SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 28
Baixar para ler offline
เทคนิคและแนวทางในการปรับแต่ง
ระบบควบคุม
การวิเคราะห์และออกแบบระบบควบคุมต่างๆ ต้องรู้จักและศึกษาถึง
“พฤติกรรม” ของกระบวนการนั้น
โดยปกติแล้ววิธีการศึกษา “พฤติกรรม” มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี
คือ 1. ด้วยวิธีการทดสอบ
2. ด้วยวิธีการทางสมการทางคณิตศาสตร์
วิชา อุปกรณ์วัดและควบคุมในกระบวนการ
Process Instrumentation
PAT.M.
ดร.ปรัชญา มงคลไวย์
Dr.PRATYA MONGKOLWAI
การออกแบบอุปกรณ์ควบคุม
แบบอนาลอก วิชา อุปกรณ์วัดและควบคุมในกระบวนการ
Process Instrumentation
หัวข้อ 1.แนวทางในการเลือกชนิดอุปกรณ์ควบคุม
2.ผลตอบสนองของกระบวนการต่อชนิดควบคุม
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols
3.2 โดยวิธี Damped oscillation
3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก
PAT.M.
1.แนวทางในการเลือกชนิดอุปกรณ์ควบคุม
P
I
D
PI
PD
PID
PAT.M.
1.แนวทางในการเลือกชนิดอุปกรณ์ควบคุม
การไหล
(flow)
ระดับ
(level)
อุณหภูมิ
(temperature)
ความดัน
(pressure)
กระบวนการเคมี
(Chemical Process)
PAT.M.
1.แนวทางในการเลือกชนิดอุปกรณ์ควบคุม
PAT.M.
2.ผลตอบสนองของกระบวนการต่อชนิดควบคุม
ใช้เวลานานมาก
มี offset
กําจัด offset แต่เกิดการแกว่ง
ลดองศาของการแกว่งและลดเวลา
PAT.M.
2.ผลตอบสนองของกระบวนการต่อชนิดควบคุม
ควบคุมแบบ P
PAT.M.
2.ผลตอบสนองของกระบวนการต่อชนิดควบคุม
ควบคุมแบบ PI
PAT.M.
2.ผลตอบสนองของกระบวนการต่อชนิดควบคุม
ควบคุมแบบ PID
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
การปรับแต่งค่าพารามิเตอร์ในกระบวนการ
ควบคุมแบบ PID เพื่อให้ได้ผลตอบสนองที่ดี
ที่สุด สามารถทําได้หลายวิธี เช่น
-อาศัยการพิจารณาจากผลตอบสนอง
-อาศัยจากประสบการณ์ในการควบคุม
-อาศัยวิธีการทางคณิตศาสตร์
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols
นําเสนอขึ้นโดย
J. G. Ziegler และ N. B. Nichols
เพื่อการหาค่าพารามิเตอร์ KP, Ti, Td จะมีอยู่ 2 วิธีคือ
1. การคํานวณหาค่าโดยวิธี Process reaction curve
2. การคํานวณหาค่าโดยวิธี Ultimate method
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols
หลักการ เพื่อพยายามปรับแต่งผลตอบสนองของกระบวนการต่อสัญญาณ
อินพุตแบบสัญญาณระดับหนึ่งหน่วย มีอัตราส่วนระหว่างค่าพุงเกินสูงสุด (maximum
overshoot) ครั้งแรก (b) ต่อครั้งที่สอง (a) ให้มีค่าเท่ากับ 4/1 หรือให้อัตราเสื่อมเท่ากับ
25% ดังแสดงในรูป
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols
แบบ Process reaction curve
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols
แบบ Process reaction curve
คํานวณหา
ค่าพารามิเตอร์ที่
เหมาะสมของ
กระบวนการ
สามารถดูได้ใน
ตารางสรุป ต่อไปนี้
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols
แบบ Process reaction curve
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols
แบบ Process reaction curve
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols
แบบ Ultimate method
วิธีนี้ทําได้โดยการปรับค่า
อัตราขยายการควบคุมแบบ
P (หรือ KP) ไปจนกระทั่ง
เกิดการแกว่งอย่างต่อเนื่อง
(oscillate) ดังแสดงได้ดังรูป
เกิดการออสซิเลต
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols
แบบ Ultimate method
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols
แบบ Ultimate method
วิธีการ
Ziegler-Nichols
แบบ Process reaction curve
หาค่าจากจุดตัดกราฟ (time domain) แล้ว
ไปแทนค่าในตาราง
ปรับค่า KP ให้เกิดการออซซิเลต แล้วหาค่า
คาบเวลา ไปแทนในตาราง
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.2 โดยวิธี Damped oscillation
ปรับปรุงจากวิธีการ Ultimate method แต่เมื่อไม่ต้องการให้ผลตอบสนองของกระบวนการเกิดการออสซิเลต จึงปรับมาใช้วิธีการ
แบบ Damped oscillation
ปรับค่า KP ไปจนอัตราเสื่อม
แบบลูปเปิดมีค่าเท่ากับ ¼
แล้วหาค่า P มาคํานวณหา
ค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสม
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.2 โดยวิธี Damped oscillation
ปรับค่า KP ไปจนอัตราเสื่อมแบบลูปเปิดมีค่าเท่ากับ ¼
แล้วหาค่า P มาคํานวณหาค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสม
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก
บางครั้งการทดลองเพื่อคํานวณหาค่าพารามิเตอร์สําหรับนําไปใช้ปรับแต่ง (แบบที่กล่าวมาข้างต้น) อาจมี
คุณสมบัติบางอย่างแตกต่างไปจากกระบวนการจริงที่ต้องการควบคุม จึงได้มีวิธีการปรับแต่งระบบควบคุม
โดยใช้วิธีลองผิดลองถูก(สุ่ม) ขึ้น แต่เป็นวิธีที่อาศัยประสบการณ์ความชํานานของผู้ควบคุม
การปรับแต่งระบบควบคุมโดยใช้วิธีลองผิดลองถูก (Trial and error tuning)
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก
การปรับแต่งระบบควบคุมโดยใช้วิธีลองผิดลองถูก (Trial and error tuning)
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก
การปรับแต่งระบบควบคุมโดยใช้วิธีลองผิดลองถูก (Trial and error tuning)
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก
การปรับแต่งระบบควบคุมโดยใช้วิธีลองผิดลองถูก (Trial and error tuning)
PAT.M.
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก
การปรับแต่งระบบควบคุมโดยใช้วิธีลองผิดลองถูก (Trial and error tuning)
PAT.M.
การออกแบบอุปกรณ์ควบคุม
แบบอนาลอก วิชา อุปกรณ์วัดและควบคุมในกระบวนการ
Process Instrumentation
หัวข้อ 1.แนวทางในการเลือกชนิดอุปกรณ์ควบคุม
2.ผลตอบสนองของกระบวนการต่อชนิดควบคุม
3.เทคนิคการปรับแต่งระบบควบคุม
3.1 โดยวิธี Ziegler-Nichols
3.2 โดยวิธี Damped oscillation
3.3 โดยวิธี ลองผิดลองถูก
PAT.M.
ตําราหลักที่ใช้สอน
PAT.M.
-รศ.ดร.วรพงศ์ ตั้งศรีรัตน์, “การวัดและควบคุมกระบวนการ
(Process Control and Instrumentation)”, สํานักพิมพ์
ส.ส.ท.(สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น), 2550.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

What is 16 qam modulation
What is 16 qam modulationWhat is 16 qam modulation
What is 16 qam modulation
FOSCO Fiber Optics
 
ข้อสอบ pat2 ตุลา 53
ข้อสอบ pat2 ตุลา 53ข้อสอบ pat2 ตุลา 53
ข้อสอบ pat2 ตุลา 53
Porz Cmt
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
Nawamin Wongchai
 
เล่มที่1
เล่มที่1เล่มที่1
เล่มที่1
Art Nan
 

Mais procurados (20)

What is 16 qam modulation
What is 16 qam modulationWhat is 16 qam modulation
What is 16 qam modulation
 
Process instrumentation unit 01
Process instrumentation unit 01Process instrumentation unit 01
Process instrumentation unit 01
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
Frequency spectrum
Frequency spectrumFrequency spectrum
Frequency spectrum
 
1 3
1 31 3
1 3
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
Report on In Band On Channel
Report on In Band On Channel Report on In Band On Channel
Report on In Band On Channel
 
ข้อสอบ pat2 ตุลา 53
ข้อสอบ pat2 ตุลา 53ข้อสอบ pat2 ตุลา 53
ข้อสอบ pat2 ตุลา 53
 
Information Theory and coding - Lecture 2
Information Theory and coding - Lecture 2Information Theory and coding - Lecture 2
Information Theory and coding - Lecture 2
 
การวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสีการวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสี
 
002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thai002 introduction and basic concepts thai
002 introduction and basic concepts thai
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ
ไฟฟ้ากระแสสลับไฟฟ้ากระแสสลับ
ไฟฟ้ากระแสสลับ
 
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติ
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติแบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติ
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติ
 
1 4
1 41 4
1 4
 
004 steady state heat conduction thai
004 steady state heat conduction thai004 steady state heat conduction thai
004 steady state heat conduction thai
 
Satellite Microwave
Satellite MicrowaveSatellite Microwave
Satellite Microwave
 
เล่มที่1
เล่มที่1เล่มที่1
เล่มที่1
 

Semelhante a Process instrumentation unit 10

เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
Apichaya Savetvijit
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontest
Weerachat Martluplao
 
ISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and Implementation
Nukool Thanuanram
 

Semelhante a Process instrumentation unit 10 (20)

การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
 
Process instrumentation unit 08
Process instrumentation unit 08Process instrumentation unit 08
Process instrumentation unit 08
 
Process instrumentation unit 09
Process instrumentation unit 09Process instrumentation unit 09
Process instrumentation unit 09
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
14 2
14 214 2
14 2
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontest
 
Mini Master in software testing
Mini Master in software testingMini Master in software testing
Mini Master in software testing
 
SA Chapter 5
SA Chapter 5SA Chapter 5
SA Chapter 5
 
Chapter006 (1)
Chapter006 (1)Chapter006 (1)
Chapter006 (1)
 
Chapter006
Chapter006Chapter006
Chapter006
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
Process instrumentation unit 04
Process instrumentation unit 04Process instrumentation unit 04
Process instrumentation unit 04
 
L1
L1L1
L1
 
Ppt chapter1
Ppt chapter1Ppt chapter1
Ppt chapter1
 
The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control System
 
ISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and Implementation
 
L5
L5L5
L5
 

Mais de Rajamangala University of Technology Rattanakosin

Mais de Rajamangala University of Technology Rattanakosin (8)

Process instrumentation unit 07
Process instrumentation unit 07Process instrumentation unit 07
Process instrumentation unit 07
 
Process instrumentation unit 06
Process instrumentation unit 06Process instrumentation unit 06
Process instrumentation unit 06
 
Process instrumentation unit 05
Process instrumentation unit 05Process instrumentation unit 05
Process instrumentation unit 05
 
EMI ความถูกต้องและความผิดพลาด 02
EMI ความถูกต้องและความผิดพลาด 02EMI ความถูกต้องและความผิดพลาด 02
EMI ความถูกต้องและความผิดพลาด 02
 
EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03
EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03
EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03
 
Process instrumentation unit 03
Process instrumentation unit 03Process instrumentation unit 03
Process instrumentation unit 03
 
Process instrumentation unit 02
Process instrumentation unit 02Process instrumentation unit 02
Process instrumentation unit 02
 
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
EMI การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 01
 

Process instrumentation unit 10