SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
เร่ ือง
  การเต้นแอโรบิคเพ่ ือสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย

                     ชุดท่ี 1
     การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ครังท่ี 1)
                                ้

  วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา รหัสวิชา พ 33101
        ช่วงชันท่ี 3 ชันมัธยมศึกษาปี ท่ี ٣
              ้        ้


                    จัดทำาโดย
                 นายสุพัฒน อัตจริต
                             ์
            ครูชำานาญการ อันดับ คศ. 2
     กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
       โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี ) ๔


    สำานั กงานพ้ืนท่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2
                    ี
สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพ้ืนฐาน กระทรวง
                                   ้
                       ศึกษาธิการ
                          คำานำ า
แบบฝึ กการเต้นแอโรบิคเพ่ ือสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย ผ้้
สอนจัดทำาขึ้นเพ่ ือใช้เป็ นนวัตกรรมการเรียนร้้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา
ชันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 รหัสวิชา พ 33101 ซ่ ึงสอดคล้องกับสาระท่ี 4
   ้
เร่ ืองการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้ องกันโรค ตามมาตรฐาน พ 4.1
ท่ีให้นักเรียนเห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ และการ
สร้างเสริมสมรรถภาพเพ่ ือสุขภาพ การดำารงสุขภาพ การป้ องกันโรค แบบ
ฝึ กการเต้นแอโรบิคเพ่ ือสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย มีทังหมด 6 ชุด
                                                          ้
ดังนี้
                              ١. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ครัง
                                                            ้
ท่ี 1)
                      2. การเคล่ ือนไหวเบ้ืองต้น
                          3. การเต้นแอโรบิคเบ้ืองต้น
                            4. การเต้นแอโรบิคเบ้ืองต้นประกอบ
จังหวะดนตรี
                              5. การจัดโปรแกรมเพ่ ือผลทาง
สมรรถภาพทางกาย
                              6. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ครัง
                                                            ้
ท่ี 2)
         เน้ือหาของแบบฝึ กแต่ละชุด จะอธิบายทีละขันตอน เข้าใจง่าย คร้
                                                     ้
สามารถนำ าไปประกอบการเรียนการสอนได้เป็ นอย่างดี เป็ นส่ิงท่ีช่วยทุ่น
แรงคร้ โดยมีแผนจัดการเรียนร้้เป็ นตัวชีนำ าทาง สำาหรับนั กเรียนก็สามารถ
                                        ้
อ่านและนำ าไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง หรือกับกลุ่มเพ่ ือนทังในเวลาเรียนและ
                                                       ้
นอกเวลาเรียนหรือแม้จะอย่้ท่ีบ้านก็ตาม
         หวังเป็ นอย่างย่ิงว่า แบบฝึ กการเต้นแอโรบิคเพ่ ือสร้างเสริม
สมรรถภาพทางกายเล่มนี้ คงจะเป็ นประโยชน์กบนั กเรียนทุกคนท่ีต้องการ
                                              ั
ศึกษาหาความร้้ดวยตนเอง และสามารถนำ าความร้้ในเร่ ืองการเสริมสร้าง
                  ้
สมรรถถภาพทางกายมาใช้ให้เป็ นประโยชน์แก่ตนเอง และผ้้อ่ืน สำาหรับคร้
คงอำานวยประโยชน์ และใช้เป็ นแนวทางการสอน เกิดความคิดสร้างสรรค์
ก่อเกิดการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน การผลิตส่ ือ/นวัตกรรม กลุ่ม
สาระการเรียนร้้สุขศึกษาและพลศึกษาได้เป็ นอย่างดี



                                                                     (
นายสุพัฒน์ อัตจริต)
คร้ อันดับ คศ. 2
                                                                       โรงเรียน
บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี ) ๔



                                     สารบัญ



หน้ า

        คำานำ า
ก
        สารบัญ
ข
        คำาแนะนำ าสำาหรับคร้
ค
        คำาแนะนำ าสำาหรับนั กเรียน
ง
        แผนจัดการเรียนร้้
จ
        ใบบันทึกแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายท่ีสัมพันธ์กับสุขภาพ
ฉ
        แบบประเมินการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ครังท่ี 1)
                                             ้
ช
        ชุดท่ี ١ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ครังท่ี 1)
                                            ้
                     ดัชนี มวลกาย (Body Mass Index:
BMI ) .................................................................
                     ลุก-นั่ ง ٦٠ วินาที (Sit-Ups 60
Seconds)..................................................................
                     ดันพ้ืน ٣٠ วินาที (Push- Ups 30
Seconds).............................................................
                     นั่ งงอตัวไปข้างหน้ า (Sit and
Reach).......................................................................
ว่ิงอ้อมหลัก (Zig-Zag
Run)....................................................................................
.
                        ว่ิงระยะไกล (Distance
Run)....................................................................................
        บรรณานุกรม .................................................................
.........................................................




                  คำาแนะนำ าการใช้แบบฝึ กสำาหรับครู


วัตถุประสงค์ของแบบฝึ ก
           1. เพ่ ือประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนของร่างกาย (นำ ้ า
หนั กและส่วนส้ง)
        2. เพ่ ือทดสอบความแข็งแรงของร่างกาย
       3. เพ่ ือทดสอบความอ่อนตัวของร่างกาย
        4. เพ่ ือทดสอบความคล่องแคล่วว่องไว
           5. เพ่ ือทดสอบความอดทนของระบบหายใจและระบบไหล
เวียนโลหิต

เป้ าหมายของแบบฝึ ก
           ١. นั กเรียนมีความร้้ ความเข้าใจ และทักษะพ้ืนฐานเก่ียวกับ
การเต้นแอโรบิค
           ٢. นั กเรียนมีพฤติกรรมการทำางานท่ีดี ได้แก่ มีความสนใจ
ในการปฏิบัติกิจกรรม
มีความกระตือรือร้น มีความขยัน อดทน ตรงต่อเวลา
และมีความรับผิดชอบต่อหน้ าท่ี
              ٣. นั กเรียนมีผลการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพ่ ือสุขภาพ
ในทางท่ีดีขึ้น

วิธีใช้แบบฝึ กไปใช้ควรปฏิบัติ ดังนี้
               1. คร้ควรศึกษา วิเคราะห์ ข้อม้ลนั กเรียนเป็ นรายบุคคลเก่ียว
กับสุขภาพ โรคประจำาตัว
               2. คร้ควรคัดกรองนั กเรียนท่ีมีปัญหาทางสุขภาพ ให้คำาแนะนำ า
ไม่ควรบังคับนั กเรียน
               3. คร้ควรศึกษาแผนจัดการเรียนร้้ เพ่ ือใช้เป็ นแนวทางจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน
               4. คร้ควรอธิบายเน้ือหาให้ชัดเจน การฝึ กปฏิบัติ ควรให้คำา
แนะนำ าอย่างใกล้ชิด
               5. คร้ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การฝึ กปฏิบัติเป็ นฐาน
เพ่ ือให้นักเรียนได้ศึกษา
                     และฝึ กพฤติกรรมการทำางานท่ีดี
               6. หลังจากสอนเน้ือหาแล้วให้นักเรียนประเมินความร้้ในแต่ละ
เร่ ืองเพ่ ือเก็บเป็ นข้อม้ล




           คำาแนะนำ าการใช้แบบฝึ กสำาหรับนั กเรียน


วัตถุประสงค์ของแบบฝึ ก
           1. เพ่ ือประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนของร่างกาย (นำ ้ า
หนั กและส่วนส้ง)
        2. เพ่ ือทดสอบความแข็งแรงของร่างกาย
       3. เพ่ ือทดสอบความอ่อนตัวของร่างกาย
        4. เพ่ ือทดสอบความคล่องแคล่วว่องไว
5. เพ่ ือทดสอบความอดทนของระบบหายใจและระบบไหล
เวียนโลหิต

เป้ าหมายของแบบฝึ ก
             ١. นั กเรียนมีความร้้ ความเข้าใจ และทักษะพ้ืนฐานเก่ียวกับ
การเต้นแอโรบิค
             ٢. นั กเรียนมีพฤติกรรมการทำางานท่ีดี ได้แก่ มีความสนใจ
ในการปฏิบัติกิจกรรม
                 มีความกระตือรือร้น มีความขยัน อดทน ตรงต่อเวลา
และมีความรับผิดชอบต่อหน้ าท่ี
             ٣. นั กเรียนมีผลการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพ่ ือสุขภาพใน
ทางท่ีดีขึ้น

วิธีใช้แบบฝึ กไปใช้ควรปฏิบัติ ดังนี้
              1. นั กเรียนต้องมีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีโรคประจำาตัว ถ้ามีปัญหา
ด้านสุขภาพควรแจ้งให้คร้
                   ประจำาวิชาทราบ
              2. นั กเรียนควรอบอุ่นร่างกายให้เพียงพอก่อนการออกกำาลัง
กาย
              3. ไม่ควรออกกำาลังกายหลังจากรับประทานอาหารอ่ิมใหม่ ๆ
              4. ไม่ควรออกกำาลังกายขณะท่ีมีอาการป่ วยไข้ หรือพักผ่อนไม่
เพียงพอ
              5. นั กเรียนควรฟั งคำาอธิบายเน้ือหาให้ชัดเจน และควรปฏิบัติ
ตามอย่างเคร่งครัด
              6. ควรตังเป้ าหมาย และทำาเต็มความสามารถของตนเอง
                         ้
              7. นั กเรียนควรฝึ กพฤติกรรมการทำางานท่ีดีควบค่กัน้
              8. หลังจากการฝึ กแล้ว นั กเรียนควรประเมินความร้้ในแต่ละ
เร่ ืองเพ่ ือเก็บเป็ นข้อม้ล




                โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี ) ๔
                       แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1
รหัสวิชา พ 33101                       รายวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา
        ชันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3
           ้
เร่ ือง การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครังท่ี 1      ้
จำานวน 2                คาบ
สาระท่ี 4 : การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้ องกันโรค
มาตรฐานการเรียนรู้ พ : 4.1 เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้าง
เสริมสุขภาพ การดำารงสุขภาพ
                                             การป้ องกันโรค และการสร้าง
เสริมสมรรถภาพเพ่ ือสุขภาพ
………………………………………………………………………
……………………………….
1. สาระสำาคัญ
                สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) หมายถึง สภาวะของ
ร่างกายท่ีอย่้ในสภาพท่ีดี เพ่ ือท่ีจะช่วยให้บุคคล สามารถทำางานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ บุคคลท่ีมีสมรรถภาพทางกายดี ก็จะสามารถปฏิบัติภารกิจ
ต่าง ๆ ในชีวิตประจำาวัน การออกกำาลังกาย การเล่นกีฬาและแก้ไข
สถานการณ์ต่าง ๆไ ด้เป็ นอย่างดี
2. มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชัน       ้
                มาตรฐานท่ี 6 ทดสอบสมรรถภาพทางกายหรือสมรรถภาพ
ทางกลไก ด้วยวิธีท่ีถ้กต้อง
3. ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง
                นั กเรียนมีสมรรถภาพทางกายเพ่ ือสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
                 1. เพ่ ือประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนของร่างกาย (นำ ้ า
หนั กและส่วนส้ง)
             2. เพ่ ือทดสอบความแข็งแรงของร่างกาย
             3. เพ่ ือทดสอบความอ่อนตัวของร่างกาย
             4. เพ่ ือทดสอบความคล่องแคล่วว่องไว
                 5. เพ่ ือทดสอบความอดทนของระบบหายใจและระบบไหล
เวียนโลหิต
5. เน้ือหาสาระ
                 แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายท่ีสัมพันธ์กับสุขภาพ สำาหรับ
เด็กไทย อายุ ١٨ – ٧ ปี
                     ١. ดัชนี มวลกาย ( Body Mass Index : BMI) องค์
ประกอบท่ีต้องการวัด เพ่ ือประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย (
นำ ้ าหนั กและส่วนส้ง)
٢. ลุก-นั่ ง ٦٠ วินาที (Sit-Ups 60 Seconds) องค์
ประกอบท่ีต้องการวัด เพ่ ือวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือ
ท้อง
                       ٣. ดันพ้ืน ٣٠ วินาที (Push- Ups 30 Seconds) องค์
ประกอบท่ีต้องการวัด เพ่ ือวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือ
แขน และกล้ามเน้ือส่วนบนของร่างกาย
                       ٤. นั่ งงอตัวไปข้างหน้ า (Sit and Reach) องค์ประกอบท่ี
ต้องการวัด เพ่ ือวัดความอ่อนตัวของกล้ามเน้ือหลัง และต้นขาด้านหลัง
                        ٥. ว่ิงอ้อมหลัก (Zig-Zag Run) องค์ประกอบท่ีต้องการ
วัด เพ่ ือวัดความแคล่วคล่องว่องไว
                        ٦. ว่ิงระยะไกล (Distance Run) องค์ประกอบท่ีต้องการ
วัด เพ่ ือวัดความอดทนของระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต
6. กิจกรรมการเรียนรู้
         ขันนำ า
           ้
         1. นั กเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว ๆ ละ 10 คน
         2. สำารวจรายช่ ือนั กเรียน
         ขันอธิบายและสาธิตการฝึ กปฏิบัติ
             ้
         1. คร้อธิบายวัตถุประสงค์การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
         2. คร้บอกขันตอนการทดสอบโดยกำาหนดวันทดสอบออกเป็ น 2
                            ้
วัน
                   2.1 วันแรก ทดสอบ การลุก-นั่ ง 60 วินาที ดันพ้ืน 30 วินาที
ว่ิงอ้อมหลัก
                    2.2 วันท่ีสอง ทดสอบนั่ งงอตัวไปด้านหน้ า และว่ิงระยะไกล
         ขันสอนหรือฝึ กปฏิบัติ
               ้
                   นั กเรียนทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็ นฐาน
         ขั้นนำำไปใช้
                    1. จดข้อม้ลสถิตการทดสอบ
                    2. นั กเรียนนำ าผลจากการทดสอบสมรรถภาพทางกายมา
เทียบเกณฑ์มาตรฐาน
                    3. บันทึกข้อม้ลลงในใบบันทึกสมรรถภาพทางกาย ครังท่ี 1 ้
         ขันสรุปและประเมินผล
                 ้
         1. รวมแถว
         2. นำ าใบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครังท่ี 1 มาประมวลผล
                                                        ้
         3. สุขปฏิบัติ
7. ส่ ือ/แหล่งการเรียนรู้
                    1. แบบฝึ กการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
                    2. แบบประเมินการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
3. อุปกรณ์การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
8. การวัดผลและประเมินผล
    วิธีวัดผล
    ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
    เคร่ ืองมือวัดผล
    แบบประเมินการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

      เกณฑ์การประเมินผล
      แบบประเมินการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
           ระดับ 5 ดีมาก ระดับ 4 ดี ระดับ 3 ปานกลาง ระดับ 2
ตำ่า ระดับ 1 ตำ่ามาก
9. กิจกรรมสืบเน่ ือง
                                -


ลงช่ ือ      สุพัฒน์ อัตจริต
                                                        (นายสุพัฒน์ อัตจริต)
                                                                 ตำาแหน่ งคร้

          …… / ............ / .............

10. ข้อเสนอแนะของรองผู้อำานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
             แผนการจัดการเรียนร้้ เร่ ืองการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
  เพ่ ือสุขภาพ มีเน้ือหาสาระท่ีเข้าใจ มีการสอนท่ีถ้กขันตอน มีเกณฑ์
                                                      ้
  มาตรฐานสำาหรับนั กเรียนสามารถเปรียบเทียบเกณฑ์ได้ชัดเจน
            ในเร่ ืองสุขภาพของนั กเรียนควรวิเคราะห์ผ้เรียนเป็ นรายบุคคล
  ควรตรวจสอบหรือสอบถามเก่ียวกับสุขภาพ โรคประจำาตัวของนั กเรียน
  เพ่ ือป้ องกันเหตุ โดยทำาบันทึกสอบถามผ้้ปกครองจะเป็ นการดี และ
  ควรให้ความเอาใจใส่ในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

                                              ลงช่ ือ   พิศวาท คะลีล้วน
                                                            (นางพิศวาท คะลี
                                    ล้วน)
                                            ตำาแหน่ ง รองผ้้อำานวยการกลุ่ม
                                    บริหารวิชาการ

١1. ข้อเสนอแนะของผู้อำานวยการโรงเรียน
เห็นด้วยตามข้อเสนอแนะรองผ้้อำานวยการกลุ่มบริหาร
วิชาการ

                                   ลงช่ ือ    วิสิทธิ ใจเถิง
                                                      ์
                                             (นายวิสิทธิ ใจเถิง)
                                                            ์
                                                         ผ้้อำานวยการ
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี ) ๔
12. บันทึกหลังการสอน
            ด้านผลการเรียน
              นั กเรียนมีความร้้ ความเข้าใจวิธีการทดสอบสมรรถภาพทาง
กาย สามารถปฏิบัติตามฐานต่าง ๆได้เป็ นอย่างดี
            ด้านพฤติกรรม
            นั กเรียนมีความตังใจในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย มี
                              ้
ความรับผิดชอบ มีนำ้าใจต่อกัน ทำางานร่วมกันเป็ นทีม
           ปั ญหาและอุปสรรค
              เวลาท่ีใช้ในการทดสอบสมรรถภาพทางกายค่อนข้างน้ อย
อากาศร้อน อุปกรณ์การทดสอบยังน้ อยไม่เพียงพอกับจำานวนนั กเรียน
           ข้อเสนอแนะ
                                     -


ลงช่ ือ   สุพัฒน์ อัตจริต

( นายสุพัฒน์ อัตจริต ) ผู้บันทึก
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงเสนี ) ๔
  ใบบันทึกแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายท่ีสัมพันธ์กับ
                        สุขภาพ
                  ปี การศึกษา 2550
ช่ ือ-
นามสกุล...................................................................
..... เพศ          ชาย                   หญิง
อายุ...................ปี นำ ้ าหนั ก.................... กิโลกรัม ส่วน
สูง.................................เซนติเมตร
ชันมัธยมศึกษาปี ท่ี................ห้อง...............เลขท่ี.............
    ้

    รายการ                 ผลการทดสอบ                  สรุปเกณฑ์
                                                          มาตรฐาน
                     ครังท่ี ١
                        ้              ครังท่ี ٢
                                          ้          ครังท่ี ١ ครังท่ี ٢
                                                        ้         ้
١. ดัชนี มวล
กาย
٢. ลุกนั่ ง ٦٠
วินาที
٣. ดันพ้ืน ٣٠
วินาที
٤. นั่ งงอตัวไป
ข้างหน้ า
٥. ว่ิงอ้อมหลัก
٦. ว่ิงระยะ
ไกล*

* การทดสอบว่ิงระยะไกลอายุ ١٢ - ٧ ปี ให้ใช้ระยะทาง ١,٢٠٠ เมตร
         อายุ ١٨ - ١٣ ปี ให้ใช้ระยะทาง ١,٦٠٠ เมตร


                                                                                    ..
..............................................................

(                                                                )
                                                                                     .
................./................../.................


ผู้บันทึกการทดสอบ

                                                                                    ก
                            ลุ่มสาระการเรียนร้้สุขศึกษาและพลศึกษา




                 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงเสนี ) ๔

          แบบประเมินการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ครังท่ี 1)
                                               ้
                        ปี การศึกษา 2550
ช่ ือ .....................................นามสกุล..........................
....... เพศ               ชาย             หญิง
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา รหัสวิชา พ 33101 ชัน                  ้
มัธยมศึกษาปี ท่ี 3 /...... เลขท่ี..........


                                             ระดับคุณภาพ
    ท่ี           เร่ ือง                                                หมายเหตุ
                                     ٥       ٤    ٣    ٢             ١
١. ค่าดัชนี มวล                                       เกณฑ์การ
      กาย                                                ประเมินค่า
   ٢. ลุก – นั่ ง 60                                     ระดับ ٥ ดี
      วินาที                                             มาก
   ٣. ดันพ้ืน 30                                         ระดับ ٤ ดี
      วินาที                                             ระดับ ٣ ปาน
   ٤. นั่ งงอตัวไปข้าง                                   กลาง
      หน้ า                                              ระดับ ٢ ตำ่า
   ٥. ว่ิงอ้อมหลัก                                       ระดับ ١ ตำ่า
                                                         มาก
   ٦. ว่ิงระยะไกล




                                  ลงช่ ือ…….....………………………….ผู้บันทึก

                         (……………………………….)

…………/…………/………..


       ดัชนี มวลกาย (Body Mass Index: BMI )

     วัตถุประสงค์การทดสอบ
            เพ่ ือประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนของร่างกาย (นำ ้ าหนั ก
และส่วนส้ง)
     อุปกรณท่ีใช้ในการทดสอบ
               ์
            ١. เคร่ ืองชังนำ ้ าหนั ก
                         ่
            ٢. เคร่ ืองวัดส่วนส้ง
            ٣. เคร่ ืองคิดเลข
      วิธีปฏิบัติ
           ให้ทำาการชังนำ ้ าหนั กและวัดส่วนส้งของผ้้รับการทดสอบ นำ านำ ้ า
                       ่
หนั กและส่วนส้งมาคำานวณหาค่าดัชนี มวลกาย โดยนำ าค่านำ ้ าหนั กท่ีชังได้
                                                                   ่
(กิโลกรัม) หารด้วยส่วนส้งท่ีวัดได้ (เมตร ) ٢
ตัวอย่างเช่น ผ้้เข้ารับการทดสอบมีนำ้าหนั กตัวเท่ากับ ٥٠ กิโลกรัม
ส่วนส้งเท่ากับ ١٥٠ เซนติเมตร
                          ค่าดัชนี มวลกาย          = ١.٥٠ / ٥٠²
                                             = ٥٠/٢.٢٥
                                = ٢٢.٢٢ กิโลกรัม
      ระเบียบการทดสอบ
           ١. การชังนำ ้ าหนั กให้ผ้รับการทดสอบสวมชุดท่ีเบาท่ีสุด และให้
                      ่
ถอดรองเท้า
           ٢. การวัดส่วนส้งให้ผ้รับการทดสอบถอดรองเท้า
      การบันทึกคะแนน
          นำ ้ าหนั กตัวให้บันทึกค่าเป็ นกิโลกรัม สำาหรับส่วนส้งให้บันทึกค่า
เป็ นเมตร
เกณฑ์มาตรฐานดัชนี มวลกาย (กิโลกรัม/ตารางเมตร) สำาหรับเด็กไทย อายุ 7 – 18 ปี

                                 เพศชาย                                        เพศหญิง
อายุ      มวลกาย      มวลกาย       มวลกาย   มวลกาย    มวล     มวลกาย   มวลกาย มวลกาย     มวลกาย   มวลกาย
(ปี )     สูงมาก        สูง          พอ       ตำา
                                                ่     กาย     สูงมาก       สูง    พอ       ตำา
                                                                                             ่    ตำามาก
                                                                                                    ่
                                    เหมาะ            ตำามาก
                                                       ่                        เหมาะ
 ٧       ٢٠.٥٠ ขึ้น   ١٧-٢٠.٤٩     -١٧.٣٦   -١٤.١٤   ١٠.٤٠    ٢٠.١٧     -٢٠.١٦  -١٧.٠٩   -١٤.٠٠   ١٠.٥٩
            ไป           .٣٧        ١٤.١٥    ١٠.٤١    ลงไป    ขึ้นไป     ١٧.١٠   ١٤.٠١    ١٠.٦٠   ลงไป
 ٨       ٢٢.١٨ ขึ้น   ١٨-٢٢.١٧     -١٨.٢٧   -١٤.٣٧   ١٠.٣٨    ٢٢.١٦     -٢٢.١٥  -١٨.٢٤   -١٤.٣٣   ١٠.٤٢
            ไป           .٢٨        ١٤.٣٨    ١٠.٣٩    ลงไป    ขึ้นไป     ١٨.٢٥   ١٤.٣٤    ١٠.٤٣   ลงไป
 ٩       ٢٢.٧٢ ขึ้น   ١٨-٢٢.٧١     -١٨.٥٠   -١٤.٢٩   ١٠.٠٨    ٢٢.١٢    ٢٢.١١١٨ -١٨.٣٨    -١٤.٧٢   ١٠.٧٥
            ไป           .٥١        ١٤.٣٠    ١٠.٠٩    ลงไป    ขึ้นไป      .٣٩    ١٤.٧٣    ١٠.٧٦   ลงไป
١٠       ٢٣.٥٩ ขึ้น   ١٩-٢٣.٥٨     -١٩.٣٧   -١٥.١٦   ١٠.٩٥    ٢٣.٥٣     -٢٣.٥٢  -١٩.٣١   -١٥.١٠   ١٠.٨٩
            ไป           .٣٨        ١٥.١٧    ١٠.٩٦    ลงไป    ขึ้นไป     ١٩.٣٢   ١٥.١١    ١٠.٩٠   ลงไป
١١       ٢٤.٥١ ขึ้น   ١٩-٢٤.٥٠     -١٩.٦٩   -١٥.٣٨   ١١.٨٧    ٢٣.٩٧     -٢٣.٩٦  -١٩.٧٥   -١٥.٥٤   ١١.٣٣
            ไป           .٧٠        ١٥.٣٩    ١١.٨٨    ลงไป    ขึ้นไป     ١٩.٧٦   ١٥.٥٥    ١١.٣٤   ลงไป
١٢       ٢٥.١٧ ขึ้น   ٢٠-٢٥.١٦     -٢٠.٧٥   -١٦.٣٤   ١١.٩٣    ٢٤.٩٧     -٢٤.٩٦  -٢٠.٥٠   -١٦.٠٤   ١١.٥٨
            ไป           .٧٦        ١٦.٣٥    ١١.٩٤    ลงไป    ขึ้นไป     ٢٠.٥١   ١٦.٠٥    ١١.٥٩   ลงไป
١٣       ٢٥.٣٦ ขึ้น   ٢١-٢٥.٣٥     -٢١.٠٤   -١٦.٧٣   ١٢.٤٢    ٢٥.٣٣     -٢٥.٣٢  -٢١.١١   -١٦.٩٠   ١٢.٦٩
            ไป           .٠٥        ١٦.٧٤    ١٢.٤٣    ลงไป    ขึ้นไป     ٢١.١٢   ١٦.٩١    ١٢.٧٠   ลงไป
١٤       ٢٦.٩٠ ขึ้น   ٢٢-٢٦.٨٩     -٢٢.٣٨   -١٧.٦٧   ١٢.٩٦    ٢٦.٦٣     -٢٦.٦٢  -٢٢.١١   -١٧.٦٠   ١٢.٩٩
            ไป           .٣٩        ١٧.٦٨    ١٢.٩٧    ลงไป    ขึ้นไป     ٢٢.١٢   ١٧.٦١    ١٣.٠٠   ลงไป
١٥       ٢٧.٧٨ ขึ้น   ٢٣-٢٧.٧٧    -٢٣.١٦    -١٨.٣٥   ١٣.٥٤    ٢٧.٣٩     -٢٧.٣٨  -٢٣.١٨   -١٨.١٧   ١٣.١٦
            ไป           .١٧      ١٨.٣٦      ١٣.٥٥    ลงไป    ขึ้นไป     ٢٣.١٩   ١٨.١٨    ١٣.١٧   ลงไป
١٦       ٢٨.١٥ ขึ้น   ٢٣-٢٨.١٤     -٢٣.٣٣   -١٨.٥٢   ١٣.٧١    ٢٨.٠٣     -٢٨.٠٢  -٢٣.٢١   -١٨.٤٠   ١٣.٥٩
ไป           .٣٤      ١٨.٥٣    ١٣.٧٢   ลงไป    ขึ้นไป    ٢٣.٢٢    ١٨.٤١    ١٣.٦٠   ลงไป
١٧   ٢٩.٦٦ ขึ้น   ٢٤-٢٩.٦٥   -٢٤.٤٤   -١٩.٢٣   ١٤.٠٢   ٢٨.٦٩    -٢٨.٦٨   -٢٤.٣٣   -١٨.٨٢   ١٣.٩١
        ไป           .٤٥      ١٩.٢٤    ١٤.٠٣   ลงไป    ขึ้นไป    ٢٤.٣٤    ١٨.٨٣    ١٣.٩٢   ลงไป
١٨   ٢٩.٧٩ ขึ้น   ٢٤-٢٩.٧٨   -٢٤.٥٧   -١٨.٢٦   ١٤.١٥   ٢٩.٧٢    -٢٩.٧١   -٢٤.٥٠   -١٩.٢٩   ١٤.٠٨
        ไป           .٥٨      ١٨.٢٧    ١٤.١٦   ลงไป    ขึ้นไป    ٢٤.٥١    ١٩.٣٠    ١٤.٠٩   ลงไป



                               รศ.ดร. สุพิตร สมาหิโต และคณะ ٢٥٤٨
ลุก-นั่ ง ٦٠ วินาที (Sit-Ups 60 Seconds)

        วัตถุประสงค์การทดสอบ
         เพ่ ือทดสอบความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือท้อง
     อุปกรณท่ีใช้ในการทดสอบ
                ์
         ١. เบาะรองพ้ืน หรือสนามหญ้าน่ ุม
                    ٢. นาฬกาจับเวลา
                            ิ
     วิธีการปฏิบัติ
         ให้ผ้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย ชันเข่าทังสองข้าง เข่าทังสองข้าง
                                                        ้               ้
งอเป็ นมุมฉากเท้าทังสองวางห่างกันประมาณ ١ ช่วงไหล่ ฝ่ าเท้าวางราบ
                          ้
กับพ้ืน มือทังสองข้างวางแตะไว้ท่ีหน้ าขาทังสองข้างให้ผ้ช่วยการทดสอบ
                  ้                             ้
นั่ งอย่้ท่ีปลายเท้าและเอามือทังสองจับไว้ท่ีบริเวณใต้ข้อพับของผ้้เข้ารับการ
                                     ้
ทดสอบเม่ ือได้ยินสัญญาณ “เร่ิม” ให้ผ้เข้ารับการทดสอบ ยกลำาตัวขึ้นไปส่้
ท่านั่ ง ก้มลำาตัวให้ศีรษะ ผ่านไประหว่างเข่าแขนทังสองเหยียดตรงไปข้าง
                                                          ้
หน้ า และให้ปลายนิ้วแตะเส้นตรงท่ีอย่้แนวเดียวกับปลายเท้าทังสองข้าง  ้
แล้วลงกลับส่้ท่าเร่ิมต้น โดยจะต้องให้สะบักทังสองข้างแตะพ้ืน
                                                  ้
     ระเบียบการทดสอบ
                  ในการทดสอบจะไม่นับจำานวนครังในกรณี ต่อไปนี้
                                                    ้
                         1. มือทังสองข้างไม่ได้วางแตะท่ีบริเวณขาทังสองข้าง
                                   ้                                  ้
                                ٢. ในขณะกลับลงส่้ท่าเร่ิมต้น สะบักไม่ได้แตะพ้ืน
               ٣. ปลายนิ้วทังสองข้างไม่ได้แตะเส้นท่ีอย่้ในระดับเดียวกับ
                                 ้
ปลายเท้า
               ٤. ผ้้รบการทดสอบใช้มือยันพ้ืน เพ่ ือดันลำาตัวขึ้น
                       ั
     การบันทึกคะแนน
         บันทึกจำานวนครังท่ีทำาได้อย่างถ้กต้องภายใน ٦٠ วินาที
                              ้
เกณฑ์มาตรฐาน ลุก – นั่ ง ٦٠ วินาที (ครัง) สำาหรับเด็กไทย อายุ 7 – 18 ปี
                                                  ้

                            เพศชาย                                         เพศหญิง
อายุ
         ดีมาก       ดี        ปาน     ตำา
                                         ่    ตำามาก
                                                ่       ดีมาก       ดี       ปาน      ตำา
                                                                                        ่    ตำามาก
                                                                                               ่
(ปี )
                              กลาง                                           กลาง
 ٧      ٣٧ ขึ้นไป   ٢٧-٣٦     ١٧-٢٦   ٧-١٦    ٦ ลงไป   ٣٧ ขึ้นไป   ٢٧-٣٦    ١٧-٢٦    ٧-١٦    ٦ ลงไป
 ٨      ٤٠ ขึ้นไป   ٣٠-٣٩     ٢٠-٢٩   ١٠-١٩   ٩ ลงไป   ٣٧ ขึ้นไป   ٢٧-٣٦    ١٧-٢٦    ٧-١٦    ٦ ลงไป
 ٩      ٤٢ ขึ้นไป   ٣٢-٤١     ٢٢-٣١   ١٢-٢١   ١١ ลง    ٤٠ ขึ้นไป   ٣٠-٣٩    ٢٠-٢٩    ١٠-١٩   ٩ ลงไป
                                                ไป
١٠      ٤٤ ขึ้นไป   ٣٤-٤٣     ٢٤-٣٣   ١٤-٢٣   ١٣ ลง    ٤٢ ขึ้นไป   ٣٢-٤١    ٢٢-٣١    ١٢-٢١   ١١ ลงไป
                                                ไป
١١      ٤٤ ขึ้นไป   ٣٤-٤٣     ٢٤-٣٣   ١٤-٢٣   ١٣ ลง    ٤٤ ขึ้นไป   ٣٤-٤٣    ٢٤-٣٣    ١٤-٢٣   ١٣ ลงไป
                                                ไป
١٢      ٤٧ ขึ้นไป   ٣٧-٤٦     ٢٧-٣٦   ١٧-٢٦   ١٦ ลง    ٤٤ ขึ้นไป   ٣٤-٤٣    ٢٤-٣٣    ١٤-٢٣   ١٣ ลงไป
                                                ไป
١٣      ٥٠ ขึ้นไป   ٤٠-٤٩     ٣٠-٣٩   ٢٠-٢٩   ١٩ ลง    ٤٤ ขึ้นไป   ٣٤-٤٣    ٢٤-٣٣    ١٤-٢٣   ١٣ ลงไป
                                                ไป
١٤      ٥٣ ขึ้นไป   ٤٢-٥٢     ٣١-٤١   ٢٠-٣٠   ١٩ ลง    ٤٥ ขึ้นไป   ٣٥-٤٤    ٢٥-٣٤    ١٥-٢٤   ١٤ ลงไป
                                                ไป
١٥      ٥٦ ขึ้นไป   ٤٤-٥٥     ٣٢-٤٣   ٢٠-٣١   ١٩ ลง    ٤٥ ขึ้นไป   ٣٥-٤٤    ٢٥-٣٤    ١٥-٢٤   ١٤ ลงไป
                                                ไป
١٦      ٥٧ ขึ้นไป   ٤٥-٥٦     ٣٣-٤٤   ٢١-٣٢   ٢٠ ลง    ٤٦ ขึ้นไป   ٣٦-٤٥    ٢٦-٣٥    ١٦-٢٥   ١٥ ลงไป
                                                ไป
١٧      ٥٨ ขึ้นไป   ٤٦-٥٧     ٣٤-٤٥   ٢٢-٣٣   ٢١ ลง    ٤٧ ขึ้นไป   ٣٧-٤٦    ٢٧-٣٦    ١٧-٢٦   ١٦ ลงไป
                                                ไป
١٨      ٦٠ ขึ้นไป   ٤٨-٥٩     ٣٦-٤٧   ٢٤-٣٥   ٢٣ ลง    ٤٧ ขึ้นไป   ٣٧-٤٦    ٢٧-٣٦    ١٧-٢٦   ١٦ ลงไป
ไป



รศ.ดร. สุพิตร สมาหิโต และคณะ ٢٥٤٨
ดันพ้ืน ٣٠ วินาที (Push- Ups 30 Seconds)

    วัตถุประสงค์การทดสอบ
                เพ่ ือวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือแขนและ
กล้ามเน้ือส่วนบนของร่างกาย
        อุปกรณท่ีใช้ในการทดสอบ
                    ์
        1. เบาะรองพ้ืน หรือสนามหญ้าน่ ุม
        ٢. นาฬกาจับเวลา
                  ิ
    วิธีการปฏิบัติ
        ให้ผ้เข้ารับการทดสอบคุกเข่าบนเบาะฟองนำ ้ า เหยียดลำาตัวไปข้าง
หน้ า โดยยันฝ่ ามือทังสองข้างไว้กับพ้ืนให้ปลายนิ้วชีตรงไปข้างหน้ า และให้
                           ้                         ้
ฝ่ ามือทังสองข้างเท่ากับช่วงไหล่ในขณะท่ีผ้ทดสอบเตรียมพร้อมท่ีจะปฏิบัติ
          ้
ลำาตัวจะต้องเหยียดตรง แขนทังสองข้างอย่้ท่าเหยียดตรง เม่ ือได้ยิน
                                   ้
สัญญาณ “เร่ิม” ให้ผ้เข้ารับการทดสอบยุบข้อเพ่ ือดันพ้ืนลงไป โดยทำามุม ٩
٠ องศาท่ีข้อศอก ทังสองข้าง ในขณะท่ีแขนบนขนานกับพ้ืน แล้วยกแขน
                         ้
และลำาตัวกลับขึ้น มาอย่้ในท่าเดิม นั บเป็ น ١ ครัง้
    ระเบียบการทดสอบ
        ١. ผ้้ทดสอบจะต้องสังเกตลำาตัวของผ้้เข้ารับการทดสอบให้เหยียด
ตรง แขนทังสองอย่้ในท่าเหยียดตึงก่อนจะยุบข้อ เพ่ ือการดันพ้ืนลงไป
              ้
                ٢. เม่ ือยุบข้อและดันพ้ืนลงไป บริเวณหน้ าอกของผ้้เข้ารับการ
ทดสอบลดตำ่าลงเกือบจะแตะบริเวณเบาะรองเท้า
    การบันทึกคะแนน
        บันทึกจำานวนครังท่ีทำาได้อย่างถ้กต้องภายใน ٣٠ วินาที
                             ้
เกณฑ์มาตรฐาน ดันพ้ืน ٣٠ วินาที (ครัง) สำาหรับเด็กไทย อายุ 7 – 18 ปี
                                               ้

                            เพศชาย                                         เพศหญิง
อายุ
         ดีมาก       ดี        ปาน     ตำา
                                         ่    ตำามาก
                                                ่       ดีมาก       ดี       ปาน      ตำา
                                                                                        ่    ตำามาก
                                                                                               ่
(ปี )
                              กลาง                                           กลาง
 ٧      ٢٦ ขึ้นไป   ٢١-٢٥     ١٦-٢٠   ١١-١٥   ١٠ ลง    ٢٤ ขึ้นไป   ١٩-٢٣    ١٤-١٨    ٩-١٣    ٨ ลงไป
                                               ไป
 ٨      ٢٧ ขึ้นไป   ٢٢-٢٦     ١٧-٢١   ١٢-١٦   ١١ ลง    ٢٥ ขึ้นไป   ٢٠-٢٤    ١٥-١٩    ١٠-١٤   ٩ ลงไป
                                               ไป
 ٩      ٣٠ ขึ้นไป   ٢٤-٢٩     ١٨-٢٣   ١٢-١٧   ١١ ลง    ٢٦ ขึ้นไป   ٢١-٢٥    ١٦-٢٠    ١١-١٥   ١٠ ลงไป
                                               ไป
١٠      ٣٢ ขึ้นไป   ٢٦-٣١     ٢٠-٢٥   ١٤-١٩   ١٣ ลง    ٢٦ ขึ้นไป   ٢١-٢٥    ١٦-٢٠    ١١-١٥   ١٠ ลงไป
                                               ไป
١١      ٣٢ ขึ้นไป   ٢٦-٣١     ٢٠-٢٥   ١٤-١٩   ١٣ ลง    ٢٧ ขึ้นไป   ٢٢-٢٦    ١٧-٢١    ١٢-١٦   ١١ ลงไป
                                               ไป
١٢      ٣٣ ขึ้นไป   ٢٧-٣٢     ٢١-٢٦   ١٥-٢٠   ١٤ ลง    ٢٧ ขึ้นไป   ٢٢-٢٦    ١٧-٢١    ١٢-١٦   ١١ ลงไป
                                               ไป
١٣      ٣٦ ขึ้นไป   ٢٩-٣٥     ٢٢-٢٨   ١٥-٢١   ١٤ ลง    ٣٠ ขึ้นไป   ٢٤-٢٩    ١٨-٢٣    ١٢-١٧   ١١ ลงไป
                                               ไป
١٤      ٣٧ ขึ้นไป   ٣٠-٣٦     ٢٣-٢٩   ١٦-٢٢   ١٥ ลง    ٣٠ ขึ้นไป   ٢٤-٢٩    ١٨-٢٣    ١٢-١٧   ١١ ลงไป
                                               ไป
١٥      ٤٠ ขึ้นไป   ٣٢-٣٩     ٢٤-٣١   ١٦-٢٣   ١٥ ลง    ٣٣ ขึ้นไป   ٢٦-٣٢    ١٩-٢٥    ١٢-١٨   ١١ ลงไป
                                               ไป
١٦      ٤٢ ขึ้นไป   ٣٤-٤١     ٢٦-٣٣   ١٨-٢٥   ١٧ ลง    ٣٣ ขึ้นไป   ٢٦-٣٢    ١٩-٢٥    ١٢-١٨   ١١ ลงไป
                                               ไป
١٧      ٤٢ ขึ้นไป   ٣٤-٤١     ٢٦-٣٣   ١٨-٢٥   ١٧ ลง    ٣٣ ขึ้นไป   ٢٦-٣٢    ١٩-٢٥    ١٢-١٨   ١١ ลงไป
ไป
١٨   ٤٣ ขึ้นไป   ٣٥-٤٢   ٢٧-٣٤   ١٩-٢٦   ١٨ ลง   ٣٣ ขึ้นไป   ٢٦-٣٢   ١٩-٢٥   ١٢-١٨   ١١ ลงไป
                                          ไป



                           รศ.ดร. สุพิตร สมาหิโต และคณะ ٢٥٤٨
นั่ งงอตัวไปข้างหน้ า (Sit and Reach)

    วัตถุประสงค์การทดสอบ
        เพ่ ือความอ่อนตัวของกล้ามเน้ือหลัง และต้นขาด้านหลัง
        อุปกรณท่ีใช้ในการทดสอบ
                  ์
        กล่องเคร่ ืองมือวัดความอ่อนตัว ขนาดส้ง ٣٠ เซนติเมตร
    วิธีการปฏิบัติ
        ให้ผ้เข้ารับการทดสอบนั่ งเหยียดขาตรงไปข้างหน้ า โดยเท้าทังสองอย่้
                                                                 ้
ห่างกันประมาณ ١ ฟุต โดยให้ฝ่าเท้าวางราบชิดกล่องวัดความอ่อนตัว
แขนทังสองเหยียดตรงไปข้างหน้ า ให้ผ้เข้ารับการทดสอบค่อย ๆ ก้มลำาตัว
         ้
ลงและใช้ปลายนิ้วจากมือทังสองข้างดันแกนวัดระยะทางไปข้างหน้ า จนไม่
                             ้
สามารถก้มลำาตัวลงไปได้อีก ให้ผ้เข้ารับการทดสอบก้มตัวค้างไว้ ١ วินาที
    ระเบียบการทดสอบ
        1. ขณะท่ีก้มเพ่ ือให้ปลายนิ้วแตะแกนท่ีวัดระยะทางไปข้างหน้ านั ้น
เข่าจะต้องไม่งอ
        ٢. ห้ามผ้้เข้ารับการทดสอบโยกตัวช่วยขณะท่ีก้มลำาตัวลง
        ٣. ให้ทำาการทดสอบ ٢ ครัง  ้
    การบันทึกคะแนน
        ١. ให้บันทึกระยะทางเป็ นเซนติเมตร
        ٢. บันทึกค่าท่ีทำาการทดสอบได้ดีท่ีสุด จากการทดสอบ ٢ ครัง   ้
เกณฑ์มาตรฐาน นั่ งงอตัวไปข้างหน้ า (เซนติเมตร) สำาหรับเด็กไทย อายุ 7 – 18 ปี

                            เพศชาย                                        เพศหญิง
อายุ
          ดีมาก      ดี        ปาน     ตำา
                                         ่   ตำามาก
                                               ่       ดีมาก       ดี       ปาน     ตำา
                                                                                      ่    ตำามาก
                                                                                             ่
(ปี )
                              กลาง                                          กลาง
٧       ٩ ขึ้นไป     ٧-٨       ٥-٦     ٣-٤   ٢ ลงไป   ١١ ขึ้นไป   ٨-١٠       ٥-٧     ٢-٤   ١ ลงไป
٨       ٩ ขึ้นไป     ٧-٨       ٥-٦     ٣-٤   ٢ ลงไป   ١١ ขึ้นไป   ٨-١٠       ٥-٧     ٢-٤   ١ ลงไป
٩       ١٢ ขึ้นไป   ٩-١١       ٦-٨     ٣-٥   ٢ ลงไป   ١١ ขึ้นไป   ٨-١٠       ٥-٧     ٢-٤   ١ ลงไป
١٠      ١٢ ขึ้นไป   ٩-١١       ٦-٨     ٣-٥   ٢ ลงไป   ١١ ขึ้นไป   ٨-١٠       ٥-٧     ٢-٤   ١ ลงไป
١١      ١٣ ขึ้นไป   ١٠-١٢      ٧-٩     ٤-٦   ٣ ลงไป   ١٣ ขึ้นไป   ١٠-١٢      ٧-٩     ٤-٦   ٣ ลงไป
١٢      ١٣ ขึ้นไป   ١٠-١٢      ٧-٩     ٤-٦   ٣ ลงไป   ١٣ ขึ้นไป   ١٠-١٢      ٧-٩     ٤-٦   ٣ ลงไป
١٣      ١٤ ขึ้นไป   ١١-١٣     ٨-١٠     ٥-٧   ٤ ลงไป   ١٤ ขึ้นไป   ١١-١٣     ٨-١٠     ٥-٧   ٤ ลงไป
١٤      ١٤ ขึ้นไป   ١١-١٣     ٨-١٠     ٥-٧   ٤ ลงไป   ١٧ ขึ้นไป   ١٣-١٦     ٩-١٢     ٥-٨   ٤ ลงไป
١٥      ١٥ ขึ้นไป   ١٢-١٤     ٩-١١     ٦-٨   ٥ ลงไป   ١٨ ขึ้นไป   ١٤-١٧    ١٠-١٣     ٦-٩   ٥ ลงไป
١٦      ١٨ ขึ้นไป   ١٤-١٧     ١٠-١٣    ٦-٩   ٥ ลงไป   ١٨ ขึ้นไป   ١٤-١٧    ١٠-١٣     ٦-٩   ٥ ลงไป
١٧      ١٨ ขึ้นไป   ١٤-١٧     ١٠-١٣    ٦-٩   ٥ ลงไป   ١٩ ขึ้นไป   ١٥-١٨    ١١-١٤    ٧-١٠   ٦ ลงไป
١٨      ١٩ ขึ้นไป   ١٥-١٨     ١١-١٤   ٧-١٠   ٦ ลงไป   ٢٠ ขึ้นไป   ١٦-١٩    ١٢-١٥    ٨-١١   ٧ ลงไป



                                รศ.ดร. สุพิตร สมาหิโต และคณะ ٢٥٤٨
ว่ิงอ้อมหลัก (Zig-Zag Run)

     วัตถุประสงค์การทดสอบ
         เพ่ ือวัดความคล่องแคล่วว่องไว
         อุปกรณท่ีใช้ในการทดสอบ
                     ์
         ١. กรวยพลาสติก จำานวน ٦ อัน
         ٢. เทปวัดระยะทาง
         ٣. นาฬกาจับเวลา ١/١٠٠ วินาที
                   ิ
     การเตรียมสถานท่ีในการทดสอบ
         ก่อนการทดสอบ ผ้้ทดสอบจะต้องเตรียมสถานท่ีดังนี้ คือ จากเส้น
เร่ิม วัดระยะทางมา ٥ เมตร จะเป็ นจุดในการวางหลักท่ี ١ จากหลักท่ี ١ ใน
แนวเส้นเดียวกัน วัดระยะทางจากหลักท่ี ١ มา ٤ เมตร จะเป็ นจุดการวาง
หลักท่ี ٣ และเช่นเดียวกัน จากหลักท่ี ٣ วัดระยะทางมาอีก ٤ เมตร จะเป็ น
จุดวางหลักท่ี ٥ จากหลักท่ี ٥ , ٣ , ١ ทำามุม ٤٥ องศา วัดระยะทางจุดละ ٢
เมตร จะเป็ นการวางหลักท่ี ٤ , ٢ และ ٦ ซ่ ึงในแต่ละจุดนั ้น ก็จะมีระยะทาง
ห่างกันจุดละ ٤ เมตรเช่นเดียวกัน
     วิธีการปฏิบัติ
                ให้ผ้ได้รับการทดสอบยืนอย่้หลังเส้นเร่ิม เม่ ือได้รับสัญญาณ
“เร่ิม” ผ้้รับการทดสอบจะว่ิงไปอ้อมหลักซ้ายในหลักท่ี ١ แล้วไปอ้อมขวา
ในหลักท่ี ٢ ต่อไปจะอ้อมซ้ายในหลักท่ี ٣ อ้อมขวาในหลักท่ี ٤
อ้อมซ้ายในหลักท่ี ٥ และอ้อมขวาในหลักท่ี ٦ ต่อจากนั ้นก็จะว่ิงกลับมา
อ้อมในหลักท่ี ٥ อ้อมซ้ายในหลักท่ี ٤ อ้อมขวาในหลักท่ี ٣ อ้อมซ้ายใน
หลักท่ี ٢ และอ้อมขวาในหลักท่ี ١ และว่ิงผ่านเส้นเร่ิมไปอย่างรวดเร็ว
     ระเบียบการทดสอบ
         หากผ้้รับการทดสอบว่ิงผิดเส้นทางตามท่ีกำาหนด หรือส่วนใดส่วน
หน่ ึงของร่างกายสัมผัสกับกรวยท่ีวางไว้ ให้หยุดพักและทำาการทดสอบใหม่
     การบันทึกคะแนน
                บันทึกเวลาท่ีผ้เข้ารับการทดสอบเร่ิมต้นออกว่ิงจากเส้นเร่ิมไป
อ้อมหลักทัง ٦ หลัก และว่ิงกลับไปถึงเส้นชัยเป็ นวินาที ทศนิ ยมสอง
                ้
ตำาแหน่ ง
เกณฑ์มาตรฐาน ว่ิงอ้อมหลัก (วินาที) สำาหรับเด็กไทย อายุ 7 – 18 ปี

                              เพศชาย                                        เพศหญิง
อายุ
         ดีมาก        ดี          ปาน     ตำา
                                            ่     ตำามาก
                                                    ่      ดีมาก     ดี        ปาน     ตำา
                                                                                         ่     ตำามาก
                                                                                                 ่
(ปี )
                                 กลาง                                         กลาง
 ٧      ١٦.٥٣ ลง   ٢٠-١٦.٥٤     -٢٠.٩٣   -٢٥.٣٢   ٢٩.٧١    ٢٠.٣١   -٢٠.٣٢    -٢٢.٨٩   -٢٥.٤٦   ٢٨.٠٣
           ไป         .٩٢        ٢٥.٣١    ٢٩.٧٠   ขึ้นไป   ลงไป     ٢٢.٨٨     ٢٥.٤٥    ٢٨.٠٢   ขึ้นไป
 ٨      ١٦.٠٠ ลง   ١٩-١٦.٠١     -١٩.٨٢   -٢٣.٦٣   ٢٧.٤٤    ١٩.١١   -١٩.١٢    -٢١.٧٠   -٢٤.٢٨   ٢٦.٨٦
           ไป         .٨١        ٢٣.٦٢    ٢٧.٤٣   ขึ้นไป   ลงไป     ٢١.٦٩     ٢٤.٢٧    ٢٦.٨٥   ขึ้นไป
 ٩      ١٥.٨٢ ลง   ١٨-١٥.٨٣     -١٨.٨٨   -٢١.٩٣   ٢٤.٩٨    ١٨.٥٣   -١٨.٥٤    -٢١.٧٢   -٢٤.٩٩   ٢٨.٠٨
           ไป         .٨٧        ٢١.٩٢    ٢٤.٩٧   ขึ้นไป   ลงไป     ٢١.٧١     ٢٤.٩٨    ٢٨.٠٧   ขึ้นไป
١٠      ١٥.٦٤ ลง   ١٨-١٥.٦٥     -١٨.٨٢   -٢١.٩٩   ٢٥.١٦    ١٨.٤٤   -١٨.٤٥    -٢٠.٨٩   -٢٣.٣٣   ٢٥.٧٧
           ไป         .٨١        ٢١.٩٨    ٢٥.١٥   ขึ้นไป   ลงไป     ٢٠.٨٨     ٢٣.٣٢    ٢٥.٧٦   ขึ้นไป
١١      ١٥.٤٧ ลง   ١٨-١٥.٤٨     -١٨.٤٥   -٢١.٤٢   ٢٤.٣٩    ١٧.٩٩   -١٨.٠٠    -٢٠.٥١   -٢٣.٠٢   ٢٥.٥٣
           ไป         .٤٤        ٢١.٤١    ٢٤.٣٨   ขึ้นไป   ลงไป     ٢٠.٥٠     ٢٣.٠١    ٢٥.٥٢   ขึ้นไป
١٢      ١٥.٣٧ ลง   ١٨-١٥.٣٨     -١٨.٢٥   -٢١.١٢   ٢٣.٩٩    ١٧.٨٧   -١٧.٨٨    -٢٠.٦٧   -٢٣.٤٦   ٢٦.٢٥
           ไป         .٢٤        ٢١.١١    ٢٣.٩٨   ขึ้นไป   ลงไป     ٢٠.٦٦     ٢٣.٤٥    ٢٦.٢٤   ขึ้นไป
١٣      ١٥.٢٨ ลง   ١٧-١٥.٢٩     -١٧.٩٧   -٢٠.٦٦   ٢٣.٣٥    ١٧.٦٩   -١٧.٧٠    -١٨.٨٣   -١٩.٩٦   ٢١.٠٩
           ไป         .٩٦        ٢٠.٦٥    ٢٣.٣٤   ขึ้นไป   ลงไป     ١٨.٨٢     ١٩.٩٥    ٢١.٠٨   ขึ้นไป
١٤      ١٥.١٤ ลง   ١٧-١٥.١٥     -١٧.٣٤   -١٩.٥٣   ٢١.٧٢    ١٧.٣٦   -١٧.٣٧    -١٨.٨٨   -٢٠.٣٩   ٢١.٩٠
           ไป         .٣٣        ١٩.٥٢    ٢١.٧١   ขึ้นไป   ลงไป     ١٨.٨٧     ٢٠.٣٨    ٢١.٨٩   ขึ้นไป
١٥      ١٥.٠٠ ลง   ١٦-١٥.٠١     -١٦.٩٤   -١٨.٨٧   ٢٠.٧٨    ١٧.٢٧   -١٧.٢٨    -١٨.٩١   -٢٠.٩٤   ٢٢.١٧
           ไป         .٩٣        ١٨.٨٦    ٢٠.٧٧   ขึ้นไป   ลงไป     ١٨.٩٠     ٢٠.٩٣    ٢٢.١٦   ขึ้นไป
١٦      ١٤.٧٥ ลง   ١٦-١٤.٧٦     -١٦.٥٨   -١٨.٤٠   ٢٠.٢٢    ١٧.١٧   -١٧.١٨    -١٨.٥٩   -٢٠.٠٠   ٢١.٤١
           ไป         .٥٧        ١٨.٣٩    ٢٠.٢١   ขึ้นไป   ลงไป     ١٨.٥٨     ١٩.٩٩    ٢١.٤٠   ขึ้นไป
١٧   ١٤.٥٥ ลง   ١٦-١٤.٥٦   -١٦.٧٤   -١٨.٩٢   ٢١.١٠    ١٦.٩٣   -١٦.٩٤   -١٨.١١   -١٩.٢٨   ٢٠.٤٥
        ไป         .٧٣      ١٨.٩١    ٢١.٠٩   ขึ้นไป   ลงไป     ١٨.١٠    ١٩.٢٧    ٢٠.٤٤   ขึ้นไป
١٨   ١٤.٢٥ ลง   ١٦-١٤.٢٦   -١٦.٤٣   -١٨.٦٠   ٢٠.٧٧    ١٦.٨٧   -١٦.٨٨   -١٧.٩١   -١٨.٩٤   ١٩.٩٧
        ไป         .٤٢      ١٨.٥٩    ٢٠.٧٦   ขึ้นไป   ลงไป     ١٧.٩٠    ١٨.٩٣    ١٩.٩٦   ขึ้นไป



                             รศ.ดร. สุพิตร สมาหิโต และคณะ ٢٥٤٨
ว่ิงระยะไกล (Distance Run)
    วัตถุประสงค์การทดสอบ
        เพ่ ือวัดความอดทนของระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต
    ระยะทางในการว่ิง
        ระยะทาง ١,٢٠٠ เมตร สำาหรับนั กเรียนชาย และนั กเรียนหญิงท่ี
มีอายุระหว่าง ١٢ – ٧ ปี
        ระยะทาง ١,٦٠٠ เมตร สำาหรับนั กเรียนชาย และนั กเรียนหญิงท่ี
มีอายุระหว่าง ١٨ – ١٣ ปี
        อุปกรณท่ีใช้ในการทดสอบ
                      ์
        ١. นาฬกาจับเวลา ١/١٠٠ วินาที
                    ิ
        ٢. สนามท่ีมีล่้ว่ิง หรือทางว่ิงพ้ืนราบ
    วิธีการปฏิบัติ
               เม่ ือให้สัญญาณ “เข้าท่” ผ้้เข้ารับการทดสอบยืนให้เท้าข้างหน่ ึง
                                      ี
แตะเส้นเร่ิม เม่ ือพร้อมและน่ิง ผ้ปล่อยตัวสัง “ไป” ผ้้รับการทดสอบออกว่ิง
                                    ้             ่
ไปตามเส้นทางท่ีกำาหนดให้เร็วท่ีสุดเท่าท่ีจะทำาได้ (แม้ว่าจะอนุญาตให้เดิน
ได้ แต่ก็ยังเน้ นให้รักษาระดับความเร็วให้คงท่ีอย่้เสมอ)
    ระเบียบการทดสอบ
        ١. หากผ้รับการทดสอบไม่สามารถว่ิงได้ตลอดระยะทางท่ีกำาหนดได้
                        ้
ก็ให้เดินจนครบระยะทาง
        ٢. ผ้้รบการทดสอบท่ีไม่สามารถว่ิง/เดิน ได้ครบระยะทางท่ีกำาหนด
                 ั
จะไม่มีการบันทึกเวลา และต้องทำาการทดสอบใหม่
        ٣. หากโรงเรียนไม่มีล่้ว่ิงระยะทาง ٤٠٠ เมตร ก็สามารถดัดแปลง
จากสนาม หรือทางว่ิงให้ครบระยะทางท่ีกำาหนดไว้
    การบันทึกคะแนน
        บันทึกคะแนนเป็ นนาทีและวินาที
เกณฑ์มาตรฐาน ว่ิงระยะไกล (นาที) สำาหรับเด็กไทย อายุ 7 – 18 ปี

                                เพศชาย                                           เพศหญิง
อายุ
          ดีมาก         ดี         ปาน      ตำา
                                              ่     ตำามาก
                                                      ่       ดีมาก      ดี        ปาน       ตำา
                                                                                               ่     ตำามาก
                                                                                                       ่
(ปี )
                                  กลาง                                             กลาง
 ٧      ٦.٥٩ ลงไป    7.00-9.5    10.00-1 12.35-1    15.03    7.55 ลง   7.56-10   10.18-1   13.00-1   15.45
                        9          2.34    5.02     ขึ้นไป      ไป       .17       2.59     5.44     ขึ้นไป
 ٨      ٦.٢٤ ลงไป    6.25-8.5    9.00-11 11.35-1    14.05    7.14 ลง   7.15-9.   9.51-12   12.27-1   15.00
                        9          .34     4.04     ขึ้นไป      ไป        50        .26     4.59     ขึ้นไป
 ٩      ٦.١١ ลงไป    6.12-8.3    8.36-10 11.00-1    13.27    7.02 ลง   7.03-9.   9.03-11   11.44-1   14.25
                        5          .59     3.26     ขึ้นไป      ไป        02        .43     4.24     ขึ้นไป
١٠      ٦.٠١ ลงไป    6.02-8.0    8.04-10 10.46-1    13.17    6.59 ลง   7.00-9.   9.01-11   11.31-1   14.10
                        3          .45     3.16     ขึ้นไป      ไป        00        .30     4.00     ขึ้นไป
١١      ٥.٢٨ ลงไป    5.29-7.5    8.00-10 10.31-1    12.58    6.24 ลง   6.25-8.   8.56-11   11.27-1   13.58
                        9          .30     2.57     ขึ้นไป      ไป        55        .26     3.57     ขึ้นไป
١٢      ٥.٠٠ ลงไป    5.01-7.2    7.27-9. 9.54-11.   12.00    6.01 ลง   6.02-8.   8.17-10   11.00-1   13.06
                        6           53      59      ขึ้นไป      ไป        16        .59     3.05     ขึ้นไป
١٣      ٧.٠٠ ลงไป    7.01-9.5    10.00-1 12.52-1    15.40    8.36 ลง   8.37-11   11.18-1   14.39-1   17.20
                        9          2.51    5.39     ขึ้นไป      ไป       .17       4.38     7.19     ขึ้นไป
١٤      ٦.٥٩ ลงไป    7.00-9.4    9.48-12 12.36-1    15.25    8.37 ลง   8.38-10   11.00-1   14.14-1   16.47
                        7          .35     5.24     ขึ้นไป      ไป       .59       4.13     6.46     ขึ้นไป
١٥      ٦.٣٣ ลงไป    6.34-8.4    8.41-11 11.12-1    13.44    8.37 ลง   8.38-11   11.19-1   13.55-1   16.36
                        0          .11     3.43     ขึ้นไป      ไป       .18       3.54     6.35     ขึ้นไป
١٦   ٦.٠٥ ลงไป   6.06-8.2   8.27-10   11.00-1   13.28    8.18 ลง 8.19-10 11.00-1 13.00-1   16.27
                        6         .59      3.27     ขึ้นไป      ไป     .59    2.59    6.26     ขึ้นไป
    ١٧   ٥.٥٦ ลงไป   5.57-8.0   8.07-10   10.57-1   13.11    8.08 ลง 8.09-10 11.00-1 13.31-1   16.12
                        6         .56      3.10     ขึ้นไป      ไป     .59    3.30    6.11     ขึ้นไป
    ١٨   ٥.٣٠ ลงไป   5.31-7.5   8.00-10   10.55-1   13.04    7.59 ลง 8.00-10 10.41-1 13.22-1   16.03
                        9         .54      3.03     ขึ้นไป      ไป     .40    3.21    6.02     ขึ้นไป
     หมายเหตุ    อายุ ١٢- ٧ ปี ระยะทาง ١,٢٠٠ เมตร
                      อายุ ١٨- ١٣ ปี ระยะทาง ١,٦٠٠ เมตร
รศ.ดร. สุพิตร สมาหิโต และคณะ ٢٥٤٨
บรรณานุกรม

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรการเรียนรู้ขันพ้ืนฐาน
                                                        ้
พุทธศักราช ٢٥٤٤ สาระและ
          มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ
พลศึกษา , ٢٥٤٥.
คณะกรรมการส่งเสริมกีฬาและการออกกำาลังกายเพ่ ือสุขภาพใน
สถาบันการศึกษา และการพัฒนา
           องค์ความร้้ สำานั กงานกองทุนสนั บสนุนการสร้างเสริมสุข
ภาพ . แบบทดสอบและเกณฑ์
          มาตรฐานสมรรถภาพทางกายท่ีสัมพันธ์กับสุขภาพสำาหรับ
เด็กไทย อายุ ١٨ – ٧ ปี , ٢٥٤٨ .
ดร.วัฒนาพร ระงับทุกข์ . แผนการสอนท่ีเน้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง .
กรุงเทพมหานคร: บ.แอล ที เพรส
           จำากัด , ٢٥٤٢.
ดร.สมหมาย แตงสกุล และดร.ธารา วิมลวัตรเวที. สุขศึกษาและ
พลศึกษา ม.٣ . กรุงเทพมหานคร:
           วัฒนาพานิ ช, ٢٥٤٨.
ดร.สุวิทย์ ม้ลคำาและคณะ.การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้ นการ
คิด. กรุงเทพมหานคร: อี เค บุคส์ ,
                                ุ
            ٢٥٤٩.
บริษัท สกายบุกส์ จำากัด. แอโรบิกแดนซ์ ฉบับปรับปรุงใหม่,
กรุงเทพมหานคร: บริษัท สกายบุกส์ จำากัด.
            ٢٥٤٥.
ผ้้ช่วยศาสตราจารย์พิชิต ภ้ติจันทร์ ผ้้ช่วยศาสตราจารย์เขมชาติ วิรยา
                                                                ิ
ภิรมย์ ผ้้ช่วยศาสตราจารย์ธงชัย
           วงศ์เสนา และคณะ . วิทยาศาสตร์การกีฬา.
กรุงเทพมหานคร: บ. ต้นอ้อ ١٩٩٩ จำากัด , ٢٥٤٢.
สถาบันพัฒนาความก้าวหน้ า กรุงเทพมหานคร. เอกสารประกอบการ
อบรมหลักสูตรการพัฒนางาน
           นวัตกรรม (ด้านท่ี ٣) ให้เป็ นผลงานวิชาการท่ีมีคุณภาพ , ٢
٥٥٠.
สุวฒนา เอ่ียมอรพรรณ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ กมลพร บัณฑิตยา
    ั
นนท์. แนวคิดและแนวปฏิบัติสำาหรับครู
           เพ่ ือรองรับเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู. ศ้นย์ตำาราและ
เอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ٢٥٤٦.
ศ้นย์พลศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา . เอกสารอัดสำาเนาจากการอบรม
ผู้นำาชุมชนเป็ นผู้นำาการออกกำาลังกาย
           ร่นท่ี ٢ จังหวัดฉะเชิงเทรา , ٢٥٤٥.
             ุ

More Related Content

What's hot

ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2sarawut chaicharoen
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล krooKob
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfssuser29b0ec
 

What's hot (20)

ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียนแผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdfรูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
รูปสี่เหลี่ยม ป.5.pdf
 
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมแรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
 

Similar to ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1

การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2sonsukda
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4sonsukda
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6rainacid
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าIpst Thailand
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์guest5660a9a
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6Prachoom Rangkasikorn
 
อ.ไก่น้อย
อ.ไก่น้อยอ.ไก่น้อย
อ.ไก่น้อยts02216345
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตtassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนwatdang
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 

Similar to ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1 (20)

การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
รูปเล่ม
รูปเล่มรูปเล่ม
รูปเล่ม
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6แผนวิทยาศาสตร์ป.6
แผนวิทยาศาสตร์ป.6
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้าการพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
การพัฒนาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับคนตาบอด เรื่อง การนวดฝ่าเท้า
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
อ.ไก่น้อย
อ.ไก่น้อยอ.ไก่น้อย
อ.ไก่น้อย
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 

More from sonsukda

ศาสนา ทศพิธราชธรรม
ศาสนา ทศพิธราชธรรมศาสนา ทศพิธราชธรรม
ศาสนา ทศพิธราชธรรมsonsukda
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)sonsukda
 
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3sonsukda
 
การประกวดสื่อนวัตกรรม
การประกวดสื่อนวัตกรรมการประกวดสื่อนวัตกรรม
การประกวดสื่อนวัตกรรมsonsukda
 
เรื่องที่ 3 Passive Voice
เรื่องที่ 3 Passive Voiceเรื่องที่ 3 Passive Voice
เรื่องที่ 3 Passive Voicesonsukda
 
งานนำเสนอ Unit 7 How Much
งานนำเสนอ Unit 7 How Muchงานนำเสนอ Unit 7 How Much
งานนำเสนอ Unit 7 How Muchsonsukda
 
Herb Powerpoint
Herb PowerpointHerb Powerpoint
Herb Powerpointsonsukda
 
Iirregular Verbs
Iirregular VerbsIirregular Verbs
Iirregular Verbssonsukda
 
Past Simple Tense
Past Simple TensePast Simple Tense
Past Simple Tensesonsukda
 
ภาษาC++
ภาษาC++ภาษาC++
ภาษาC++sonsukda
 

More from sonsukda (10)

ศาสนา ทศพิธราชธรรม
ศาสนา ทศพิธราชธรรมศาสนา ทศพิธราชธรรม
ศาสนา ทศพิธราชธรรม
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
 
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ปรับปรุง) ม 3
 
การประกวดสื่อนวัตกรรม
การประกวดสื่อนวัตกรรมการประกวดสื่อนวัตกรรม
การประกวดสื่อนวัตกรรม
 
เรื่องที่ 3 Passive Voice
เรื่องที่ 3 Passive Voiceเรื่องที่ 3 Passive Voice
เรื่องที่ 3 Passive Voice
 
งานนำเสนอ Unit 7 How Much
งานนำเสนอ Unit 7 How Muchงานนำเสนอ Unit 7 How Much
งานนำเสนอ Unit 7 How Much
 
Herb Powerpoint
Herb PowerpointHerb Powerpoint
Herb Powerpoint
 
Iirregular Verbs
Iirregular VerbsIirregular Verbs
Iirregular Verbs
 
Past Simple Tense
Past Simple TensePast Simple Tense
Past Simple Tense
 
ภาษาC++
ภาษาC++ภาษาC++
ภาษาC++
 

ทดสอบสมรรถภาพทางกายชุดที่ 1

  • 1. เร่ ือง การเต้นแอโรบิคเพ่ ือสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย ชุดท่ี 1 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ครังท่ี 1) ้ วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา รหัสวิชา พ 33101 ช่วงชันท่ี 3 ชันมัธยมศึกษาปี ท่ี ٣ ้ ้ จัดทำาโดย นายสุพัฒน อัตจริต ์ ครูชำานาญการ อันดับ คศ. 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี ) ๔ สำานั กงานพ้ืนท่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ี สำานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพ้ืนฐาน กระทรวง ้ ศึกษาธิการ คำานำ า
  • 2. แบบฝึ กการเต้นแอโรบิคเพ่ ือสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย ผ้้ สอนจัดทำาขึ้นเพ่ ือใช้เป็ นนวัตกรรมการเรียนร้้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 รหัสวิชา พ 33101 ซ่ ึงสอดคล้องกับสาระท่ี 4 ้ เร่ ืองการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้ องกันโรค ตามมาตรฐาน พ 4.1 ท่ีให้นักเรียนเห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ และการ สร้างเสริมสมรรถภาพเพ่ ือสุขภาพ การดำารงสุขภาพ การป้ องกันโรค แบบ ฝึ กการเต้นแอโรบิคเพ่ ือสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย มีทังหมด 6 ชุด ้ ดังนี้ ١. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ครัง ้ ท่ี 1) 2. การเคล่ ือนไหวเบ้ืองต้น 3. การเต้นแอโรบิคเบ้ืองต้น 4. การเต้นแอโรบิคเบ้ืองต้นประกอบ จังหวะดนตรี 5. การจัดโปรแกรมเพ่ ือผลทาง สมรรถภาพทางกาย 6. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ครัง ้ ท่ี 2) เน้ือหาของแบบฝึ กแต่ละชุด จะอธิบายทีละขันตอน เข้าใจง่าย คร้ ้ สามารถนำ าไปประกอบการเรียนการสอนได้เป็ นอย่างดี เป็ นส่ิงท่ีช่วยทุ่น แรงคร้ โดยมีแผนจัดการเรียนร้้เป็ นตัวชีนำ าทาง สำาหรับนั กเรียนก็สามารถ ้ อ่านและนำ าไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง หรือกับกลุ่มเพ่ ือนทังในเวลาเรียนและ ้ นอกเวลาเรียนหรือแม้จะอย่้ท่ีบ้านก็ตาม หวังเป็ นอย่างย่ิงว่า แบบฝึ กการเต้นแอโรบิคเพ่ ือสร้างเสริม สมรรถภาพทางกายเล่มนี้ คงจะเป็ นประโยชน์กบนั กเรียนทุกคนท่ีต้องการ ั ศึกษาหาความร้้ดวยตนเอง และสามารถนำ าความร้้ในเร่ ืองการเสริมสร้าง ้ สมรรถถภาพทางกายมาใช้ให้เป็ นประโยชน์แก่ตนเอง และผ้้อ่ืน สำาหรับคร้ คงอำานวยประโยชน์ และใช้เป็ นแนวทางการสอน เกิดความคิดสร้างสรรค์ ก่อเกิดการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน การผลิตส่ ือ/นวัตกรรม กลุ่ม สาระการเรียนร้้สุขศึกษาและพลศึกษาได้เป็ นอย่างดี ( นายสุพัฒน์ อัตจริต)
  • 3. คร้ อันดับ คศ. 2 โรงเรียน บดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี ) ๔ สารบัญ หน้ า คำานำ า ก สารบัญ ข คำาแนะนำ าสำาหรับคร้ ค คำาแนะนำ าสำาหรับนั กเรียน ง แผนจัดการเรียนร้้ จ ใบบันทึกแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายท่ีสัมพันธ์กับสุขภาพ ฉ แบบประเมินการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ครังท่ี 1) ้ ช ชุดท่ี ١ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ครังท่ี 1) ้ ดัชนี มวลกาย (Body Mass Index: BMI ) ................................................................. ลุก-นั่ ง ٦٠ วินาที (Sit-Ups 60 Seconds).................................................................. ดันพ้ืน ٣٠ วินาที (Push- Ups 30 Seconds)............................................................. นั่ งงอตัวไปข้างหน้ า (Sit and Reach).......................................................................
  • 4. ว่ิงอ้อมหลัก (Zig-Zag Run).................................................................................... . ว่ิงระยะไกล (Distance Run).................................................................................... บรรณานุกรม ................................................................. ......................................................... คำาแนะนำ าการใช้แบบฝึ กสำาหรับครู วัตถุประสงค์ของแบบฝึ ก 1. เพ่ ือประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนของร่างกาย (นำ ้ า หนั กและส่วนส้ง) 2. เพ่ ือทดสอบความแข็งแรงของร่างกาย 3. เพ่ ือทดสอบความอ่อนตัวของร่างกาย 4. เพ่ ือทดสอบความคล่องแคล่วว่องไว 5. เพ่ ือทดสอบความอดทนของระบบหายใจและระบบไหล เวียนโลหิต เป้ าหมายของแบบฝึ ก ١. นั กเรียนมีความร้้ ความเข้าใจ และทักษะพ้ืนฐานเก่ียวกับ การเต้นแอโรบิค ٢. นั กเรียนมีพฤติกรรมการทำางานท่ีดี ได้แก่ มีความสนใจ ในการปฏิบัติกิจกรรม
  • 5. มีความกระตือรือร้น มีความขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อหน้ าท่ี ٣. นั กเรียนมีผลการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพ่ ือสุขภาพ ในทางท่ีดีขึ้น วิธีใช้แบบฝึ กไปใช้ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. คร้ควรศึกษา วิเคราะห์ ข้อม้ลนั กเรียนเป็ นรายบุคคลเก่ียว กับสุขภาพ โรคประจำาตัว 2. คร้ควรคัดกรองนั กเรียนท่ีมีปัญหาทางสุขภาพ ให้คำาแนะนำ า ไม่ควรบังคับนั กเรียน 3. คร้ควรศึกษาแผนจัดการเรียนร้้ เพ่ ือใช้เป็ นแนวทางจัด กิจกรรมการเรียนการสอน 4. คร้ควรอธิบายเน้ือหาให้ชัดเจน การฝึ กปฏิบัติ ควรให้คำา แนะนำ าอย่างใกล้ชิด 5. คร้ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การฝึ กปฏิบัติเป็ นฐาน เพ่ ือให้นักเรียนได้ศึกษา และฝึ กพฤติกรรมการทำางานท่ีดี 6. หลังจากสอนเน้ือหาแล้วให้นักเรียนประเมินความร้้ในแต่ละ เร่ ืองเพ่ ือเก็บเป็ นข้อม้ล คำาแนะนำ าการใช้แบบฝึ กสำาหรับนั กเรียน วัตถุประสงค์ของแบบฝึ ก 1. เพ่ ือประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนของร่างกาย (นำ ้ า หนั กและส่วนส้ง) 2. เพ่ ือทดสอบความแข็งแรงของร่างกาย 3. เพ่ ือทดสอบความอ่อนตัวของร่างกาย 4. เพ่ ือทดสอบความคล่องแคล่วว่องไว
  • 6. 5. เพ่ ือทดสอบความอดทนของระบบหายใจและระบบไหล เวียนโลหิต เป้ าหมายของแบบฝึ ก ١. นั กเรียนมีความร้้ ความเข้าใจ และทักษะพ้ืนฐานเก่ียวกับ การเต้นแอโรบิค ٢. นั กเรียนมีพฤติกรรมการทำางานท่ีดี ได้แก่ มีความสนใจ ในการปฏิบัติกิจกรรม มีความกระตือรือร้น มีความขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อหน้ าท่ี ٣. นั กเรียนมีผลการพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพ่ ือสุขภาพใน ทางท่ีดีขึ้น วิธีใช้แบบฝึ กไปใช้ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. นั กเรียนต้องมีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีโรคประจำาตัว ถ้ามีปัญหา ด้านสุขภาพควรแจ้งให้คร้ ประจำาวิชาทราบ 2. นั กเรียนควรอบอุ่นร่างกายให้เพียงพอก่อนการออกกำาลัง กาย 3. ไม่ควรออกกำาลังกายหลังจากรับประทานอาหารอ่ิมใหม่ ๆ 4. ไม่ควรออกกำาลังกายขณะท่ีมีอาการป่ วยไข้ หรือพักผ่อนไม่ เพียงพอ 5. นั กเรียนควรฟั งคำาอธิบายเน้ือหาให้ชัดเจน และควรปฏิบัติ ตามอย่างเคร่งครัด 6. ควรตังเป้ าหมาย และทำาเต็มความสามารถของตนเอง ้ 7. นั กเรียนควรฝึ กพฤติกรรมการทำางานท่ีดีควบค่กัน้ 8. หลังจากการฝึ กแล้ว นั กเรียนควรประเมินความร้้ในแต่ละ เร่ ืองเพ่ ือเก็บเป็ นข้อม้ล โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี ) ๔ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1
  • 7. รหัสวิชา พ 33101 รายวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ชันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 ้ เร่ ือง การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครังท่ี 1 ้ จำานวน 2 คาบ สาระท่ี 4 : การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้ องกันโรค มาตรฐานการเรียนรู้ พ : 4.1 เห็นคุณค่า และมีทักษะในการสร้าง เสริมสุขภาพ การดำารงสุขภาพ การป้ องกันโรค และการสร้าง เสริมสมรรถภาพเพ่ ือสุขภาพ ……………………………………………………………………… ………………………………. 1. สาระสำาคัญ สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) หมายถึง สภาวะของ ร่างกายท่ีอย่้ในสภาพท่ีดี เพ่ ือท่ีจะช่วยให้บุคคล สามารถทำางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ บุคคลท่ีมีสมรรถภาพทางกายดี ก็จะสามารถปฏิบัติภารกิจ ต่าง ๆ ในชีวิตประจำาวัน การออกกำาลังกาย การเล่นกีฬาและแก้ไข สถานการณ์ต่าง ๆไ ด้เป็ นอย่างดี 2. มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชัน ้ มาตรฐานท่ี 6 ทดสอบสมรรถภาพทางกายหรือสมรรถภาพ ทางกลไก ด้วยวิธีท่ีถ้กต้อง 3. ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง นั กเรียนมีสมรรถภาพทางกายเพ่ ือสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพ่ ือประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนของร่างกาย (นำ ้ า หนั กและส่วนส้ง) 2. เพ่ ือทดสอบความแข็งแรงของร่างกาย 3. เพ่ ือทดสอบความอ่อนตัวของร่างกาย 4. เพ่ ือทดสอบความคล่องแคล่วว่องไว 5. เพ่ ือทดสอบความอดทนของระบบหายใจและระบบไหล เวียนโลหิต 5. เน้ือหาสาระ แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายท่ีสัมพันธ์กับสุขภาพ สำาหรับ เด็กไทย อายุ ١٨ – ٧ ปี ١. ดัชนี มวลกาย ( Body Mass Index : BMI) องค์ ประกอบท่ีต้องการวัด เพ่ ือประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนร่างกาย ( นำ ้ าหนั กและส่วนส้ง)
  • 8. ٢. ลุก-นั่ ง ٦٠ วินาที (Sit-Ups 60 Seconds) องค์ ประกอบท่ีต้องการวัด เพ่ ือวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือ ท้อง ٣. ดันพ้ืน ٣٠ วินาที (Push- Ups 30 Seconds) องค์ ประกอบท่ีต้องการวัด เพ่ ือวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือ แขน และกล้ามเน้ือส่วนบนของร่างกาย ٤. นั่ งงอตัวไปข้างหน้ า (Sit and Reach) องค์ประกอบท่ี ต้องการวัด เพ่ ือวัดความอ่อนตัวของกล้ามเน้ือหลัง และต้นขาด้านหลัง ٥. ว่ิงอ้อมหลัก (Zig-Zag Run) องค์ประกอบท่ีต้องการ วัด เพ่ ือวัดความแคล่วคล่องว่องไว ٦. ว่ิงระยะไกล (Distance Run) องค์ประกอบท่ีต้องการ วัด เพ่ ือวัดความอดทนของระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ขันนำ า ้ 1. นั กเรียนเข้าแถวตอน 5 แถว ๆ ละ 10 คน 2. สำารวจรายช่ ือนั กเรียน ขันอธิบายและสาธิตการฝึ กปฏิบัติ ้ 1. คร้อธิบายวัตถุประสงค์การทดสอบสมรรถภาพทางกาย 2. คร้บอกขันตอนการทดสอบโดยกำาหนดวันทดสอบออกเป็ น 2 ้ วัน 2.1 วันแรก ทดสอบ การลุก-นั่ ง 60 วินาที ดันพ้ืน 30 วินาที ว่ิงอ้อมหลัก 2.2 วันท่ีสอง ทดสอบนั่ งงอตัวไปด้านหน้ า และว่ิงระยะไกล ขันสอนหรือฝึ กปฏิบัติ ้ นั กเรียนทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็ นฐาน ขั้นนำำไปใช้ 1. จดข้อม้ลสถิตการทดสอบ 2. นั กเรียนนำ าผลจากการทดสอบสมรรถภาพทางกายมา เทียบเกณฑ์มาตรฐาน 3. บันทึกข้อม้ลลงในใบบันทึกสมรรถภาพทางกาย ครังท่ี 1 ้ ขันสรุปและประเมินผล ้ 1. รวมแถว 2. นำ าใบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครังท่ี 1 มาประมวลผล ้ 3. สุขปฏิบัติ 7. ส่ ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบฝึ กการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 2. แบบประเมินการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
  • 9. 3. อุปกรณ์การทดสอบสมรรถภาพทางกาย 8. การวัดผลและประเมินผล วิธีวัดผล ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย เคร่ ืองมือวัดผล แบบประเมินการทดสอบสมรรถภาพทางกาย เกณฑ์การประเมินผล แบบประเมินการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ระดับ 5 ดีมาก ระดับ 4 ดี ระดับ 3 ปานกลาง ระดับ 2 ตำ่า ระดับ 1 ตำ่ามาก 9. กิจกรรมสืบเน่ ือง - ลงช่ ือ สุพัฒน์ อัตจริต (นายสุพัฒน์ อัตจริต) ตำาแหน่ งคร้ …… / ............ / ............. 10. ข้อเสนอแนะของรองผู้อำานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ แผนการจัดการเรียนร้้ เร่ ืองการทดสอบสมรรถภาพทางกาย เพ่ ือสุขภาพ มีเน้ือหาสาระท่ีเข้าใจ มีการสอนท่ีถ้กขันตอน มีเกณฑ์ ้ มาตรฐานสำาหรับนั กเรียนสามารถเปรียบเทียบเกณฑ์ได้ชัดเจน ในเร่ ืองสุขภาพของนั กเรียนควรวิเคราะห์ผ้เรียนเป็ นรายบุคคล ควรตรวจสอบหรือสอบถามเก่ียวกับสุขภาพ โรคประจำาตัวของนั กเรียน เพ่ ือป้ องกันเหตุ โดยทำาบันทึกสอบถามผ้้ปกครองจะเป็ นการดี และ ควรให้ความเอาใจใส่ในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ลงช่ ือ พิศวาท คะลีล้วน (นางพิศวาท คะลี ล้วน) ตำาแหน่ ง รองผ้้อำานวยการกลุ่ม บริหารวิชาการ ١1. ข้อเสนอแนะของผู้อำานวยการโรงเรียน
  • 10. เห็นด้วยตามข้อเสนอแนะรองผ้้อำานวยการกลุ่มบริหาร วิชาการ ลงช่ ือ วิสิทธิ ใจเถิง ์ (นายวิสิทธิ ใจเถิง) ์ ผ้้อำานวยการ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี ) ๔ 12. บันทึกหลังการสอน ด้านผลการเรียน นั กเรียนมีความร้้ ความเข้าใจวิธีการทดสอบสมรรถภาพทาง กาย สามารถปฏิบัติตามฐานต่าง ๆได้เป็ นอย่างดี ด้านพฤติกรรม นั กเรียนมีความตังใจในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย มี ้ ความรับผิดชอบ มีนำ้าใจต่อกัน ทำางานร่วมกันเป็ นทีม ปั ญหาและอุปสรรค เวลาท่ีใช้ในการทดสอบสมรรถภาพทางกายค่อนข้างน้ อย อากาศร้อน อุปกรณ์การทดสอบยังน้ อยไม่เพียงพอกับจำานวนนั กเรียน ข้อเสนอแนะ - ลงช่ ือ สุพัฒน์ อัตจริต ( นายสุพัฒน์ อัตจริต ) ผู้บันทึก
  • 11. โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงเสนี ) ๔ ใบบันทึกแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายท่ีสัมพันธ์กับ สุขภาพ ปี การศึกษา 2550 ช่ ือ- นามสกุล................................................................... ..... เพศ ชาย หญิง อายุ...................ปี นำ ้ าหนั ก.................... กิโลกรัม ส่วน สูง.................................เซนติเมตร ชันมัธยมศึกษาปี ท่ี................ห้อง...............เลขท่ี............. ้ รายการ ผลการทดสอบ สรุปเกณฑ์ มาตรฐาน ครังท่ี ١ ้ ครังท่ี ٢ ้ ครังท่ี ١ ครังท่ี ٢ ้ ้ ١. ดัชนี มวล กาย ٢. ลุกนั่ ง ٦٠ วินาที ٣. ดันพ้ืน ٣٠ วินาที ٤. นั่ งงอตัวไป ข้างหน้ า ٥. ว่ิงอ้อมหลัก
  • 12. ٦. ว่ิงระยะ ไกล* * การทดสอบว่ิงระยะไกลอายุ ١٢ - ٧ ปี ให้ใช้ระยะทาง ١,٢٠٠ เมตร อายุ ١٨ - ١٣ ปี ให้ใช้ระยะทาง ١,٦٠٠ เมตร .. .............................................................. ( ) . ................./................../................. ผู้บันทึกการทดสอบ ก ลุ่มสาระการเรียนร้้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงเสนี ) ๔ แบบประเมินการทดสอบสมรรถภาพทางกาย (ครังท่ี 1) ้ ปี การศึกษา 2550 ช่ ือ .....................................นามสกุล.......................... ....... เพศ ชาย หญิง วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา รหัสวิชา พ 33101 ชัน ้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 3 /...... เลขท่ี.......... ระดับคุณภาพ ท่ี เร่ ือง หมายเหตุ ٥ ٤ ٣ ٢ ١
  • 13. ١. ค่าดัชนี มวล เกณฑ์การ กาย ประเมินค่า ٢. ลุก – นั่ ง 60 ระดับ ٥ ดี วินาที มาก ٣. ดันพ้ืน 30 ระดับ ٤ ดี วินาที ระดับ ٣ ปาน ٤. นั่ งงอตัวไปข้าง กลาง หน้ า ระดับ ٢ ตำ่า ٥. ว่ิงอ้อมหลัก ระดับ ١ ตำ่า มาก ٦. ว่ิงระยะไกล ลงช่ ือ…….....………………………….ผู้บันทึก (……………………………….) …………/…………/……….. ดัชนี มวลกาย (Body Mass Index: BMI ) วัตถุประสงค์การทดสอบ เพ่ ือประเมินความเหมาะสมของสัดส่วนของร่างกาย (นำ ้ าหนั ก และส่วนส้ง) อุปกรณท่ีใช้ในการทดสอบ ์ ١. เคร่ ืองชังนำ ้ าหนั ก ่ ٢. เคร่ ืองวัดส่วนส้ง ٣. เคร่ ืองคิดเลข วิธีปฏิบัติ ให้ทำาการชังนำ ้ าหนั กและวัดส่วนส้งของผ้้รับการทดสอบ นำ านำ ้ า ่ หนั กและส่วนส้งมาคำานวณหาค่าดัชนี มวลกาย โดยนำ าค่านำ ้ าหนั กท่ีชังได้ ่ (กิโลกรัม) หารด้วยส่วนส้งท่ีวัดได้ (เมตร ) ٢
  • 14. ตัวอย่างเช่น ผ้้เข้ารับการทดสอบมีนำ้าหนั กตัวเท่ากับ ٥٠ กิโลกรัม ส่วนส้งเท่ากับ ١٥٠ เซนติเมตร ค่าดัชนี มวลกาย = ١.٥٠ / ٥٠² = ٥٠/٢.٢٥ = ٢٢.٢٢ กิโลกรัม ระเบียบการทดสอบ ١. การชังนำ ้ าหนั กให้ผ้รับการทดสอบสวมชุดท่ีเบาท่ีสุด และให้ ่ ถอดรองเท้า ٢. การวัดส่วนส้งให้ผ้รับการทดสอบถอดรองเท้า การบันทึกคะแนน นำ ้ าหนั กตัวให้บันทึกค่าเป็ นกิโลกรัม สำาหรับส่วนส้งให้บันทึกค่า เป็ นเมตร
  • 15. เกณฑ์มาตรฐานดัชนี มวลกาย (กิโลกรัม/ตารางเมตร) สำาหรับเด็กไทย อายุ 7 – 18 ปี เพศชาย เพศหญิง อายุ มวลกาย มวลกาย มวลกาย มวลกาย มวล มวลกาย มวลกาย มวลกาย มวลกาย มวลกาย (ปี ) สูงมาก สูง พอ ตำา ่ กาย สูงมาก สูง พอ ตำา ่ ตำามาก ่ เหมาะ ตำามาก ่ เหมาะ ٧ ٢٠.٥٠ ขึ้น ١٧-٢٠.٤٩ -١٧.٣٦ -١٤.١٤ ١٠.٤٠ ٢٠.١٧ -٢٠.١٦ -١٧.٠٩ -١٤.٠٠ ١٠.٥٩ ไป .٣٧ ١٤.١٥ ١٠.٤١ ลงไป ขึ้นไป ١٧.١٠ ١٤.٠١ ١٠.٦٠ ลงไป ٨ ٢٢.١٨ ขึ้น ١٨-٢٢.١٧ -١٨.٢٧ -١٤.٣٧ ١٠.٣٨ ٢٢.١٦ -٢٢.١٥ -١٨.٢٤ -١٤.٣٣ ١٠.٤٢ ไป .٢٨ ١٤.٣٨ ١٠.٣٩ ลงไป ขึ้นไป ١٨.٢٥ ١٤.٣٤ ١٠.٤٣ ลงไป ٩ ٢٢.٧٢ ขึ้น ١٨-٢٢.٧١ -١٨.٥٠ -١٤.٢٩ ١٠.٠٨ ٢٢.١٢ ٢٢.١١١٨ -١٨.٣٨ -١٤.٧٢ ١٠.٧٥ ไป .٥١ ١٤.٣٠ ١٠.٠٩ ลงไป ขึ้นไป .٣٩ ١٤.٧٣ ١٠.٧٦ ลงไป ١٠ ٢٣.٥٩ ขึ้น ١٩-٢٣.٥٨ -١٩.٣٧ -١٥.١٦ ١٠.٩٥ ٢٣.٥٣ -٢٣.٥٢ -١٩.٣١ -١٥.١٠ ١٠.٨٩ ไป .٣٨ ١٥.١٧ ١٠.٩٦ ลงไป ขึ้นไป ١٩.٣٢ ١٥.١١ ١٠.٩٠ ลงไป ١١ ٢٤.٥١ ขึ้น ١٩-٢٤.٥٠ -١٩.٦٩ -١٥.٣٨ ١١.٨٧ ٢٣.٩٧ -٢٣.٩٦ -١٩.٧٥ -١٥.٥٤ ١١.٣٣ ไป .٧٠ ١٥.٣٩ ١١.٨٨ ลงไป ขึ้นไป ١٩.٧٦ ١٥.٥٥ ١١.٣٤ ลงไป ١٢ ٢٥.١٧ ขึ้น ٢٠-٢٥.١٦ -٢٠.٧٥ -١٦.٣٤ ١١.٩٣ ٢٤.٩٧ -٢٤.٩٦ -٢٠.٥٠ -١٦.٠٤ ١١.٥٨ ไป .٧٦ ١٦.٣٥ ١١.٩٤ ลงไป ขึ้นไป ٢٠.٥١ ١٦.٠٥ ١١.٥٩ ลงไป ١٣ ٢٥.٣٦ ขึ้น ٢١-٢٥.٣٥ -٢١.٠٤ -١٦.٧٣ ١٢.٤٢ ٢٥.٣٣ -٢٥.٣٢ -٢١.١١ -١٦.٩٠ ١٢.٦٩ ไป .٠٥ ١٦.٧٤ ١٢.٤٣ ลงไป ขึ้นไป ٢١.١٢ ١٦.٩١ ١٢.٧٠ ลงไป ١٤ ٢٦.٩٠ ขึ้น ٢٢-٢٦.٨٩ -٢٢.٣٨ -١٧.٦٧ ١٢.٩٦ ٢٦.٦٣ -٢٦.٦٢ -٢٢.١١ -١٧.٦٠ ١٢.٩٩ ไป .٣٩ ١٧.٦٨ ١٢.٩٧ ลงไป ขึ้นไป ٢٢.١٢ ١٧.٦١ ١٣.٠٠ ลงไป ١٥ ٢٧.٧٨ ขึ้น ٢٣-٢٧.٧٧ -٢٣.١٦ -١٨.٣٥ ١٣.٥٤ ٢٧.٣٩ -٢٧.٣٨ -٢٣.١٨ -١٨.١٧ ١٣.١٦ ไป .١٧ ١٨.٣٦ ١٣.٥٥ ลงไป ขึ้นไป ٢٣.١٩ ١٨.١٨ ١٣.١٧ ลงไป ١٦ ٢٨.١٥ ขึ้น ٢٣-٢٨.١٤ -٢٣.٣٣ -١٨.٥٢ ١٣.٧١ ٢٨.٠٣ -٢٨.٠٢ -٢٣.٢١ -١٨.٤٠ ١٣.٥٩
  • 16. ไป .٣٤ ١٨.٥٣ ١٣.٧٢ ลงไป ขึ้นไป ٢٣.٢٢ ١٨.٤١ ١٣.٦٠ ลงไป ١٧ ٢٩.٦٦ ขึ้น ٢٤-٢٩.٦٥ -٢٤.٤٤ -١٩.٢٣ ١٤.٠٢ ٢٨.٦٩ -٢٨.٦٨ -٢٤.٣٣ -١٨.٨٢ ١٣.٩١ ไป .٤٥ ١٩.٢٤ ١٤.٠٣ ลงไป ขึ้นไป ٢٤.٣٤ ١٨.٨٣ ١٣.٩٢ ลงไป ١٨ ٢٩.٧٩ ขึ้น ٢٤-٢٩.٧٨ -٢٤.٥٧ -١٨.٢٦ ١٤.١٥ ٢٩.٧٢ -٢٩.٧١ -٢٤.٥٠ -١٩.٢٩ ١٤.٠٨ ไป .٥٨ ١٨.٢٧ ١٤.١٦ ลงไป ขึ้นไป ٢٤.٥١ ١٩.٣٠ ١٤.٠٩ ลงไป รศ.ดร. สุพิตร สมาหิโต และคณะ ٢٥٤٨
  • 17. ลุก-นั่ ง ٦٠ วินาที (Sit-Ups 60 Seconds) วัตถุประสงค์การทดสอบ เพ่ ือทดสอบความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือท้อง อุปกรณท่ีใช้ในการทดสอบ ์ ١. เบาะรองพ้ืน หรือสนามหญ้าน่ ุม ٢. นาฬกาจับเวลา ิ วิธีการปฏิบัติ ให้ผ้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย ชันเข่าทังสองข้าง เข่าทังสองข้าง ้ ้ งอเป็ นมุมฉากเท้าทังสองวางห่างกันประมาณ ١ ช่วงไหล่ ฝ่ าเท้าวางราบ ้ กับพ้ืน มือทังสองข้างวางแตะไว้ท่ีหน้ าขาทังสองข้างให้ผ้ช่วยการทดสอบ ้ ้ นั่ งอย่้ท่ีปลายเท้าและเอามือทังสองจับไว้ท่ีบริเวณใต้ข้อพับของผ้้เข้ารับการ ้ ทดสอบเม่ ือได้ยินสัญญาณ “เร่ิม” ให้ผ้เข้ารับการทดสอบ ยกลำาตัวขึ้นไปส่้ ท่านั่ ง ก้มลำาตัวให้ศีรษะ ผ่านไประหว่างเข่าแขนทังสองเหยียดตรงไปข้าง ้ หน้ า และให้ปลายนิ้วแตะเส้นตรงท่ีอย่้แนวเดียวกับปลายเท้าทังสองข้าง ้ แล้วลงกลับส่้ท่าเร่ิมต้น โดยจะต้องให้สะบักทังสองข้างแตะพ้ืน ้ ระเบียบการทดสอบ ในการทดสอบจะไม่นับจำานวนครังในกรณี ต่อไปนี้ ้ 1. มือทังสองข้างไม่ได้วางแตะท่ีบริเวณขาทังสองข้าง ้ ้ ٢. ในขณะกลับลงส่้ท่าเร่ิมต้น สะบักไม่ได้แตะพ้ืน ٣. ปลายนิ้วทังสองข้างไม่ได้แตะเส้นท่ีอย่้ในระดับเดียวกับ ้ ปลายเท้า ٤. ผ้้รบการทดสอบใช้มือยันพ้ืน เพ่ ือดันลำาตัวขึ้น ั การบันทึกคะแนน บันทึกจำานวนครังท่ีทำาได้อย่างถ้กต้องภายใน ٦٠ วินาที ้
  • 18.
  • 19. เกณฑ์มาตรฐาน ลุก – นั่ ง ٦٠ วินาที (ครัง) สำาหรับเด็กไทย อายุ 7 – 18 ปี ้ เพศชาย เพศหญิง อายุ ดีมาก ดี ปาน ตำา ่ ตำามาก ่ ดีมาก ดี ปาน ตำา ่ ตำามาก ่ (ปี ) กลาง กลาง ٧ ٣٧ ขึ้นไป ٢٧-٣٦ ١٧-٢٦ ٧-١٦ ٦ ลงไป ٣٧ ขึ้นไป ٢٧-٣٦ ١٧-٢٦ ٧-١٦ ٦ ลงไป ٨ ٤٠ ขึ้นไป ٣٠-٣٩ ٢٠-٢٩ ١٠-١٩ ٩ ลงไป ٣٧ ขึ้นไป ٢٧-٣٦ ١٧-٢٦ ٧-١٦ ٦ ลงไป ٩ ٤٢ ขึ้นไป ٣٢-٤١ ٢٢-٣١ ١٢-٢١ ١١ ลง ٤٠ ขึ้นไป ٣٠-٣٩ ٢٠-٢٩ ١٠-١٩ ٩ ลงไป ไป ١٠ ٤٤ ขึ้นไป ٣٤-٤٣ ٢٤-٣٣ ١٤-٢٣ ١٣ ลง ٤٢ ขึ้นไป ٣٢-٤١ ٢٢-٣١ ١٢-٢١ ١١ ลงไป ไป ١١ ٤٤ ขึ้นไป ٣٤-٤٣ ٢٤-٣٣ ١٤-٢٣ ١٣ ลง ٤٤ ขึ้นไป ٣٤-٤٣ ٢٤-٣٣ ١٤-٢٣ ١٣ ลงไป ไป ١٢ ٤٧ ขึ้นไป ٣٧-٤٦ ٢٧-٣٦ ١٧-٢٦ ١٦ ลง ٤٤ ขึ้นไป ٣٤-٤٣ ٢٤-٣٣ ١٤-٢٣ ١٣ ลงไป ไป ١٣ ٥٠ ขึ้นไป ٤٠-٤٩ ٣٠-٣٩ ٢٠-٢٩ ١٩ ลง ٤٤ ขึ้นไป ٣٤-٤٣ ٢٤-٣٣ ١٤-٢٣ ١٣ ลงไป ไป ١٤ ٥٣ ขึ้นไป ٤٢-٥٢ ٣١-٤١ ٢٠-٣٠ ١٩ ลง ٤٥ ขึ้นไป ٣٥-٤٤ ٢٥-٣٤ ١٥-٢٤ ١٤ ลงไป ไป ١٥ ٥٦ ขึ้นไป ٤٤-٥٥ ٣٢-٤٣ ٢٠-٣١ ١٩ ลง ٤٥ ขึ้นไป ٣٥-٤٤ ٢٥-٣٤ ١٥-٢٤ ١٤ ลงไป ไป ١٦ ٥٧ ขึ้นไป ٤٥-٥٦ ٣٣-٤٤ ٢١-٣٢ ٢٠ ลง ٤٦ ขึ้นไป ٣٦-٤٥ ٢٦-٣٥ ١٦-٢٥ ١٥ ลงไป ไป ١٧ ٥٨ ขึ้นไป ٤٦-٥٧ ٣٤-٤٥ ٢٢-٣٣ ٢١ ลง ٤٧ ขึ้นไป ٣٧-٤٦ ٢٧-٣٦ ١٧-٢٦ ١٦ ลงไป ไป ١٨ ٦٠ ขึ้นไป ٤٨-٥٩ ٣٦-٤٧ ٢٤-٣٥ ٢٣ ลง ٤٧ ขึ้นไป ٣٧-٤٦ ٢٧-٣٦ ١٧-٢٦ ١٦ ลงไป
  • 21. ดันพ้ืน ٣٠ วินาที (Push- Ups 30 Seconds) วัตถุประสงค์การทดสอบ เพ่ ือวัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเน้ือแขนและ กล้ามเน้ือส่วนบนของร่างกาย อุปกรณท่ีใช้ในการทดสอบ ์ 1. เบาะรองพ้ืน หรือสนามหญ้าน่ ุม ٢. นาฬกาจับเวลา ิ วิธีการปฏิบัติ ให้ผ้เข้ารับการทดสอบคุกเข่าบนเบาะฟองนำ ้ า เหยียดลำาตัวไปข้าง หน้ า โดยยันฝ่ ามือทังสองข้างไว้กับพ้ืนให้ปลายนิ้วชีตรงไปข้างหน้ า และให้ ้ ้ ฝ่ ามือทังสองข้างเท่ากับช่วงไหล่ในขณะท่ีผ้ทดสอบเตรียมพร้อมท่ีจะปฏิบัติ ้ ลำาตัวจะต้องเหยียดตรง แขนทังสองข้างอย่้ท่าเหยียดตรง เม่ ือได้ยิน ้ สัญญาณ “เร่ิม” ให้ผ้เข้ารับการทดสอบยุบข้อเพ่ ือดันพ้ืนลงไป โดยทำามุม ٩ ٠ องศาท่ีข้อศอก ทังสองข้าง ในขณะท่ีแขนบนขนานกับพ้ืน แล้วยกแขน ้ และลำาตัวกลับขึ้น มาอย่้ในท่าเดิม นั บเป็ น ١ ครัง้ ระเบียบการทดสอบ ١. ผ้้ทดสอบจะต้องสังเกตลำาตัวของผ้้เข้ารับการทดสอบให้เหยียด ตรง แขนทังสองอย่้ในท่าเหยียดตึงก่อนจะยุบข้อ เพ่ ือการดันพ้ืนลงไป ้ ٢. เม่ ือยุบข้อและดันพ้ืนลงไป บริเวณหน้ าอกของผ้้เข้ารับการ ทดสอบลดตำ่าลงเกือบจะแตะบริเวณเบาะรองเท้า การบันทึกคะแนน บันทึกจำานวนครังท่ีทำาได้อย่างถ้กต้องภายใน ٣٠ วินาที ้
  • 22.
  • 23. เกณฑ์มาตรฐาน ดันพ้ืน ٣٠ วินาที (ครัง) สำาหรับเด็กไทย อายุ 7 – 18 ปี ้ เพศชาย เพศหญิง อายุ ดีมาก ดี ปาน ตำา ่ ตำามาก ่ ดีมาก ดี ปาน ตำา ่ ตำามาก ่ (ปี ) กลาง กลาง ٧ ٢٦ ขึ้นไป ٢١-٢٥ ١٦-٢٠ ١١-١٥ ١٠ ลง ٢٤ ขึ้นไป ١٩-٢٣ ١٤-١٨ ٩-١٣ ٨ ลงไป ไป ٨ ٢٧ ขึ้นไป ٢٢-٢٦ ١٧-٢١ ١٢-١٦ ١١ ลง ٢٥ ขึ้นไป ٢٠-٢٤ ١٥-١٩ ١٠-١٤ ٩ ลงไป ไป ٩ ٣٠ ขึ้นไป ٢٤-٢٩ ١٨-٢٣ ١٢-١٧ ١١ ลง ٢٦ ขึ้นไป ٢١-٢٥ ١٦-٢٠ ١١-١٥ ١٠ ลงไป ไป ١٠ ٣٢ ขึ้นไป ٢٦-٣١ ٢٠-٢٥ ١٤-١٩ ١٣ ลง ٢٦ ขึ้นไป ٢١-٢٥ ١٦-٢٠ ١١-١٥ ١٠ ลงไป ไป ١١ ٣٢ ขึ้นไป ٢٦-٣١ ٢٠-٢٥ ١٤-١٩ ١٣ ลง ٢٧ ขึ้นไป ٢٢-٢٦ ١٧-٢١ ١٢-١٦ ١١ ลงไป ไป ١٢ ٣٣ ขึ้นไป ٢٧-٣٢ ٢١-٢٦ ١٥-٢٠ ١٤ ลง ٢٧ ขึ้นไป ٢٢-٢٦ ١٧-٢١ ١٢-١٦ ١١ ลงไป ไป ١٣ ٣٦ ขึ้นไป ٢٩-٣٥ ٢٢-٢٨ ١٥-٢١ ١٤ ลง ٣٠ ขึ้นไป ٢٤-٢٩ ١٨-٢٣ ١٢-١٧ ١١ ลงไป ไป ١٤ ٣٧ ขึ้นไป ٣٠-٣٦ ٢٣-٢٩ ١٦-٢٢ ١٥ ลง ٣٠ ขึ้นไป ٢٤-٢٩ ١٨-٢٣ ١٢-١٧ ١١ ลงไป ไป ١٥ ٤٠ ขึ้นไป ٣٢-٣٩ ٢٤-٣١ ١٦-٢٣ ١٥ ลง ٣٣ ขึ้นไป ٢٦-٣٢ ١٩-٢٥ ١٢-١٨ ١١ ลงไป ไป ١٦ ٤٢ ขึ้นไป ٣٤-٤١ ٢٦-٣٣ ١٨-٢٥ ١٧ ลง ٣٣ ขึ้นไป ٢٦-٣٢ ١٩-٢٥ ١٢-١٨ ١١ ลงไป ไป ١٧ ٤٢ ขึ้นไป ٣٤-٤١ ٢٦-٣٣ ١٨-٢٥ ١٧ ลง ٣٣ ขึ้นไป ٢٦-٣٢ ١٩-٢٥ ١٢-١٨ ١١ ลงไป
  • 24. ไป ١٨ ٤٣ ขึ้นไป ٣٥-٤٢ ٢٧-٣٤ ١٩-٢٦ ١٨ ลง ٣٣ ขึ้นไป ٢٦-٣٢ ١٩-٢٥ ١٢-١٨ ١١ ลงไป ไป รศ.ดร. สุพิตร สมาหิโต และคณะ ٢٥٤٨
  • 25. นั่ งงอตัวไปข้างหน้ า (Sit and Reach) วัตถุประสงค์การทดสอบ เพ่ ือความอ่อนตัวของกล้ามเน้ือหลัง และต้นขาด้านหลัง อุปกรณท่ีใช้ในการทดสอบ ์ กล่องเคร่ ืองมือวัดความอ่อนตัว ขนาดส้ง ٣٠ เซนติเมตร วิธีการปฏิบัติ ให้ผ้เข้ารับการทดสอบนั่ งเหยียดขาตรงไปข้างหน้ า โดยเท้าทังสองอย่้ ้ ห่างกันประมาณ ١ ฟุต โดยให้ฝ่าเท้าวางราบชิดกล่องวัดความอ่อนตัว แขนทังสองเหยียดตรงไปข้างหน้ า ให้ผ้เข้ารับการทดสอบค่อย ๆ ก้มลำาตัว ้ ลงและใช้ปลายนิ้วจากมือทังสองข้างดันแกนวัดระยะทางไปข้างหน้ า จนไม่ ้ สามารถก้มลำาตัวลงไปได้อีก ให้ผ้เข้ารับการทดสอบก้มตัวค้างไว้ ١ วินาที ระเบียบการทดสอบ 1. ขณะท่ีก้มเพ่ ือให้ปลายนิ้วแตะแกนท่ีวัดระยะทางไปข้างหน้ านั ้น เข่าจะต้องไม่งอ ٢. ห้ามผ้้เข้ารับการทดสอบโยกตัวช่วยขณะท่ีก้มลำาตัวลง ٣. ให้ทำาการทดสอบ ٢ ครัง ้ การบันทึกคะแนน ١. ให้บันทึกระยะทางเป็ นเซนติเมตร ٢. บันทึกค่าท่ีทำาการทดสอบได้ดีท่ีสุด จากการทดสอบ ٢ ครัง ้
  • 26.
  • 27. เกณฑ์มาตรฐาน นั่ งงอตัวไปข้างหน้ า (เซนติเมตร) สำาหรับเด็กไทย อายุ 7 – 18 ปี เพศชาย เพศหญิง อายุ ดีมาก ดี ปาน ตำา ่ ตำามาก ่ ดีมาก ดี ปาน ตำา ่ ตำามาก ่ (ปี ) กลาง กลาง ٧ ٩ ขึ้นไป ٧-٨ ٥-٦ ٣-٤ ٢ ลงไป ١١ ขึ้นไป ٨-١٠ ٥-٧ ٢-٤ ١ ลงไป ٨ ٩ ขึ้นไป ٧-٨ ٥-٦ ٣-٤ ٢ ลงไป ١١ ขึ้นไป ٨-١٠ ٥-٧ ٢-٤ ١ ลงไป ٩ ١٢ ขึ้นไป ٩-١١ ٦-٨ ٣-٥ ٢ ลงไป ١١ ขึ้นไป ٨-١٠ ٥-٧ ٢-٤ ١ ลงไป ١٠ ١٢ ขึ้นไป ٩-١١ ٦-٨ ٣-٥ ٢ ลงไป ١١ ขึ้นไป ٨-١٠ ٥-٧ ٢-٤ ١ ลงไป ١١ ١٣ ขึ้นไป ١٠-١٢ ٧-٩ ٤-٦ ٣ ลงไป ١٣ ขึ้นไป ١٠-١٢ ٧-٩ ٤-٦ ٣ ลงไป ١٢ ١٣ ขึ้นไป ١٠-١٢ ٧-٩ ٤-٦ ٣ ลงไป ١٣ ขึ้นไป ١٠-١٢ ٧-٩ ٤-٦ ٣ ลงไป ١٣ ١٤ ขึ้นไป ١١-١٣ ٨-١٠ ٥-٧ ٤ ลงไป ١٤ ขึ้นไป ١١-١٣ ٨-١٠ ٥-٧ ٤ ลงไป ١٤ ١٤ ขึ้นไป ١١-١٣ ٨-١٠ ٥-٧ ٤ ลงไป ١٧ ขึ้นไป ١٣-١٦ ٩-١٢ ٥-٨ ٤ ลงไป ١٥ ١٥ ขึ้นไป ١٢-١٤ ٩-١١ ٦-٨ ٥ ลงไป ١٨ ขึ้นไป ١٤-١٧ ١٠-١٣ ٦-٩ ٥ ลงไป ١٦ ١٨ ขึ้นไป ١٤-١٧ ١٠-١٣ ٦-٩ ٥ ลงไป ١٨ ขึ้นไป ١٤-١٧ ١٠-١٣ ٦-٩ ٥ ลงไป ١٧ ١٨ ขึ้นไป ١٤-١٧ ١٠-١٣ ٦-٩ ٥ ลงไป ١٩ ขึ้นไป ١٥-١٨ ١١-١٤ ٧-١٠ ٦ ลงไป ١٨ ١٩ ขึ้นไป ١٥-١٨ ١١-١٤ ٧-١٠ ٦ ลงไป ٢٠ ขึ้นไป ١٦-١٩ ١٢-١٥ ٨-١١ ٧ ลงไป รศ.ดร. สุพิตร สมาหิโต และคณะ ٢٥٤٨
  • 28.
  • 29. ว่ิงอ้อมหลัก (Zig-Zag Run) วัตถุประสงค์การทดสอบ เพ่ ือวัดความคล่องแคล่วว่องไว อุปกรณท่ีใช้ในการทดสอบ ์ ١. กรวยพลาสติก จำานวน ٦ อัน ٢. เทปวัดระยะทาง ٣. นาฬกาจับเวลา ١/١٠٠ วินาที ิ การเตรียมสถานท่ีในการทดสอบ ก่อนการทดสอบ ผ้้ทดสอบจะต้องเตรียมสถานท่ีดังนี้ คือ จากเส้น เร่ิม วัดระยะทางมา ٥ เมตร จะเป็ นจุดในการวางหลักท่ี ١ จากหลักท่ี ١ ใน แนวเส้นเดียวกัน วัดระยะทางจากหลักท่ี ١ มา ٤ เมตร จะเป็ นจุดการวาง หลักท่ี ٣ และเช่นเดียวกัน จากหลักท่ี ٣ วัดระยะทางมาอีก ٤ เมตร จะเป็ น จุดวางหลักท่ี ٥ จากหลักท่ี ٥ , ٣ , ١ ทำามุม ٤٥ องศา วัดระยะทางจุดละ ٢ เมตร จะเป็ นการวางหลักท่ี ٤ , ٢ และ ٦ ซ่ ึงในแต่ละจุดนั ้น ก็จะมีระยะทาง ห่างกันจุดละ ٤ เมตรเช่นเดียวกัน วิธีการปฏิบัติ ให้ผ้ได้รับการทดสอบยืนอย่้หลังเส้นเร่ิม เม่ ือได้รับสัญญาณ “เร่ิม” ผ้้รับการทดสอบจะว่ิงไปอ้อมหลักซ้ายในหลักท่ี ١ แล้วไปอ้อมขวา ในหลักท่ี ٢ ต่อไปจะอ้อมซ้ายในหลักท่ี ٣ อ้อมขวาในหลักท่ี ٤ อ้อมซ้ายในหลักท่ี ٥ และอ้อมขวาในหลักท่ี ٦ ต่อจากนั ้นก็จะว่ิงกลับมา อ้อมในหลักท่ี ٥ อ้อมซ้ายในหลักท่ี ٤ อ้อมขวาในหลักท่ี ٣ อ้อมซ้ายใน หลักท่ี ٢ และอ้อมขวาในหลักท่ี ١ และว่ิงผ่านเส้นเร่ิมไปอย่างรวดเร็ว ระเบียบการทดสอบ หากผ้้รับการทดสอบว่ิงผิดเส้นทางตามท่ีกำาหนด หรือส่วนใดส่วน หน่ ึงของร่างกายสัมผัสกับกรวยท่ีวางไว้ ให้หยุดพักและทำาการทดสอบใหม่ การบันทึกคะแนน บันทึกเวลาท่ีผ้เข้ารับการทดสอบเร่ิมต้นออกว่ิงจากเส้นเร่ิมไป อ้อมหลักทัง ٦ หลัก และว่ิงกลับไปถึงเส้นชัยเป็ นวินาที ทศนิ ยมสอง ้ ตำาแหน่ ง
  • 30.
  • 31. เกณฑ์มาตรฐาน ว่ิงอ้อมหลัก (วินาที) สำาหรับเด็กไทย อายุ 7 – 18 ปี เพศชาย เพศหญิง อายุ ดีมาก ดี ปาน ตำา ่ ตำามาก ่ ดีมาก ดี ปาน ตำา ่ ตำามาก ่ (ปี ) กลาง กลาง ٧ ١٦.٥٣ ลง ٢٠-١٦.٥٤ -٢٠.٩٣ -٢٥.٣٢ ٢٩.٧١ ٢٠.٣١ -٢٠.٣٢ -٢٢.٨٩ -٢٥.٤٦ ٢٨.٠٣ ไป .٩٢ ٢٥.٣١ ٢٩.٧٠ ขึ้นไป ลงไป ٢٢.٨٨ ٢٥.٤٥ ٢٨.٠٢ ขึ้นไป ٨ ١٦.٠٠ ลง ١٩-١٦.٠١ -١٩.٨٢ -٢٣.٦٣ ٢٧.٤٤ ١٩.١١ -١٩.١٢ -٢١.٧٠ -٢٤.٢٨ ٢٦.٨٦ ไป .٨١ ٢٣.٦٢ ٢٧.٤٣ ขึ้นไป ลงไป ٢١.٦٩ ٢٤.٢٧ ٢٦.٨٥ ขึ้นไป ٩ ١٥.٨٢ ลง ١٨-١٥.٨٣ -١٨.٨٨ -٢١.٩٣ ٢٤.٩٨ ١٨.٥٣ -١٨.٥٤ -٢١.٧٢ -٢٤.٩٩ ٢٨.٠٨ ไป .٨٧ ٢١.٩٢ ٢٤.٩٧ ขึ้นไป ลงไป ٢١.٧١ ٢٤.٩٨ ٢٨.٠٧ ขึ้นไป ١٠ ١٥.٦٤ ลง ١٨-١٥.٦٥ -١٨.٨٢ -٢١.٩٩ ٢٥.١٦ ١٨.٤٤ -١٨.٤٥ -٢٠.٨٩ -٢٣.٣٣ ٢٥.٧٧ ไป .٨١ ٢١.٩٨ ٢٥.١٥ ขึ้นไป ลงไป ٢٠.٨٨ ٢٣.٣٢ ٢٥.٧٦ ขึ้นไป ١١ ١٥.٤٧ ลง ١٨-١٥.٤٨ -١٨.٤٥ -٢١.٤٢ ٢٤.٣٩ ١٧.٩٩ -١٨.٠٠ -٢٠.٥١ -٢٣.٠٢ ٢٥.٥٣ ไป .٤٤ ٢١.٤١ ٢٤.٣٨ ขึ้นไป ลงไป ٢٠.٥٠ ٢٣.٠١ ٢٥.٥٢ ขึ้นไป ١٢ ١٥.٣٧ ลง ١٨-١٥.٣٨ -١٨.٢٥ -٢١.١٢ ٢٣.٩٩ ١٧.٨٧ -١٧.٨٨ -٢٠.٦٧ -٢٣.٤٦ ٢٦.٢٥ ไป .٢٤ ٢١.١١ ٢٣.٩٨ ขึ้นไป ลงไป ٢٠.٦٦ ٢٣.٤٥ ٢٦.٢٤ ขึ้นไป ١٣ ١٥.٢٨ ลง ١٧-١٥.٢٩ -١٧.٩٧ -٢٠.٦٦ ٢٣.٣٥ ١٧.٦٩ -١٧.٧٠ -١٨.٨٣ -١٩.٩٦ ٢١.٠٩ ไป .٩٦ ٢٠.٦٥ ٢٣.٣٤ ขึ้นไป ลงไป ١٨.٨٢ ١٩.٩٥ ٢١.٠٨ ขึ้นไป ١٤ ١٥.١٤ ลง ١٧-١٥.١٥ -١٧.٣٤ -١٩.٥٣ ٢١.٧٢ ١٧.٣٦ -١٧.٣٧ -١٨.٨٨ -٢٠.٣٩ ٢١.٩٠ ไป .٣٣ ١٩.٥٢ ٢١.٧١ ขึ้นไป ลงไป ١٨.٨٧ ٢٠.٣٨ ٢١.٨٩ ขึ้นไป ١٥ ١٥.٠٠ ลง ١٦-١٥.٠١ -١٦.٩٤ -١٨.٨٧ ٢٠.٧٨ ١٧.٢٧ -١٧.٢٨ -١٨.٩١ -٢٠.٩٤ ٢٢.١٧ ไป .٩٣ ١٨.٨٦ ٢٠.٧٧ ขึ้นไป ลงไป ١٨.٩٠ ٢٠.٩٣ ٢٢.١٦ ขึ้นไป ١٦ ١٤.٧٥ ลง ١٦-١٤.٧٦ -١٦.٥٨ -١٨.٤٠ ٢٠.٢٢ ١٧.١٧ -١٧.١٨ -١٨.٥٩ -٢٠.٠٠ ٢١.٤١ ไป .٥٧ ١٨.٣٩ ٢٠.٢١ ขึ้นไป ลงไป ١٨.٥٨ ١٩.٩٩ ٢١.٤٠ ขึ้นไป
  • 32. ١٧ ١٤.٥٥ ลง ١٦-١٤.٥٦ -١٦.٧٤ -١٨.٩٢ ٢١.١٠ ١٦.٩٣ -١٦.٩٤ -١٨.١١ -١٩.٢٨ ٢٠.٤٥ ไป .٧٣ ١٨.٩١ ٢١.٠٩ ขึ้นไป ลงไป ١٨.١٠ ١٩.٢٧ ٢٠.٤٤ ขึ้นไป ١٨ ١٤.٢٥ ลง ١٦-١٤.٢٦ -١٦.٤٣ -١٨.٦٠ ٢٠.٧٧ ١٦.٨٧ -١٦.٨٨ -١٧.٩١ -١٨.٩٤ ١٩.٩٧ ไป .٤٢ ١٨.٥٩ ٢٠.٧٦ ขึ้นไป ลงไป ١٧.٩٠ ١٨.٩٣ ١٩.٩٦ ขึ้นไป รศ.ดร. สุพิตร สมาหิโต และคณะ ٢٥٤٨
  • 33. ว่ิงระยะไกล (Distance Run) วัตถุประสงค์การทดสอบ เพ่ ือวัดความอดทนของระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต ระยะทางในการว่ิง ระยะทาง ١,٢٠٠ เมตร สำาหรับนั กเรียนชาย และนั กเรียนหญิงท่ี มีอายุระหว่าง ١٢ – ٧ ปี ระยะทาง ١,٦٠٠ เมตร สำาหรับนั กเรียนชาย และนั กเรียนหญิงท่ี มีอายุระหว่าง ١٨ – ١٣ ปี อุปกรณท่ีใช้ในการทดสอบ ์ ١. นาฬกาจับเวลา ١/١٠٠ วินาที ิ ٢. สนามท่ีมีล่้ว่ิง หรือทางว่ิงพ้ืนราบ วิธีการปฏิบัติ เม่ ือให้สัญญาณ “เข้าท่” ผ้้เข้ารับการทดสอบยืนให้เท้าข้างหน่ ึง ี แตะเส้นเร่ิม เม่ ือพร้อมและน่ิง ผ้ปล่อยตัวสัง “ไป” ผ้้รับการทดสอบออกว่ิง ้ ่ ไปตามเส้นทางท่ีกำาหนดให้เร็วท่ีสุดเท่าท่ีจะทำาได้ (แม้ว่าจะอนุญาตให้เดิน ได้ แต่ก็ยังเน้ นให้รักษาระดับความเร็วให้คงท่ีอย่้เสมอ) ระเบียบการทดสอบ ١. หากผ้รับการทดสอบไม่สามารถว่ิงได้ตลอดระยะทางท่ีกำาหนดได้ ้ ก็ให้เดินจนครบระยะทาง ٢. ผ้้รบการทดสอบท่ีไม่สามารถว่ิง/เดิน ได้ครบระยะทางท่ีกำาหนด ั จะไม่มีการบันทึกเวลา และต้องทำาการทดสอบใหม่ ٣. หากโรงเรียนไม่มีล่้ว่ิงระยะทาง ٤٠٠ เมตร ก็สามารถดัดแปลง จากสนาม หรือทางว่ิงให้ครบระยะทางท่ีกำาหนดไว้ การบันทึกคะแนน บันทึกคะแนนเป็ นนาทีและวินาที
  • 34. เกณฑ์มาตรฐาน ว่ิงระยะไกล (นาที) สำาหรับเด็กไทย อายุ 7 – 18 ปี เพศชาย เพศหญิง อายุ ดีมาก ดี ปาน ตำา ่ ตำามาก ่ ดีมาก ดี ปาน ตำา ่ ตำามาก ่ (ปี ) กลาง กลาง ٧ ٦.٥٩ ลงไป 7.00-9.5 10.00-1 12.35-1 15.03 7.55 ลง 7.56-10 10.18-1 13.00-1 15.45 9 2.34 5.02 ขึ้นไป ไป .17 2.59 5.44 ขึ้นไป ٨ ٦.٢٤ ลงไป 6.25-8.5 9.00-11 11.35-1 14.05 7.14 ลง 7.15-9. 9.51-12 12.27-1 15.00 9 .34 4.04 ขึ้นไป ไป 50 .26 4.59 ขึ้นไป ٩ ٦.١١ ลงไป 6.12-8.3 8.36-10 11.00-1 13.27 7.02 ลง 7.03-9. 9.03-11 11.44-1 14.25 5 .59 3.26 ขึ้นไป ไป 02 .43 4.24 ขึ้นไป ١٠ ٦.٠١ ลงไป 6.02-8.0 8.04-10 10.46-1 13.17 6.59 ลง 7.00-9. 9.01-11 11.31-1 14.10 3 .45 3.16 ขึ้นไป ไป 00 .30 4.00 ขึ้นไป ١١ ٥.٢٨ ลงไป 5.29-7.5 8.00-10 10.31-1 12.58 6.24 ลง 6.25-8. 8.56-11 11.27-1 13.58 9 .30 2.57 ขึ้นไป ไป 55 .26 3.57 ขึ้นไป ١٢ ٥.٠٠ ลงไป 5.01-7.2 7.27-9. 9.54-11. 12.00 6.01 ลง 6.02-8. 8.17-10 11.00-1 13.06 6 53 59 ขึ้นไป ไป 16 .59 3.05 ขึ้นไป ١٣ ٧.٠٠ ลงไป 7.01-9.5 10.00-1 12.52-1 15.40 8.36 ลง 8.37-11 11.18-1 14.39-1 17.20 9 2.51 5.39 ขึ้นไป ไป .17 4.38 7.19 ขึ้นไป ١٤ ٦.٥٩ ลงไป 7.00-9.4 9.48-12 12.36-1 15.25 8.37 ลง 8.38-10 11.00-1 14.14-1 16.47 7 .35 5.24 ขึ้นไป ไป .59 4.13 6.46 ขึ้นไป ١٥ ٦.٣٣ ลงไป 6.34-8.4 8.41-11 11.12-1 13.44 8.37 ลง 8.38-11 11.19-1 13.55-1 16.36 0 .11 3.43 ขึ้นไป ไป .18 3.54 6.35 ขึ้นไป
  • 35. ١٦ ٦.٠٥ ลงไป 6.06-8.2 8.27-10 11.00-1 13.28 8.18 ลง 8.19-10 11.00-1 13.00-1 16.27 6 .59 3.27 ขึ้นไป ไป .59 2.59 6.26 ขึ้นไป ١٧ ٥.٥٦ ลงไป 5.57-8.0 8.07-10 10.57-1 13.11 8.08 ลง 8.09-10 11.00-1 13.31-1 16.12 6 .56 3.10 ขึ้นไป ไป .59 3.30 6.11 ขึ้นไป ١٨ ٥.٣٠ ลงไป 5.31-7.5 8.00-10 10.55-1 13.04 7.59 ลง 8.00-10 10.41-1 13.22-1 16.03 9 .54 3.03 ขึ้นไป ไป .40 3.21 6.02 ขึ้นไป หมายเหตุ อายุ ١٢- ٧ ปี ระยะทาง ١,٢٠٠ เมตร อายุ ١٨- ١٣ ปี ระยะทาง ١,٦٠٠ เมตร รศ.ดร. สุพิตร สมาหิโต และคณะ ٢٥٤٨
  • 36. บรรณานุกรม กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรการเรียนรู้ขันพ้ืนฐาน ้ พุทธศักราช ٢٥٤٤ สาระและ มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พลศึกษา , ٢٥٤٥. คณะกรรมการส่งเสริมกีฬาและการออกกำาลังกายเพ่ ือสุขภาพใน สถาบันการศึกษา และการพัฒนา องค์ความร้้ สำานั กงานกองทุนสนั บสนุนการสร้างเสริมสุข ภาพ . แบบทดสอบและเกณฑ์ มาตรฐานสมรรถภาพทางกายท่ีสัมพันธ์กับสุขภาพสำาหรับ เด็กไทย อายุ ١٨ – ٧ ปี , ٢٥٤٨ . ดร.วัฒนาพร ระงับทุกข์ . แผนการสอนท่ีเน้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง . กรุงเทพมหานคร: บ.แอล ที เพรส จำากัด , ٢٥٤٢. ดร.สมหมาย แตงสกุล และดร.ธารา วิมลวัตรเวที. สุขศึกษาและ พลศึกษา ม.٣ . กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิ ช, ٢٥٤٨. ดร.สุวิทย์ ม้ลคำาและคณะ.การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้ นการ คิด. กรุงเทพมหานคร: อี เค บุคส์ , ุ ٢٥٤٩. บริษัท สกายบุกส์ จำากัด. แอโรบิกแดนซ์ ฉบับปรับปรุงใหม่, กรุงเทพมหานคร: บริษัท สกายบุกส์ จำากัด. ٢٥٤٥. ผ้้ช่วยศาสตราจารย์พิชิต ภ้ติจันทร์ ผ้้ช่วยศาสตราจารย์เขมชาติ วิรยา ิ ภิรมย์ ผ้้ช่วยศาสตราจารย์ธงชัย วงศ์เสนา และคณะ . วิทยาศาสตร์การกีฬา. กรุงเทพมหานคร: บ. ต้นอ้อ ١٩٩٩ จำากัด , ٢٥٤٢. สถาบันพัฒนาความก้าวหน้ า กรุงเทพมหานคร. เอกสารประกอบการ อบรมหลักสูตรการพัฒนางาน นวัตกรรม (ด้านท่ี ٣) ให้เป็ นผลงานวิชาการท่ีมีคุณภาพ , ٢ ٥٥٠. สุวฒนา เอ่ียมอรพรรณ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ กมลพร บัณฑิตยา ั นนท์. แนวคิดและแนวปฏิบัติสำาหรับครู เพ่ ือรองรับเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู. ศ้นย์ตำาราและ เอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์
  • 37. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ٢٥٤٦. ศ้นย์พลศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา . เอกสารอัดสำาเนาจากการอบรม ผู้นำาชุมชนเป็ นผู้นำาการออกกำาลังกาย ร่นท่ี ٢ จังหวัดฉะเชิงเทรา , ٢٥٤٥. ุ