SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
Download to read offline
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ เล่มที่
1
โรงเรียนพรหมคีรีพิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12
ภิรมโรจน์ เพชรโกมล
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา ว 21101
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ก
คำนำ
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 ได้กาหนดให้มีการจัดการเรียนรู้
โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และกาหนดให้สถานศึกษาส่งเสริมการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
มีประสิทธิภาพ ดังนั้นการจัดการเรียนรู้จึงเป็นหน้าที่ของครูผู้สอนที่จะต้องพัฒนากระบวน
การเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนเป็นคนมีคุณภาพตามที่สังคมต้องการโดยใช้วิธีการพัฒนา
อย่างหลากหลาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1
กล้องจุลทรรศน์ เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาการศึกษา เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนร่วมกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีความสุข มีความ
กระตือรือร้น และสนใจเรียนมากขึ้น ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงจัดทาเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วย
ของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับส่วนประกอบ
ของกล้องจุลทรรศน์ การใช้กล้องจุลทรรศน์อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียน เรื่องหน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารง
ชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ จะอานวยประโยชน์ในการดาเนินการพัฒนาการเรียนการสอน
รายวิชาวิทยาศาสตร์ 1 และเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรวมทั้งผู้สนใจอื่น ๆ ตามสมควร
ภิรมโรจน์ เพชรโกมล
ผู้จัดทา
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ข
สำรบัญ
หน้า
คานา------------------------------------------------------------------------------------------------------- ก
สารบัญ---------------------------------------------------------------------------------------------------- ข
สารบัญภาพ----------------------------------------------------------------------------------------------- ง
คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน----------------------------------------------------------- จ
ผังมโนทัศน์เอกสารประกอบการเรียน---------------------------------------------------------------- ฉ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องหน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช
เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์--------------------------------------------------------------------------------- 1
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง กล้องจุลทรรศน์-------------------------------------------------------- 2
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด---------------------------------------------------------------------------- 5
จุดประสงค์การเรียนรู้----------------------------------------------------------------------------------- 6
แนวคิดหลัก----------------------------------------------------------------------------------------------- 7
สาระการเรียนรู้------------------------------------------------------------------------------------------- 8
1. ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์----------------------------------------------------------------- 8
1.1 ส่วนที่เป็นตัวกล้อง------------------------------------------------------------------------------- 8
1.2 ส่วนที่ทาหน้าที่รับแสง-------------------------------------------------------------------------- 8
1.3 ส่วนที่ทาหน้าที่ปรับภาพ------------------------------------------------------------------------ 9
1.4 ส่วนที่ทาหน้าที่ขยาย----------------------------------------------------------------------------- 9
2. การใช้กล้องจุลทรรศน์อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย--------------------------------------- 11
2.1 ลาดับขั้นตอนการใช้กล้องจุลทรรศน์---------------------------------------------------------- 11
2.2 วิธีคานวณหากาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์------------------------------------------------- 16
2.3 การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์----------------------------------------------------------------- 18
บทสรุป---------------------------------------------------------------------------------------------------- 19
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ค
สำรบัญ
หน้า
กิจกรรม---------------------------------------------------------------------------------------------------- 20
กิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์--------------------------------------------- 21
กิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การใช้กล้องจุลทรรศน์----------------------------------------------------------- 27
แบบฝึกหัด เรื่อง กล้องจุลทรรศน์---------------------------------------------------------------------- 37
แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม-------------------------------------------------------------------------------------- 39
เรียนรู้คาศัพท์ที่ควรรู้จัก เรื่อง กล้องจุลทรรศน์------------------------------------------------------- 41
ผังมโนทัศน์/ผังความคิด เรื่อง กล้องจุลทรรศน์------------------------------------------------------- 42
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กล้องจุลทรรศน์-------------------------------------------------------- 43
บรรณานุกรม--------------------------------------------------------------------------------------------- 46
เฉลยกิจกรรม--------------------------------------------------------------------------------------------- 48
เฉลยกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์--------------------------------------- 49
เฉลยกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การใช้กล้องจุลทรรศน์----------------------------------------------------- 54
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง กล้องจุลทรรศน์---------------------------------------------------------------- 63
(ต่อ)
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ง
สำรบัญภำพ
หน้า
ภาพที่ 1.1 ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง------------------------------------------ 10
ภาพที่ 1.2 การวางกล้องจุลทรรศน์บนพื้นราบ------------------------------------------------------- 11
ภาพที่ 1.3 การหาสนามภาพ---------------------------------------------------------------------------- 12
ภาพที่ 1.4 การหยดน้าบนสไลด์------------------------------------------------------------------------ 13
ภาพที่ 1.5 การใช้เข็มเขี่ยรองรับสไลด์----------------------------------------------------------------- 13
ภาพที่ 1.6 การวางสไลด์-------------------------------------------------------------------------------- 14
ภาพที่ 1.7 การหมุนปุ่มปรับภาพหยาบจนเลนส์ใกล้วัตถุเลื่อนลงต่าที่สุด------------------------- 14
ภาพที่ 1.8 การหาภาพโดยใช้ปุ่มปรับภาพหยาบ----------------------------------------------------- 15
ภาพที่ 1.9 การปรับภาพให้คมชัดโดยใช้ปุ่มปรับภาพละเอียด-------------------------------------- 15
ภาพที่ 1.10 การเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์----------------------------------------------------------- 18
ภาพที่ 1.11 การชี้บ่งส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์--------------------------------------------- 23
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ จ
คำแนะนำกำรใช้เอกสำรประกอบกำรเรียน
ในการนาเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช
เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนควรปฏิบัติดังนี้
1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ จานวน 10 ข้อ เพื่อประเมินความรู้
พื้นฐานของนักเรียน
2. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมศึกษาคาแนะนา
ในการใช้เอกสารประกอบการเรียนให้เข้าใจชัดเจน
3. ศึกษาแนวคิดหลัก เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ
กล้องจุลทรรศน์
4. แต่ละกลุ่มศึกษาสาระการเรียนรู้/เนื้อหาจากเอกสารประกอบการเรียนอย่างละเอียด
และศึกษาคาชี้แจงของกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เข้าใจชัดเจนและทากิจกรรมจนครบ ทุกขั้นตอน
ของทุกกิจกรรม พร้อมมีเฉลย ให้แลกเปลี่ยนกันตรวจกับเพื่อน ประธานกลุ่มรวมคะแนนของ
สมาชิก หาค่าเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่ม และนาส่งครูเพื่อบันทึกคะแนนและตรวจสอบความ
ถูกต้องเป็นรายบุคคลอีกครั้ง
5. การทากิจกรรม นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิดดูเฉลยก่อนเพราะ
จะทาให้นักเรียนมีความรู้ที่ไม่แท้จริง
6. นักเรียนจับคู่กับเพื่อนในกลุ่มทาแบบฝึกหัด เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ เพื่อขยายความรู้
และทบทวนบทเรียนก่อนสอบหลังเรียน พร้อมมีเฉลย ให้แลกเปลี่ยนกันตรวจกับเพื่อน
7. นักเรียนศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมโดยการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม หน้า 40
8. นักเรียนจับคู่กับเพื่อนในกลุ่มร่วมกันเรียนรู้คาศัพท์ที่ควรรู้จักเพื่อเพิ่มพูนความรู้
คาศัพท์วิทยาศาสตร์/คาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับกล้องจุลทรรศน์
9. แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับกล้องจุลทรรศน์ในรูปแบบ
ของผังมโนทัศน์/ผังความคิด แล้วจัดทาเป็นผลงานกลุ่มและรายบุคคลตามรายละเอียดของกิจกรรม
10. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ จานวน 10 ข้อ เพื่อประเมิน
การพัฒนาของนักเรียนเป็นรายบุคคลในสาระสาคัญของเล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ฉ
ผังมโนทัศน์เอกสารประกอบการเรียน
เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช
รายวิชาวิทยาศาสตร์1 รหัสวิชา ว21101 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เล่มที่ 1
กล้องจุลทรรศน์
เล่มที่ 2
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เล่มที่ 4
กำรลำเลียงในพืช
เล่มที่ 5
กำรสังเครำะห์ด้วยแสง
เล่มที่ 6
กำรสืบพันธุ์และ
เทคโนโลยีชีวภำพ
ที่เกี่ยวกับพืช
เล่มที่ 7
กำรเจริญเติบโตและ
กำรตอบสนองของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
และการดารงชีวิต
ของพืช
เล่มที่ 3
กระบวนกำร
สำรผ่ำนเซลล์
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 1
เอกสารประกอบการเรียน
เรื่องหน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช
รายวิชาวิทยาศาสตร์1 รหัสวิชา ว21101 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 2
แบบทดสอบก่อนเรียน
คาชี้แจง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย x
ในกระดาษคาตอบ
1. การใช้กล้องจุลทรรศน์ต้องวางกล้องไว้ในพื้นที่แบบใด
ก. พื้นเอียงที่แห้งและสะอาด
ข. พื้นเรียบที่แห้งและสะอาด
ค. พื้นขรุขระที่แห้งและสะอาด
ง. พื้นแบบใดก็ได้
2. การดูภาพครั้งแรกต้องเลือกใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายเท่าไร
ก. 4x
ข. 10x
ค. 40x
ง. 100x
3. ถ้าแสงผ่านเข้าลากล้องไม่พอ นักเรียนต้องทาอย่างไร
ก. ปรับที่ปุ่มปรับภาพ
ข. ปรับที่ปุ่มไดอะแฟรม
ค. ยกตัวกล้องไปที่มีแสงมากพอ
ง. เปลี่ยนกาลังขยายของเลนส์ให้สูงขึ้น
4. ถ้าต้องการเห็นภาพที่มีขนาดใหญ่ขึ้นต้องทาอย่างไร
ก. ปรับที่ปุ่มไดอะแฟรม
ข. เพิ่มกาลังขยายของเลนส์
ค. ปรับที่ปุ่มปรับภาพหยาบ
ง. ปรับที่ปุ่มปรับภาพละเอียด
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 3
5. การใช้และดูแลรักษากล้องจุลทรรศน์ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. สไลด์และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียก
ข. การยกกล้อง ใช้มือหนึ่งจับที่แขน อีกมือหนึ่งรองรับที่ฐาน
ค. การหาภาพต้องเริ่มต้นด้วยเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายต่าสุด
ง. เมื่อเพิ่มกาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุให้ปรับที่ปุ่มปรับภาพหยาบ
6. กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ คานวณได้จากข้อใด
ก. กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา
ข. กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา
ค. กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา
ง. กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา
7. ถ้านักเรียนจะศึกษารายละเอียดของเซลล์ นักเรียนจะเลือกใช้อุปกรณ์ในข้อใด
ก. แว่นขยาย
ข. กล้องถ่ายรูป
ค. กล้องจุลทรรศน์
ง. กล้องโทรทรรศน์
8. ถ้าใช้เลนส์ใกล้วัตถุขนาด 40x และเลนส์ใกล้ตา 10x เราจะเห็นภาพของวัตถุที่ศึกษา
ขนาดเป็นกี่เท่า
ก. 10 เท่า
ข. 40 เท่า
ค. 50 เท่า
ง. 400 เท่า
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 4
9. ลาดับขั้นตอนในการใช้กล้องจุลทรรศน์เป็นไปตามข้อใด
S = ใช้เลนส์ใกล้วัตถุกาลังขยายต่า T = จัดแสงให้เข้าลากล้อง
A = วางสไลด์บนแท่นวางวัตถุ P = ใช้เลนส์ใกล้วัตถุกาลังขยายสูง
U = ใช้ปุ่มปรับภาพละเอียด N = ใช้ปุ่มปรับภาพหยาบ
D = ตามองผ่านเลนส์ใกล้ตา
ก. S T A N D N U P U
ข. S T A N D N U P N
ค. T S D A N U P N U
ง. N T S D N U P U N
10.
ก. , ซ้ายมือ ข. , ขวามือ
ค. , ซ้ายมือ ง. , ขวามือ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวชนิดหนึ่ง
บนสไลด์ของนักเรียนต้องเป็นอย่างไร
จึงจะมองเห็นได้ดังรูป และนักเรียนต้อง
เลื่อนสไลด์ไปทางใด สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
ดังกล่าว จึงจะมาอยู่ที่ตาแหน่ง X
เป็นอย่างไรบ้างคะ ทาแบบทดสอบกันได้
หรือเปล่าเอ่ย ถ้าทาคะแนนได้น้อย
ไม่ต้องคิดมากนะคะ ลองศึกษาจากเอกสาร
ประกอบการเรียน แล้วกลับมาทากันใหม่
ในแบบทดสอบหลังเรียนนะคะ
.X
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 5
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะ
หาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน
สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่า
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด ว 8.1
1. ม.1/1 ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจ ตรวจสอบ หรือ
ศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
2. ม.1/2 สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบ
หลาย ๆ วิธี
3. ม.1/3 เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้ผล
เที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม
4. ม.1/4 รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
5. ม.1/8 บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้า เพิ่มเติมจาก
แหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้และยอมรับ การเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบ
เมื่อมีข้อมูล และประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 6
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายส่วนประกอบ วิธีการใช้และการระวังรักษากล้องจุลทรรศน์ได้
2. ใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษาวัตถุและบันทึกสิ่งที่สังเกตเห็นได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 7
กล้องจุลทรรศน์ (microscope) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถใช้ศึกษารายละเอียดของสิ่งมีชีวิต
ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า กล้องจุลทรรศน์ มีส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ทาหน้าที่แตกต่างกัน ได้แก่
ฐาน แขน แท่นวางวัตถุ ที่หนีบสไลด์ ลากล้อง เลนส์ใกล้ตา เลนส์ใกล้วัตถุ แหล่งกาเนิดแสง
ปุ่มปรับภาพหยาบ ปุ่มปรับภาพละเอียด ไดอะแฟรม กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่มีราคาสูง และ
มีความซับซ้อนในการใช้งาน ผู้ใช้ต้องใช้และระวังรักษาอย่างถูกวิธี การปรับภาพให้เห็นชัดเจน
สามารถทาได้โดยการปรับระยะห่างระหว่างเลนส์ใกล้วัตถุและวัตถุ โดยภาพที่เห็นจะเป็ น
ภาพเสมือนหัวกลับกับวัตถุ กลับซ้ายเป็นขวา และกลับขวาเป็นซ้าย มีขนาดขยาย ดังนั้น ถ้าต้องการ
ให้ภาพเลื่อนไปในทิศทางใด จะต้องเลื่อนสไลด์ไปในทิศทางตรงกันข้ามเสมอ กาลังขยายของ
เลนส์ใกล้ตาและเลนส์ใกล้วัตถุเป็นตัวกาหนดกาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์
แนวคิดหลัก
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 8
สาระการเรียนรู้
มนุษย์มีขอบเขตจากัดในการมองเห็นวัตถุต่าง ๆ ดังนั้น มนุษย์จึงต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ใน
การศึกษาวัตถุหรือโครงสร้างของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นด้วย
ตาเปล่า กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้อยู่มี 2 ประเภท คือ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง และกล้องจุลทรรศน์
อิเล็กตรอน แต่ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
(light microscope) ซึ่งมีส่วนประกอบและการทางาน ดังนี้
1.1 ส่วนที่เป็นตัวกล้อง
1.1.1 ฐาน (base) เป็นส่วนที่ใช้วางบนโต๊ะ และรองรับน้าหนักของตัวกล้อง
1.1.2 แขน (arm) เป็นส่วนที่เชื่อมระหว่างตัวกล้องกับฐาน
1.1.3 แท่นวางวัตถุ (stage) เป็นแท่นสาหรับวางวัตถุหรือสไลด์ มีช่องกลมอยู่ตรงกลาง
เพื่อให้แสงจากด้านล่างส่องผ่านขึ้นมาได้
1.1.4 ที่หนีบสไลด์ (stage clip) ทาหน้าที่หนีบสไลด์ให้อยู่กับที่บนแท่นวางวัตถุ
1.1.5 ลากล้อง (body tube) เป็นท่อเชื่อมระหว่างเลนส์ใกล้ตากับเลนส์ใกล้วัตถุ
ทาหน้าที่ป้ องกันการรบกวนของแสงจากภายนอก
1.2 ส่วนที่ทาหน้าที่รับแสง
1.2.1 แหล่งกาเนิดแสง (light) ซึ่งอาจจะเป็นกระจกเงา หรือหลอดไฟ ทาหน้าที่
สะท้อนแสงให้ส่องไปที่วัตถุ
1.2.2 ไดอะแฟรม (iris diaphragm) เป็นส่วนประกอบของกล้องที่อยู่ใต้แท่นวางวัตถุ
ใช้ปิด-เปิดเพื่อควบคุมปริมาณแสงให้พอเหมาะ
1.2.3 คอนเดนเซอร์(condenser) เป็นเลนส์ทาหน้าที่รวมแสงให้ส่องผ่านวัตถุ
1.1 ส่วนที่เป็นตัวกล้อง
1. ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
1.2 ส่วนที่ทาหน้าที่รับแสง
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 9
1.3 ส่วนที่ทาหน้าที่ปรับภาพ
1.3.1 ปุ่ มปรับภาพหยาบ (coarse adjustment) เป็นปุ่มขนาดใหญ่ใช้สาหรับหมุน
หาภาพของวัตถุอย่างหยาบก่อนใช้ปุ่มปรับภาพละเอียด
1.3.2 ปุ่ มปรับภาพละเอียด (fine adjustment ) เป็นปุ่มขนาดเล็กใช้สาหรับหมุน
ปรับภาพของวัตถุให้เห็นชัดเจนยิ่งขึ้น
1.4 ส่วนที่ทาหน้าที่ขยาย
1.4.1 เลนส์ใกล้ตา (eye piece) เป็นเลนส์นูน ทาหน้าที่ขยายภาพที่เกิดจากเลนส์ใกล้วัตถุ
เป็นภาพจริงหัวกลับ ทาให้ภาพสุดท้ายเป็นภาพเสมือนหัวกลับ เลนส์ใกล้ตากาลังขยายต่าง ๆ
เช่น 5x, 10x, 15x และ 20x ซึ่งสามารถถอดเปลี่ยนกาลังขยายได้
1.4.2 เลนส์ใกล้วัตถุ (objective lens) เป็นเลนส์นูน ทาหน้าที่ขยายภาพของวัตถุให้
เลนส์ใกล้ตา เมื่อแสงผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ และทาให้เกิดภาพจริงหัวกลับ โดยทั่วไปเลนส์ใกล้วัตถุ
มีกาลังขยายให้เลือกได้ 3 ขนาด ได้แก่ กาลังขยายต่า ได้แก่ 4x ปานกลาง ได้แก่ 10x, 20x
และกาลังขยายสูง ได้แก่ 40x, 60x และ 100x
1.3 ส่วนที่ทาหน้าที่ปรับภาพ
1.4 ส่วนที่ทาหน้าที่ขยาย
เพื่อน ๆ รู้ไหมว่า นอกจากกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงแล้ว
ยังมีกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่ช่วยให้สามารถมองเห็น
วัตถุขนาดเล็กจนถึงระดับนาโนเมตรได้
1,000,000,000 nm = 1,000,000 µm = 1,000 mm = 1 m
1 พันล้านนาโนเมตร เท่ากับ 1 ล้านไมโครเมตร
เท่ากับ 1,000 มิลลิเมตร เท่ากับ 1 เมตร
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 10
ภาพที่ 1.1 ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
ก. เลนส์ใกล้ตา ระบบตาเดียว
ข.เลนส์ใกล้ตา ระบบ 2 ตา
ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย)
1.1.2
1.3.1
1.3.2
1.2.1
1.1.1
1.2.2
1.1.4
1.4.2
1.4.1
1.1.5
1.1.3
1.2.1
1.3.2
1.3.1
1.1.2
1.1.1
ก. ข.
เพื่อน ๆ รู้จักส่วนประกอบและหน้าที่
การทางานของกล้องจุลทรรศน์แล้ว
คราวนี้เชิญเพื่อน ๆ มาทาความเข้าใจกับการใช้
กล้องจุลทรรศน์อย่างมีประสิทธิภาพและ
ปลอดภัยกันต่อนะครับ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 11
กล้องจุลทรรศน์เป็นเครื่องมือที่จาเป็นสาหรับการศึกษาลักษณะของเซลล์ หรือสิ่งที่มี
ขนาดเล็กซึ่งตาเปล่าอาจมองไม่เห็น และเนื่องจากเป็นเครื่องมือที่มีส่วนประกอบและการใช้งาน
ที่ซับซ้อน ดังนั้นจึงจาเป็นต้องเรียนรู้ลาดับขั้นตอนการใช้และฝึกฝนเพื่อให้เกิดทักษะที่ถูกต้อง
ดังนี้
2.1.1 วางกล้องให้ฐานอยู่บนพื้นราบที่มีความแข็งแรงห่างจากขอบโต๊ะ และมีแสง
สว่างเพียงพอโดยให้ลากล้องตั้งตรง
ภาพที่ 1.2 การวางกล้องจุลทรรศน์บนพื้นราบ
ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย)
2. การใช้กล้องจุลทรรศน์อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
2.1 ลาดับขั้นตอนการใช้กล้องจุลทรรศน์
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 12
2.1.2 หมุนเลนส์ใกล้วัตถุอันที่มีกาลังขยายต่าสุดอยู่ตรงกับแนวลากล้อง
2.1.3 หาสนามภาพ หรือวงกลมสีขาวที่มีความสว่างอาจทาได้โดยปรับกระจกเงา
ใต้แท่นวางวัตถุแต่อย่าปรับกระจกให้รับแสงจากดวงอาทิตย์โดยตรง หรือเปิดสวิตช์ไฟให้แสง
ส่องผ่านเข้าสู่ลากล้องได้เต็มที่แล้วแต่ชนิดของกล้อง โดยมองผ่านเลนส์ใกล้ตาซึ่งต้องลืมตา
ทั้งสองข้าง เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดการเกร็งของกล้ามเนื้อใบหน้า กล้ามเนื้อตา ไม่เช่นนั้นแล้ว
จะปวดเมื่อยลูกนัยน์ตา จะเห็นสนามภาพสว่างขึ้น
อย่าเชียวนะ! อย่าปรับกระจกกล้องจุลทรรศน์
ให้รับแสงจากดวงอาทิตย์โดยตรง
ภาพที่ 1.3 การหมุนเลนส์ใกล้วัตถุกาลังขยายต่าสุดอยู่ตรงแนวลากล้อง
ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2556 : ภาพถ่าย)
ภาพที่ 1.3 การหาสนามภาพ
ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2555 : ภาพถ่าย)
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 13
2.1.4 เตรียมสไลด์ ซึ่งทาได้ดังนี้
1) เช็ดทาความสะอาดสไลด์และกระจกปิดสไลด์ให้สะอาด
2) หยดน้า หรือสารละลายที่ต้องการเพียง 1 หยดลงตรงกลางของสไลด์
ภาพที่ 1.4 การหยดน้าบนสไลด์
ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย)
3) วางเนื้อเยื่อหรือสิ่งที่จะดู(ลักษณะบาง ๆ เพื่อให้แสงส่องผ่านได้)ลงบน
กระจกสไลด์
4) นากระจกปิดสไลด์วางปิดทับหยดน้า โดยวางกระจกปิดสไลด์เอียงทามุม
45 องศากับสไลด์ด้านหนึ่ง แล้วเลื่อนกระจกปิดสไลด์ไปสัมผัสกับขอบด้านนอกของหยดน้า
ใช้เข็มเขี่ยหรือเข็มหมุด รองรับกระจกปิดสไลด์ไว้แล้วค่อย ๆ ลดเข็มเขี่ยลงจนกระจกปิดสไลด์
ปิดลงบนสไลด์จนสนิท เทคนิคนี้จะช่วยไม่ให้เกิดฟองอากาศในสไลด์
ภาพที่ 1.5 การใช้เข็มเขี่ยรองรับสไลด์
ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2553 : 67)
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 14
5) ถ้ายังมีฟองอากาศอยู่ให้ใช้หลอดหยดดูดน้า แล้วบีบน้าจากหลอดหยดให้เข้า
ไปในกระจกปิดสไลด์
6) ใช้กระดาษเยื่อแตะข้าง ๆ กระจกปิดสไลด์เพื่อซับน้าหรือของเหลวส่วนเกิน
ออก
2.1.5 นาสไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นวางวัตถุ จัดวัตถุให้อยู่ตรงตาแหน่งที่มีแสงส่อง
ผ่านได้ แล้วใช้ที่หนีบสไลด์ยึดให้แน่น
ภาพที่ 1.6 การวางสไลด์
ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย)
2.1.6 มองด้านข้างของแท่นวางสไลด์ในแนวราบ แล้วค่อย ๆ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบ
ให้ลากล้องเลื่อนลงมาอยู่ใกล้วัตถุมากที่สุดโดยระวังอย่าให้เลนส์ใกล้วัตถุสัมผัสกระจกปิดสไลด์
ภาพที่ 1.7 การหมุนปุ่มปรับภาพหยาบจนเลนส์ใกล้วัตถุเลื่อนลงมาต่าที่สุด
ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย)
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 15
2.1.7 มองผ่านเลนส์ใกล้ตาลงตามลากล้องพร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพหยาบช้า ๆ
ให้เลนส์ใกล้วัตถุขยับออกห่างจากวัตถุทีละน้อย จนมองเห็นภาพของวัตถุที่ศึกษา
ภาพที่ 1.8 การหาภาพโดยใช้ปุ่มปรับภาพหยาบ
ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย)
2.1.8 หมุนปุ่มปรับภาพละเอียด เพื่อปรับภาพให้คมชัด ขณะนี้อาจเลื่อนสไลด์
จนกระทั่งมองเห็นภาพของวัตถุในตาแหน่งที่เราสนใจอยู่ตรงกลางพอดี
ภาพที่ 1.9 การปรับภาพให้คมชัดโดยใช้ปุ่มปรับภาพละเอียด
ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย)
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 16
2.1.9 ถ้าต้องการขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยาย
สูงขึ้นเข้ามาในแนวลากล้องแทนโดยไม่ต้องขยับสไลด์อีก แล้วให้หมุนปุ่มปรับภาพละเอียด เพื่อ
ปรับภาพให้ชัดเจนมากขึ้น ขณะนี้ ลองเลื่อนสไลด์ไปทางซ้าย ทางขวา ทางด้านบนและทางด้าน
ล่าง ในการเลื่อนสไลด์แต่ละครั้งให้สังเกตด้วยว่า ภาพจะเคลื่อนไปในทิศทางใด และเลื่อนสไลด์
จนกระทั่งมองเห็นภาพของวัตถุในตาแหน่งที่เราสนใจอยู่ตรงกลางพอดี
2.1.10 เมื่อต้องการปรับความเข้มของแสงให้เข้าสู่ลากล้องให้มากหรือน้อย ให้หมุน
ปุ่มปรับไดอะแฟรมปรับแสงตามต้องการ
2.1.11 บันทึกภาพที่เห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และระบุกาลังขยายที่ใช้
วิธีคานวณหากาลังขยาย
กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ คานวณได้จากผลคูณของกาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
กับกาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ดังนี้
ตัวอย่างที่ 1 เมื่อส่องวัตถุด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้เลนส์ใกล้ตาที่มีกาลังขยาย 10 เท่า
(10x) และเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยาย 4 เท่า(4x) กาลังขยายของกล้องมีค่าเท่าใด
สูตร กาลังขยายของกล้อง  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
กาลังขยายของกล้อง  10  4
กาลังขยายของกล้อง  40 เท่า
(หมายความว่า ภาพที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุจริง 40 เท่า)
จากตัวอย่างที่ 1 จะเห็นได้ว่า กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ ก็คือ กาลังขยายของ
ภาพนั่นเอง
2.2 วิธีคานวณหากาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์
กาลังขยายของกล้อง  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
หรือ กาลังขยายของภาพ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
กาลังขยายของกล้อง  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
หรือ กาลังขยายของภาพ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 17
ตัวอย่างที่ 2 เมื่อส่องวัตถุด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้เลนส์ใกล้ตาที่มีกาลังขยาย 10 เท่า
(10x) และเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยาย 40 เท่า(40x) ภาพที่ได้จะมีกาลังขยายเท่าใด
สูตร กาลังขยายของภาพ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
กาลังขยายของภาพ  10  40
กาลังขยายของภาพ  400 เท่า
ตัวอย่างที่ 3 ถ้าต้องการภาพที่มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุจริง 400 เท่า โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ซึ่ง
มีกาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา 10 เท่า(10x) และจะต้องใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายเท่าใด
สูตร กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ 
กาลังขยายของภาพ
กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา
กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ 
600
15
กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  40 เท่า
อย่าลืม! นะคะ กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์บอกเราว่า กล้องจุลทรรศน์
สามารถขยายภาพของวัตถุได้กี่เท่า
กาลังขยายของกล้อง  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
หรือ กาลังขยายของภาพ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 18
กล้องจุลทรรศน์เป็นเครื่องมือที่มีราคาสูงและมีความซับซ้อนในการใช้งาน ผู้ใช้จึงต้องใช้
อย่างระมัดระวังและรักษาความสะอาดอยู่เสมอ เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายและสามารถนาไปใช้
งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อควรระวังมีดังนี้
2.3.1 การยกกล้องเพื่อเคลื่อนย้าย ให้ใช้มือหนึ่งจับที่แขนของกล้อง อีกมือหนึ่งใช้รอง
ที่ใต้ฐาน ปรับให้ตรงและยกกล้องในลักษณะตั้งตรง เพื่อป้ องกันการเลื่อนหลุดของเลนส์ใกล้ตา
ภาพที่ 1.10 การเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์
ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย)
2.3.2 สไลด์และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียก เพราะอาจทาให้แท่นวางวัตถุเป็นสนิม
และทาให้เลนส์ใกล้วัตถุชื้น อาจเกิดราที่เลนส์ได้
2.3.3 ขณะที่หมุนปรับภาพหยาบเพื่อเลื่อนเลนส์ใกล้วัตถุลงใกล้แผ่นสไลด์ ให้คอย
มองด้านข้างของเลนส์ใกล้วัตถุไม่ให้ชนแผ่นสไลด์
2.3.4 อย่าปรับกระจกของกล้องจุลทรรศน์ให้รับแสงจากดวงอาทิตย์โดยตรง
2.3.5 การมองภาพในกล้องจุลทรรศน์ควรลืมตาทั้ง 2 ข้าง
2.3.6 การหาภาพต้องเริ่มต้นด้วยเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายต่าสุดก่อนเสมอ
2.3 การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 19
2.3.7 เมื่อใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูง การปรับภาพให้ชัดเจนจะต้องหมุน
ปุ่มปรับภาพละเอียดเท่านั้น
2.3.8 ห้ามใช้มือแตะเลนส์ การทาความสะอาดเลนส์ให้ใช้กระดาษเช็ดเลนส์เท่านั้น
2.3.9 การเก็บกล้องจุลทรรศน์เมื่อใช้งานเสร็จแล้ว ควรปฏิบัติดังนี้
1) นาวัตถุที่ศึกษาออกจากแท่นวางวัตถุ
2) ใช้ผ้านุ่มที่แห้งและสะอาดทาความสะอาดส่วนที่เป็นโลหะ ส่วนเลนส์และ
กระจกใช้กระดาษเช็ดเลนส์เท่านั้น
3) เลื่อนที่หนีบสไลด์ให้ขนานกัน
4) ปรับกระจกเงาให้อยู่ในแนวดิ่งตั้งฉากกับตัวกล้อง เพื่อไม่ให้ฝุ่นเกาะ
5) หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายต่าสุดให้ตรงกับลากล้อง และเลื่อนให้อยู่
ในระดับต่าสุด
6) เก็บเลนส์ใกล้ตาเข้ากล่อง แล้วปิดกระบอกเลนส์ใกล้ตาเพื่อกันฝุ่นเข้า
7) ใช้ผ้าคลุมไว้เมื่อเลิกใช้งาน หรือเก็บใส่กล่องหรือตู้ให้เรียบร้อย
9) อย่าเก็บกล้องจุลทรรศน์ไว้ในที่ชื้น เพราะจะทาให้เลนส์ขึ้นรา
กล้องจุลทรรศน์ เป็นอุปกรณ์ที่สามารถใช้ศึกษารายละเอียดของสิ่งมีชีวิตที่มอง
ไม่เห็นด้วยตาเปล่า มีส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ทาหน้าที่แตกต่างกัน กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่มี
ราคาสูง และมีความซับซ้อนในการใช้งาน ผู้ใช้ต้องใช้และระวังรักษาอย่างถูกวิธีเพื่อไม่ให้เกิดความ
เสียหายและสามารถนาไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บทสรุป
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 20
เมื่อนักเรียนได้ศึกษาเนื้อหาสาระการเรียนรู้ เรื่อง กล้องจุลทรรศน์แล้ว
ให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้
1. กิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
2. กิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การใช้กล้องจุลทรรศน์
3. แบบฝึกหัด เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
4. ผังมโนทัศน์/ผังความคิด เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
5. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
กิจกรรม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 21
ชื่อ.....................................................................ชั้น ม.1/........... เลขที่.....................กลุ่มที่................
1. กาหนดปัญหาของกิจกรรมที่ศึกษาได้
2. ตั้งสมมติฐานจากปัญหาที่กาหนดได้
3. อธิบายส่วนประกอบสาคัญของกล้องจุลทรรศน์ได้
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติดังนี้
1. อ่านวิธีทากิจกรรมให้เข้าใจ และส่งตัวแทนกลุ่มมารับอุปกรณ์ที่คุณครู
2. ตอบคาถามก่อนทากิจกรรมเพื่อกาหนดปัญหาและตั้งสมมติฐาน
3. ทากิจกรรมและบันทึกผล
4. ตอบคาถามหลังทากิจกรรมเพื่อการวิเคราะห์และสรุปผล
5. นาเสนอหน้าชั้นเรียน ประธานกลุ่มรวบรวมใบกิจกรรมที่ 1.1 ของสมาชิกส่งคุณครู เพื่อตรวจ
รวมคะแนนและเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่ม
กิจกรรมที่ 1.1
เรื่อง ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
จุดประสงค์การเรียนรู้
คาชี้แจง
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 22
รายการ จานวนต่อกลุ่ม
กล้องจุลทรรศน์ 1 ตัว
1. ปัญหาของการศึกษากิจกรรมนี้ คืออะไร
........................................................................................................................................
.......................................................................................................................................
2. นักเรียนรู้จักส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์อะไรบ้าง
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
3. ส่วนประกอบแต่ละอย่างของกล้องจุลทรรศน์ มีทาหน้าที่ต่างกันหรือไม่ อย่างไร
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
อุปกรณ์
คาถามก่อนทากิจกรรม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 23
1. แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาหัวข้อที่ 1. ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์จากเอกสาร
ประกอบการเรียน หน้า 8-10 และเปรียบเทียบกับกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้จริงในชั้นเรียน
2. จงนาป้ ายบ่งชี้ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์มาติดให้สัมพันธ์กับหมายเลขบ่งชี้
ของภาพกล้องจุลทรรศน์
ภาพที่ 1.11 การชี้บ่งส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2544 : 175)
วิธีทากิจกรรม
1.
2.
แท่นวางวัตถุ
3.
กระจกเงา ฐาน
คอนเดนเซอร์
6.
แขน
ปุ่มปรับภาพละเอียด
5.
4.
เลนส์ใกล้ตา
ไดอะแฟรมลากล้อง เลนส์ใกล้วัตถุ
ปุ่มปรับภาพหยาบ ที่หนีบสไลด์
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 24
3. จงนาตัวอักษรหน้าข้อความที่เกี่ยวกับส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ทางขวามือมาเติมลง
ใน หน้าข้อความเกี่ยวกับหน้าที่ของส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ทางซ้ายมือให้
ถูกต้องสัมพันธ์กัน
หมายเหตุ เมื่อนาตัวอักษรทางขวามือมาเติมในข้อทางซ้ายมือ ถูกต้อง ครบทุกข้อแล้ว
นาตัวอักษรดังกล่าวมาเรียงกัน จะอ่านได้ว่า...............................................................................
1. เป็นส่วนที่รองรับน้าหนักของกล้อง
2. รับแสงและสะท้อนเข้าสู่ลากล้อง
3. ปุ่มเลื่อนหาภาพ
4. ปรับภาพให้คมชัด
5. ที่สาหรับวางแผ่นสไลด์
6. เลนส์ที่ใช้หาภาพของวัตถุ ทาหน้าที่
ขยายวัตถุ
7. ตัวรวมแสงให้ผ่านวัตถุ
8. ป้ องกันแผ่นสไลด์เลื่อน
9. ใช้ปิด-เปิดเพื่อปรับแสงให้เข้าสู่
ลากล้องให้พอเหมาะ
10. ยึดกล้องและฐาน เป็นที่จับ
ขณะเคลื่อนย้าย
.
A ไดอะแฟรม
C ที่หนีบสไลด์
E แท่นวางวัตถุ
I ฐาน
L กระจกเงา
M เลนส์ใกล้วัตถุ
O ปุ่มปรับภาพหยาบ
T แขน
V ปุ่มปรับภาพละเอียด
Y คอนเดนเซอร์
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 25
1. ส่วนประกอบที่สาคัญของกล้องจุลทรรศน์มีอะไรบ้าง
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
2. กล้องจุลทรรศน์มีเลนส์กี่ประเภท อะไรบ้าง
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
3. ตัวเลขที่เขียนกากับไว้ที่เลนส์ใกล้ตา และเลนส์ใกล้วัตถุ คือเลขอะไร หมายความว่าอย่างไร
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
4. ส่วนประกอบใดของกล้องจุลทรรศน์ที่ทาให้เราเห็นภาพขยายใหญ่ขึ้น
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
5. ส่วนประกอบใดของกล้องจุลทรรศน์ที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องในการนาแสงเข้าสู่ลากล้อง
แต่ละอย่างทาหน้าที่อย่างไร
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
6. การใช้กล้องจุลทรรศน์ดูสิ่งต่าง ๆ แตกต่างจากการดูด้วยตาเปล่าอย่างไร
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
7. ทาไมเราต้องศึกษาส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
คาถามเพื่อการวิเคราะห์และสรุปผล
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 26
........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
สรุปผลการทากิจกรรม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 27
ชื่อ..............................................................ชั้น ม.1/........... เลขที่.....................กลุ่มที่................
1. กาหนดปัญหาของกิจกรรมที่ศึกษาได้
2. ตั้งสมมติฐานจากปัญหาที่กาหนดได้
3. อธิบายวิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ได้ถูกต้อง
4. คานวณหากาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ได้
5. อธิบายการระวังรักษากล้องจุลทรรศน์ได้
6. ใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษาวัตถุและบันทึกสิ่งที่สังเกตเห็นได้
7. เก็บกล้องจุลทรรศน์หลังใช้งานได้ถูกต้อง
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติดังนี้
1. อ่านวิธีทากิจกรรมให้เข้าใจ และส่งตัวแทนกลุ่มมารับอุปกรณ์ที่คุณครู
2. ตอบคาถามก่อนทากิจกรรมเพื่อกาหนดปัญหาและตั้งสมมติฐาน
3. ทากิจกรรมและบันทึกผล
4. ตอบคาถามหลังทากิจกรรมเพื่อการวิเคราะห์และสรุปผล
6. นาเสนอหน้าชั้นเรียน ประธานกลุ่มรวบรวมกิจกรรม 1.2 ของสมาชิกส่งคุณครู เพื่อตรวจ
รวมคะแนนและเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่ม
กิจกรรมที่ 1.2
เรื่อง การใช้กล้องจุลทรรศน์
คาชี้แจง
จุดประสงค์การเรียนรู้
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 28
รายการ จานวนต่อกลุ่ม
1. กล้องจุลทรรศน์
2. สไลด์และกระจกปิดสไลด์
3. แผ่นพลาสติกเขียนตัวอักษร F (ขนาดเท่ากับกระจกปิดสไลด์)
4. หลอดหยด
5. เข็มเขี่ย/เข็มหมุด
6. กระดาษเยื่อ
7. น้า
1 ตัว
1 ชุด
1 แผ่น
1 อัน
1 อัน
1 ม้วน(ต่อห้อง)
100 cm3
(ต่อห้อง)
1. นักเรียนคิดว่า ภาพที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์มีลักษณะแตกต่างจากภาพ
ที่มองเห็นด้วยตาเปล่าในลักษณะใด
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
2. นักเรียนคิดว่า การนาตัวอักษร F มาส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ภาพที่มองเห็นจาก
กล้องจุลทรรศน์จะมีลักษณะเป็นอย่างไร
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
3. การใช้กล้องจุลทรรศน์ควรเริ่มต้นที่กาลังขยายเท่าใดก่อน
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
4. การดูภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ควรมองอย่างไร
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
วัสดุอุปกรณ์/สารเคมี
คาถามก่อนทากิจกรรม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 29
5. เพราะเหตุใดจึงต้องทาให้สไลด์และกระจกปิดสไลด์แห้ง ก่อนนาไปศึกษาภายใต้
กล้องจุลทรรศน์
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
6. การหาภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์จะต้องหมุนปุ่มปรับภาพชนิดใด
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
7. ในการปรับภาพใน ข้อ 6. ให้คมชัดยิ่งขึ้น นักเรียนจะต้องหมุนปุ่มปรับภาพชนิดใด
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
8. ในการดูภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ขณะมีการเปลี่ยนเลนส์ใกล้วัตถุจากอันที่มี
กาลังขยาย 4x เป็น10x หรือจาก 10x เป็น 40x นักเรียนจะต้องหมุนปุ่มปรับภาพชนิดใด
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
9. ในการดูภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ถ้านักเรียนใช้เลนส์ใกล้ตาที่มีกาลังขยาย 10x คงที่
ตลอดการทดลอง แต่เปลี่ยนกาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ จาก4x เป็น 10x และจาก10x
เป็น 40x นักเรียนคิดว่า กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์และลักษณะของภาพ จะเปลี่ยนไป
อย่างไร จงตั้งสมมติฐานและระบุตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 30
คาชี้แจง : จงนาวิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้มาเรียงลาดับให้ถูกต้อง
หมายเหตุ เมื่อนากล่องข้อความมาเรียงลาดับได้ถูกต้อง อักษรหน้าข้อความเรียงกัน
อ่านได้ว่า...........................................................................................................................
วิธีทากิจกรรม
E หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายต่าสุดมาอยู่ตรงกับแนวลากล้อง
D ให้ปรับไดอะแฟรม เมื่อต้องการปรับความเข้มของแสงที่เข้าสู่ลากล้อง
A ปรับกระจกเงาใต้แท่นวางวัตถุให้แสงสะท้อนเข้าลากล้องเต็มที่
U นาสไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นวางวัตถุ ให้วัตถุอยู่กลางบริเวณที่แสงผ่าน
I ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูงขึ้นเข้ามาแทนที่
เลนส์ใกล้วัตถุอันเดิมโดยไม่ต้องขยับสไลด์แล้วหมุนปุ่มปรับภาพละเอียดเพียงอย่างเดียว
K หมุนปุ่มปรับภาพละเอียด เพื่อปรับภาพให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
B วางกล้องให้ฐานอยู่บนพื้นรองรับที่ราบเรียบสม่าเสมอ และมีแสงสว่างเพียงพอ
T มองด้านข้างของแท่นวางวัตถุในแนวระดับ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ให้เลนส์ใกล้วัตถุ
เข้าหาวัตถุให้มากที่สุด แต่ระวังอย่าให้เลนส์สัมผัสกับกระจกปิดสไลด์
Y มองผ่านเลนส์ใกล้ตา พร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพหยาบช้า ๆ ให้เลนส์ใกล้วัตถุเลื่อนขึ้น
ขยับออกห่างจากวัตถุทีละน้อย จนมองเห็นวัตถุที่จะศึกษา
S บันทึกภาพที่เห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และระบุกาลังขยายที่ใช้
ตอนที่ 1 : ลาดับขั้นตอนการใช้กล้องจุลทรรศน์
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 31
คาชี้แจง : ให้นักเรียนคานวณหากาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์จากโจทย์ที่กาหนดให้
1. เมื่อส่องวัตถุด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้เลนส์ใกล้ตากาลังขยาย 10 เท่า(10x) และเลนส์ใกล้วัตถุ
กาลังขยาย 10 เท่า(10x) ภาพที่ได้จะมีกาลังขยายเท่าใด
สูตร กาลังขยายของภาพ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
กาลังขยายของภาพ  10  ........
กาลังขยายของภาพ  ................ เท่า
ตอบ กาลังขยายของภาพ.......................เท่า
2. เมื่อส่องวัตถุด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้เลนส์ใกล้ตาที่มีกาลังขยาย 15 เท่า(15x)
และเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยาย 40 เท่า(40x) ภาพที่ได้จะมีกาลังขยายเท่าใด
สูตร กาลังขยายของภาพ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
กาลังขยายของภาพ  .............  .............
กาลังขยายของภาพ  ............. เท่า
ตอบ กาลังขยายของภาพ ................ เท่า
3. ถ้าต้องการภาพที่มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุจริง 600 เท่า โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ซึ่งมีกาลังขยายของ
เลนส์ใกล้ตา 10 เท่า(10x) และจะต้องใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายเท่าใด
สูตร กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ 
กาลังขยายของภาพ
กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา
กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ 
………
………
กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  .............. เท่า
ตอบ กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ ...................... เท่า
ตอนที่ 2 : วิธีคานวณหากาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 32
คาชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่กล่าวถูก และเขียนเครื่องหมาย
หน้าข้อความที่กล่าวผิดเกี่ยวกับข้อควรระวังในการใช้กล้องจุลทรรศน์
1. การยกหรือเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์ ควรใช้มือที่ถนัดรองรับที่ฐาน อีกมือหนึ่ง
ให้จับที่แขนของกล้อง
2. ไม่ควรปรับกระจกของกล้องจุลทรรศน์ ให้รับแสงจากดวงอาทิตย์โดยตรง
3. การมองภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ควรลืมตาทั้งสองข้าง
4. ขณะที่หมุนปุ่มปรับภาพหยาบเพื่อเลื่อนเลนส์ใกล้วัตถุลงใกล้แผ่นสไลด์ ควรมอง
ด้านข้างของเลนส์ใกล้วัตถุไม่ให้ชนแผ่นสไลด์
5. การทาความสะอาดเลนส์ ถ้าไม่มีกระดาษเช็ดเลนส์ ให้ใช้กระดาษเยื่อแทน
6. การทาความสะอาดตัวกล้อง ควรใช้ผ้าที่สะอาดชุบน้าเช็ดทาความสะอาด
7. ก่อนทาความสะอาดกล้องจุลทรรศน์หลังใช้งานเสร็จ ต้องนาวัตถุออกจากแท่นวาง
วัตถุเสียก่อน
8. ในการเก็บกล้องจุลทรรศน์ หลังใช้งานเสร็จแล้ว ควรปรับกระจกเงาให้อยู่ในแนวดิ่ง
ตั้งฉากกับพื้น
9. ในการเก็บกล้องจุลทรรศน์ หลังใช้งานเสร็จแล้ว ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุอันที่มี
กาลังขยายสูงสุดให้อยู่ในแนวลากล้องแล้วเลื่อนให้อยู่ในระดับต่าสุด
10. อย่าเก็บกล้องจุลทรรศน์ไว้ในที่ชื้น เพราะจะทาให้เลนส์ขึ้นรา
.......
.......
.......
.....
.......
.......
.......
.......
.......
.......
.......
.......
.......
ตอนที่ 3 : การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช

More Related Content

Featured

Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 

Featured (20)

Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 

หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตของพืช

  • 1. หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ เล่มที่ 1 โรงเรียนพรหมคีรีพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ภิรมโรจน์ เพชรโกมล เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา ว 21101
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ก คำนำ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 ได้กาหนดให้มีการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และกาหนดให้สถานศึกษาส่งเสริมการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ มีประสิทธิภาพ ดังนั้นการจัดการเรียนรู้จึงเป็นหน้าที่ของครูผู้สอนที่จะต้องพัฒนากระบวน การเรียนการสอน เพื่อให้นักเรียนเป็นคนมีคุณภาพตามที่สังคมต้องการโดยใช้วิธีการพัฒนา อย่างหลากหลาย เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาการศึกษา เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนร่วมกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีความสุข มีความ กระตือรือร้น และสนใจเรียนมากขึ้น ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงจัดทาเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วย ของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับส่วนประกอบ ของกล้องจุลทรรศน์ การใช้กล้องจุลทรรศน์อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียน เรื่องหน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารง ชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ จะอานวยประโยชน์ในการดาเนินการพัฒนาการเรียนการสอน รายวิชาวิทยาศาสตร์ 1 และเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรวมทั้งผู้สนใจอื่น ๆ ตามสมควร ภิรมโรจน์ เพชรโกมล ผู้จัดทา
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ข สำรบัญ หน้า คานา------------------------------------------------------------------------------------------------------- ก สารบัญ---------------------------------------------------------------------------------------------------- ข สารบัญภาพ----------------------------------------------------------------------------------------------- ง คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน----------------------------------------------------------- จ ผังมโนทัศน์เอกสารประกอบการเรียน---------------------------------------------------------------- ฉ เอกสารประกอบการเรียน เรื่องหน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์--------------------------------------------------------------------------------- 1 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง กล้องจุลทรรศน์-------------------------------------------------------- 2 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด---------------------------------------------------------------------------- 5 จุดประสงค์การเรียนรู้----------------------------------------------------------------------------------- 6 แนวคิดหลัก----------------------------------------------------------------------------------------------- 7 สาระการเรียนรู้------------------------------------------------------------------------------------------- 8 1. ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์----------------------------------------------------------------- 8 1.1 ส่วนที่เป็นตัวกล้อง------------------------------------------------------------------------------- 8 1.2 ส่วนที่ทาหน้าที่รับแสง-------------------------------------------------------------------------- 8 1.3 ส่วนที่ทาหน้าที่ปรับภาพ------------------------------------------------------------------------ 9 1.4 ส่วนที่ทาหน้าที่ขยาย----------------------------------------------------------------------------- 9 2. การใช้กล้องจุลทรรศน์อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย--------------------------------------- 11 2.1 ลาดับขั้นตอนการใช้กล้องจุลทรรศน์---------------------------------------------------------- 11 2.2 วิธีคานวณหากาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์------------------------------------------------- 16 2.3 การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์----------------------------------------------------------------- 18 บทสรุป---------------------------------------------------------------------------------------------------- 19
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ค สำรบัญ หน้า กิจกรรม---------------------------------------------------------------------------------------------------- 20 กิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์--------------------------------------------- 21 กิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การใช้กล้องจุลทรรศน์----------------------------------------------------------- 27 แบบฝึกหัด เรื่อง กล้องจุลทรรศน์---------------------------------------------------------------------- 37 แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม-------------------------------------------------------------------------------------- 39 เรียนรู้คาศัพท์ที่ควรรู้จัก เรื่อง กล้องจุลทรรศน์------------------------------------------------------- 41 ผังมโนทัศน์/ผังความคิด เรื่อง กล้องจุลทรรศน์------------------------------------------------------- 42 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กล้องจุลทรรศน์-------------------------------------------------------- 43 บรรณานุกรม--------------------------------------------------------------------------------------------- 46 เฉลยกิจกรรม--------------------------------------------------------------------------------------------- 48 เฉลยกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์--------------------------------------- 49 เฉลยกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การใช้กล้องจุลทรรศน์----------------------------------------------------- 54 เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง กล้องจุลทรรศน์---------------------------------------------------------------- 63 (ต่อ)
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ง สำรบัญภำพ หน้า ภาพที่ 1.1 ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง------------------------------------------ 10 ภาพที่ 1.2 การวางกล้องจุลทรรศน์บนพื้นราบ------------------------------------------------------- 11 ภาพที่ 1.3 การหาสนามภาพ---------------------------------------------------------------------------- 12 ภาพที่ 1.4 การหยดน้าบนสไลด์------------------------------------------------------------------------ 13 ภาพที่ 1.5 การใช้เข็มเขี่ยรองรับสไลด์----------------------------------------------------------------- 13 ภาพที่ 1.6 การวางสไลด์-------------------------------------------------------------------------------- 14 ภาพที่ 1.7 การหมุนปุ่มปรับภาพหยาบจนเลนส์ใกล้วัตถุเลื่อนลงต่าที่สุด------------------------- 14 ภาพที่ 1.8 การหาภาพโดยใช้ปุ่มปรับภาพหยาบ----------------------------------------------------- 15 ภาพที่ 1.9 การปรับภาพให้คมชัดโดยใช้ปุ่มปรับภาพละเอียด-------------------------------------- 15 ภาพที่ 1.10 การเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์----------------------------------------------------------- 18 ภาพที่ 1.11 การชี้บ่งส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์--------------------------------------------- 23
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ จ คำแนะนำกำรใช้เอกสำรประกอบกำรเรียน ในการนาเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนควรปฏิบัติดังนี้ 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ จานวน 10 ข้อ เพื่อประเมินความรู้ พื้นฐานของนักเรียน 2. ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ พร้อมศึกษาคาแนะนา ในการใช้เอกสารประกอบการเรียนให้เข้าใจชัดเจน 3. ศึกษาแนวคิดหลัก เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ กล้องจุลทรรศน์ 4. แต่ละกลุ่มศึกษาสาระการเรียนรู้/เนื้อหาจากเอกสารประกอบการเรียนอย่างละเอียด และศึกษาคาชี้แจงของกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เข้าใจชัดเจนและทากิจกรรมจนครบ ทุกขั้นตอน ของทุกกิจกรรม พร้อมมีเฉลย ให้แลกเปลี่ยนกันตรวจกับเพื่อน ประธานกลุ่มรวมคะแนนของ สมาชิก หาค่าเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่ม และนาส่งครูเพื่อบันทึกคะแนนและตรวจสอบความ ถูกต้องเป็นรายบุคคลอีกครั้ง 5. การทากิจกรรม นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิดดูเฉลยก่อนเพราะ จะทาให้นักเรียนมีความรู้ที่ไม่แท้จริง 6. นักเรียนจับคู่กับเพื่อนในกลุ่มทาแบบฝึกหัด เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ เพื่อขยายความรู้ และทบทวนบทเรียนก่อนสอบหลังเรียน พร้อมมีเฉลย ให้แลกเปลี่ยนกันตรวจกับเพื่อน 7. นักเรียนศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมโดยการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม หน้า 40 8. นักเรียนจับคู่กับเพื่อนในกลุ่มร่วมกันเรียนรู้คาศัพท์ที่ควรรู้จักเพื่อเพิ่มพูนความรู้ คาศัพท์วิทยาศาสตร์/คาศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับกล้องจุลทรรศน์ 9. แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับกล้องจุลทรรศน์ในรูปแบบ ของผังมโนทัศน์/ผังความคิด แล้วจัดทาเป็นผลงานกลุ่มและรายบุคคลตามรายละเอียดของกิจกรรม 10. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ จานวน 10 ข้อ เพื่อประเมิน การพัฒนาของนักเรียนเป็นรายบุคคลในสาระสาคัญของเล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ ฉ ผังมโนทัศน์เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช รายวิชาวิทยาศาสตร์1 รหัสวิชา ว21101 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ เล่มที่ 2 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต เล่มที่ 4 กำรลำเลียงในพืช เล่มที่ 5 กำรสังเครำะห์ด้วยแสง เล่มที่ 6 กำรสืบพันธุ์และ เทคโนโลยีชีวภำพ ที่เกี่ยวกับพืช เล่มที่ 7 กำรเจริญเติบโตและ กำรตอบสนองของพืช หน่วยของสิ่งมีชีวิต และการดารงชีวิต ของพืช เล่มที่ 3 กระบวนกำร สำรผ่ำนเซลล์
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 1 เอกสารประกอบการเรียน เรื่องหน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช รายวิชาวิทยาศาสตร์1 รหัสวิชา ว21101 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์
  • 9. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 2 แบบทดสอบก่อนเรียน คาชี้แจง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย x ในกระดาษคาตอบ 1. การใช้กล้องจุลทรรศน์ต้องวางกล้องไว้ในพื้นที่แบบใด ก. พื้นเอียงที่แห้งและสะอาด ข. พื้นเรียบที่แห้งและสะอาด ค. พื้นขรุขระที่แห้งและสะอาด ง. พื้นแบบใดก็ได้ 2. การดูภาพครั้งแรกต้องเลือกใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายเท่าไร ก. 4x ข. 10x ค. 40x ง. 100x 3. ถ้าแสงผ่านเข้าลากล้องไม่พอ นักเรียนต้องทาอย่างไร ก. ปรับที่ปุ่มปรับภาพ ข. ปรับที่ปุ่มไดอะแฟรม ค. ยกตัวกล้องไปที่มีแสงมากพอ ง. เปลี่ยนกาลังขยายของเลนส์ให้สูงขึ้น 4. ถ้าต้องการเห็นภาพที่มีขนาดใหญ่ขึ้นต้องทาอย่างไร ก. ปรับที่ปุ่มไดอะแฟรม ข. เพิ่มกาลังขยายของเลนส์ ค. ปรับที่ปุ่มปรับภาพหยาบ ง. ปรับที่ปุ่มปรับภาพละเอียด แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
  • 10. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 3 5. การใช้และดูแลรักษากล้องจุลทรรศน์ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. สไลด์และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียก ข. การยกกล้อง ใช้มือหนึ่งจับที่แขน อีกมือหนึ่งรองรับที่ฐาน ค. การหาภาพต้องเริ่มต้นด้วยเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายต่าสุด ง. เมื่อเพิ่มกาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุให้ปรับที่ปุ่มปรับภาพหยาบ 6. กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ คานวณได้จากข้อใด ก. กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ข. กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ค. กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ง. กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา 7. ถ้านักเรียนจะศึกษารายละเอียดของเซลล์ นักเรียนจะเลือกใช้อุปกรณ์ในข้อใด ก. แว่นขยาย ข. กล้องถ่ายรูป ค. กล้องจุลทรรศน์ ง. กล้องโทรทรรศน์ 8. ถ้าใช้เลนส์ใกล้วัตถุขนาด 40x และเลนส์ใกล้ตา 10x เราจะเห็นภาพของวัตถุที่ศึกษา ขนาดเป็นกี่เท่า ก. 10 เท่า ข. 40 เท่า ค. 50 เท่า ง. 400 เท่า
  • 11. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 4 9. ลาดับขั้นตอนในการใช้กล้องจุลทรรศน์เป็นไปตามข้อใด S = ใช้เลนส์ใกล้วัตถุกาลังขยายต่า T = จัดแสงให้เข้าลากล้อง A = วางสไลด์บนแท่นวางวัตถุ P = ใช้เลนส์ใกล้วัตถุกาลังขยายสูง U = ใช้ปุ่มปรับภาพละเอียด N = ใช้ปุ่มปรับภาพหยาบ D = ตามองผ่านเลนส์ใกล้ตา ก. S T A N D N U P U ข. S T A N D N U P N ค. T S D A N U P N U ง. N T S D N U P U N 10. ก. , ซ้ายมือ ข. , ขวามือ ค. , ซ้ายมือ ง. , ขวามือ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวชนิดหนึ่ง บนสไลด์ของนักเรียนต้องเป็นอย่างไร จึงจะมองเห็นได้ดังรูป และนักเรียนต้อง เลื่อนสไลด์ไปทางใด สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ดังกล่าว จึงจะมาอยู่ที่ตาแหน่ง X เป็นอย่างไรบ้างคะ ทาแบบทดสอบกันได้ หรือเปล่าเอ่ย ถ้าทาคะแนนได้น้อย ไม่ต้องคิดมากนะคะ ลองศึกษาจากเอกสาร ประกอบการเรียน แล้วกลับมาทากันใหม่ ในแบบทดสอบหลังเรียนนะคะ .X
  • 12. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 5 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะ หาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด ว 8.1 1. ม.1/1 ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจ ตรวจสอบ หรือ ศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ 2. ม.1/2 สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบ หลาย ๆ วิธี 3. ม.1/3 เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้ผล เที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม 4. ม.1/4 รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ 5. ม.1/8 บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้า เพิ่มเติมจาก แหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้และยอมรับ การเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบ เมื่อมีข้อมูล และประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
  • 13. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 6 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายส่วนประกอบ วิธีการใช้และการระวังรักษากล้องจุลทรรศน์ได้ 2. ใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษาวัตถุและบันทึกสิ่งที่สังเกตเห็นได้ จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 14. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 7 กล้องจุลทรรศน์ (microscope) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถใช้ศึกษารายละเอียดของสิ่งมีชีวิต ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า กล้องจุลทรรศน์ มีส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ทาหน้าที่แตกต่างกัน ได้แก่ ฐาน แขน แท่นวางวัตถุ ที่หนีบสไลด์ ลากล้อง เลนส์ใกล้ตา เลนส์ใกล้วัตถุ แหล่งกาเนิดแสง ปุ่มปรับภาพหยาบ ปุ่มปรับภาพละเอียด ไดอะแฟรม กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่มีราคาสูง และ มีความซับซ้อนในการใช้งาน ผู้ใช้ต้องใช้และระวังรักษาอย่างถูกวิธี การปรับภาพให้เห็นชัดเจน สามารถทาได้โดยการปรับระยะห่างระหว่างเลนส์ใกล้วัตถุและวัตถุ โดยภาพที่เห็นจะเป็ น ภาพเสมือนหัวกลับกับวัตถุ กลับซ้ายเป็นขวา และกลับขวาเป็นซ้าย มีขนาดขยาย ดังนั้น ถ้าต้องการ ให้ภาพเลื่อนไปในทิศทางใด จะต้องเลื่อนสไลด์ไปในทิศทางตรงกันข้ามเสมอ กาลังขยายของ เลนส์ใกล้ตาและเลนส์ใกล้วัตถุเป็นตัวกาหนดกาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ แนวคิดหลัก
  • 15. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 8 สาระการเรียนรู้ มนุษย์มีขอบเขตจากัดในการมองเห็นวัตถุต่าง ๆ ดังนั้น มนุษย์จึงต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ใน การศึกษาวัตถุหรือโครงสร้างของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งมีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นด้วย ตาเปล่า กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้อยู่มี 2 ประเภท คือ กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง และกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอน แต่ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (light microscope) ซึ่งมีส่วนประกอบและการทางาน ดังนี้ 1.1 ส่วนที่เป็นตัวกล้อง 1.1.1 ฐาน (base) เป็นส่วนที่ใช้วางบนโต๊ะ และรองรับน้าหนักของตัวกล้อง 1.1.2 แขน (arm) เป็นส่วนที่เชื่อมระหว่างตัวกล้องกับฐาน 1.1.3 แท่นวางวัตถุ (stage) เป็นแท่นสาหรับวางวัตถุหรือสไลด์ มีช่องกลมอยู่ตรงกลาง เพื่อให้แสงจากด้านล่างส่องผ่านขึ้นมาได้ 1.1.4 ที่หนีบสไลด์ (stage clip) ทาหน้าที่หนีบสไลด์ให้อยู่กับที่บนแท่นวางวัตถุ 1.1.5 ลากล้อง (body tube) เป็นท่อเชื่อมระหว่างเลนส์ใกล้ตากับเลนส์ใกล้วัตถุ ทาหน้าที่ป้ องกันการรบกวนของแสงจากภายนอก 1.2 ส่วนที่ทาหน้าที่รับแสง 1.2.1 แหล่งกาเนิดแสง (light) ซึ่งอาจจะเป็นกระจกเงา หรือหลอดไฟ ทาหน้าที่ สะท้อนแสงให้ส่องไปที่วัตถุ 1.2.2 ไดอะแฟรม (iris diaphragm) เป็นส่วนประกอบของกล้องที่อยู่ใต้แท่นวางวัตถุ ใช้ปิด-เปิดเพื่อควบคุมปริมาณแสงให้พอเหมาะ 1.2.3 คอนเดนเซอร์(condenser) เป็นเลนส์ทาหน้าที่รวมแสงให้ส่องผ่านวัตถุ 1.1 ส่วนที่เป็นตัวกล้อง 1. ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ 1.2 ส่วนที่ทาหน้าที่รับแสง
  • 16. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 9 1.3 ส่วนที่ทาหน้าที่ปรับภาพ 1.3.1 ปุ่ มปรับภาพหยาบ (coarse adjustment) เป็นปุ่มขนาดใหญ่ใช้สาหรับหมุน หาภาพของวัตถุอย่างหยาบก่อนใช้ปุ่มปรับภาพละเอียด 1.3.2 ปุ่ มปรับภาพละเอียด (fine adjustment ) เป็นปุ่มขนาดเล็กใช้สาหรับหมุน ปรับภาพของวัตถุให้เห็นชัดเจนยิ่งขึ้น 1.4 ส่วนที่ทาหน้าที่ขยาย 1.4.1 เลนส์ใกล้ตา (eye piece) เป็นเลนส์นูน ทาหน้าที่ขยายภาพที่เกิดจากเลนส์ใกล้วัตถุ เป็นภาพจริงหัวกลับ ทาให้ภาพสุดท้ายเป็นภาพเสมือนหัวกลับ เลนส์ใกล้ตากาลังขยายต่าง ๆ เช่น 5x, 10x, 15x และ 20x ซึ่งสามารถถอดเปลี่ยนกาลังขยายได้ 1.4.2 เลนส์ใกล้วัตถุ (objective lens) เป็นเลนส์นูน ทาหน้าที่ขยายภาพของวัตถุให้ เลนส์ใกล้ตา เมื่อแสงผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ และทาให้เกิดภาพจริงหัวกลับ โดยทั่วไปเลนส์ใกล้วัตถุ มีกาลังขยายให้เลือกได้ 3 ขนาด ได้แก่ กาลังขยายต่า ได้แก่ 4x ปานกลาง ได้แก่ 10x, 20x และกาลังขยายสูง ได้แก่ 40x, 60x และ 100x 1.3 ส่วนที่ทาหน้าที่ปรับภาพ 1.4 ส่วนที่ทาหน้าที่ขยาย เพื่อน ๆ รู้ไหมว่า นอกจากกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงแล้ว ยังมีกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่ช่วยให้สามารถมองเห็น วัตถุขนาดเล็กจนถึงระดับนาโนเมตรได้ 1,000,000,000 nm = 1,000,000 µm = 1,000 mm = 1 m 1 พันล้านนาโนเมตร เท่ากับ 1 ล้านไมโครเมตร เท่ากับ 1,000 มิลลิเมตร เท่ากับ 1 เมตร
  • 17. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 10 ภาพที่ 1.1 ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ก. เลนส์ใกล้ตา ระบบตาเดียว ข.เลนส์ใกล้ตา ระบบ 2 ตา ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย) 1.1.2 1.3.1 1.3.2 1.2.1 1.1.1 1.2.2 1.1.4 1.4.2 1.4.1 1.1.5 1.1.3 1.2.1 1.3.2 1.3.1 1.1.2 1.1.1 ก. ข. เพื่อน ๆ รู้จักส่วนประกอบและหน้าที่ การทางานของกล้องจุลทรรศน์แล้ว คราวนี้เชิญเพื่อน ๆ มาทาความเข้าใจกับการใช้ กล้องจุลทรรศน์อย่างมีประสิทธิภาพและ ปลอดภัยกันต่อนะครับ
  • 18. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 11 กล้องจุลทรรศน์เป็นเครื่องมือที่จาเป็นสาหรับการศึกษาลักษณะของเซลล์ หรือสิ่งที่มี ขนาดเล็กซึ่งตาเปล่าอาจมองไม่เห็น และเนื่องจากเป็นเครื่องมือที่มีส่วนประกอบและการใช้งาน ที่ซับซ้อน ดังนั้นจึงจาเป็นต้องเรียนรู้ลาดับขั้นตอนการใช้และฝึกฝนเพื่อให้เกิดทักษะที่ถูกต้อง ดังนี้ 2.1.1 วางกล้องให้ฐานอยู่บนพื้นราบที่มีความแข็งแรงห่างจากขอบโต๊ะ และมีแสง สว่างเพียงพอโดยให้ลากล้องตั้งตรง ภาพที่ 1.2 การวางกล้องจุลทรรศน์บนพื้นราบ ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย) 2. การใช้กล้องจุลทรรศน์อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย 2.1 ลาดับขั้นตอนการใช้กล้องจุลทรรศน์
  • 19. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 12 2.1.2 หมุนเลนส์ใกล้วัตถุอันที่มีกาลังขยายต่าสุดอยู่ตรงกับแนวลากล้อง 2.1.3 หาสนามภาพ หรือวงกลมสีขาวที่มีความสว่างอาจทาได้โดยปรับกระจกเงา ใต้แท่นวางวัตถุแต่อย่าปรับกระจกให้รับแสงจากดวงอาทิตย์โดยตรง หรือเปิดสวิตช์ไฟให้แสง ส่องผ่านเข้าสู่ลากล้องได้เต็มที่แล้วแต่ชนิดของกล้อง โดยมองผ่านเลนส์ใกล้ตาซึ่งต้องลืมตา ทั้งสองข้าง เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดการเกร็งของกล้ามเนื้อใบหน้า กล้ามเนื้อตา ไม่เช่นนั้นแล้ว จะปวดเมื่อยลูกนัยน์ตา จะเห็นสนามภาพสว่างขึ้น อย่าเชียวนะ! อย่าปรับกระจกกล้องจุลทรรศน์ ให้รับแสงจากดวงอาทิตย์โดยตรง ภาพที่ 1.3 การหมุนเลนส์ใกล้วัตถุกาลังขยายต่าสุดอยู่ตรงแนวลากล้อง ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2556 : ภาพถ่าย) ภาพที่ 1.3 การหาสนามภาพ ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2555 : ภาพถ่าย)
  • 20. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 13 2.1.4 เตรียมสไลด์ ซึ่งทาได้ดังนี้ 1) เช็ดทาความสะอาดสไลด์และกระจกปิดสไลด์ให้สะอาด 2) หยดน้า หรือสารละลายที่ต้องการเพียง 1 หยดลงตรงกลางของสไลด์ ภาพที่ 1.4 การหยดน้าบนสไลด์ ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย) 3) วางเนื้อเยื่อหรือสิ่งที่จะดู(ลักษณะบาง ๆ เพื่อให้แสงส่องผ่านได้)ลงบน กระจกสไลด์ 4) นากระจกปิดสไลด์วางปิดทับหยดน้า โดยวางกระจกปิดสไลด์เอียงทามุม 45 องศากับสไลด์ด้านหนึ่ง แล้วเลื่อนกระจกปิดสไลด์ไปสัมผัสกับขอบด้านนอกของหยดน้า ใช้เข็มเขี่ยหรือเข็มหมุด รองรับกระจกปิดสไลด์ไว้แล้วค่อย ๆ ลดเข็มเขี่ยลงจนกระจกปิดสไลด์ ปิดลงบนสไลด์จนสนิท เทคนิคนี้จะช่วยไม่ให้เกิดฟองอากาศในสไลด์ ภาพที่ 1.5 การใช้เข็มเขี่ยรองรับสไลด์ ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2553 : 67)
  • 21. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 14 5) ถ้ายังมีฟองอากาศอยู่ให้ใช้หลอดหยดดูดน้า แล้วบีบน้าจากหลอดหยดให้เข้า ไปในกระจกปิดสไลด์ 6) ใช้กระดาษเยื่อแตะข้าง ๆ กระจกปิดสไลด์เพื่อซับน้าหรือของเหลวส่วนเกิน ออก 2.1.5 นาสไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นวางวัตถุ จัดวัตถุให้อยู่ตรงตาแหน่งที่มีแสงส่อง ผ่านได้ แล้วใช้ที่หนีบสไลด์ยึดให้แน่น ภาพที่ 1.6 การวางสไลด์ ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย) 2.1.6 มองด้านข้างของแท่นวางสไลด์ในแนวราบ แล้วค่อย ๆ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ให้ลากล้องเลื่อนลงมาอยู่ใกล้วัตถุมากที่สุดโดยระวังอย่าให้เลนส์ใกล้วัตถุสัมผัสกระจกปิดสไลด์ ภาพที่ 1.7 การหมุนปุ่มปรับภาพหยาบจนเลนส์ใกล้วัตถุเลื่อนลงมาต่าที่สุด ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย)
  • 22. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 15 2.1.7 มองผ่านเลนส์ใกล้ตาลงตามลากล้องพร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพหยาบช้า ๆ ให้เลนส์ใกล้วัตถุขยับออกห่างจากวัตถุทีละน้อย จนมองเห็นภาพของวัตถุที่ศึกษา ภาพที่ 1.8 การหาภาพโดยใช้ปุ่มปรับภาพหยาบ ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย) 2.1.8 หมุนปุ่มปรับภาพละเอียด เพื่อปรับภาพให้คมชัด ขณะนี้อาจเลื่อนสไลด์ จนกระทั่งมองเห็นภาพของวัตถุในตาแหน่งที่เราสนใจอยู่ตรงกลางพอดี ภาพที่ 1.9 การปรับภาพให้คมชัดโดยใช้ปุ่มปรับภาพละเอียด ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย)
  • 23. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 16 2.1.9 ถ้าต้องการขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยาย สูงขึ้นเข้ามาในแนวลากล้องแทนโดยไม่ต้องขยับสไลด์อีก แล้วให้หมุนปุ่มปรับภาพละเอียด เพื่อ ปรับภาพให้ชัดเจนมากขึ้น ขณะนี้ ลองเลื่อนสไลด์ไปทางซ้าย ทางขวา ทางด้านบนและทางด้าน ล่าง ในการเลื่อนสไลด์แต่ละครั้งให้สังเกตด้วยว่า ภาพจะเคลื่อนไปในทิศทางใด และเลื่อนสไลด์ จนกระทั่งมองเห็นภาพของวัตถุในตาแหน่งที่เราสนใจอยู่ตรงกลางพอดี 2.1.10 เมื่อต้องการปรับความเข้มของแสงให้เข้าสู่ลากล้องให้มากหรือน้อย ให้หมุน ปุ่มปรับไดอะแฟรมปรับแสงตามต้องการ 2.1.11 บันทึกภาพที่เห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และระบุกาลังขยายที่ใช้ วิธีคานวณหากาลังขยาย กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ คานวณได้จากผลคูณของกาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ กับกาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ดังนี้ ตัวอย่างที่ 1 เมื่อส่องวัตถุด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้เลนส์ใกล้ตาที่มีกาลังขยาย 10 เท่า (10x) และเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยาย 4 เท่า(4x) กาลังขยายของกล้องมีค่าเท่าใด สูตร กาลังขยายของกล้อง  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ กาลังขยายของกล้อง  10  4 กาลังขยายของกล้อง  40 เท่า (หมายความว่า ภาพที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุจริง 40 เท่า) จากตัวอย่างที่ 1 จะเห็นได้ว่า กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ ก็คือ กาลังขยายของ ภาพนั่นเอง 2.2 วิธีคานวณหากาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ กาลังขยายของกล้อง  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ หรือ กาลังขยายของภาพ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ กาลังขยายของกล้อง  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ หรือ กาลังขยายของภาพ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
  • 24. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 17 ตัวอย่างที่ 2 เมื่อส่องวัตถุด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้เลนส์ใกล้ตาที่มีกาลังขยาย 10 เท่า (10x) และเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยาย 40 เท่า(40x) ภาพที่ได้จะมีกาลังขยายเท่าใด สูตร กาลังขยายของภาพ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ กาลังขยายของภาพ  10  40 กาลังขยายของภาพ  400 เท่า ตัวอย่างที่ 3 ถ้าต้องการภาพที่มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุจริง 400 เท่า โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ซึ่ง มีกาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา 10 เท่า(10x) และจะต้องใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายเท่าใด สูตร กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  กาลังขยายของภาพ กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  600 15 กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  40 เท่า อย่าลืม! นะคะ กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์บอกเราว่า กล้องจุลทรรศน์ สามารถขยายภาพของวัตถุได้กี่เท่า กาลังขยายของกล้อง  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ หรือ กาลังขยายของภาพ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
  • 25. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 18 กล้องจุลทรรศน์เป็นเครื่องมือที่มีราคาสูงและมีความซับซ้อนในการใช้งาน ผู้ใช้จึงต้องใช้ อย่างระมัดระวังและรักษาความสะอาดอยู่เสมอ เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายและสามารถนาไปใช้ งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ข้อควรระวังมีดังนี้ 2.3.1 การยกกล้องเพื่อเคลื่อนย้าย ให้ใช้มือหนึ่งจับที่แขนของกล้อง อีกมือหนึ่งใช้รอง ที่ใต้ฐาน ปรับให้ตรงและยกกล้องในลักษณะตั้งตรง เพื่อป้ องกันการเลื่อนหลุดของเลนส์ใกล้ตา ภาพที่ 1.10 การเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์ ที่มา : ภิรมโรจน์ เพชรโกมล (2553 : ภาพถ่าย) 2.3.2 สไลด์และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียก เพราะอาจทาให้แท่นวางวัตถุเป็นสนิม และทาให้เลนส์ใกล้วัตถุชื้น อาจเกิดราที่เลนส์ได้ 2.3.3 ขณะที่หมุนปรับภาพหยาบเพื่อเลื่อนเลนส์ใกล้วัตถุลงใกล้แผ่นสไลด์ ให้คอย มองด้านข้างของเลนส์ใกล้วัตถุไม่ให้ชนแผ่นสไลด์ 2.3.4 อย่าปรับกระจกของกล้องจุลทรรศน์ให้รับแสงจากดวงอาทิตย์โดยตรง 2.3.5 การมองภาพในกล้องจุลทรรศน์ควรลืมตาทั้ง 2 ข้าง 2.3.6 การหาภาพต้องเริ่มต้นด้วยเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายต่าสุดก่อนเสมอ 2.3 การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์
  • 26. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 19 2.3.7 เมื่อใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูง การปรับภาพให้ชัดเจนจะต้องหมุน ปุ่มปรับภาพละเอียดเท่านั้น 2.3.8 ห้ามใช้มือแตะเลนส์ การทาความสะอาดเลนส์ให้ใช้กระดาษเช็ดเลนส์เท่านั้น 2.3.9 การเก็บกล้องจุลทรรศน์เมื่อใช้งานเสร็จแล้ว ควรปฏิบัติดังนี้ 1) นาวัตถุที่ศึกษาออกจากแท่นวางวัตถุ 2) ใช้ผ้านุ่มที่แห้งและสะอาดทาความสะอาดส่วนที่เป็นโลหะ ส่วนเลนส์และ กระจกใช้กระดาษเช็ดเลนส์เท่านั้น 3) เลื่อนที่หนีบสไลด์ให้ขนานกัน 4) ปรับกระจกเงาให้อยู่ในแนวดิ่งตั้งฉากกับตัวกล้อง เพื่อไม่ให้ฝุ่นเกาะ 5) หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายต่าสุดให้ตรงกับลากล้อง และเลื่อนให้อยู่ ในระดับต่าสุด 6) เก็บเลนส์ใกล้ตาเข้ากล่อง แล้วปิดกระบอกเลนส์ใกล้ตาเพื่อกันฝุ่นเข้า 7) ใช้ผ้าคลุมไว้เมื่อเลิกใช้งาน หรือเก็บใส่กล่องหรือตู้ให้เรียบร้อย 9) อย่าเก็บกล้องจุลทรรศน์ไว้ในที่ชื้น เพราะจะทาให้เลนส์ขึ้นรา กล้องจุลทรรศน์ เป็นอุปกรณ์ที่สามารถใช้ศึกษารายละเอียดของสิ่งมีชีวิตที่มอง ไม่เห็นด้วยตาเปล่า มีส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ทาหน้าที่แตกต่างกัน กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่มี ราคาสูง และมีความซับซ้อนในการใช้งาน ผู้ใช้ต้องใช้และระวังรักษาอย่างถูกวิธีเพื่อไม่ให้เกิดความ เสียหายและสามารถนาไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ บทสรุป
  • 27. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 20 เมื่อนักเรียนได้ศึกษาเนื้อหาสาระการเรียนรู้ เรื่อง กล้องจุลทรรศน์แล้ว ให้นักเรียนทากิจกรรมต่อไปนี้ 1. กิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ 2. กิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การใช้กล้องจุลทรรศน์ 3. แบบฝึกหัด เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ 4. ผังมโนทัศน์/ผังความคิด เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ 5. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ กิจกรรม
  • 28. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 21 ชื่อ.....................................................................ชั้น ม.1/........... เลขที่.....................กลุ่มที่................ 1. กาหนดปัญหาของกิจกรรมที่ศึกษาได้ 2. ตั้งสมมติฐานจากปัญหาที่กาหนดได้ 3. อธิบายส่วนประกอบสาคัญของกล้องจุลทรรศน์ได้ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติดังนี้ 1. อ่านวิธีทากิจกรรมให้เข้าใจ และส่งตัวแทนกลุ่มมารับอุปกรณ์ที่คุณครู 2. ตอบคาถามก่อนทากิจกรรมเพื่อกาหนดปัญหาและตั้งสมมติฐาน 3. ทากิจกรรมและบันทึกผล 4. ตอบคาถามหลังทากิจกรรมเพื่อการวิเคราะห์และสรุปผล 5. นาเสนอหน้าชั้นเรียน ประธานกลุ่มรวบรวมใบกิจกรรมที่ 1.1 ของสมาชิกส่งคุณครู เพื่อตรวจ รวมคะแนนและเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่ม กิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ จุดประสงค์การเรียนรู้ คาชี้แจง
  • 29. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 22 รายการ จานวนต่อกลุ่ม กล้องจุลทรรศน์ 1 ตัว 1. ปัญหาของการศึกษากิจกรรมนี้ คืออะไร ........................................................................................................................................ ....................................................................................................................................... 2. นักเรียนรู้จักส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์อะไรบ้าง ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 3. ส่วนประกอบแต่ละอย่างของกล้องจุลทรรศน์ มีทาหน้าที่ต่างกันหรือไม่ อย่างไร ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ อุปกรณ์ คาถามก่อนทากิจกรรม
  • 30. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 23 1. แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาหัวข้อที่ 1. ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์จากเอกสาร ประกอบการเรียน หน้า 8-10 และเปรียบเทียบกับกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้จริงในชั้นเรียน 2. จงนาป้ ายบ่งชี้ส่วนประกอบต่าง ๆ ของกล้องจุลทรรศน์มาติดให้สัมพันธ์กับหมายเลขบ่งชี้ ของภาพกล้องจุลทรรศน์ ภาพที่ 1.11 การชี้บ่งส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2544 : 175) วิธีทากิจกรรม 1. 2. แท่นวางวัตถุ 3. กระจกเงา ฐาน คอนเดนเซอร์ 6. แขน ปุ่มปรับภาพละเอียด 5. 4. เลนส์ใกล้ตา ไดอะแฟรมลากล้อง เลนส์ใกล้วัตถุ ปุ่มปรับภาพหยาบ ที่หนีบสไลด์
  • 31. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 24 3. จงนาตัวอักษรหน้าข้อความที่เกี่ยวกับส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ทางขวามือมาเติมลง ใน หน้าข้อความเกี่ยวกับหน้าที่ของส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ทางซ้ายมือให้ ถูกต้องสัมพันธ์กัน หมายเหตุ เมื่อนาตัวอักษรทางขวามือมาเติมในข้อทางซ้ายมือ ถูกต้อง ครบทุกข้อแล้ว นาตัวอักษรดังกล่าวมาเรียงกัน จะอ่านได้ว่า............................................................................... 1. เป็นส่วนที่รองรับน้าหนักของกล้อง 2. รับแสงและสะท้อนเข้าสู่ลากล้อง 3. ปุ่มเลื่อนหาภาพ 4. ปรับภาพให้คมชัด 5. ที่สาหรับวางแผ่นสไลด์ 6. เลนส์ที่ใช้หาภาพของวัตถุ ทาหน้าที่ ขยายวัตถุ 7. ตัวรวมแสงให้ผ่านวัตถุ 8. ป้ องกันแผ่นสไลด์เลื่อน 9. ใช้ปิด-เปิดเพื่อปรับแสงให้เข้าสู่ ลากล้องให้พอเหมาะ 10. ยึดกล้องและฐาน เป็นที่จับ ขณะเคลื่อนย้าย . A ไดอะแฟรม C ที่หนีบสไลด์ E แท่นวางวัตถุ I ฐาน L กระจกเงา M เลนส์ใกล้วัตถุ O ปุ่มปรับภาพหยาบ T แขน V ปุ่มปรับภาพละเอียด Y คอนเดนเซอร์
  • 32. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 25 1. ส่วนประกอบที่สาคัญของกล้องจุลทรรศน์มีอะไรบ้าง ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 2. กล้องจุลทรรศน์มีเลนส์กี่ประเภท อะไรบ้าง ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 3. ตัวเลขที่เขียนกากับไว้ที่เลนส์ใกล้ตา และเลนส์ใกล้วัตถุ คือเลขอะไร หมายความว่าอย่างไร ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 4. ส่วนประกอบใดของกล้องจุลทรรศน์ที่ทาให้เราเห็นภาพขยายใหญ่ขึ้น ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 5. ส่วนประกอบใดของกล้องจุลทรรศน์ที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องในการนาแสงเข้าสู่ลากล้อง แต่ละอย่างทาหน้าที่อย่างไร ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 6. การใช้กล้องจุลทรรศน์ดูสิ่งต่าง ๆ แตกต่างจากการดูด้วยตาเปล่าอย่างไร ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 7. ทาไมเราต้องศึกษาส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ คาถามเพื่อการวิเคราะห์และสรุปผล
  • 33. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 26 ........................................................................................................................................ ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................... ........................................................................................................................................ สรุปผลการทากิจกรรม
  • 34. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 27 ชื่อ..............................................................ชั้น ม.1/........... เลขที่.....................กลุ่มที่................ 1. กาหนดปัญหาของกิจกรรมที่ศึกษาได้ 2. ตั้งสมมติฐานจากปัญหาที่กาหนดได้ 3. อธิบายวิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ได้ถูกต้อง 4. คานวณหากาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ได้ 5. อธิบายการระวังรักษากล้องจุลทรรศน์ได้ 6. ใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษาวัตถุและบันทึกสิ่งที่สังเกตเห็นได้ 7. เก็บกล้องจุลทรรศน์หลังใช้งานได้ถูกต้อง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติดังนี้ 1. อ่านวิธีทากิจกรรมให้เข้าใจ และส่งตัวแทนกลุ่มมารับอุปกรณ์ที่คุณครู 2. ตอบคาถามก่อนทากิจกรรมเพื่อกาหนดปัญหาและตั้งสมมติฐาน 3. ทากิจกรรมและบันทึกผล 4. ตอบคาถามหลังทากิจกรรมเพื่อการวิเคราะห์และสรุปผล 6. นาเสนอหน้าชั้นเรียน ประธานกลุ่มรวบรวมกิจกรรม 1.2 ของสมาชิกส่งคุณครู เพื่อตรวจ รวมคะแนนและเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่ม กิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การใช้กล้องจุลทรรศน์ คาชี้แจง จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 35. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 28 รายการ จานวนต่อกลุ่ม 1. กล้องจุลทรรศน์ 2. สไลด์และกระจกปิดสไลด์ 3. แผ่นพลาสติกเขียนตัวอักษร F (ขนาดเท่ากับกระจกปิดสไลด์) 4. หลอดหยด 5. เข็มเขี่ย/เข็มหมุด 6. กระดาษเยื่อ 7. น้า 1 ตัว 1 ชุด 1 แผ่น 1 อัน 1 อัน 1 ม้วน(ต่อห้อง) 100 cm3 (ต่อห้อง) 1. นักเรียนคิดว่า ภาพที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์มีลักษณะแตกต่างจากภาพ ที่มองเห็นด้วยตาเปล่าในลักษณะใด ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 2. นักเรียนคิดว่า การนาตัวอักษร F มาส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ภาพที่มองเห็นจาก กล้องจุลทรรศน์จะมีลักษณะเป็นอย่างไร ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 3. การใช้กล้องจุลทรรศน์ควรเริ่มต้นที่กาลังขยายเท่าใดก่อน ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 4. การดูภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ควรมองอย่างไร ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ วัสดุอุปกรณ์/สารเคมี คาถามก่อนทากิจกรรม
  • 36. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 29 5. เพราะเหตุใดจึงต้องทาให้สไลด์และกระจกปิดสไลด์แห้ง ก่อนนาไปศึกษาภายใต้ กล้องจุลทรรศน์ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 6. การหาภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์จะต้องหมุนปุ่มปรับภาพชนิดใด ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 7. ในการปรับภาพใน ข้อ 6. ให้คมชัดยิ่งขึ้น นักเรียนจะต้องหมุนปุ่มปรับภาพชนิดใด ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 8. ในการดูภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ขณะมีการเปลี่ยนเลนส์ใกล้วัตถุจากอันที่มี กาลังขยาย 4x เป็น10x หรือจาก 10x เป็น 40x นักเรียนจะต้องหมุนปุ่มปรับภาพชนิดใด ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 9. ในการดูภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ถ้านักเรียนใช้เลนส์ใกล้ตาที่มีกาลังขยาย 10x คงที่ ตลอดการทดลอง แต่เปลี่ยนกาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ จาก4x เป็น 10x และจาก10x เป็น 40x นักเรียนคิดว่า กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์และลักษณะของภาพ จะเปลี่ยนไป อย่างไร จงตั้งสมมติฐานและระบุตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................
  • 37. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 30 คาชี้แจง : จงนาวิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้มาเรียงลาดับให้ถูกต้อง หมายเหตุ เมื่อนากล่องข้อความมาเรียงลาดับได้ถูกต้อง อักษรหน้าข้อความเรียงกัน อ่านได้ว่า........................................................................................................................... วิธีทากิจกรรม E หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายต่าสุดมาอยู่ตรงกับแนวลากล้อง D ให้ปรับไดอะแฟรม เมื่อต้องการปรับความเข้มของแสงที่เข้าสู่ลากล้อง A ปรับกระจกเงาใต้แท่นวางวัตถุให้แสงสะท้อนเข้าลากล้องเต็มที่ U นาสไลด์ที่จะศึกษาวางบนแท่นวางวัตถุ ให้วัตถุอยู่กลางบริเวณที่แสงผ่าน I ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูงขึ้นเข้ามาแทนที่ เลนส์ใกล้วัตถุอันเดิมโดยไม่ต้องขยับสไลด์แล้วหมุนปุ่มปรับภาพละเอียดเพียงอย่างเดียว K หมุนปุ่มปรับภาพละเอียด เพื่อปรับภาพให้ชัดเจนยิ่งขึ้น B วางกล้องให้ฐานอยู่บนพื้นรองรับที่ราบเรียบสม่าเสมอ และมีแสงสว่างเพียงพอ T มองด้านข้างของแท่นวางวัตถุในแนวระดับ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ให้เลนส์ใกล้วัตถุ เข้าหาวัตถุให้มากที่สุด แต่ระวังอย่าให้เลนส์สัมผัสกับกระจกปิดสไลด์ Y มองผ่านเลนส์ใกล้ตา พร้อมกับหมุนปุ่มปรับภาพหยาบช้า ๆ ให้เลนส์ใกล้วัตถุเลื่อนขึ้น ขยับออกห่างจากวัตถุทีละน้อย จนมองเห็นวัตถุที่จะศึกษา S บันทึกภาพที่เห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และระบุกาลังขยายที่ใช้ ตอนที่ 1 : ลาดับขั้นตอนการใช้กล้องจุลทรรศน์
  • 38. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 31 คาชี้แจง : ให้นักเรียนคานวณหากาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์จากโจทย์ที่กาหนดให้ 1. เมื่อส่องวัตถุด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้เลนส์ใกล้ตากาลังขยาย 10 เท่า(10x) และเลนส์ใกล้วัตถุ กาลังขยาย 10 เท่า(10x) ภาพที่ได้จะมีกาลังขยายเท่าใด สูตร กาลังขยายของภาพ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ กาลังขยายของภาพ  10  ........ กาลังขยายของภาพ  ................ เท่า ตอบ กาลังขยายของภาพ.......................เท่า 2. เมื่อส่องวัตถุด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้เลนส์ใกล้ตาที่มีกาลังขยาย 15 เท่า(15x) และเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยาย 40 เท่า(40x) ภาพที่ได้จะมีกาลังขยายเท่าใด สูตร กาลังขยายของภาพ  กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา  กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ กาลังขยายของภาพ  .............  ............. กาลังขยายของภาพ  ............. เท่า ตอบ กาลังขยายของภาพ ................ เท่า 3. ถ้าต้องการภาพที่มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุจริง 600 เท่า โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ซึ่งมีกาลังขยายของ เลนส์ใกล้ตา 10 เท่า(10x) และจะต้องใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายเท่าใด สูตร กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  กาลังขยายของภาพ กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  ……… ……… กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ  .............. เท่า ตอบ กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ ...................... เท่า ตอนที่ 2 : วิธีคานวณหากาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์
  • 39. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช เล่มที่ 1 กล้องจุลทรรศน์ 32 คาชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่กล่าวถูก และเขียนเครื่องหมาย หน้าข้อความที่กล่าวผิดเกี่ยวกับข้อควรระวังในการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1. การยกหรือเคลื่อนย้ายกล้องจุลทรรศน์ ควรใช้มือที่ถนัดรองรับที่ฐาน อีกมือหนึ่ง ให้จับที่แขนของกล้อง 2. ไม่ควรปรับกระจกของกล้องจุลทรรศน์ ให้รับแสงจากดวงอาทิตย์โดยตรง 3. การมองภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ควรลืมตาทั้งสองข้าง 4. ขณะที่หมุนปุ่มปรับภาพหยาบเพื่อเลื่อนเลนส์ใกล้วัตถุลงใกล้แผ่นสไลด์ ควรมอง ด้านข้างของเลนส์ใกล้วัตถุไม่ให้ชนแผ่นสไลด์ 5. การทาความสะอาดเลนส์ ถ้าไม่มีกระดาษเช็ดเลนส์ ให้ใช้กระดาษเยื่อแทน 6. การทาความสะอาดตัวกล้อง ควรใช้ผ้าที่สะอาดชุบน้าเช็ดทาความสะอาด 7. ก่อนทาความสะอาดกล้องจุลทรรศน์หลังใช้งานเสร็จ ต้องนาวัตถุออกจากแท่นวาง วัตถุเสียก่อน 8. ในการเก็บกล้องจุลทรรศน์ หลังใช้งานเสร็จแล้ว ควรปรับกระจกเงาให้อยู่ในแนวดิ่ง ตั้งฉากกับพื้น 9. ในการเก็บกล้องจุลทรรศน์ หลังใช้งานเสร็จแล้ว ให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุอันที่มี กาลังขยายสูงสุดให้อยู่ในแนวลากล้องแล้วเลื่อนให้อยู่ในระดับต่าสุด 10. อย่าเก็บกล้องจุลทรรศน์ไว้ในที่ชื้น เพราะจะทาให้เลนส์ขึ้นรา ....... ....... ....... ..... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ....... ตอนที่ 3 : การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์