหมายพิเศษแทรกอยู่
@ คือ เครื่องหมาย แอท-ซาย คั่นระหว่างชื่อ โฮสต์ และโดเมเนม
Domain คือ โดเมนเนมหรือเว็บไซต์ที่ให้บริการอีเมล์
ตัวอย่าง E-mail Address เช่น
smo2003@yahoo.com
ชื่อ user name at ชื่อโดเมนหรือเว็บไซต์
ดังนั้นเวลาอ่าน จะต้องอ่านว่า “เอสเอ็มโอสองศูนย์ศูนย์สาม แอท ยาฮู ดอท คอม”
)
ในการขอเข้าเป็นสมาชิกเครือข่ายต้องสมัครที่ศูนย์ให้บริการอินเทอร์เน็ต เมื่อเป็นสมาชิกแล้ว
ศูนย์บริการแห่งนั้นจะให้ Internet Account คือการมีสิทธิ์ในการใช้บริการเครือข่าย และจะกาหนด
ชื่อผู้ใช้ (user name) และรหัสผ่าน (Password) สาหรับการเข้าใช้ของผู้ที่เป็นสมาชิก
บัญชีสมาชิก (Username) คือ ชื่อที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์ เมื่อขอเข้าใช้ เมื่อปรากฏคาว่า log in
ซึ่งบางครั้งจะเรียกว่า login name หรือรหัสประจาตัวผู้ใช้ ซึ่งในการพิมพ์จะเป็นตัวอักษรตัวเล็ก หรือ
ตัวเลขคละกัน เช่น smo2001, smo_t, wat1234 เป็นต้น
บัญชีผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Account)
ประโยชน์ของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
รหัสผ่าน (Password) คือ รหัสที่ศูนย์ที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต กาหนดให้ผู้ใช้ที่เป็นสมาชิก
สาหรับขอเข้าใช้ระบบ รหัสผ่านที่ได้รับนี้จะต้องเก็บเป็นความลับไม่ให้ผู้อื่นล่วงรู้ รหัสผ่านจะใส่เมื่อ
ปรากฎคาว่า Password ผู้ใช้สามารถกาหนดรหัสผ่านได้ตามต้องการ โดยทั่วไปแล้วควรเปลี่ยน
รหัสผ่านเสมอเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้อื่นแอบเอารหัสไปใช้ วิธีการกาหนดรหัสผ่านควรใช้รหัสมากกว่า
6 ตัว และควรเป็นสัญลักษณ์ผสมตัวอักษรใหญ่หรืออักษรเล็ก อักขรพิเศษ หรือตัวเลข ซึ่งในการ
กาหนดรหัสผ่านควรจะเป็นคาที่เจ้าตัวจาได้ง่าย แต่คนอื่นคาดเดาได้ยากและไม่ควรใช้คาที่เกี่ยวข้อง
กับตัวผู้กาหนด
เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย หรือศูนย์ที่จะให้อนุญาตเข้าสู่ระบบเครือข่ายได้ ก็ต่อเมื่อผู้ใช้ใส่
Username และ Password ถูกต้องตามที่กาหนดให้เท่านั้น
ลักษณะข้อมูลที่อยู่ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น มีอยู่หลายรูปแบบ คือ
1. ข้อมูลข่าวสาร แบบตัวอักษร (Text) เป็นข้อมูลที่เป็นเรื่อง ข่าวสารต่าง ๆในรูปของ
ข้อความคล้ายหนังสือ วารสารต่าง ๆ ทั้งนี้สามารถเปิดอ่านได้ทีละหลายๆ หน้าในเวลาเดียวกัน
2. ข้อมูลข่าวสารแบบกราฟฟิค (Graphic) คือ ข้อมูลที่เป็นลักษณะภาพต่าง ๆ ซึ่งจัดเก็บไว้
ในลักษณะไฟล์ข้อมูลคอมพิวเตอร์
3. ข้อมูลข่าวสารในรูปเสียง (sound)
4. ข้อมูลในรูปแบบสื่อประสม หรือมัลติมีเดีย (Multimedia) คือข้อมูลที่มีทั้งภาพ
ตัวอักษร เสียง และภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ
5. ข้อมูลในลักษณะไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) หรือไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia) โดยที่
ลักษณะของข้อมูลจะสามารถเชื่อมโยงไปถึงกันได้ทุกเวลาที่ต้องการ และสามารถกลับมายังข้อมูลเดิม
เมื่อต้องการให้ทุกขณะเช่นกัน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตถือได้ว่าเป็นศูนย์ข้อมูลหรือศูนย์คอมพิวเตอร์ต่างๆ ที่มีการจัดเก็บ
ข้อมูลจานวนมาก ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลด้านวิชาการ การเมือง ธุรกิจ ข่าวสาร บันเทิง โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ เกมต่าง ๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ล้วนเป็นข้อมูลที่ให้ฟรี หรือบางแหล่งก็จะต้องเสียค่าบริการ
ในการสืบค้นข้อมูล
ประโยชน์ในการใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีดังนี้
ข้อมูลในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ข้อเสียของอินเทอร์เน็ต
1. ใช้ติดต่อสื่อสารกับบุคคลต่างๆทั่วโลก โดยการใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์(E-mail) หรือ
การสนทนาทางอินเทอร์เน็ต (Chat)
2. เพื่อการเข้าใช้คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย การติดต่อเข้าสู่คอมพิวเตอร์
เครื่องอื่นๆที่ต่ออยู่ในเครือข่ายทาให้ผู้ใช้สามารถเรียกโปรแกรมในเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆมาใช้งานได้
3. เพื่อการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้ใช้สามารถคัดลอกและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล
หรือโปรแกรมที่ผู้ผลิตอนุญาต มาใช้ตามต้องการ
4. สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูล ห้องสมุดทั่วทุกมุมโลก
5. ใช้ในการรับข้อมูล ข่าวสาร แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นในด้านต่าง ๆผ่านกลุ่มสนทนา
6. สามารถใช้เชื่อมโยง ติดต่อกับคอมพิวเตอร์หรือศูนย์ข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้ในงานด้าน
ต่าง ๆ ทั่วโลก
7. เพื่อใช้บริการและดาเนินงานธุรกิจจากผู้ขายบริการด้านต่างๆ เช่น ธนาคาร ร้านค้า
ร้านอาหารเป็นต้น
8. ใช้ในการเรียนการสอนทางไกล (E-Learning) การประชุม การอบรมสัมมนา
9. ใช้เพื่อความบันเทิง และพักผ่อนหยุ่นใจ เช่น เพลง รายการทีวี วิทยา ภาพยนตร์ เกม
10. เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย
ข้อเสียหรือโทษในการใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีดังนี้
1. ข้อมูลบางอย่างอาจจะเป็นข้อมูลที่ไม่เป็นจริงต้องใช้วิจารณญานในการรับรู้
2. อาจถูกหลอกลวง กลั่นแกล้ง
3. ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากไป อาจทาให้เสียการเรียนได้
4. ข้อมูลบางอย่างไม่เหมาะสมกับเด็กๆในวัยเรียน
5. ทาให้เสียสายตาได้
01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
Sarocha Makranit
 
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตงานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
Yongyut Nintakan
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
peter dontoom
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
Nattapon
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
noooom
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
sea111111
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Goilovearm
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
Prapatsorn Keawnoun
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
Prapatsorn Keawnoun
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
Samorn Tara
 

Mais procurados (19)

รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
Unit07 internet
Unit07 internetUnit07 internet
Unit07 internet
 
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตงานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
 
ใบความรู้ สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศน
ใบความรู้  สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศนใบความรู้  สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศน
ใบความรู้ สรุปวิชาอินเทอร์เนตไร้พรมแดน กศน
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
Week 2
Week 2Week 2
Week 2
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
work3_อชิรญา_34
work3_อชิรญา_34work3_อชิรญา_34
work3_อชิรญา_34
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 

Destaque

In class nov. 30th questions from seite 229, 230
In class nov. 30th   questions from seite 229, 230In class nov. 30th   questions from seite 229, 230
In class nov. 30th questions from seite 229, 230
tmanning
 
02 ใบความรู้ที่1.2-เว็บ
02 ใบความรู้ที่1.2-เว็บ02 ใบความรู้ที่1.2-เว็บ
02 ใบความรู้ที่1.2-เว็บ
Smo Tara
 
Obsolete, emerging, and future technologies gibson.r
Obsolete, emerging, and future technologies gibson.rObsolete, emerging, and future technologies gibson.r
Obsolete, emerging, and future technologies gibson.r
RhondaGibson
 
ตาราง 66 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 66 โครงสร้างรายวิชาตาราง 66 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 66 โครงสร้างรายวิชา
Smo Tara
 
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtmlใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
Smo Tara
 

Destaque (6)

In class nov. 30th questions from seite 229, 230
In class nov. 30th   questions from seite 229, 230In class nov. 30th   questions from seite 229, 230
In class nov. 30th questions from seite 229, 230
 
Solicitud de patente del Automovil
Solicitud de patente del AutomovilSolicitud de patente del Automovil
Solicitud de patente del Automovil
 
02 ใบความรู้ที่1.2-เว็บ
02 ใบความรู้ที่1.2-เว็บ02 ใบความรู้ที่1.2-เว็บ
02 ใบความรู้ที่1.2-เว็บ
 
Obsolete, emerging, and future technologies gibson.r
Obsolete, emerging, and future technologies gibson.rObsolete, emerging, and future technologies gibson.r
Obsolete, emerging, and future technologies gibson.r
 
ตาราง 66 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 66 โครงสร้างรายวิชาตาราง 66 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 66 โครงสร้างรายวิชา
 
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtmlใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
ใบความรู้ที่ 2.4 ขั้นตอนการสร้างเว็บhtml
 

Semelhante a 01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต

บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
Piyanoot Ch
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
guesta2e9460
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
runjaun
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
Pheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
Toey_Wanatsanan
 

Semelhante a 01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต (20)

อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domainเทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
เทอม 2 คาบ 7 internet และ domain
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
Tarn
TarnTarn
Tarn
 
E book1
E book1E book1
E book1
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
Unit07 internet
Unit07 internetUnit07 internet
Unit07 internet
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
 
2
22
2
 
2
22
2
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
 
work3-21
work3-21work3-21
work3-21
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ยความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดุ่ย
 
Learning network
Learning networkLearning network
Learning network
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเตย1
 

01 ใบความรู้ที่1.1-เน็ต

  • 1. การสร้างและออกแบบเว็บไซต์ โดยครูสมร ตาระพันธ์ โรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา อ.เมือง จ.เลย ใบความรู้ที่ 1.1 เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก (International Network) ซึ่งประกอบด้วยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ย่อยจานวนมากมายที่กระจายอยู่ ทั่วทุกมุมโลก โดยในการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายจะสามารถติดต่อสื่อสารเพื่อการเรียกใช้หรือ และแลกเปลี่ยนข้อมูลตลอดจนสนทนากันได้ตลอด 24 ชั่วโมง ลักษณะข้อมูลที่ปรากฏในเครือข่ายมี ทั้งข้อมูลที่เป็นตัวอักษร รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง ที่ปรากฏในรูปแบบของสื่อประสมหรือ มัลติมีเดีย (Multimedia) เครือข่ายอินเทอร์เน็ตถือเป็นห้องสมุดโลก ทั้งนี้เนื่องจากเปิดให้ผู้ที่ต้องการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารใส่ข้อมูลข่าวสารไว้ในเครือข่าย ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นข้อมูลสาธารณะที่เปิด สามารถเรียกหรือค้นคืนได้ ส่งผลทาให้อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลขนาดมหาศาลกระจัดกระจาย เชื่อมโยงกันอยู่ทั่วโลก อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่เติบโตมาจากเครือข่ายคอมพิวเตอร์ด้านการทหารของ กระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริกาที่ชื่อว่า อาร์ปาเน็ต (ARPANET : Advanced Research Projects Agency Network) เมื่อปี พ.ศ. 2512 แรกเริ่มมีวัตถุประสงค์จัดทาเครือข่ายเพื่อเป็น ศูนย์กลางแลกเปลี่ยนข้อมูลทางด้านการศึกษาและวิจัยด้านการทหาร ต่อมาเมื่อมีมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ขอเข้าใช้มากขึ้น จึงได้แยกเครือข่ายออกเป็นอีกเครือข่ายคือ เครือข่าย MILNET (Military Network) ความเป็นมาของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ความหมายของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
  • 2. ที่ใช้สาหรับด้านการทหาร และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) สาหรับผู้ใช้ทั่วไปในประเทศ สหรัฐอเมริกา ปัจจุบันมีผู้เข้าร่วมเครือข่ายทั่วโลกและมีการเจริญเติบโตประมาณ 50-70 % วัตถุประสงค์ของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คือ เพื่อประโยชน์ในการแบ่งบันแลกเปลี่ยน ข่าวสารความรู้ต่าง ๆ เป็นแหล่งความรู้สาหรับนักวิชาการและนักวิจัยทั่วโลก และเป็นแหล่งศึกษาเพื่อ การพัฒนาเครือข่ายโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในปี พ.ศ. 2530 ประเทศไทยได้มีการเชื่อมโยงการใช้อินเทอร์เน็ตโดยสถาบันเทคโนโลยีแห่ง เอเชียหรือเอที (AIT) และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เชื่อมต่อไปยังมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศ ออสเตรเลีย จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติหรือ เน็คเทค (NECTEC) ได้ทาการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับมหาวิทยาลัย 6 แห่ง ได้แก่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย(AIT),มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สถาบันเทคโนโลยีและ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เข้าด้วยกัน เรียกว่า "เครือข่ายไทยสาร" โดยสานักวิทยบริการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่าวงจรสื่อสาร ความเร็ว 9600 บิตต่อวินาทีจากการสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเชื่อมเข้าสู่อินเทอร์เน็ตกับบริษัทยู ยูเน็ตเทคโนโลยีประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2536 เน็คเทคได้เช่าวงจรสื่อสารความเร็ว 64 กิโลบิตต่อวินาทีจาก การสื่อสารแห่งประเทศไทยเพื่อเพิ่มความสามารถในการขนส่งข้อมูล ทาให้ประเทศไทยมีวงจรสื่อสาร ระดับ ที่ให้บริการแก่ผู้ใช้ไทยสารอินเทอร์เน็ต 2 วงจร ในปัจจุบันวงจรเชื่อมต่อไปยังต่างประเทศที่ จุฬา ลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเน็คเทค ได้รับการปรับปรุงให้มีความ เร็วสูงขึ้นตามลาดับและมี หน่วยงานอื่นเชื่อมเข้ากับไทยสารอีกหลายแห่งในช่วงต่อมา ต่อมาในปี พ.ศ. 2537 ความต้องการในการใช้อินเทอร์เน็ตจากภาคเอกชนมีมากขึ้น การสื่อสารแห่งประเทศไทย(กสท.)จึงได้ร่วมมือกับบริษัทเอกชนเปิดบริการอินเทอร์เน็ตให้แก่ อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
  • 3. บุคคล ผู้สนใจทั่วไปได้สมัครเป็นสมาชิก และได้ตั้งรูปแบบของบริษัทผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิง พาณิชย์ เรียกว่า "ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต"หรือไอเอสพี (ISP- Internet Service Provider) บริการต่างๆ ในอินเทอร์เน็ตมีหลายลักษณะและจะเพิ่มขึ้นตลอดเวลา เนื่องจากมีสมาชิกส่วน หนึ่งได้จัดเสนอข้อมูลของตนเองเพื่อไว้ใช้หรืออานวยความสะดวกแก่ผู้สนใจอื่น ๆ ซึ่งบริการ โดยทั่วไปของอินเทอร์เน็ตมีหลายด้าน ดังนี้ 1. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมล์ (E-mail : electronics mail) เป็นบริการรับส่ง จดหมายผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การส่งเอกสารข้อความมีลักษณะเหมือนการส่งจดหมาย แต่ระบบ คอมพิวเตอร์ทางานให้เองโดยอัตโนมัติทาให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว สามารถติดต่อกันได้อย่างทั่วถึง ทุกภูมิภาพที่ใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้อีเมล์จะต้องมีที่อยู่หรืออีเมล์แอดเดรส (E-mail address) เช่น smo_t@yahoo.com,smo@srisongkram.ac.th 2. บริการขอเข้าใช้เครื่องระยะไกลหรือเทลเน็ต (Telnet) เป็นบริการใช้งานเครื่อง คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นซึ่งตั้งอยู่ไกลออกไป สามารถใช้บริการ Telnet เพื่อเข้าใช้งานเครื่องดังกล่าวได้ เหมือนกับเราไปนั่งที่หน้าเครื่องนั้นเอง โดยจาลองคอมพิวเตอร์ของเราให้เป็นเสมือนจอภาพบนเครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นได้ 3. การถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลหรือเอฟทีพี (FTP : File Transfer Protocol) เป็นบริการถ่าย โอนแฟ้มข้อมูลหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการจากเครื่องอื่นมาเก็บไว้ยังเครื่องของตน โดยในการโอนย้าย ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบนอินเทอร์เน็ตมาลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราจะเรียกว่า ดาวน์โหลด (Download) ส่วนกระบวนการนาข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปไว้ยังเครื่อง คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นบนอินเทอร์เน็ตจะเรียกว่า อัฟโหลด (Upload) 4. การสนทนาบนเครือข่าย (Talk, Chat) บริการนี้จะแตกต่างจากจดหมายซึ่งเขียนไปไว้ที่ ตู้ไปรษณีย์ของผู้รับคือ ผู้ส่งผู้รับโต้ตอบกันทางตัวอักษรบนจอคอมพิวเตอร์ หรือที่เรียกว่า IRC (Internet Relay Chat) ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นให้สามารถพูดโต้ตอบกันผ่านระบบ คอมพิวเตอร์ได้ดังเช่นพูดกันทางโทรศัพท์ 6. เวิลด์ไวด์เว็บหรือเว็บ (World Wide Web) เป็นบริการเชื่อมโยงแหล่งข้อมูล ข่าวสาร เข้าด้วยกันทางอินเทอร์เน็ตที่มีผู้คนนิยมใช้กันในปัจจุบันที่ได้ผนวกเอาความก้าวหน้าและบริการต่างๆ มารวมกันไว้ เพราะนอกจากการค้นหาข้อมูลข่าวสารต่างๆได้แล้ว ยังสามารถ หาความบันเทิงได้ บริการต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
  • 4. หมายเลขอินเทอร์เน็ต (IP Address) หลากหลายรูปแบบบนอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว แฟ้มภาพ วีดิทัศน์หรือ แม้กระทั่งการดูภาพยนตร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายเพื่อให้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่มีระบบการ สื่อสารและอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์แตกต่างกันสามารถทางานร่วมกันได้นั้น ต้องมีภาษากลางที่ใช้ในการ ติดต่อสื่อกันกันเรียกว่า โปโตคอล (Prtocal) ทั้งนี้เพื่อกาหนดวิธีการรับส่งข้อมูลเพื่อให้มีการสื่อสาร กันได้อย่างถูกต้องไม่ผิดพลาด สาหรับโปโตคอลที่ใช้นั้นมีการออกแบบมามากมายเพื่อใช้เป็น มาตรฐานภาษากลางในระบบเครือข่ายแต่ที่ที่นิยมในปัจจุบันคือทีซีพี/ไอพี TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) สรุป TCP/IP คือ โปรโตคอล หรือภาษากลางที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ในระบบเครือข่ายให้สามารถสื่อสารกันได้ เพื่อให้การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสารได้สะดวก และถูกต้อง ตรง ความต้องการในการติดต่อ จึงต้องมีการกาหนดหมายเลขประจาตัวให้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ (Internet Protocol Number) โดยวิธีการกาหนดจะใช้ตัวเลข 4 จานวน เขียนเรียงต่อกัน และคั่น ด้วยเครื่องจุด ซึ่งในการกาหนดตัวเลขแต่ละจานวนนั้นสามารถกาหนดใช้ได้ตั้งแต่เลข0-255 เช่น 158.108.2.71 หรือ 192.185.1.1 เนื่องจากตัวเลขแต่ละจานวนจะแจ้งให้ทราบถึงกลุ่มของเครือข่ายและหมายเลขประจาตัว เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ดังนั้นในระบบเครือข่ายจะต้องไม่มีการใช้เลขซ้ากัน โดยตัวเลข 4 จานวนนี้เราเรียกว่า IP Address ใช้เพื่อกาหนดแจ้งที่อยู่เพื่อการสื่อสาร โดยในการกาหนดหรือขอ ตัวเลข IP Address นั้น จะต้องติดต่อขอจาก InterNic (Internet Network Information Center) ซึ่งทาหน้าที่ดูแลการกาหนดตัวเลขเพื่อป้องกันการกาหนดที่ซ้าซ้อนกัน ในการติดต่อทางอินเทอร์เน็ต เมื่อเราต้องการติดต่อไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องใดๆ ทางไกลจะ ใช้ IP Address เป็นตัวกาหนดในการติดต่อ เช่นใช้คาสั่ง Telnet 192.133.10.1 ก็จะสามารถเข้าสู่ ภาษากลางของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System-DNS)
  • 5. ระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์นั้นได้ แต่เนื่องจากตัวเลข IP Address ยากต่อการจดจาจึงมีการ กาหนดมาตรฐานชื่อคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย เรียกว่าโดเมนเนม (Domain Name) (หรือ Host name) การตั้งชื่อโดเมนจะมีหลักเกณฑ์เพื่อป้องกันการตั้งชื่อซ้ากันและให้สามารถบอกถึงกลุ่ม เครือข่ายได้ ดังนั้นการกาหนดชื่อโดเมนจะมีการกาหนดเป็นลาดับชั้นเรียกว่า ระบบชื่อโดเมน โดยมี เครื่องหมายจุดแบ่งลาดับของโดเมนจากขวาไปซ้าย ชื่อโดเมนที่อยู่ขวาสุดจะเป็นโดเมนที่ใหญ่ขึ้นเป็น ลาดับและครอบคลุมโดเมนที่อยู่ซ้ายมือ ชื่อโดเมนขวาสุดจะแจ้งชื่อประเทศ ชื่อด้านซ้ายสุดมักเป็นชื่อ คอมพิวเตอร์ หรือชื่อย่อสถาบัน ชื่อโดเมนประกอบด้วยชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ ชื่อเครือข่ายท้องถิ่น ชื่อSubDomain (ประเภทองค์กร) และชื่อ ประเทศ ตัวอย่างเช่น ชื่อเครื่อง (Domain Name) IP number องค์กร nukul.ac.th 203.185.96.203 โรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา tu.ac.th 192.150.249.21 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาหรับประเทศสหรัฐอเมริกาจะไม่มีโดเมนชื่อประเทศ เนื่องจากถือว่าเป็นผู้ริเริ่มเครือข่าย เช่น dialog.com, yahoo.com เป็นต้น เช่นเดียวกับการกาหนดชื่อโดเมนของลักษณะสถาบันอาจมี ความแตกต่างตามประเทศ เช่นในประเทศสหรัฐอเมริกาจะเป็นผู้กาหนดเป็น edu ในขณะที่แห่งอื่น จะเป็น ac เป็นต้น ตัวอย่าง การกาหนดชื่อโดเมนของโรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา ชื่อคอมพิวเตอร์ nukul.ac.th ตัวอย่าง การกาหนดชื่อโดเมน ตามประเภทหน่วยงาน ชื่อโดเมน ประเภทองค์กรในสหรัฐอเมริกา com = commercial องค์กรด้านการค้า edu = educational สถาบันการศึกษา gov = government องค์กรของรัฐ mil = military องค์กรของทหาร net = network services องค์กรบริการด้านเครือข่าย org = other organizations องค์กรอื่นๆ นอกเหนือจากเบื้องต้น ตัวอย่าง ชื่อโดเมน ซึ่งเป็นชื่อย่อประเทศต่างๆ
  • 6. ที่อยู่อินเทอร์เน็ต (E-mail Address) au = Australia th = Thailand fr = France uk = United of Kingdom jp = Japan ca = Canada ในการติดต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้แต่ละคนจะต้องมีที่อยู่อินเทอร์เน็ตสาหรับการ ติดต่อทางอีเมล์ ซึ่งจะมีรูปแบบคือ username@domainname username คือ บัญชีชื่อสมาชิกหรือชื่ออีเมล์ จะต้องอักษรเป็นภาษาอังกฤษหรือ ตัวเลข ประกอบด้วยตัวอักษรตั้งแต่ 3-15 ตัว ที่สาคัญในชื่อต้องไม่มีช่องว่าง อักขระ หรือ เครื่องหมายพิเศษแทรกอยู่ @ คือ เครื่องหมาย แอท-ซาย คั่นระหว่างชื่อ โฮสต์ และโดเมเนม Domain คือ โดเมนเนมหรือเว็บไซต์ที่ให้บริการอีเมล์ ตัวอย่าง E-mail Address เช่น smo2003@yahoo.com ชื่อ user name at ชื่อโดเมนหรือเว็บไซต์ ดังนั้นเวลาอ่าน จะต้องอ่านว่า “เอสเอ็มโอสองศูนย์ศูนย์สาม แอท ยาฮู ดอท คอม” ) ในการขอเข้าเป็นสมาชิกเครือข่ายต้องสมัครที่ศูนย์ให้บริการอินเทอร์เน็ต เมื่อเป็นสมาชิกแล้ว ศูนย์บริการแห่งนั้นจะให้ Internet Account คือการมีสิทธิ์ในการใช้บริการเครือข่าย และจะกาหนด ชื่อผู้ใช้ (user name) และรหัสผ่าน (Password) สาหรับการเข้าใช้ของผู้ที่เป็นสมาชิก บัญชีสมาชิก (Username) คือ ชื่อที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์ เมื่อขอเข้าใช้ เมื่อปรากฏคาว่า log in ซึ่งบางครั้งจะเรียกว่า login name หรือรหัสประจาตัวผู้ใช้ ซึ่งในการพิมพ์จะเป็นตัวอักษรตัวเล็ก หรือ ตัวเลขคละกัน เช่น smo2001, smo_t, wat1234 เป็นต้น บัญชีผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต (Internet Account)
  • 7. ประโยชน์ของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รหัสผ่าน (Password) คือ รหัสที่ศูนย์ที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต กาหนดให้ผู้ใช้ที่เป็นสมาชิก สาหรับขอเข้าใช้ระบบ รหัสผ่านที่ได้รับนี้จะต้องเก็บเป็นความลับไม่ให้ผู้อื่นล่วงรู้ รหัสผ่านจะใส่เมื่อ ปรากฎคาว่า Password ผู้ใช้สามารถกาหนดรหัสผ่านได้ตามต้องการ โดยทั่วไปแล้วควรเปลี่ยน รหัสผ่านเสมอเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้อื่นแอบเอารหัสไปใช้ วิธีการกาหนดรหัสผ่านควรใช้รหัสมากกว่า 6 ตัว และควรเป็นสัญลักษณ์ผสมตัวอักษรใหญ่หรืออักษรเล็ก อักขรพิเศษ หรือตัวเลข ซึ่งในการ กาหนดรหัสผ่านควรจะเป็นคาที่เจ้าตัวจาได้ง่าย แต่คนอื่นคาดเดาได้ยากและไม่ควรใช้คาที่เกี่ยวข้อง กับตัวผู้กาหนด เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย หรือศูนย์ที่จะให้อนุญาตเข้าสู่ระบบเครือข่ายได้ ก็ต่อเมื่อผู้ใช้ใส่ Username และ Password ถูกต้องตามที่กาหนดให้เท่านั้น ลักษณะข้อมูลที่อยู่ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น มีอยู่หลายรูปแบบ คือ 1. ข้อมูลข่าวสาร แบบตัวอักษร (Text) เป็นข้อมูลที่เป็นเรื่อง ข่าวสารต่าง ๆในรูปของ ข้อความคล้ายหนังสือ วารสารต่าง ๆ ทั้งนี้สามารถเปิดอ่านได้ทีละหลายๆ หน้าในเวลาเดียวกัน 2. ข้อมูลข่าวสารแบบกราฟฟิค (Graphic) คือ ข้อมูลที่เป็นลักษณะภาพต่าง ๆ ซึ่งจัดเก็บไว้ ในลักษณะไฟล์ข้อมูลคอมพิวเตอร์ 3. ข้อมูลข่าวสารในรูปเสียง (sound) 4. ข้อมูลในรูปแบบสื่อประสม หรือมัลติมีเดีย (Multimedia) คือข้อมูลที่มีทั้งภาพ ตัวอักษร เสียง และภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ 5. ข้อมูลในลักษณะไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) หรือไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia) โดยที่ ลักษณะของข้อมูลจะสามารถเชื่อมโยงไปถึงกันได้ทุกเวลาที่ต้องการ และสามารถกลับมายังข้อมูลเดิม เมื่อต้องการให้ทุกขณะเช่นกัน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตถือได้ว่าเป็นศูนย์ข้อมูลหรือศูนย์คอมพิวเตอร์ต่างๆ ที่มีการจัดเก็บ ข้อมูลจานวนมาก ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลด้านวิชาการ การเมือง ธุรกิจ ข่าวสาร บันเทิง โปรแกรม คอมพิวเตอร์ เกมต่าง ๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ล้วนเป็นข้อมูลที่ให้ฟรี หรือบางแหล่งก็จะต้องเสียค่าบริการ ในการสืบค้นข้อมูล ประโยชน์ในการใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีดังนี้ ข้อมูลในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
  • 8. ข้อเสียของอินเทอร์เน็ต 1. ใช้ติดต่อสื่อสารกับบุคคลต่างๆทั่วโลก โดยการใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์(E-mail) หรือ การสนทนาทางอินเทอร์เน็ต (Chat) 2. เพื่อการเข้าใช้คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย การติดต่อเข้าสู่คอมพิวเตอร์ เครื่องอื่นๆที่ต่ออยู่ในเครือข่ายทาให้ผู้ใช้สามารถเรียกโปรแกรมในเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นๆมาใช้งานได้ 3. เพื่อการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้ใช้สามารถคัดลอกและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล หรือโปรแกรมที่ผู้ผลิตอนุญาต มาใช้ตามต้องการ 4. สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูล ห้องสมุดทั่วทุกมุมโลก 5. ใช้ในการรับข้อมูล ข่าวสาร แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นในด้านต่าง ๆผ่านกลุ่มสนทนา 6. สามารถใช้เชื่อมโยง ติดต่อกับคอมพิวเตอร์หรือศูนย์ข้อมูลต่างๆ เพื่อใช้ในงานด้าน ต่าง ๆ ทั่วโลก 7. เพื่อใช้บริการและดาเนินงานธุรกิจจากผู้ขายบริการด้านต่างๆ เช่น ธนาคาร ร้านค้า ร้านอาหารเป็นต้น 8. ใช้ในการเรียนการสอนทางไกล (E-Learning) การประชุม การอบรมสัมมนา 9. ใช้เพื่อความบันเทิง และพักผ่อนหยุ่นใจ เช่น เพลง รายการทีวี วิทยา ภาพยนตร์ เกม 10. เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ข้อเสียหรือโทษในการใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีดังนี้ 1. ข้อมูลบางอย่างอาจจะเป็นข้อมูลที่ไม่เป็นจริงต้องใช้วิจารณญานในการรับรู้ 2. อาจถูกหลอกลวง กลั่นแกล้ง 3. ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากไป อาจทาให้เสียการเรียนได้ 4. ข้อมูลบางอย่างไม่เหมาะสมกับเด็กๆในวัยเรียน 5. ทาให้เสียสายตาได้