SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
การจัดการศึกษา
การศึกษาในระบบ
การศึกษาในระบบ คือการศึกษาที่กาหนด
จุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร
ระยะเวลาของการศึกษาการวัดและ
ประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จ
การศึกษาที่แน่นอน
• เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธี
การศึกษา หลักสูตร ระยะเวลา ของ
การศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็น
เงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน
การศึกษาในระบบ
• มี 2 ระดับ คือ
• การศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย
การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อน
ระดับอุดมศึกษา
• การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสอง
ระดับ คือ ระดับต่ากว่าปริญญา และระดับ
ปริญญา
การศึกษาในระบบ
(๑) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย - ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์
พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็ก ก่อนเกณฑ์ของ
สถาบันศาสนา ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม
ของเด็กพิการและเด็กซึ่งมีความต้องการพิเศษ
หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
(๒) โรงเรียน -โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และ
โรงเรียนสังกัดสถาบันพุทธศาสนา หรือศาสนาอื่น
การจัดการศึกษาปฐมวัยและ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดในสถานศึกษา
(๓) ศูนย์การเรียน -สถานที่เรียนที่หน่วยงานจัด
การศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครัว ชุมชน
องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา
สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทาง
การแพทย์ สถานสงเคราะห์ และสถาบันสังคม
อื่นเป็นผู้จัด
การจัดการศึกษาปฐมวัยและ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดในสถานศึกษา
• จัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
• 1) ถ่ายทอดหรือปลูกฝัง เนื้อหา ความรู้ ความเข้าใจที่เหมาะสม
เพื่อให้ผู้ได้รับการศึกษาวางตัวได้เหมาะสมในสังคม และมี
ความสามารถประกอบอาชีพตามความถนัด ความสนใจ หรือตาม
โอกาสของแต่ละบุคคล
2) เตรียมเด็กก่อนวัยเรียน ให้มีความพร้อมในการเรียนรู้และ
จัดให้เด็กในวัยเรียน ได้รับการศึกษาเพื่อเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง
ต่อเนื่องเพื่อให้มีพัฒนาการทั้งทางร่างกาย เชาวน์ปัญญา ความ
สนใจที่เหมาะสมมีความพร้อมในการศึกษาระดับสูงขึ้นไป
วัตถุประสงค์ของการศึกษาในระบบ
• 3) เพื่อพัฒนาเด็กในวัยเรียนทุกระดับให้ได้รับการศึกษา เพื่อ
ประโยชน์สาหรับการเตรียมตัวระดับพื้นฐาน และเพื่อมีความรู้
ความสามารถในการประกอบอาชีพการงานต่อไป
4) ตอบสนองความต้องการทางการศึกษาระดับสูงในเชิง
คุณภาพ มุ่งส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้พัฒนาความรู้
ความสามารถเฉพาะด้าน เพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพ ซึ่ง
อาจดาเนินการโดยสถาบันอุดมศึกษา ที่เน้นการวิเคราะห์ วิจัย
ระดับสูง มุ่งคิดค้นเนื้อหาสาระที่แปลกใหม่จากเดิม นอกจากนี้ยัง
รวมถึงการฝึกอบรมเฉพาะทางเช่น ด้านการเกษตร การ
อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์สุขภาพ เป็นต้น
วัตถุประสงค์ของการศึกษาในระบบ
• 5) พัฒนาศักยภาพของบุคคลเต็มความสามารถและ
ตอบสนองวิสัยทัศน์ในการพัฒนาประเทศ เน้นพัฒนา
กลุ่มเป้ าหมายในลักษณะบูรณาการ คือ มีความสมบูรณ์
ครบถ้วนทุกด้าน ทั้งทางร่างกาย สติปัญญาคุณธรรม
ความคิด ความสานึก ความรับผิดชอบ ฯลฯ ซึ่งตามปกติเป็น
หน้าที่ของสถานศึกษา และอาจจัดเสริมเติมในลักษณะ
ฝึกอบรมเฉพาะหรือแทรกในกิจกรรมการเรียนการสอนปกติ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาในระบบ
• 1) เด็กก่อนวัยเรียน เป็นการจัดกิจกรรมในลักษณะการเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริม
ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ได้แก่ กิจกรรมการเคลื่อนไหว
ตามจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรม
เกมการศึกษาเป็นต้น
2) บุคคลในวัยเรียน เป็นการจัดการศึกษาให้กับกลุ่มเป้ าหมายดังต่อไปนี้
2.1) การศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้แก่ การจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา
และระดับมัธยมศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐานนั้น มักใช้เวลาประมาณสิบสองปี เป็นส่วน
ใหญ่ ในช่วงปลายของการศึกษาเยาวชนที่สนใจสายอาชีพ แทนที่จะศึกษาสายสามัญ ก็
อาจเลือกเข้าเรียนในสถานศึกษา สายอาชีพได้ ซึ่งได้แก่ โรงเรียนอาชีวศึกษา ประเภท
ต่าง ๆ
2.2) การศึกษาระดับอุดมศึกษา เมื่อสาเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้เรียนที่มุ่ง
ศึกษาต่อก็อาจเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งรวมสถาบันอุดมศึกษาสายอาชีพต่า
กว่าปริญญาด้วย
เป้ าหมายของการจัดการศึกษาในระบบ
• 1. สาระเนื้อหาในการศึกษา การจัดการศึกษาในระบบ จะจัดทา
หลักสูตรเป็นตัวกาหนดเนื้อหาสาระหลักสูตรในหลักสูตรกลางแต่ละ
ระดับขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถจัด
เนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับท้องถิ่นได้ด้วย โดยมีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย
ทันต่อเหตุการณ์ เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน และสอดคล้อง
กับวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ทั้งนี้ต้องทบทวนเนื้อหาสาระ เพื่อ
ปรับแก้ไขให้ถูกต้องทันสมัย และให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้เรียน
องค์ประกอบของการจัดการศึกษาในระบบ
• 2. ครู ครูผู้สอน หรือผู้ให้การเรียนรู้ ผู้ถ่ายทอดเนื้อหาสาระได้แก่ ครู และ
อาจารย์ ซึ่งถือเป็นผู้ประกอบอาชีพชั้นสูง บุคคลเหล่านี้ต้องได้รับการอบรมทั้ง
ในด้านเนื้อหา และวิธีการถ่ายทอด เพื่อให้สามารถถ่ายทอดความรู้ และสาระ
วิชาที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สื่อและอุปกรณ์สาหรับการศึกษา เช่น อาคารสถานที่ โต๊ะเก้าอี้
กระดานเขียน หนังสือ แบบเรียน สมุด ดินสอ ตลอดทั้งอุปกรณ์ที่ทันสมัยที่มี
ราคาแพงทั้งหลาย เช่น อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ เครื่อง
คอมพิวเตอร์ เป็นต้น สื่อและอุปกรณ์เหล่านี้เป็นส่วนประกอบที่จาเป็นสาหรับ
การจัดการศึกษา
องค์ประกอบของการจัดการศึกษาในระบบ
• 4. รูปแบบวิธีการเรียนการสอน การศึกษาในระบบยุคปฏิรูปการศึกษา
เน้นความสาคัญที่ตัวผู้เรียน รูปแบบวิธีการเรียนการสอนใหม่แตกต่างไปจาก
เดิม ซึ่งมีกระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลาย เช่น การระดมความคิด
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การนาชมนอกสถานที่เรียน การใช้อุปกรณ์
เครื่องมือประกอบ
5. สถานศึกษาและบรรยากาศแวดล้อม การจัดการศึกษาในระบบ
ยังต้องอาศัยชั้นเรียนยังเป็นสิ่งจาเป็น ดังนั้นอาคารสถานที่ห้องเรียน และ
บรรยากาศแวดล้อมที่ใช้ในการจัดการศึกษาเป็นสิ่งจาเป็นซึ่งจะต้องจัด
บรรยากาศแวดล้อมที่เอื้อการเรียนรู้
องค์ประกอบของการจัดการศึกษาในระบบ
• 6. ผู้เรียน ผู้เรียนหรือผู้ศึกษาถือเป็นองค์ประกอบสาคัญที่สุดของ
การจัดการศึกษา เพราะผู้เรียนคือผู้รับการศึกษาและเป็นเป้ าหมายหลัก
ของการจัดการศึกษา การปรับเปลี่ยนความรู้และพฤติกรรมของผู้เรียน
เป็นดัชนีชี้วัดผลสัมฤทธิ์ของการจัดการศึกษา การจัดการศึกษาจึง
ครอบคลุมขั้นตอนที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนตั้งแต่การเตรียมความ
พร้อม สาหรับการเรียนรู้ การให้การศึกษาอบรมการประเมินและการ
ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ต่อเนื่อง
องค์ประกอบของการจัดการศึกษาในระบบ
การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่มีรูปแบบและระบบแบบแผน
ชัดเจน มีการกาหนดวัตถุประสงค์ หลักสูตรวิธีการจัดการเรียนการสอน
การวัดผล และการประเมินผลที่แน่นอน ซึ่งการศึกษาในระบบของไทย
ประกอบไปด้วยการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาในขั้นอุดมศึกษา โดย
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ถูกแบ่งออกเป็นระดับต่าง ๆ คือ ระดับก่อน
ประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ยังถูกแบ่งเป็น
ประเภทสามัญศึกษาและประเภทอาชีวศึกษาอีกด้วย สาหรับในการศึกษา
ขั้นอุดมศึกษานั้น แบ่งออกเป็นระดับต่าง ๆคือ ต่ากว่าปริญญาตรี ปริญญา
ตรี ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท และปริญญาเอก
สรุป

More Related Content

What's hot

แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
Jariya Jaiyot
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
Dhanee Chant
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
kanjana2536
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
แบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากรแบบทดสอบประชากร
แบบทดสอบประชากร
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 

Similar to การจัดการศึกษาในระบบ

ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
pairat13
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
kruteerapol
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
Nang Ka Nangnarak
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
arsad20
 
ค่าเป้าหมาย ปฐมวัย
ค่าเป้าหมาย ปฐมวัยค่าเป้าหมาย ปฐมวัย
ค่าเป้าหมาย ปฐมวัย
warijung2012
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
jujudy
 
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษารายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
Krudachayphum Schoolnd
 

Similar to การจัดการศึกษาในระบบ (20)

ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
รูปแบบการจัดการศึกษาในประเทศไทย (Model of education management in thailand)
รูปแบบการจัดการศึกษาในประเทศไทย (Model of education management in thailand)รูปแบบการจัดการศึกษาในประเทศไทย (Model of education management in thailand)
รูปแบบการจัดการศึกษาในประเทศไทย (Model of education management in thailand)
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9รายงานผลจุดเน้นที่ 9
รายงานผลจุดเน้นที่ 9
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
ค่าเป้าหมาย ปฐมวัย
ค่าเป้าหมาย ปฐมวัยค่าเป้าหมาย ปฐมวัย
ค่าเป้าหมาย ปฐมวัย
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษารายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
 

การจัดการศึกษาในระบบ

  • 1. การจัดการศึกษา การศึกษาในระบบ การศึกษาในระบบ คือการศึกษาที่กาหนด จุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษาการวัดและ ประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จ การศึกษาที่แน่นอน
  • 2. • เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธี การศึกษา หลักสูตร ระยะเวลา ของ การศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็น เงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน การศึกษาในระบบ
  • 3. • มี 2 ระดับ คือ • การศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อน ระดับอุดมศึกษา • การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสอง ระดับ คือ ระดับต่ากว่าปริญญา และระดับ ปริญญา การศึกษาในระบบ
  • 4. (๑) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย - ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็ก ก่อนเกณฑ์ของ สถาบันศาสนา ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม ของเด็กพิการและเด็กซึ่งมีความต้องการพิเศษ หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย (๒) โรงเรียน -โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และ โรงเรียนสังกัดสถาบันพุทธศาสนา หรือศาสนาอื่น การจัดการศึกษาปฐมวัยและ การศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดในสถานศึกษา
  • 5. (๓) ศูนย์การเรียน -สถานที่เรียนที่หน่วยงานจัด การศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทาง การแพทย์ สถานสงเคราะห์ และสถาบันสังคม อื่นเป็นผู้จัด การจัดการศึกษาปฐมวัยและ การศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดในสถานศึกษา
  • 6. • จัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย การศึกษาระดับอุดมศึกษา
  • 7. • 1) ถ่ายทอดหรือปลูกฝัง เนื้อหา ความรู้ ความเข้าใจที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ได้รับการศึกษาวางตัวได้เหมาะสมในสังคม และมี ความสามารถประกอบอาชีพตามความถนัด ความสนใจ หรือตาม โอกาสของแต่ละบุคคล 2) เตรียมเด็กก่อนวัยเรียน ให้มีความพร้อมในการเรียนรู้และ จัดให้เด็กในวัยเรียน ได้รับการศึกษาเพื่อเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง ต่อเนื่องเพื่อให้มีพัฒนาการทั้งทางร่างกาย เชาวน์ปัญญา ความ สนใจที่เหมาะสมมีความพร้อมในการศึกษาระดับสูงขึ้นไป วัตถุประสงค์ของการศึกษาในระบบ
  • 8. • 3) เพื่อพัฒนาเด็กในวัยเรียนทุกระดับให้ได้รับการศึกษา เพื่อ ประโยชน์สาหรับการเตรียมตัวระดับพื้นฐาน และเพื่อมีความรู้ ความสามารถในการประกอบอาชีพการงานต่อไป 4) ตอบสนองความต้องการทางการศึกษาระดับสูงในเชิง คุณภาพ มุ่งส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสได้พัฒนาความรู้ ความสามารถเฉพาะด้าน เพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพ ซึ่ง อาจดาเนินการโดยสถาบันอุดมศึกษา ที่เน้นการวิเคราะห์ วิจัย ระดับสูง มุ่งคิดค้นเนื้อหาสาระที่แปลกใหม่จากเดิม นอกจากนี้ยัง รวมถึงการฝึกอบรมเฉพาะทางเช่น ด้านการเกษตร การ อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์สุขภาพ เป็นต้น วัตถุประสงค์ของการศึกษาในระบบ
  • 9. • 5) พัฒนาศักยภาพของบุคคลเต็มความสามารถและ ตอบสนองวิสัยทัศน์ในการพัฒนาประเทศ เน้นพัฒนา กลุ่มเป้ าหมายในลักษณะบูรณาการ คือ มีความสมบูรณ์ ครบถ้วนทุกด้าน ทั้งทางร่างกาย สติปัญญาคุณธรรม ความคิด ความสานึก ความรับผิดชอบ ฯลฯ ซึ่งตามปกติเป็น หน้าที่ของสถานศึกษา และอาจจัดเสริมเติมในลักษณะ ฝึกอบรมเฉพาะหรือแทรกในกิจกรรมการเรียนการสอนปกติ วัตถุประสงค์ของการศึกษาในระบบ
  • 10. • 1) เด็กก่อนวัยเรียน เป็นการจัดกิจกรรมในลักษณะการเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริม ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ได้แก่ กิจกรรมการเคลื่อนไหว ตามจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรม เกมการศึกษาเป็นต้น 2) บุคคลในวัยเรียน เป็นการจัดการศึกษาให้กับกลุ่มเป้ าหมายดังต่อไปนี้ 2.1) การศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้แก่ การจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐานนั้น มักใช้เวลาประมาณสิบสองปี เป็นส่วน ใหญ่ ในช่วงปลายของการศึกษาเยาวชนที่สนใจสายอาชีพ แทนที่จะศึกษาสายสามัญ ก็ อาจเลือกเข้าเรียนในสถานศึกษา สายอาชีพได้ ซึ่งได้แก่ โรงเรียนอาชีวศึกษา ประเภท ต่าง ๆ 2.2) การศึกษาระดับอุดมศึกษา เมื่อสาเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้เรียนที่มุ่ง ศึกษาต่อก็อาจเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งรวมสถาบันอุดมศึกษาสายอาชีพต่า กว่าปริญญาด้วย เป้ าหมายของการจัดการศึกษาในระบบ
  • 11. • 1. สาระเนื้อหาในการศึกษา การจัดการศึกษาในระบบ จะจัดทา หลักสูตรเป็นตัวกาหนดเนื้อหาสาระหลักสูตรในหลักสูตรกลางแต่ละ ระดับขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถจัด เนื้อหาสาระที่เหมาะสมกับท้องถิ่นได้ด้วย โดยมีเนื้อหาสาระที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียน และสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ทั้งนี้ต้องทบทวนเนื้อหาสาระ เพื่อ ปรับแก้ไขให้ถูกต้องทันสมัย และให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้เรียน องค์ประกอบของการจัดการศึกษาในระบบ
  • 12. • 2. ครู ครูผู้สอน หรือผู้ให้การเรียนรู้ ผู้ถ่ายทอดเนื้อหาสาระได้แก่ ครู และ อาจารย์ ซึ่งถือเป็นผู้ประกอบอาชีพชั้นสูง บุคคลเหล่านี้ต้องได้รับการอบรมทั้ง ในด้านเนื้อหา และวิธีการถ่ายทอด เพื่อให้สามารถถ่ายทอดความรู้ และสาระ วิชาที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สื่อและอุปกรณ์สาหรับการศึกษา เช่น อาคารสถานที่ โต๊ะเก้าอี้ กระดานเขียน หนังสือ แบบเรียน สมุด ดินสอ ตลอดทั้งอุปกรณ์ที่ทันสมัยที่มี ราคาแพงทั้งหลาย เช่น อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ เครื่อง คอมพิวเตอร์ เป็นต้น สื่อและอุปกรณ์เหล่านี้เป็นส่วนประกอบที่จาเป็นสาหรับ การจัดการศึกษา องค์ประกอบของการจัดการศึกษาในระบบ
  • 13. • 4. รูปแบบวิธีการเรียนการสอน การศึกษาในระบบยุคปฏิรูปการศึกษา เน้นความสาคัญที่ตัวผู้เรียน รูปแบบวิธีการเรียนการสอนใหม่แตกต่างไปจาก เดิม ซึ่งมีกระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลาย เช่น การระดมความคิด การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การนาชมนอกสถานที่เรียน การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือประกอบ 5. สถานศึกษาและบรรยากาศแวดล้อม การจัดการศึกษาในระบบ ยังต้องอาศัยชั้นเรียนยังเป็นสิ่งจาเป็น ดังนั้นอาคารสถานที่ห้องเรียน และ บรรยากาศแวดล้อมที่ใช้ในการจัดการศึกษาเป็นสิ่งจาเป็นซึ่งจะต้องจัด บรรยากาศแวดล้อมที่เอื้อการเรียนรู้ องค์ประกอบของการจัดการศึกษาในระบบ
  • 14. • 6. ผู้เรียน ผู้เรียนหรือผู้ศึกษาถือเป็นองค์ประกอบสาคัญที่สุดของ การจัดการศึกษา เพราะผู้เรียนคือผู้รับการศึกษาและเป็นเป้ าหมายหลัก ของการจัดการศึกษา การปรับเปลี่ยนความรู้และพฤติกรรมของผู้เรียน เป็นดัชนีชี้วัดผลสัมฤทธิ์ของการจัดการศึกษา การจัดการศึกษาจึง ครอบคลุมขั้นตอนที่เกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนตั้งแต่การเตรียมความ พร้อม สาหรับการเรียนรู้ การให้การศึกษาอบรมการประเมินและการ ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ต่อเนื่อง องค์ประกอบของการจัดการศึกษาในระบบ
  • 15. การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่มีรูปแบบและระบบแบบแผน ชัดเจน มีการกาหนดวัตถุประสงค์ หลักสูตรวิธีการจัดการเรียนการสอน การวัดผล และการประเมินผลที่แน่นอน ซึ่งการศึกษาในระบบของไทย ประกอบไปด้วยการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาในขั้นอุดมศึกษา โดย การศึกษาขั้นพื้นฐาน ถูกแบ่งออกเป็นระดับต่าง ๆ คือ ระดับก่อน ประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ยังถูกแบ่งเป็น ประเภทสามัญศึกษาและประเภทอาชีวศึกษาอีกด้วย สาหรับในการศึกษา ขั้นอุดมศึกษานั้น แบ่งออกเป็นระดับต่าง ๆคือ ต่ากว่าปริญญาตรี ปริญญา ตรี ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท และปริญญาเอก สรุป