SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 4
ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู ้

      การเรียนรู้หมายถึงการเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่คนเรามี
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม หรือจากการฝึกหัด รวมทั้งการเปลี่ยนปริมาณความรู้ของผู้ร้าน งานที่
สำาคัญของครูคือการช่วยนักเรียนในแต่ละคนให้เกิดการเรียนรู้หรือมีความรู้และทักษะตามที่
หลักสูตรได้วางไว้ ครูมีหน้าที่จัดประสบการณ์ในห้องเรียน เพื่อจะช่วยให้นักเรียนเปลี่ยน
พฤติกรรมตามวัตถุประสงค์แต่ละบทเรียน ดังนั้นความรู้เกี่ยวกับกระบวนการการเรียนรู้จึงเป็น
รากฐานการสอนที่มีประสิทธิภาพ (สุรางค์ โค้งตระกูล 2553 : 185)

       ทฤษฎีของการเรียนรู้ที่สำาคัญมี ٣ ทฤษฎีคือ ١.ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral
Theories) 2.ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม (Cognitive Theories) 3.ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมแนว
พุทธิปัญญา (Social Cognitive Learning)

ทฤษฎี พ ฤติ ก รรมนิ ย ม (Behavioral Theories) นักจิตวิทยาที่ยึดทางพฤติกรรมนิยม แบ่ง
พฤติกรรมของมนุษย์ออกเป็น ٢ ประเภทคือ

١.พฤติ ก รรมเรสปอนเดนต์ (Respondent Behavior) หมายถึง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดย
สิ่งเร้า เมื่อมีสิ่งเร้าพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่งสามารถสังเกตได้

٢.พฤติ ก รรมโอเปอร์ แ รนต์ (Operant Behavior) หมายถึง พฤติกรรมที่บุคคลหรือสัตว์
แสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมา (Emitted) โดยปราศจากสิ่งเร้าแน่นอน และพฤติกรรมนี้มีผล
ต่อสิ่งแวดล้อม

ทฤษฎีอธิบายกระบวนการเรียนรู้มี ٢ ประเภท

١.Respondent Behavior เรียกว่า ทฤษฎีการเรียนรู้ระบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
(Classical Conditioning Theory)

٢.Operant Behavior เรียกว่า ทฤษฎีการเรียนเรียนรู้ที่ใช้อธิบาย (Operant Conditioning
Theory)

พิ้นฐานความคิด (Assumption) ของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม คือ١.พฤติกรรมทุกอย่างเกิดขึ้นโดย
การเรียนและสามารถจะสังเกตได้

٢.พฤติกรรมแต่ละชนิดเป็นผลรวมของการเรียนที่เป็นอิสระหลายอย่าง ٣.แรงเสริม
(Reinforcement) ช่วยทำาให้พฤติกรรมเกิดขึ้นได้

ทฤษฎีการเรียนรู้ระบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory)

       พาฟลอฟ (Pavlov, 1849-1936) การวางเงื่อนไขของพาฟลอฟใช้หลักการเรียนรู้ที่เรียก
ว่า Classical Conditioning ซึ่งพาฟลอฟได้ทำาการทดลองโดยสั่นกระดิ่งก่อนที่จะเอาอาหาร (
ผงเนื้อ) ให้แก่สุนัข เวลาระหว่างการสั่นกระดิ่งและให้ผงเนื้อสุนัข จะต้องเป็นเวลา ที่กระชั้นชิด
มากประมาณ .٢٥ ถึง .٥٠ วินาที ทำาซำ้าควบคู่กันหลายครั้ง และในที่สุดหยุดให้อาหารเพียงแต่สั่น
กระดิ่งก็ปรากฏว่าสุนัขก็ยังคงมีนำ้าลายไหลได้
วัตสัน (Watson, 1878-1958) บิ ด าแห่ ง จิ ต วิ ท ยาพฤติ ก รรมนิ ย ม ได้ทำาการทดลอง
เกี่ยวกับการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกกับมนุษย์ โดยศึกษาเรื่องความกลัว ในปี ค.ศ. ١٩٢٠ โดย
เริ่มโดยการวิจัยเคาะแผ่นเหล็กให้เสียงดังขึ้น ให้เสียงดังกล่าวเป็นสิ่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข
(UCS) ซึ่งจะก่อให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ต้องการวางเงื่อนไข (UCR) คือความกลัว วัตสันและ
เรย์เนอร์ ได้ใช้หนูขาวเป็นสิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข (CS) มาล่อหนูน้อยอัลเบิร์ตซึ่งชอบหนูขาว
ไม่แสดงความกลัว แต่ขณะที่หนูน้อยยื่นมือไปจับหนูขาวเสียงเคาะแผ่นเหล็กก็ดังขึ้น ซึ่งทำาให้
หนูน้อยกลัวทำาคู่เช่นนี้ เพียงเจ็ดครั้งในระยะเวลาหนึ่งสัปดาห์ ปรากฏว่าตอนหลังหนูน้อยเห็น
เพียงหนูขาวก็จะจะแสดงความกลัวทันที



ทฤษฎีการเรียนเรียนรู้ที่ใช้อธิบาย (Operant Conditioning Theory)

       สกินเนอร์ (Skinner, 1904-1990) เป็นทฤษฎีที่มีประโยชน์ในการอธิบายพฤติกรรมของ
มนุษย์ และมีหลักการประยุกต์ที่มีประโยชน์หลายอย่าง จนกระทั่งท่านได้รับเลือกว่าเป็นนัก
จิตวิทยาที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดในศตวรรษนี้ สกินเนอร์ได้ทำาการทดลองโดยใช้หนูและนก
เป็นสัตว์ทดลอง จนกระทั่งได้หลักการต่างๆ เกี่ยวกับการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนต์ หลังจาก
นั้นได้นำามาศึกษาการเรียนรู้ของมนุษย์ในปี ค.ศ. ١٩٥٣

แรงเสริม (Reinforcement)

      สกินเนอร์ได้กล่าวว่าพฤติกรรมส่วนมากของมนุษย์เป็นพฤติกรรมประเภท Operant
Behavior ซึ่งสิ่งมีชีวิต (Organism) ทั้งคนและสัตว์เป็นผู้เริ่มที่จะกระทำาต่อ (Operate) สิ่ง
แวดล้อมของตนเอง ดังนั้นการเรียนรู้แบบนี้บางครั้งเรียกว่า Instrumental Conditioning สกิน
เนอร์พบว่า ถ้าต้องการให้ Operant Behavior คงอยู่ตลอดไป จำาเป็นที่จะต้องให้แรงเสริม สกิน
เนอร์ได้แบ่งแรงเสริมออกเป็น ٢ ประเภทคือ

١.แรงเสริ ม บวก (Positive Reinforcement) หมายถึง สิ่งของ คำาพูด หรือสภาพการณ์ที่
จะช่วยให้พฤติกรรมโอเปอแรนต์เกิดขึ้นอีก หรือสิ่งที่ทำาให้เพิ่มความน่าจะเป็นไปได้
(Probability) ของการเกิดพฤติกรรมโอเปอแรนต์

2.แรงเสริ ม ลบ (Negative Reinforcement) หมายถึง การเปลี่ยนสภาพหรือเปลี่ยนสิ่ง
แวดล้อมบางอย่างก็อาจจะทำาให้อินทรีย์แสดงพฤติกรรมโอเปอแรนต์ได้ ตัวอย่างเช่น นักเรียนที่
ชอบคุย และ แหย่เพื่อนเวลาครูให้ทำางาน จึงถูกครูจับไปนั่งเดี่ยวที่มุมห้องและต้องนั่งทำางานคน
เดียว ถ้านักเรียนตั้งใจทำางานครูก็จะให้กลับมานั่งที่เดิมได้ ถ้านักเรียนมากจะพยายามหนีจาก
สภาพการณ์ที่ไม่พึงปรารถนา เช่น แยกอยู่อย่างโดดเดี่ยว ดังนั้น บางครั้งนักจิตวิทยาเรียกการ
เสริมแรงทางลบว่า Escape Conditioning (Sulzer-Azaraff and Mayer, 1977)

      สกินเนอร์เห็นความสำาคัญของการให้แรงเสริมมาก จึงได้ทำาการวิจัยเกี่ยวกับการให้แรง
เสริมไว้อย่างละเอียด สกินเนอร์ได้แบ่งการให้แรงเสริมออกเป็น ٢ ชนิดคือ

١.การให้แรงเสริมทุกครั้ง (Continuous Reinforcement) คือการให้แรงเสริมแก่อินทรีย์ที่แสดง
พฤติกรรมที่กำาหนดไว้ทุกครั้ง
2.การให้แรงเสริมเป็นครั้งคราว (Partial Reinforcement) คือไม่ต้องให้แรงเสริมทุกครั้งที่
อินทรีย์แสดงพฤติกรรม

สกินเนอร์ได้ทำาการวิจัยเกี่ยวกับการให้แรงเสริมแบบเป็นครั้งคราวไว้อย่างละเอียด

โดยแบ่ ง การให้ แ รงเสริ ม เป็ น ครั ้ ง คราวออกเป็ น ٤ ประเภทคื อ

١.การให้แรงเสริมตามช่วงเวลาที่แน่นอน (Fixed Interval)

2.การให้แรงเสริมตามช่วงเวลาที่ไม่แน่นอนหรือไม่แน่นอนหรือไม่สมำ่าเสมอ (Variable
Interval)

3.การให้แรงเสริมตามอัตราส่วนที่แน่นอนหรือคงที่ (Fixed Ratio)

4.การให้แรงเสริมตามอัตราส่วนที่ไม่แน่นอน (Variable Ratio)

       สกินเนอร์มีความเชื่อมั่นว่า แรงเสริมเป็นแปรสำาคัญในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม หรือ
การเรียนรู้ของนักเรียน ดังนั้นครูที่ดีจะต้องสามารถจัดสภาพการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียน
ได้รับแรงเสริมเมื่อการเรียนรู้ได้เกิดขึ้น

ความเร็วของการทำางาน

       สกินเนอร์พบว่าการใช้วิธีการเสริมแรงประเภทต่างๆ กัน ก็จะมีผลต่อเร็วของการทำางาน
และความมีมานะอดทน (Persistence) ในการทำางานด้วย ความเร็วของการทำางานขึ้นกับชนิด
ของการเสริมแรงที่ครูใช้ การเสริมแรงตามอัตราส่วนที่แน่นอนหรือคงที่ (Fixed Ratio) จะช่วย
ให้นักเรียนทำางานเร็วขึ้น

ความพยายามอดทนทำางาน (Persistence)

       การเสริมแรงตามช่วงเวลาที่ไม่แน่นอนหรือไม่สมำ่าเสมอ (Variable Interval) จะช่วยให้ผู้
เรียนมีความพยายามอดทนที่จะทำางานต่อไปโดยไม่มีหยุด เพราะนักเรียนไม่สามารถจะทำานาย
ได้ว่าเมื่อไรจะได้รับการเสริมแรงต่อไป

การดัดพฤติกรรม (Shaping)

      สกินเนอร์พบว่าในการฝึกหัดหรือสอนพฤติกรรมที่ซับซ้อนให้แก่นกพิราบ เช่น สอนให้
นกพิราบเล่นปิงปอง ก็อาจจะแบ่งพฤติกรรมออกเป็นส่วนย่อยและใช้หลักการให้แรงเสริม โดย
ให้แรงเสริมทุกครั้งที่นกพิราบแสดงพฤติกรรมที่ใกล้เคียงกับพฤติกรรมที่พึงปรารถนา

      สกินเนอร์ได้กล่าวว่า คำาว่า “สอน” และ Operant Conditioning ควรจะมีความหมาย
เหมือนกัน และได้ให้หลักเกณฑ์การสอนว่าในการเตรียมการสอนซึ่งครูมุ่งหวังที่จะเปลี่ยน
พฤติกรรมของนักเรียนหรือมุ่งหวังที่จะให้นักเรียนเรียนรู้ ครูควรจะตั้งคำาถามถามตนเองดังต่อ
ไปนี้

١.พฤติกรรมที่ต้องการจะให้นักเรียนเรียนรู้คืออะไร เพื่อครูจะได้สังเกตพฤติกรรมนั้นเวลาที่เกิด
ขึ้น
٢.มีตวแรงเสริม (Reinforcers) อะไรบ้างที่ครูจะใช้ได้
     ั

٣.การตอบสนองของผู้เรียนมีอะไรบ้าง

٤.จะใช้แรงเสริมอย่างไรจึงจะได้ผลดีที่สุด

        สกินเนอร์เชื่อว่าในการเรียนการสอนครูไม่ควรจะใช้การลงโทษ เป็นเครื่องมือช่วยให้
เรียนรู้และไม่ควรจะให้แรงเสริมพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง หรือไม่พึงปรารถนา

หลั ก การใช้ Shaping มี ด ั ง นี ้

١.ควรจะพยายามศึกษาว่า ผู้เรียนมีความสามารถที่จะแสดงพฤติกรรมอะไรได้บ้างแล้ว

٢.ตังพฤติกรรมเป้าหมาย (Goal Behavior)
    ้

3.ระบุให้ชัดเจนถึงพฤติกรรมต่างๆ ระหว่างจุดเริ่มสอนจนถึงพฤติกรรมเป้าหมาย

٤.วางกำาหนดการใช้แรงเสริม

٥.เปลี่ยนพฤติกรรมเป็นขั้นๆ ตามที่ตั้งไว้ในข้อ ٣ โดยการใช้แรงเสริม แต่ผู้ฝึกหรือผู้สอนต้อง
มั่นใจว่าผู้เรียนได้แสดงพฤติกรรมตามขั้นๆ ได้ก่อนจึงจะเริ่มให้แรงเสริมต่อไป

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3Dee Arna'
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Ratchada Rattanapitak
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้yuapawan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pimpika Jinak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2hadesza
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์Pop Punkum
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้pajyeeb
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้name_bwn
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Maesinee Fuguro
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 

Mais procurados (20)

ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์3
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
จิตวิทยาการเรียนรู้ของแท้
 
ทฤษฎี
ทฤษฎีทฤษฎี
ทฤษฎี
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 

Semelhante a ทฤษฎีการเรียนรู้

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036MooHnoon Choiyz
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยาnan1799
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยาpoms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222tuphung
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยาhadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซูmaymymay
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซูmaymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
 

Semelhante a ทฤษฎีการเรียนรู้ (20)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
งานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยางานดร.จิตวิทยา
งานดร.จิตวิทยา
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
 
งานซู
งานซูงานซู
งานซู
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

ทฤษฎีการเรียนรู้

  • 1. ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู ้ การเรียนรู้หมายถึงการเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่คนเรามี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม หรือจากการฝึกหัด รวมทั้งการเปลี่ยนปริมาณความรู้ของผู้ร้าน งานที่ สำาคัญของครูคือการช่วยนักเรียนในแต่ละคนให้เกิดการเรียนรู้หรือมีความรู้และทักษะตามที่ หลักสูตรได้วางไว้ ครูมีหน้าที่จัดประสบการณ์ในห้องเรียน เพื่อจะช่วยให้นักเรียนเปลี่ยน พฤติกรรมตามวัตถุประสงค์แต่ละบทเรียน ดังนั้นความรู้เกี่ยวกับกระบวนการการเรียนรู้จึงเป็น รากฐานการสอนที่มีประสิทธิภาพ (สุรางค์ โค้งตระกูล 2553 : 185) ทฤษฎีของการเรียนรู้ที่สำาคัญมี ٣ ทฤษฎีคือ ١.ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theories) 2.ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม (Cognitive Theories) 3.ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมแนว พุทธิปัญญา (Social Cognitive Learning) ทฤษฎี พ ฤติ ก รรมนิ ย ม (Behavioral Theories) นักจิตวิทยาที่ยึดทางพฤติกรรมนิยม แบ่ง พฤติกรรมของมนุษย์ออกเป็น ٢ ประเภทคือ ١.พฤติ ก รรมเรสปอนเดนต์ (Respondent Behavior) หมายถึง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดย สิ่งเร้า เมื่อมีสิ่งเร้าพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่งสามารถสังเกตได้ ٢.พฤติ ก รรมโอเปอร์ แ รนต์ (Operant Behavior) หมายถึง พฤติกรรมที่บุคคลหรือสัตว์ แสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมา (Emitted) โดยปราศจากสิ่งเร้าแน่นอน และพฤติกรรมนี้มีผล ต่อสิ่งแวดล้อม ทฤษฎีอธิบายกระบวนการเรียนรู้มี ٢ ประเภท ١.Respondent Behavior เรียกว่า ทฤษฎีการเรียนรู้ระบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory) ٢.Operant Behavior เรียกว่า ทฤษฎีการเรียนเรียนรู้ที่ใช้อธิบาย (Operant Conditioning Theory) พิ้นฐานความคิด (Assumption) ของทฤษฎีพฤติกรรมนิยม คือ١.พฤติกรรมทุกอย่างเกิดขึ้นโดย การเรียนและสามารถจะสังเกตได้ ٢.พฤติกรรมแต่ละชนิดเป็นผลรวมของการเรียนที่เป็นอิสระหลายอย่าง ٣.แรงเสริม (Reinforcement) ช่วยทำาให้พฤติกรรมเกิดขึ้นได้ ทฤษฎีการเรียนรู้ระบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Classical Conditioning Theory) พาฟลอฟ (Pavlov, 1849-1936) การวางเงื่อนไขของพาฟลอฟใช้หลักการเรียนรู้ที่เรียก ว่า Classical Conditioning ซึ่งพาฟลอฟได้ทำาการทดลองโดยสั่นกระดิ่งก่อนที่จะเอาอาหาร ( ผงเนื้อ) ให้แก่สุนัข เวลาระหว่างการสั่นกระดิ่งและให้ผงเนื้อสุนัข จะต้องเป็นเวลา ที่กระชั้นชิด มากประมาณ .٢٥ ถึง .٥٠ วินาที ทำาซำ้าควบคู่กันหลายครั้ง และในที่สุดหยุดให้อาหารเพียงแต่สั่น กระดิ่งก็ปรากฏว่าสุนัขก็ยังคงมีนำ้าลายไหลได้
  • 2. วัตสัน (Watson, 1878-1958) บิ ด าแห่ ง จิ ต วิ ท ยาพฤติ ก รรมนิ ย ม ได้ทำาการทดลอง เกี่ยวกับการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกกับมนุษย์ โดยศึกษาเรื่องความกลัว ในปี ค.ศ. ١٩٢٠ โดย เริ่มโดยการวิจัยเคาะแผ่นเหล็กให้เสียงดังขึ้น ให้เสียงดังกล่าวเป็นสิ่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข (UCS) ซึ่งจะก่อให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ต้องการวางเงื่อนไข (UCR) คือความกลัว วัตสันและ เรย์เนอร์ ได้ใช้หนูขาวเป็นสิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข (CS) มาล่อหนูน้อยอัลเบิร์ตซึ่งชอบหนูขาว ไม่แสดงความกลัว แต่ขณะที่หนูน้อยยื่นมือไปจับหนูขาวเสียงเคาะแผ่นเหล็กก็ดังขึ้น ซึ่งทำาให้ หนูน้อยกลัวทำาคู่เช่นนี้ เพียงเจ็ดครั้งในระยะเวลาหนึ่งสัปดาห์ ปรากฏว่าตอนหลังหนูน้อยเห็น เพียงหนูขาวก็จะจะแสดงความกลัวทันที ทฤษฎีการเรียนเรียนรู้ที่ใช้อธิบาย (Operant Conditioning Theory) สกินเนอร์ (Skinner, 1904-1990) เป็นทฤษฎีที่มีประโยชน์ในการอธิบายพฤติกรรมของ มนุษย์ และมีหลักการประยุกต์ที่มีประโยชน์หลายอย่าง จนกระทั่งท่านได้รับเลือกว่าเป็นนัก จิตวิทยาที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดในศตวรรษนี้ สกินเนอร์ได้ทำาการทดลองโดยใช้หนูและนก เป็นสัตว์ทดลอง จนกระทั่งได้หลักการต่างๆ เกี่ยวกับการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนต์ หลังจาก นั้นได้นำามาศึกษาการเรียนรู้ของมนุษย์ในปี ค.ศ. ١٩٥٣ แรงเสริม (Reinforcement) สกินเนอร์ได้กล่าวว่าพฤติกรรมส่วนมากของมนุษย์เป็นพฤติกรรมประเภท Operant Behavior ซึ่งสิ่งมีชีวิต (Organism) ทั้งคนและสัตว์เป็นผู้เริ่มที่จะกระทำาต่อ (Operate) สิ่ง แวดล้อมของตนเอง ดังนั้นการเรียนรู้แบบนี้บางครั้งเรียกว่า Instrumental Conditioning สกิน เนอร์พบว่า ถ้าต้องการให้ Operant Behavior คงอยู่ตลอดไป จำาเป็นที่จะต้องให้แรงเสริม สกิน เนอร์ได้แบ่งแรงเสริมออกเป็น ٢ ประเภทคือ ١.แรงเสริ ม บวก (Positive Reinforcement) หมายถึง สิ่งของ คำาพูด หรือสภาพการณ์ที่ จะช่วยให้พฤติกรรมโอเปอแรนต์เกิดขึ้นอีก หรือสิ่งที่ทำาให้เพิ่มความน่าจะเป็นไปได้ (Probability) ของการเกิดพฤติกรรมโอเปอแรนต์ 2.แรงเสริ ม ลบ (Negative Reinforcement) หมายถึง การเปลี่ยนสภาพหรือเปลี่ยนสิ่ง แวดล้อมบางอย่างก็อาจจะทำาให้อินทรีย์แสดงพฤติกรรมโอเปอแรนต์ได้ ตัวอย่างเช่น นักเรียนที่ ชอบคุย และ แหย่เพื่อนเวลาครูให้ทำางาน จึงถูกครูจับไปนั่งเดี่ยวที่มุมห้องและต้องนั่งทำางานคน เดียว ถ้านักเรียนตั้งใจทำางานครูก็จะให้กลับมานั่งที่เดิมได้ ถ้านักเรียนมากจะพยายามหนีจาก สภาพการณ์ที่ไม่พึงปรารถนา เช่น แยกอยู่อย่างโดดเดี่ยว ดังนั้น บางครั้งนักจิตวิทยาเรียกการ เสริมแรงทางลบว่า Escape Conditioning (Sulzer-Azaraff and Mayer, 1977) สกินเนอร์เห็นความสำาคัญของการให้แรงเสริมมาก จึงได้ทำาการวิจัยเกี่ยวกับการให้แรง เสริมไว้อย่างละเอียด สกินเนอร์ได้แบ่งการให้แรงเสริมออกเป็น ٢ ชนิดคือ ١.การให้แรงเสริมทุกครั้ง (Continuous Reinforcement) คือการให้แรงเสริมแก่อินทรีย์ที่แสดง พฤติกรรมที่กำาหนดไว้ทุกครั้ง
  • 3. 2.การให้แรงเสริมเป็นครั้งคราว (Partial Reinforcement) คือไม่ต้องให้แรงเสริมทุกครั้งที่ อินทรีย์แสดงพฤติกรรม สกินเนอร์ได้ทำาการวิจัยเกี่ยวกับการให้แรงเสริมแบบเป็นครั้งคราวไว้อย่างละเอียด โดยแบ่ ง การให้ แ รงเสริ ม เป็ น ครั ้ ง คราวออกเป็ น ٤ ประเภทคื อ ١.การให้แรงเสริมตามช่วงเวลาที่แน่นอน (Fixed Interval) 2.การให้แรงเสริมตามช่วงเวลาที่ไม่แน่นอนหรือไม่แน่นอนหรือไม่สมำ่าเสมอ (Variable Interval) 3.การให้แรงเสริมตามอัตราส่วนที่แน่นอนหรือคงที่ (Fixed Ratio) 4.การให้แรงเสริมตามอัตราส่วนที่ไม่แน่นอน (Variable Ratio) สกินเนอร์มีความเชื่อมั่นว่า แรงเสริมเป็นแปรสำาคัญในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม หรือ การเรียนรู้ของนักเรียน ดังนั้นครูที่ดีจะต้องสามารถจัดสภาพการเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียน ได้รับแรงเสริมเมื่อการเรียนรู้ได้เกิดขึ้น ความเร็วของการทำางาน สกินเนอร์พบว่าการใช้วิธีการเสริมแรงประเภทต่างๆ กัน ก็จะมีผลต่อเร็วของการทำางาน และความมีมานะอดทน (Persistence) ในการทำางานด้วย ความเร็วของการทำางานขึ้นกับชนิด ของการเสริมแรงที่ครูใช้ การเสริมแรงตามอัตราส่วนที่แน่นอนหรือคงที่ (Fixed Ratio) จะช่วย ให้นักเรียนทำางานเร็วขึ้น ความพยายามอดทนทำางาน (Persistence) การเสริมแรงตามช่วงเวลาที่ไม่แน่นอนหรือไม่สมำ่าเสมอ (Variable Interval) จะช่วยให้ผู้ เรียนมีความพยายามอดทนที่จะทำางานต่อไปโดยไม่มีหยุด เพราะนักเรียนไม่สามารถจะทำานาย ได้ว่าเมื่อไรจะได้รับการเสริมแรงต่อไป การดัดพฤติกรรม (Shaping) สกินเนอร์พบว่าในการฝึกหัดหรือสอนพฤติกรรมที่ซับซ้อนให้แก่นกพิราบ เช่น สอนให้ นกพิราบเล่นปิงปอง ก็อาจจะแบ่งพฤติกรรมออกเป็นส่วนย่อยและใช้หลักการให้แรงเสริม โดย ให้แรงเสริมทุกครั้งที่นกพิราบแสดงพฤติกรรมที่ใกล้เคียงกับพฤติกรรมที่พึงปรารถนา สกินเนอร์ได้กล่าวว่า คำาว่า “สอน” และ Operant Conditioning ควรจะมีความหมาย เหมือนกัน และได้ให้หลักเกณฑ์การสอนว่าในการเตรียมการสอนซึ่งครูมุ่งหวังที่จะเปลี่ยน พฤติกรรมของนักเรียนหรือมุ่งหวังที่จะให้นักเรียนเรียนรู้ ครูควรจะตั้งคำาถามถามตนเองดังต่อ ไปนี้ ١.พฤติกรรมที่ต้องการจะให้นักเรียนเรียนรู้คืออะไร เพื่อครูจะได้สังเกตพฤติกรรมนั้นเวลาที่เกิด ขึ้น
  • 4. ٢.มีตวแรงเสริม (Reinforcers) อะไรบ้างที่ครูจะใช้ได้ ั ٣.การตอบสนองของผู้เรียนมีอะไรบ้าง ٤.จะใช้แรงเสริมอย่างไรจึงจะได้ผลดีที่สุด สกินเนอร์เชื่อว่าในการเรียนการสอนครูไม่ควรจะใช้การลงโทษ เป็นเครื่องมือช่วยให้ เรียนรู้และไม่ควรจะให้แรงเสริมพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง หรือไม่พึงปรารถนา หลั ก การใช้ Shaping มี ด ั ง นี ้ ١.ควรจะพยายามศึกษาว่า ผู้เรียนมีความสามารถที่จะแสดงพฤติกรรมอะไรได้บ้างแล้ว ٢.ตังพฤติกรรมเป้าหมาย (Goal Behavior) ้ 3.ระบุให้ชัดเจนถึงพฤติกรรมต่างๆ ระหว่างจุดเริ่มสอนจนถึงพฤติกรรมเป้าหมาย ٤.วางกำาหนดการใช้แรงเสริม ٥.เปลี่ยนพฤติกรรมเป็นขั้นๆ ตามที่ตั้งไว้ในข้อ ٣ โดยการใช้แรงเสริม แต่ผู้ฝึกหรือผู้สอนต้อง มั่นใจว่าผู้เรียนได้แสดงพฤติกรรมตามขั้นๆ ได้ก่อนจึงจะเริ่มให้แรงเสริมต่อไป