SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
ฟ้อนรำ�วง
สมมาน้ำ�คืนเพ็ญ
เส็งประทีป
จังหวัดร้อยเอ็ด
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม:	 เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด	
		 จังหวัดร้อยเอ็ด
ที่มาของกิจกรรม
	 เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด เป็นองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นแห่งหนึ่งในจังหวัดร้อยเอ็ด และเป็นองค์กรหลัก
ที่มีการจัดงานประเพณีต่างๆ เพื่อเป็นการอนุรักษ์และ
สืบสานวัฒนธรรมของชาวอีสานให้ลูกหลานได้เรียนรู้
ตำ�นานของชาวอีสานตั้งแต่อดีต หนึ่งในประเพณีนั้น
คือ ประเพณี “สมมาน้ำ�คืนเพ็ญ เส็งประทีป” ซึ่ง
กำ�หนดจัดขึ้นทุกปีเพื่อขอขมาโทษพระแม่คงคาผู้ให้
น้ำ�เพื่อดำ�รงชีวิต ซึ่งในรอบปีที่ผ่านมามนุษย์และสัตว์
ได้ใช้น้ำ�เพื่อบริโภคและได้ทำ�ความสกปรกมาตลอดปี
และยังมีความเชื่อของชาวอีสานอีกว่าการลอยประทีป
เป็นการบูชาพญานาค 15 ตระกูลที่ถือว่าเป็นผู้รักษา
แม่น้ำ�ค้ำ�แผ่นดิน รักษาบ้านเมืองมิให้ล่มสลายและ
เป็นผู้บันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล
	 การฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ญ เส็งประทีป
เป็นการเคลื่อนไหวร่างกายให้สอดรับกับจังหวะดนตรี
ที่บรรเลง คนฟ้อนต้องได้รับการฝึกฝนจนชำ�นาญ
ถือว่าเป็นการออกกำ�ลังกายอย่างหนึ่งซึ่งในปัจจุบันมี
เฉพาะผู้สูงอายุในชุมชนทั้ง 20 ชุมชน ในเขตเทศบาล
เมืองร้อยเอ็ดเท่านั้น ที่สนใจในการฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�
คืนเพ็ญ เส็งประทีป เป็นการฟ้อนรำ�ที่เน้นความอ่อน
ช้อย สวยงาม เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จึงเล็งเห็นความ
สำ�คัญถึงศิลปะวัฒนธรรมในท้องถิ่น ที่ควรจะอนุรักษ์
และสืบสานให้เยาวชนรุ่นหลังได้สืบทอดต่อไป อีกทั้ง
ยังใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์เพื่อให้เยาวชนในจังหวัด
ร้อยเอ็ดได้ห่างไกลยาเสพติด และยังช่วยให้มีร่างกาย
ที่แข็งแรง มีจิตใจที่อ่อนโยน
	 การออกกำ�ลังกายตามโครงสร้างสุขภาพด้วยการ
ฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ญ เส็งประทีป จะทำ�ให้มีการ
รวมกลุ่มของคนหลากหลายวัย เช่น กลุ่มเยาวชนหนุ่ม
สาว วัยกลางคน และกลุ่มผู้สูงอายุโดยการใช้การฟ้อน
รำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ญ เส็งประทีป เป็นตัวประสาน
การออกกำ�ลังกายโดยใช้เพลงประกอบเป็นการใช้เวลา
ว่างให้เกิดประโยชน์ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
	 ประสบการณ์ระหว่างวัย สร้างความรัก ความ
สามัคคีในหมู่ประชาชน และสืบทอดศิลปวัฒนธรรม
ของชาวอีสานให้คงอยู่ตลอดไป
แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม
	 กิจกรรมฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ง เส็งประทีป
เริ่มต้นจากการประชุมชี้แจงโครงการสร้างสุขภาพด้วย
การฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ง เส็งประทีป ให้กับผู้ที่
เกี่ยวข้องได้รับทราบก่อนที่จะดำ�เนินกิจกรรมในพื้นที่
ทั้งนี้เพื่อการเตรียมความพร้อม ความเข้าใจ และขอ
ความร่วมมือและคำ�แนะนำ�จากบุคคลกลุ่มดังกล่าว
ขั้นถัดมาได้เริ่มทำ�การประชาสัมพันธ์โครงการสร้าง
สุขภาพฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ง เส็งประทีปให้กับ
ประชาชนในพื้นที่ดำ�เนินการและพื้นที่ใกล้เคียงรับ
ทราบถึงการจัดกิจกรรมดังกล่าวในพื้นที่ หลังจากนั้น
ดำ�เนินการจัดประชุมเพื่อหาท่ารำ�วงแบบประยุกต์ฟ้อน
รำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็งเส็ง ประทีป โดยได้เชิญคณะ
กรรมการฝ่ายต่างๆ และบุคลากรที่มีความรู้เกี่ยวกับ
กิจกรรมเข้าร่วมประชุม
	 เมื่อได้ท่ารำ�ที่เป็นมาตรฐานในการนำ�ไปใช้ใน
การประกอบกิจกรรมส่งเสริมการออกกำ�ลังกายแล้ว
จึงได้มีการจัดประชุมเผยแพร่ท่าฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�
คืนเพ็ง เส็งประทีป และได้อบรมเพื่อสร้างแกนนำ�
ถ่ายทอดความรู้ให้กับแต่ละชุมชน โดยมีกำ�หนดเวลา
การประกอบกิจกรรมประมาณสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทั้งนี้
ระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ของแกนนำ� จะมีวิทยากรจาก
เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดเป็นที่ปรึกษาในกรณีที่มีข้อสงสัย
หรือปัญหาในการดำ�เนินกิจกรรมเกิดขึ้น และเมื่อทุก
ชุมชนมีความพร้อมในการนำ�เสนอการแสดง จึงได้มี
การจัดรวมหมู่ฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ง เส็งประทีป
ของประชาชนทั้ง 20 ชุมชน เพื่อเปิดโอกาสให้ทุกพื้น
ทีได้นำ�เสนอความงามจากการฝึกฝนของตน รวมทั้ง
เป็นการประชาสัมพันธ์เพื่อสืบสานวัฒนธรรมให้คง
อยู่สืบไป
ฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ญ เส็งประทีป
เป้าหมาย :
	 1.	เพื่อนำ�เอาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้
		 ให้เกิดประโยชน์ด้านสุขภาพ
	 2.	เพื่อให้เกิดการกระตุ้นเผยแพร่การออกกำ�ลังกาย
		 แนวใหม่สู่ชุมชน
	 3.	เพื่อให้เกิดการยอมรับ ความร่วมมือ ความสามัคคี
		 ของคนในชุมชนและสามารถนำ�ไปใช้ได้อย่าง
		ยั่งยืน
	 4.	จัดให้มีกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพที่เป็น
		 ประโยชน์และสอดคล้องกับวัฒนธรรม
		 ประเพณีท้องถิ่น
ประโยชน์	
	 1.	ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
	 2.	เกิดการถ่ายทอดและการออกกำ�ลังกายแนวใหม่
		 ของท้องถิ่น
	 3.	ประชาชนมีการจัดกิจกรรมด้านส่งเสริมสุข
		 ภาพและกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ด้านสุขภาพที่
		 สอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ตลอด
		 จนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม
		 ประเพณีท้องถิ่น
ระยะเวลาที่ใช้ : ประมาณ 20 นาที
คุณสมบัติของผู้เล่น :	 เด็ก เยาวชน ประชาชน
				 ทั่วไป และผู้สูงอายุ
จำ�นวนผู้เล่น :	ไม่จำ�กัดจำ�นวน
กติกา : -
อุปกรณ์ที่ใช้ :
	 1. เครื่องแต่งกายพื้นเมืองประยุกต์
แผ่นวีซีดีเพลงรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ญ เส็งประทีป
ขั้นตอนการออกกำ�ลังกาย
	 1. จับคู่ชาย-หญิง การรำ�ให้รำ�เป็นคู่ เดินใน
ลักษณะวงกลม วนทางด้านใดด้านหนึ่ง ไปในทิศทาง
เดียวกัน
	 2. เริ่มต้นการออกกำ�ลังกาย ชาย-หญิง หันหน้า
เข้าหากันพนมมือไหว้เพื่อแสดงความเคารพต่อกัน
	 3. ท่าเดินโยกตัว เริ่มต้นเดินด้วยการก้าวเท้าไป
ข้างหน้าพร้อมกับคู่ของตนเอง ย่ำ�เท้าตามจังหวะดนตรี
ให้จังหวะตกที่เท้าขวา กำ�มือทั้งสองข้างหลวมๆ แกว่ง
แขนสลับซ้าย ขวา และเอียงศีรษะตัวไปตามจังหวะ
การย่ำ�เท้า พร้อมโยกตัวไปตามจังหวะเพลงและขา
ข้างที่ก้าวไปข้างหน้า
	
4. ท่ารำ�วงลาว ย่ำ�เท้าซ้าย-ขวา-ซ้าย นับเป็น 1 จังหวะ
ต่อเนื่องตามจังหวะดนตรี มือขวาจีบคว่ำ�ปล่อยจีบออก
แบหงายให้ปลายนิ้วชี้ไปด้านข้าง มือซ้ายตั้งวงระดับ
อกเคลื่อนมือมาจีบคว่ำ�ใกล้กับลำ�แขนด้านขวา ขยับ
มือเข้าออก ศีรษะเอียงขวา หน้ามองซึ่งกันและกัน
73
5. ท่าไหว้สมมาน้ำ� ย่ำ�เท้าต่อเนื่องตามจังหวะดนตรี มือ
ทั้งสองพนมมือไหว้ระดับไหล่ยื่นออกมาข้างหน้าเล็กน้อย
ด้านขวามือ ศีรษะเอียงขวา ปฏิบัติท่ารำ� ตรงกันข้าม
สลับกัน
	
6. ท่าลอยกระทง ย่ำ�เท้าต่อเนื่องตามจังหวะดนตรี ก้มตัว
ลงเล็กน้อย มือทั้งสองแบมือหงายระดับเอวขยับมือขึ้น-ลง
4 จังหวะ ตามจังหวะดนตรี ศีรษะเอียงซ้าย ปฏิบัติท่ารำ�
ตรงกันข้ามสลับกัน
	 	 7. ท่าฟ้อนกลองยาวร้อยเอ็ด ย่ำ�เท้าซ้าย-ขวา-ซ้าย
เตะเท้าขวาไปข้างหน้า มือขวาจีบหงายระดับหน้า ม้วนมือ
ออกตั้งวงหน้าพร้อมกับการเตะเท้าขวา มือซ้ายท้าวสะเอว
ศีรษะเอียงขวา ปฏิบัติท่ารำ� ตรงกันข้ามสลับกัน
	 8. ท่ายักมือยักเอว เดินย่ำ�เท้าตามจังหวะดนตรี ให้
จังหวะตกที่เท้าขวา มือทั้งสองแบมือคว่ำ�ฝ่ามือลง จากนั้น
ขยับข้อมือขึ้นตั้งวงข้างลำ�ตัวด้านขวา 4 ครั้ง ตามจังหวะ
เท้า ศีรษะเอียงขวา ปฏิบัติท่ารำ� ตรงกันข้ามสลับกัน
74
9. ท่ารำ�วงลาว ย่ำ�เท้าซ้าย-ขวา-ซ้าย และขวา
นับเป็น 1 จังหวะ ต่อเนื่องตามจังหวะดนตรีมือขวาจีบ
คว่ำ�ปล่อยจีบออกแบหงายให้ปลายนิ้วชี้ไปด้านข้าง มือ
ซ้ายตั้งวงระดับอก เคลื่อนมือมาจีบคว่ำ�ใกล้กับลำ�แขนด้าน
ขวา ขยับมือเข้าออก ศีรษะเอียงขวา หน้ามองซึ่งกันและ
กัน ชายรำ�ต้อนหญิงซ้าย ขวา
	 10. ท่าไหว้สมมาน้ำ� ย่ำ�เท้าต่อเนื่องตามจังหวะ
ดนตรี มือทั้งสองพนมมือไหว้ระดับไหล่ยื่นออกมาข้างหน้า
เล็กน้อย ด้านขวามือ ศีรษะเอียงขวา ปฏิบัติท่ารำ� ตรง
กันข้ามสลับกัน
	 11. ท่าลอยกระทง ย่ำ�เท้าต่อเนื่องตามจังหวะ
ดนตรี ก้มตัวลงเล็กน้อย มือทั้งสองแบมือหงายระดับ
เอวขยับมือขึ้น-ลง 4 จังหวะ ตามจังหวะดนตรี ศีรษะ
เอียงซ้าย ปฏิบัติท่ารำ� ตรงกันข้ามสลับกัน
75
12. ท่าถองเอว ย่ำ�เท้าซ้าย-ขวา วางเท้าซ้าย ม้วน
มือทั้งสองเข้าหาลำ�ตัวตามจังหวะการย่ำ�เท้า ยกเท้าขวา
ขึ้นไปข้างหน้า มือทั้งสองกำ�มือหลวม ดึงลำ�แขนเข้าหา
ลำ�ตัวระดับเอวศีรษะเอียงขวา ปฏิบัติท่ารำ� ตรงกันข้าม
สลับกัน
	 13. ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง
	 ชาย - ย่ำ�เท้าต่อเนื่องตามจังหวะดนตรี ปฏิบัติท่าสอด
สร้อยมาลาแปลง มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายจีบหงายระดับ
หัวเข็มขัด ศีรษะเอียงซ้าย ยืนเยื้องไปทางซ้ายของผู้แสดง
หญิง
	 หญิง - ย่ำ�เท้าต่อเนื่องตามจังหวะดนตรี ปฏิบัติท่าสอด
สร้อยมาลาแปลง มือขวาตั้งวงบนมือซ้าย จีบหงายระดับ
หัวเข็มขัด ศีรษะเอียงซ้าย หันหน้ามองซึ่งกันและกัน
ปฏิบัติท่ารำ� ตรงกันข้ามสลับกันจนจบ
	 14. ท่าไหว้จบการออกกำ�ลังกาย หันหน้าเข้าหากัน พนม
มือไหว้ระดับอก
76

Act10

  • 2. พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม: เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ที่มาของกิจกรรม เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด เป็นองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นแห่งหนึ่งในจังหวัดร้อยเอ็ด และเป็นองค์กรหลัก ที่มีการจัดงานประเพณีต่างๆ เพื่อเป็นการอนุรักษ์และ สืบสานวัฒนธรรมของชาวอีสานให้ลูกหลานได้เรียนรู้ ตำ�นานของชาวอีสานตั้งแต่อดีต หนึ่งในประเพณีนั้น คือ ประเพณี “สมมาน้ำ�คืนเพ็ญ เส็งประทีป” ซึ่ง กำ�หนดจัดขึ้นทุกปีเพื่อขอขมาโทษพระแม่คงคาผู้ให้ น้ำ�เพื่อดำ�รงชีวิต ซึ่งในรอบปีที่ผ่านมามนุษย์และสัตว์ ได้ใช้น้ำ�เพื่อบริโภคและได้ทำ�ความสกปรกมาตลอดปี และยังมีความเชื่อของชาวอีสานอีกว่าการลอยประทีป เป็นการบูชาพญานาค 15 ตระกูลที่ถือว่าเป็นผู้รักษา แม่น้ำ�ค้ำ�แผ่นดิน รักษาบ้านเมืองมิให้ล่มสลายและ เป็นผู้บันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล การฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ญ เส็งประทีป เป็นการเคลื่อนไหวร่างกายให้สอดรับกับจังหวะดนตรี ที่บรรเลง คนฟ้อนต้องได้รับการฝึกฝนจนชำ�นาญ ถือว่าเป็นการออกกำ�ลังกายอย่างหนึ่งซึ่งในปัจจุบันมี เฉพาะผู้สูงอายุในชุมชนทั้ง 20 ชุมชน ในเขตเทศบาล เมืองร้อยเอ็ดเท่านั้น ที่สนใจในการฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ� คืนเพ็ญ เส็งประทีป เป็นการฟ้อนรำ�ที่เน้นความอ่อน ช้อย สวยงาม เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จึงเล็งเห็นความ สำ�คัญถึงศิลปะวัฒนธรรมในท้องถิ่น ที่ควรจะอนุรักษ์ และสืบสานให้เยาวชนรุ่นหลังได้สืบทอดต่อไป อีกทั้ง ยังใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์เพื่อให้เยาวชนในจังหวัด ร้อยเอ็ดได้ห่างไกลยาเสพติด และยังช่วยให้มีร่างกาย ที่แข็งแรง มีจิตใจที่อ่อนโยน การออกกำ�ลังกายตามโครงสร้างสุขภาพด้วยการ ฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ญ เส็งประทีป จะทำ�ให้มีการ รวมกลุ่มของคนหลากหลายวัย เช่น กลุ่มเยาวชนหนุ่ม สาว วัยกลางคน และกลุ่มผู้สูงอายุโดยการใช้การฟ้อน รำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ญ เส็งประทีป เป็นตัวประสาน การออกกำ�ลังกายโดยใช้เพลงประกอบเป็นการใช้เวลา ว่างให้เกิดประโยชน์ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ระหว่างวัย สร้างความรัก ความ สามัคคีในหมู่ประชาชน และสืบทอดศิลปวัฒนธรรม ของชาวอีสานให้คงอยู่ตลอดไป แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม กิจกรรมฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ง เส็งประทีป เริ่มต้นจากการประชุมชี้แจงโครงการสร้างสุขภาพด้วย การฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ง เส็งประทีป ให้กับผู้ที่ เกี่ยวข้องได้รับทราบก่อนที่จะดำ�เนินกิจกรรมในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อการเตรียมความพร้อม ความเข้าใจ และขอ ความร่วมมือและคำ�แนะนำ�จากบุคคลกลุ่มดังกล่าว ขั้นถัดมาได้เริ่มทำ�การประชาสัมพันธ์โครงการสร้าง สุขภาพฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ง เส็งประทีปให้กับ ประชาชนในพื้นที่ดำ�เนินการและพื้นที่ใกล้เคียงรับ ทราบถึงการจัดกิจกรรมดังกล่าวในพื้นที่ หลังจากนั้น ดำ�เนินการจัดประชุมเพื่อหาท่ารำ�วงแบบประยุกต์ฟ้อน รำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็งเส็ง ประทีป โดยได้เชิญคณะ กรรมการฝ่ายต่างๆ และบุคลากรที่มีความรู้เกี่ยวกับ กิจกรรมเข้าร่วมประชุม เมื่อได้ท่ารำ�ที่เป็นมาตรฐานในการนำ�ไปใช้ใน การประกอบกิจกรรมส่งเสริมการออกกำ�ลังกายแล้ว จึงได้มีการจัดประชุมเผยแพร่ท่าฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ� คืนเพ็ง เส็งประทีป และได้อบรมเพื่อสร้างแกนนำ� ถ่ายทอดความรู้ให้กับแต่ละชุมชน โดยมีกำ�หนดเวลา การประกอบกิจกรรมประมาณสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ ระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ของแกนนำ� จะมีวิทยากรจาก เทศบาลเมืองร้อยเอ็ดเป็นที่ปรึกษาในกรณีที่มีข้อสงสัย หรือปัญหาในการดำ�เนินกิจกรรมเกิดขึ้น และเมื่อทุก ชุมชนมีความพร้อมในการนำ�เสนอการแสดง จึงได้มี การจัดรวมหมู่ฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ง เส็งประทีป ของประชาชนทั้ง 20 ชุมชน เพื่อเปิดโอกาสให้ทุกพื้น ทีได้นำ�เสนอความงามจากการฝึกฝนของตน รวมทั้ง เป็นการประชาสัมพันธ์เพื่อสืบสานวัฒนธรรมให้คง อยู่สืบไป ฟ้อนรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ญ เส็งประทีป
  • 3. เป้าหมาย : 1. เพื่อนำ�เอาศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ ให้เกิดประโยชน์ด้านสุขภาพ 2. เพื่อให้เกิดการกระตุ้นเผยแพร่การออกกำ�ลังกาย แนวใหม่สู่ชุมชน 3. เพื่อให้เกิดการยอมรับ ความร่วมมือ ความสามัคคี ของคนในชุมชนและสามารถนำ�ไปใช้ได้อย่าง ยั่งยืน 4. จัดให้มีกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพที่เป็น ประโยชน์และสอดคล้องกับวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ประโยชน์ 1. ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง 2. เกิดการถ่ายทอดและการออกกำ�ลังกายแนวใหม่ ของท้องถิ่น 3. ประชาชนมีการจัดกิจกรรมด้านส่งเสริมสุข ภาพและกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ด้านสุขภาพที่ สอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ตลอด จนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น ระยะเวลาที่ใช้ : ประมาณ 20 นาที คุณสมบัติของผู้เล่น : เด็ก เยาวชน ประชาชน ทั่วไป และผู้สูงอายุ จำ�นวนผู้เล่น : ไม่จำ�กัดจำ�นวน กติกา : - อุปกรณ์ที่ใช้ : 1. เครื่องแต่งกายพื้นเมืองประยุกต์ แผ่นวีซีดีเพลงรำ�วงสมมาน้ำ�คืนเพ็ญ เส็งประทีป ขั้นตอนการออกกำ�ลังกาย 1. จับคู่ชาย-หญิง การรำ�ให้รำ�เป็นคู่ เดินใน ลักษณะวงกลม วนทางด้านใดด้านหนึ่ง ไปในทิศทาง เดียวกัน 2. เริ่มต้นการออกกำ�ลังกาย ชาย-หญิง หันหน้า เข้าหากันพนมมือไหว้เพื่อแสดงความเคารพต่อกัน 3. ท่าเดินโยกตัว เริ่มต้นเดินด้วยการก้าวเท้าไป ข้างหน้าพร้อมกับคู่ของตนเอง ย่ำ�เท้าตามจังหวะดนตรี ให้จังหวะตกที่เท้าขวา กำ�มือทั้งสองข้างหลวมๆ แกว่ง แขนสลับซ้าย ขวา และเอียงศีรษะตัวไปตามจังหวะ การย่ำ�เท้า พร้อมโยกตัวไปตามจังหวะเพลงและขา ข้างที่ก้าวไปข้างหน้า 4. ท่ารำ�วงลาว ย่ำ�เท้าซ้าย-ขวา-ซ้าย นับเป็น 1 จังหวะ ต่อเนื่องตามจังหวะดนตรี มือขวาจีบคว่ำ�ปล่อยจีบออก แบหงายให้ปลายนิ้วชี้ไปด้านข้าง มือซ้ายตั้งวงระดับ อกเคลื่อนมือมาจีบคว่ำ�ใกล้กับลำ�แขนด้านขวา ขยับ มือเข้าออก ศีรษะเอียงขวา หน้ามองซึ่งกันและกัน 73
  • 4. 5. ท่าไหว้สมมาน้ำ� ย่ำ�เท้าต่อเนื่องตามจังหวะดนตรี มือ ทั้งสองพนมมือไหว้ระดับไหล่ยื่นออกมาข้างหน้าเล็กน้อย ด้านขวามือ ศีรษะเอียงขวา ปฏิบัติท่ารำ� ตรงกันข้าม สลับกัน 6. ท่าลอยกระทง ย่ำ�เท้าต่อเนื่องตามจังหวะดนตรี ก้มตัว ลงเล็กน้อย มือทั้งสองแบมือหงายระดับเอวขยับมือขึ้น-ลง 4 จังหวะ ตามจังหวะดนตรี ศีรษะเอียงซ้าย ปฏิบัติท่ารำ� ตรงกันข้ามสลับกัน 7. ท่าฟ้อนกลองยาวร้อยเอ็ด ย่ำ�เท้าซ้าย-ขวา-ซ้าย เตะเท้าขวาไปข้างหน้า มือขวาจีบหงายระดับหน้า ม้วนมือ ออกตั้งวงหน้าพร้อมกับการเตะเท้าขวา มือซ้ายท้าวสะเอว ศีรษะเอียงขวา ปฏิบัติท่ารำ� ตรงกันข้ามสลับกัน 8. ท่ายักมือยักเอว เดินย่ำ�เท้าตามจังหวะดนตรี ให้ จังหวะตกที่เท้าขวา มือทั้งสองแบมือคว่ำ�ฝ่ามือลง จากนั้น ขยับข้อมือขึ้นตั้งวงข้างลำ�ตัวด้านขวา 4 ครั้ง ตามจังหวะ เท้า ศีรษะเอียงขวา ปฏิบัติท่ารำ� ตรงกันข้ามสลับกัน 74
  • 5. 9. ท่ารำ�วงลาว ย่ำ�เท้าซ้าย-ขวา-ซ้าย และขวา นับเป็น 1 จังหวะ ต่อเนื่องตามจังหวะดนตรีมือขวาจีบ คว่ำ�ปล่อยจีบออกแบหงายให้ปลายนิ้วชี้ไปด้านข้าง มือ ซ้ายตั้งวงระดับอก เคลื่อนมือมาจีบคว่ำ�ใกล้กับลำ�แขนด้าน ขวา ขยับมือเข้าออก ศีรษะเอียงขวา หน้ามองซึ่งกันและ กัน ชายรำ�ต้อนหญิงซ้าย ขวา 10. ท่าไหว้สมมาน้ำ� ย่ำ�เท้าต่อเนื่องตามจังหวะ ดนตรี มือทั้งสองพนมมือไหว้ระดับไหล่ยื่นออกมาข้างหน้า เล็กน้อย ด้านขวามือ ศีรษะเอียงขวา ปฏิบัติท่ารำ� ตรง กันข้ามสลับกัน 11. ท่าลอยกระทง ย่ำ�เท้าต่อเนื่องตามจังหวะ ดนตรี ก้มตัวลงเล็กน้อย มือทั้งสองแบมือหงายระดับ เอวขยับมือขึ้น-ลง 4 จังหวะ ตามจังหวะดนตรี ศีรษะ เอียงซ้าย ปฏิบัติท่ารำ� ตรงกันข้ามสลับกัน 75
  • 6. 12. ท่าถองเอว ย่ำ�เท้าซ้าย-ขวา วางเท้าซ้าย ม้วน มือทั้งสองเข้าหาลำ�ตัวตามจังหวะการย่ำ�เท้า ยกเท้าขวา ขึ้นไปข้างหน้า มือทั้งสองกำ�มือหลวม ดึงลำ�แขนเข้าหา ลำ�ตัวระดับเอวศีรษะเอียงขวา ปฏิบัติท่ารำ� ตรงกันข้าม สลับกัน 13. ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง ชาย - ย่ำ�เท้าต่อเนื่องตามจังหวะดนตรี ปฏิบัติท่าสอด สร้อยมาลาแปลง มือขวาตั้งวงบน มือซ้ายจีบหงายระดับ หัวเข็มขัด ศีรษะเอียงซ้าย ยืนเยื้องไปทางซ้ายของผู้แสดง หญิง หญิง - ย่ำ�เท้าต่อเนื่องตามจังหวะดนตรี ปฏิบัติท่าสอด สร้อยมาลาแปลง มือขวาตั้งวงบนมือซ้าย จีบหงายระดับ หัวเข็มขัด ศีรษะเอียงซ้าย หันหน้ามองซึ่งกันและกัน ปฏิบัติท่ารำ� ตรงกันข้ามสลับกันจนจบ 14. ท่าไหว้จบการออกกำ�ลังกาย หันหน้าเข้าหากัน พนม มือไหว้ระดับอก 76