SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 77
รายงานการวิจัย
เรื่อง พัฒนาและส่งเสริมทักษะการอ่าน
รายวิชาภาษาไทย รหัส ท 22101
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
นางสาวมารินทร์ จานแก้ว
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี
SRINAGARINDRA THE PRINCESS MOTHER
SCHOOL KANCHANABURI
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8
บทที่ 1
บทนำ
ที่มำและควำมสำคัญของปัญหำ
ภาษาไทยเป็ นภาษาประจาชาติ ซึ่งเป็ นวัฒนธรรมที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาติไทย
แ ล ะ เ ป็ น สื่ อ ก ล า ง ที่ ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ข อ ง ค น ไ ท ย
เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ
ก า ร ง า น
การดารงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างมีความสุขและเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้
ประสบการณ์ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์
วิจารณ์ ให้ ทัน ต่อการเป ลี่ยน แปลง ทางสั งคม ความก้าวห น้ าท าง ด้าน เทคโน โล ยี
ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและแสดงถึงภูมิปัญญา
สามารถถ่ายทอดขนบธรรมเนี ยมประเพ ณี วัฒน ธรรมของชาติให้คงอยู่คู่คนไทยตลอดไป
(กระทรวงศึกษาธิการ:2551)
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ า แ ห่ ง ช าติ พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 4 2 ม าต ร า 2 2
ระบุว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่
า ผู้ เ รี ย น มี ค ว า ม ส า คั ญ ที่ สุ ด
กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
ในมาตรา 23 เน้นการศึกษาในระบบและตามอัธยาศัย ให้ความสาคัญ ในการบูรณาการความรู้
คุณธรรมและกระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของระดับการศึกษา (กรมวิชาการ:2545)
จากห ลักสู ตรการศึกษาขั้น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2544 จัดทาขึ้น สาห รับท้องถิ่น
และสถานศึกษาได้นาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียน
การสอน เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน ไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพ
ด้านความรู้และทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและแสวงหาความรู้เพื่อพั
ฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ได้กาหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ 1การอ่าน
มาตรฐาน ที่ 1.1 ใช้กระ บวน การอ่าน สร้างความรู้และความคิด เพื่อน าไปใช้ตัดสิ น ใจ
แ ก้ปั ญ ห าใ น ก า ร ด าเนิ น ชี วิต แ ล ะ มี นิ สั ย รั ก ก าร อ่า น ก า ห น ด ใ ห้ นั ก เรี ย น
ใช้ความรู้และประสบการณ์เป็ นเครื่องมือพัฒนาการอ่านหนังสือที่หลากหลายเพื่อเป็ นพื้นฐาน
ก าร พิ จ าร ณ าเนื้ อ ห า รู ป แ บ บ วิเค รา ะ ห์ วิจ าร ณ์ แ ล ะ ป ระ เมิน ค่าเรื่ อ ง ที่ อ่า น
รวมทั้งคุณค่าทางวรรณคดีและสังคม (กระทรวงศึกษาธิการ:2544)
วิชาภาษาไทยประกอบด้วยเนื้อหา 5 สาระ คือ 1. การอ่าน 2. การเขียน 3.การฟัง การดู
และการพูด 4. หลักการใช้ภาษา 5. วรรณคดีและวรรณกรรม การอ่านเป็ นเนื้อหาที่ผู้เรียนต้อง
มีความรู้ความเข้าใจหลักเกณฑ์การอ่าน ให้ถูกต้องจึงก่อให้ เกิดประสิ ทธิภ าพ ในการเรียน
แ ล ะ ส า ม า ร ถ น า ไ ป ใ ช้ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น
การอ่าน จึง มีความส าคัญ เพ ราะ เป็ น พื้ น ฐาน ใ น การสื่ อส ารเพื่ อใ ห้ เกิดความเข้าใ จ
จาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจหลักการอ่านจึงจะทาให้การสื่อสารประสบความสาเร็จ
ทั ก ษ ะ ข อ ง ก า ร อ่า น ที่ จ า เป็ น จ ะ ต้อ ง ส่ ง เส ริ ม ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ แ ก่
ทักษะในการแปลความหมายของเนื้อเรื่องที่อ่านและเก็บใจความสาคัญให้ได้ตรงตามที่ผู้แต่งต้องการ
แต่การสอนทักษะนี้ จะยากลาบาก เพราะผู้เรียนมีข้อบกพร่องหลายประการดังที่ ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์
ได้กล่าวถึงข้อบกพร่องของผู้เรียนดังนี้
1. ความบกพร่องอันเกิดจากการที่เด็กไม่รู้จักคาแปลของคาที่อ่าน
2. ความบกพร่องอันเกิดจากการที่เด็กไม่สามารถเข้าใจความคิดอันซับซ้อน
3. ความบกพร่องอันเกิดจากการที่เด็กไม่รู้จักวิพากษ์วิจารณ์
4. ความบกพร่องอันเกิดจากการที่เด็กลาดับเรื่องราวไม่เป็น
เ มื่ อ ก า ร อ่ า น มี ค ว า ม ส า คั ญ มี ค ว า ม จ า เ ป็ น แ ล ะ มี ป ร ะ โ ย ช น์
จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้มีความสามารถในการอ่าน เช่น อ่านหนังสือได้เร็ว
อ่านแล้วสามารถจับใจความ ของเรื่องได้ สามารถถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกจากเรื่องราวที่อ่านได้
คิดเชิงวิจารณ์และวิเคราะห์ใจความสาคัญ ปฏิบัติตนให้เกิดนิสัยที่ดีในการอ่าน (ไพฑูรย์ ธรรมแสง 2543 :
12)
ฉะนั้น การสอน การอ่านต้องจัดกิจกรรมหลายรูปแบบและเป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาส
ให้ผู้เรียนได้จับใจความสาคัญ ตีความวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่อ่าน ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรพุทธศักราช
2 5 51 ก ร ะ บ ว น ก า ร ส อ น อ่ า น เ ป็ น สิ่ ง จ า เ ป็ น
ค ว รจ ะ ใ ห้ ผู้เรี ย น ไ ด้รั บ ก า รฝึ ก ฝ น ก า รอ่าน ตั้ ง แ ต่ร ะ ดั บ มัธ ย ม ศึ ก ษ าต อ น ต้ น
ซึ่ ง จ ะ ไ ด้ ผ ล ดี ก ว่ า ก า ร ฝึ ก ใ น ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า
เพ ราะ ปัญ หาการสอน เกี่ยวกับเรื่องการอ่าน ที่เกิดขึ้น ใน ระดับมัธยมศึกษาตอน ต้น นั้ น
ผู้ เ รี ย น บ า ง ค น อ่ า น ไ ด้ แ ต่ ไ ม่ เ ข้ า ใ จ เ รื่ อ ง ที่ อ่ า น
และส่วนใหญ่ก็ไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับความคิดเห็นของผู้เขียนได้
เนื่องจากผู้เขียนมิได้แสดงแนวคิดหรือใจความสาคัญของเรื่องโดยตรงซึ่งทาให้ขาดสมรรถภาพทางด้านการ
อ่าน
การจัดการเรียนการสอนด้านการอ่านในปัจจุบัน (2552– 2555) พบว่า การจัดการเรียน
การสอนส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่น่าพอใจ นอกจากนี้ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนกลุ่มภาษาไทย
มีคะแนนสูงกว่าเกณฑ์เล็กน้อย แต่ยังไม่สูงเท่าที่ควรในฐานะที่เป็นภาษาประจาชาติ
จากรายงานการวัดผลและประเมินผลทางด้านคุณภาพการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษ
าไทยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ของโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี โดยการสารวจผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2556
คะแน นเฉลี่ยร้อยละ 68.25 ปี การศึกษา 2557คะแน นเฉลี่ยร้อยละ 70.65 ปี การศึกษา 2558
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 70.95 จากผลการประเมินย้อนหลัง 3 ปี พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการอ่าน
มีคะแน นเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ที่โรงเรียน กาหน ดไว้คือ ร้อยละ 80 ซึ่ งปัญหาที่พบมากที่สุ ด
ของโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ปี การศึกษา 2556-2558 คือ
ทักษะด้านการอ่าน เป็นผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 รายงานการวัดผลและประเมินผลแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย โรงเรียน
เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
ปีการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ เกณฑ์ที่กาหนด คะแนนเฉลี่ย
2556 ภาษาไทย 80.00 68.25
2557 ภาษาไทย 80.00 70.65
2558 ภาษาไทย 80.00 70.95
จากการศึกษาประโยชน์ ของการอ่าน ข้างต้น พ บว่า การมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน
ด้านการอ่าน วิชาภาษาไทยต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหน ด มีมูลเหตุลาดับหนึ่ งว่า ผู้เรียน ขาดความรู้
แ ล ะ ทั ก ษ ะ ที่ ช าน า ญ ใ น ก า ร อ่าน ใ น ใ จ ก าร จับ ใ จ ค ว าม ก าร อ่า น ตี ค ว า ม
การอ่าน เพื่อแยกข้อความที่เป็ น ข้อเท็จจริง และ ข้อคิดเห็ น การอ่าน เพื่อการวิเคราะ ห์
ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า
จากสภาพปัญหาดังกล่าว ผู้รายงานจึงเห็นความสาคัญของปัญหาและสนใจที่จะสร้าง
และใช้แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่าน ภาษาไทย เป็ นสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
แ บ บ ฝึ ก เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ ก า ร อ่ า น ภ า ษ า ไ ท ย ที่ ผู้ ร า ย ง า น ส ร้ า ง ขึ้ น
จึ ง เ ป็ น น วัต ก ร ร ม ที่ ช่ ว ย ใ ห้ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างและ พัฒน าแบบฝึ กเสริ มทักษะการอ่าน ภาษาไทย สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง
จังหวัดกาญจนบุรี ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ด้านทักษะการอ่านภาษาไทย ก่อนและหลัง
การใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียน
เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
3 . เพื่ อ ศึ ก ษ า ค ว าม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง นั ก เรี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ าปี ที่ 2
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
หลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
สมมติฐำน
1. แบบฝึ กเสริมทักษะ การอ่าน ภ าษาไทย สาห รับนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่
2ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2. นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 5 9
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านทักษะการอ่านภาษาไทยหลังใช้สูงกว่าก่อนใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภา
ษาไทย
3. นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 5 9
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
มีความพึงพอใจต่อการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยอยู่ในระดับดี
ขอบเขตของกำรศึกษำค้นคว้ำ
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
ปี การศึกษา 2559ของเฉลิมพ ระเกียรติสมเด็จพ ระศรีน ครินทร์ กาญจน บุรี อาเภอท่าม่วง
จังหวัดกาญจนบุรี จานวน 2ห้องเรียน จานวน 80 คน
กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2559ของโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง
จังหวัดกาญจนบุรี โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (SimpleRondom Samping)โดยวิธีการจับฉลากได้กลุ่มตัวอย่าง
จานวน 1 ห้องเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 จานวน 40คน
2. เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับการอ่านภาษาไทย ตามหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนด่านมะขามเตี้ยวิทยาคมพุทธศักราช 2551 (หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544)
ส า ร ะ ที่ 1 ก า ร อ่ า น ซึ่ ง แ บ่ ง ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ก า ร อ่ า น ห ล า ย ป ร ะ เ ภ ท
สาหรับเนื้อหาวิชาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สาหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 เรื่องการอ่าน ซึ่งประกอบด้วย
ชุดที่ 1 อ่านในใจลาดับความคิด
ชุดที่ 2 จับประเด็นพินิจใจความสาคัญ
ชุดที่ 3 สารพันเลือกสรรอ่านตีความ
ชุดที่ 4 แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ชุดที่ 5 มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์
3. ตัวแปรในการศึกษาครั้งนี้
3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่การสอนโดยใช้สื่อแบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
3.2 ตัวแปรตาม
3.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ก่อนและหลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
3.2.2 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ที่ผู้รายงานสร้างขึ้น
นิยำมศัพท์เฉพำะ
1. การอ่านวิชาภาษาไทย หมายถึง ความสามารถในการอ่าน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
2ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ประกอบด้วยการอ่านในใจ การจับใจความสาคัญ
การตีความ การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น การวิเคราะห์ ได้อย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์การอ่าน
ทาให้สามารถถ่ายทอดความหมายของตัวอักษรให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง
2 . แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร อ่ า น ภ า ษ า ไ ท ย ห ม า ย ถึ ง
สื่อการเรียนที่ผู้รายงานสร้างขึ้นให้ผู้เรียนสามารถใช้เรียนได้ด้วยตนเองในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551สาระที่ 1การอ่าน มาตรฐานที่ ท
1.1 ใ ช้ ก ร ะ บ วน ก าร อ่าน ส ร้ าง ค ว ามรู้ แ ล ะ ค วา มคิ ด เพื่ อ น าไ ป ใ ช้ ตัด สิ น ใ จ
แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
3. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถในการทาแบบทดสอบหลังเรียน
ของนักเรียน หลังจากที่นักเรียนได้เรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
2 ตามเกณฑ์ที่กาหนด
4. ประสิทธิภาพของแบบฝึกตามเกณฑ์ 80/80
8 0 ตั ว แ ร ก ห ม า ย ถึ ง
ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยนักเรียนทั้งหมดที่ได้จากการทาแบบทดสอบย่อยหลังจากเรียนโดยใช้แบบฝึกเส
ริมทักษะการอ่านภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
8 0 ตั ว ห ลั ง ห ม า ย ถึ ง
ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยนักเรียนทั้งหมดที่ได้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน
5. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาไทย
(ท 22101) ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2559โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
6. ครูผู้สอนหมายถึงครูผู้สอนนักเรียนที่สอนวิชาภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ภาคเรียนที่1และ 2
ปีการศึกษา 2556- 2558โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง
จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8
7. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนที่สร้างขึ้นตามเนื้อหา เกี่ยวกับการอ่านภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ
8. ความพึ ง พ อใ จ ห มายถึ ง ความพ อใ จขอ งนั กเรี ยน ชั้ น มัธยมศึ กษ าปี ที่ 2
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ปีการศึกษา
2558 ต่อการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1.แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ
โดยใช้เกณฑ์ 80/80
2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการอ่านวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
3. ค รู น าแ น ว ท าง ก าร ผ ลิ ต สื่ อ แ บ บ ฝึ ก เส ริ มทั ก ษ ะ ก ารอ่าน ภ าษ าไ ท ย
ประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ
4 . นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2/ 2 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 5 9
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
หรือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2ที่ใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย มีความพึงพอใจ
มีความสุขต่อการใช้สื่อแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดั
บดี
บทที่ 2
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การสร้างและพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
ผู้รายงานได้ศึกษาเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาดังนี้
1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2. หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
2.1 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
2.2 มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น วิชาภาษาไทย
3. การอ่าน วิชาภาษาไทย
3.1 ความหมายของการอ่าน
3.2 ความสาคัญของการอ่าน
3.3 ทฤษฏีเกี่ยวกับการอ่าน
3.4 ประเภทของการอ่าน
4. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
4.1 ความหมายของแบบฝึก
4.2 ความสาคัญของแบบฝึก
4.3 หลักการสร้างแบบฝึก
4.4 ลักษณะของแบบฝึกที่ดี
4.5 ประโยชน์ของแบบฝึก
5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
5.1 งานวิจัยในประเทศ
5.2 งานวิจัยต่างประเทศ
หลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย การพัฒนานวัตกรรมในครั้งนี้ ผู้รายงานได้ศึกษา
หลักการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จุดหมายโครงสร้าง สาระและมาตรฐาน
การเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (กระทรวงศึกษาธิการ.2551 : 4-12)
1. หลักการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
เพื่อให้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็ นไปตามนโยบายการจัดการศึกษาของประเทศ
เพื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ พั ฒ น า ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ เ ต็ ม ศั ก ย ภ า พ
กาหนดหลักการของหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานไว้ดังนี้
1.1 เป็นการศึกษาเพื่อเป็นเอกภาพของชาติ มุ่งเน้นความเป็นไทย ควบคู่เป็นสากล
1 . 2 เ ป็ น ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ ป ว ง ช น
ที่ประชาชนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน โดยสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
1.3 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒน าและเรียน รู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
โดยถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ
1.4 เป็นหลักสูตรที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระ เวลาและการจัดการเรียนรู้
1 . 5 เ ป็ น ห ลั ก สู ต ร ที่ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ไ ด้ ทุ ก รู ป แ บ บ
ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายสามารถเทียบโอนผลการเรียนและประสบการณ์
2. จุ ดมุ่ง ห ม ายข อ ง ห ลัก สู ต รก ารศึ ก ษ าขั้ น พื้ น ฐ าน พุ ท ธ ศักร าช 25 51
หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุ ษย์ที่สมบูรณ์ เป็ นคนดี มีปัญญา
มีความสุ ขและ มีความเป็ น ไ ท ย มีศัก ยภ าพ ใ น ก ารศึ ก ษ าต่อ แ ล ะ ป ระ ก อ บ อ าชี พ
จึงกาหนดจุดมุ่งหมายซึ่งถือเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังต่อไปนี้
2 . 1 เ ห็ น คุ ณ ค่ า ข อ ง ต น เ อ ง
มีวินัยในตนเองปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม
จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์
2.2 มีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รักการอ่าน รักการเขียนและรักการค้นคว้า
2.3 มีความรู้อันเป็นสากล รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ
มีทักษะ และศักยภาพ ใ น การจัดการ การสื่ อสารและการใช้เทคโน โลยี ปรับวิธีการคิด
วิธีการทางานได้เหมาะสมกับสถานการณ์
2.4 มีทักษ ะ ก ระ บ วน ก าร โดยเฉ พ าะ ท าง ค ณิ ตศาส ตร์ วิท ยาศ าส ต ร์
ทักษะการคิดการสร้างปัญญาและทักษะในการดาเนินชีวิต
2.5 รักการออกกาลังกาย ดูแลตนเองให้มีสุขภาพและบุคลิกที่ดี
2.6 มีประสิทธิภาพในการผลิตและการบริโภค มีค่านิยมเป็นผู้ผลิตมากกว่าเป็นผู้บริโภค
2.7 เข้าใจประวัติศาสตร์ของช าติไทย ภูมิใจใน ความเป็ น ไทย เป็ น พลเมืองดี
ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
2.8 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปะวัฒนธรรมประเพณี กีฬาภูมิปัญญาไทย
ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดล้อม
2.9 รักประเทศชาติและท้องถิ่น มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามให้สังคม
3. โครงสร้างของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็ นไปตามหลักการ จุดมุ่งหมายและมาตรฐานการเรียน รู้
ที่กาหน ดไว้ให้สถานศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้องมีแน วปฏิบัติใน การจัดหลักสู ตรสถาน ศึกษา
จึงได้กาหนดโครงสร้างของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
โครงสร้ำงของหลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
3.1 ระดับช่วงชั้น
กาหนดหลักสูตรเป็น 4 ช่วงชั้น ตามระดับพัฒนาการของผู้เรียน ดังนี้
ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3
ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3
ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6
3.2 สำระกำรเรียนรู้
กาหน ดสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร ซึ่งประกอบด้วยองค์ความรู้ ทักษะ
หรือกระบวนการเรียนรู้และคุณลักษณะหรือค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียนเป็น 8 กลุ่มดังนี้
3.2.1 ภาษาไทย
3.2.2 คณิตศาสตร์
3.2.3 วิทยาศาสตร์
3.2.4 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
3.2.5 สุขศึกษาและพลศึกษา
3.2.6 ศิลปะ
3.2.7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี
3.2.8 ภาษาต่างประเทศ
3.3 เวลำเรียน
ห ลั ก สู ต ร ก าร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ าน ก าห น ด เว ล าใ น ก า ร จัด ก า ร เรี ย น รู้
และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไว้ดังนี้
ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 3 มีเวลาเรียนประมาณปีละ 800 - 1,000 ชั่วโมง
โดยเฉลี่ยวันละ 4-5ชั่วโมง
ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 มีเวลาเรียนประมาณปี ละ 800 - 1,000 ชั่วโมง
โดยเฉลี่ยวันละ 4-5ชั่วโมง
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 มีเวลาเรียนประมาณปีละ 1,000 - 1,200 ชั่วโมง
โดยเฉลี่ยวันละ 5-6ชั่วโมง
ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4–6 มีเวลาเรียนประมาณปีละไม่น้อยกว่า 1,200 ชั่วโมง
โดยเฉลี่ยวันละไม่น้อยกว่า 6ชั่วโมง ดังแสดงในตารางที่ 2
ตำรำงที่2 แสดงโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม
ช่วงชั้น
ประถมศึกษา มัธยมศึกษา
ช่วงชั้นที่ 1
(ป.1-3)
ช่วงชั้นที่ 2
(ป.4-6)
ช่วงชั้นที่ 3
(ม.1-3)
ช่วงชั้นที่ 4
(ม.4-6)
การศึกษาภาคบังคับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลศึกษา    
ศิลปะ    
การงานอาชีพและเทคโนโลยี    
ภาษาต่างประเทศ    
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน    
เวลาเรียน ประมาณปีละ
800-1,000 ชม.
ประมาณปีละ
800-1,000ชม.
ประมาณปีละ
1,000-1,200ชม.
ไม่น้อยกว่าปีละ
1,200ชม.
หมำยเหตุ สาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาต้องใช้เป็นหลักเพื่อสร้างพื้นฐานการคิด การเรียนรู้
และการแก้ปัญหา
 ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม เ ป็ น ม นุ ษ ย์
และศักยภาพพื้นฐานในการคิดและการทางาน
 กิจรรมที่เสริมสร้างการเรียนรู้นอกจากสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และการพัฒนาตนตาม
ศักยภาพทั้งนี้สถานศึกษาอาจจัดเวลาเรียนและกลุ่มสาระต่างๆ ได้ตามสภาพกลุ่มเป้าหมายสาหรับ
การศึกษาน อกระ บบ สามารถจัดเวลาเรียน และ ช่วงชั้น ได้ตามระ ดับการศึกษา
หลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้น พื้น ฐาน มุ่งพัฒน าผู้เรียน ทุกคน ซึ่ งเป็ น กาลังของช าติ
ใ ห้ เ ป็ น ม นุ ษ ย์ ที่ มี ค ว า ม ส ม ดุ ล ทั้ ง ด้ า น ร่ า ง ก า ย ค ว า ม รู้ คุ ณ ธ ร ร ม
มี จิ ต ส า นึ ก ใ น ค ว า ม เ ป็ น พ ล เ มื อ ง ไ ท ย แ ล ะ เ ป็ น พ ล เ มื อ ง โ ล ก
ยึดมั่นใน การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอัน มีพ ระมห ากษัตริย์ ทรงเป็ นประมุข
มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต
โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภ
าพ
ภาษาไทยเป็ นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารการเรียนรู้
อย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อนาไปใช้ใน ชีวิตจริง การอ่าน การอ่านออกเสียงคา ประโยค
การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่างๆ การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจและการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งที่อ่าน เพื่อนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน คือหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช
2521(ฉบับปรับปรุง 2533)หลักสู ตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521(ฉบับปรับปรุง 2533)
แล ะ ห ลัก สู ต รมัธ ยมศึก ษ าตอ น ป ล าย พุ ท ธศัก ราช 2524 (ฉ บับ ป รับ ป รุ ง 2533 )
เป็นหลักสูตรที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีข้อจากัด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
กาห น ดให้ บุคคลมีสิ ทธิ เสมอกัน ใ น การรับ การศึกษาขั้น พื้ น ฐาน ไม่น้ อยกว่า 12 ปี
อ ย่ า ง ทั่ ว ถึ ง แ ล ะ มี คุ ณ ภ า พ โ ด ย ไ ม่ เ ก็ บ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติได้กาหนดให้มีการจัดทาหลักสูตร ขั้นพื้นฐาน เพื่อความเป็นไทย
ค ว า ม เ ป็ น พ ล เมื อ ง ที่ ดี ข อ ง ช า ติ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต แ ล ะ ก าร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ
ต ล อ ด จ น เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ าต่อ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ าแ ห่ ง ช าติ พ .ศ .2 5 4 2
จึ ง ก า ห น ด ใ ห้ มี ห ลั ก สู ต ร ก าร ศึ ก ษ าขั้ น พื้ น ฐ าน พุ ท ธ ศั ก ร าช 2 5 4 4
โดยยึดหลักความมีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากห ลาย ใ น การปฏิ บัติ กล่าวคือ
เป็นหลักสูตรแกนกลางที่มีโครงสร้างยืดหยุ่น กาหนดจุดหมาย ซึ่งเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ในภาพรวม12
ปี สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้แต่ละกลุ่มสาระ และมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น เป็นช่วงชั้นละ3
ปี เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองดีของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ
ตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อการจัดการศึกษามุ่งเน้นความสาคัญทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถคุณธรรม
กระบวน การเรี ยน รู้ และ ความรับ ผิดช อบ ต่อสัง คม เพื่ อพัฒ น าคน ใ ห้ มีความสมดุ ล
โดยยึดหลักผู้เรียนสาคัญที่สุด โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เป็นคนดีมีปัญญา
มี ค ว า ม สุ ข แ ล ะ มี ค ว า ม เ ป็ น ไ ท ย
มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพเพื่อให้เกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. เห็นคุณค่าของตนเอง
2. มีความคิดสร้างสรรค์
3. มีความรู้เป็นสากล
4. มีทักษะและกระบวนการในการดาเนินชีวิต
5. รักการออกกาลังกาย
6. มีประสิทธิภาพในการผลิตและการบริโภค
7. เข้าใจประวัติศาสตร์ของชาติไทย
8. มีจิตสานึกอนุรักษ์ภาษาไทย
9. รักประเทศชาติและท้องถิ่น
หลักสูตรสถำนศึกษำโรงเรียนด่ำนมะขำมเตี้ยวิทยำคม อำเภอด่ำนมะขำมเตี้ย จังหวัดกำญจนบุรี
โครงสร้ำงหลักสูตรสถำนศึกษำ
ตำรำงที่3 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลาเรียน(ชั่วโมง) เวลาเรียน(ชั่วโมง) เวลาเรียน(ชั่วโมง)
พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม
1.ภาษาไทย 120 40 120 - 120 -
2.คณิตศาสตร์ 120 40 120 - 120 -
3.วิทยาศาสตร์ 120 - 120 - 120 40
4.สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 80 80 160 80 80
5.สุขศึกษาและพลศึกษา 80 - 80 40 80 -
6.ศิลปะ 40 - 40 - 40 -
ตำรำงที่ 3 (ต่อ)
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลาเรียน(ชั่วโมง) เวลาเรียน(ชั่วโมง) เวลาเรียน(ชั่วโมง)
พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม
7.การงานอาชีพและเทคโนโลยี 80 80 80 80 80 160
8.ภาษาต่างประเทศ 120 40 120 - 120 -
รวมเวลำ 760 280 760 280 760 280
9.กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
-
กิจกรรมพัฒนาความถนัดความสนใจ(
กิจกรรมชุมนุม)
40 40 40
-กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี 40 40 40
-กิจกรรมแนะแนว/โฮมรูม 40 40 40
-กิจกรรมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 40 40 40
รวมเวลำ 920 280 920 280 920 280
รวมเวลำเรียนทั้งหมด 1200 1200 1200
หมายเหตุ รายวิชาเพิ่มเติม จัดตามความเหมาะสม
สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้ภำษำไทย
ห ลั ก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 51
กาหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเกณฑ์ในการกาหนดคุณภาพของผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐ
าน เพื่อเป็นพื้นฐาน ในการดารงชีวิตให้มีคุณภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ จานวน 5 สาระคือ
สาระที่ 1 การอ่าน
สาระที่ 2 การเขียน
สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
สำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
สาระที่ 1 : การอ่าน
ม า ต ร ฐ า น ที่ ท 1 . 1 :
ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต
และมีนิสัยรักการอ่าน
สาระที่ 2 : การเขียน
มาตรฐ าน ที่ ท 2.1 : ใ ช้ก ระ บ วน การเขียน เขียน สื่ อ ส าร เขียน เรี ยง ค วาม
ย่ อ ค ว า ม แ ล ะ เ ขี ย น เ รื่ อ ง ร า ว ใ น รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ
เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
สาระที่ 3 : การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐานที่ ท 3.1 : สามารถเลือกฟัง และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์
สาระที่ 4 : หลักการใช้ภาษา
มาต ร ฐ าน ที่ ท 4 .1 : เข้ าใ จ ธ ร ร มช า ติ ข อ ง ภ าษ าแ ล ะ ห ลั ก ภ าษ า ไ ท ย
การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ม า ต ร ฐ า น ที่ ท 4 .2 : ส า ม า ร ถ ใ ช้ ภ า ษ า แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้
เสริมสร้างลักษณะนิสัยบุคลิกภาพและความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม
และชีวิตประจาวัน
สาระที่ 5 : วรรณคดีและวรรณกรรม
ม า ต ร ฐ า น ที่ ท 5 .1 : เ ข้ า ใ จ แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น
วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ช่วงชั้น
สาระที่ 1 : การอ่าน
มาตรฐานที่ ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา
และสร้างวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตำรำงที่ 4 แสดงมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ช่วงชั้น
ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6
1.
สามารถอ่านได้ถูกต้องตามหลั
กการอ่าน
เข้าใจความหมายของคาและข้
อความที่อ่าน
2.
สามารถสรุปใจความสาคัญแล
ะรายละเอียดของเรื่อง
หาคาสาคัญหรือใช้แผนภาพโ
ครงเรื่องหรือแผนภาพความคิ
ดเป็นเครื่องมือการพัฒนาควา
มเข้าใจการอ่าน
รู้จักใช้คาถามเกี่ยวกับเนื้อหาแ
ละแสดงความรู้ ความคิด
คาดคะเนเหตุการณ์
เรื่องราวจากเรื่องที่อ่านและกา
หนดแนวทางปฏิบัติ
1.สามารถอ่านได้คล่
องแคล่ว
รวดเร็วยิ่งขึ้น
เข้าใจความหมายขอ
งคา สานวนโวหาร
การบรรยาย
การพรรณนา
การเปรียบเทียบ
การใช้บริบท
เข้าใจความหมายขอ
งถ้อยคา
สานวนและเนื้อเรื่อง
และใช้แหล่งความรู้
พัฒนาความ
สามารถการอ่าน
2.สามารถสรุปความ
จากเรื่องที่อ่าน
และใช้แผนภาพควา
มคิดพัฒนาความสา
มารถในการอ่านโดย
นาความรู้
ความคิดจากการอ่าน
ไปใช้แก้ปัญหา
ตัดสินใจคาดการณ์
และใช้การอ่านเป็นเ
ครื่องมือพัฒนาตน
การตรวจสอบความ
1.
สามารถอ่านได้คล่องแคล่วรวดเ
ร็วยิ่งขึ้นเข้าใจวงศัพท์กว้างขึ้น
เข้าใจสานวนและโวหารการบร
รยาย การพรรณนา อธิบาย
อุปมาและสาธก
สามารถใช้บริบทการอ่านและใ
ช้แหล่งความรู้พัฒนาประสบกา
รณ์และความรู้กว้างขวางขึ้น
2. สามารถแยกข้อเท็จจริง
ข้อคิดเห็นวิเคราะห์ความตีความ
แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์เ
รื่องที่อ่าน
ประเมินค่าทั้งข้อดีและข้อด้อยอ
ย่างมีเหตุผล
โดยใช้แผนภาพความคิดและกร
ะบวนการวิเคราะห์อย่างหลากห
ลายพัฒนาความสามารถในการ
อ่านมาเล่าเรื่อง ย่อเรื่อง
ถ่ายทอดความรู้
ความคิดจากการอ่านไปใช้ประโ
ยชน์ใน
1.
สามารถอ่านอย่างมีประสิทธิ
ภาพ มีวิจารณญาณ ตีความ
แปลความและขยายความเรื่
องที่อ่านอย่างลึกซึ้ง
รักและสนใจการอ่านหนังสื
อประเภทต่าง ๆ
อย่างกว้างขวางมากขึ้น
และใช้แหล่งความรู้พัฒนาป
ระสบการณ์การอ่าน
2.สามารถวิเคราะห์
และวิจารณ์และประเมินค่าเ
รื่องที่อ่าน
โดยใช้ประสบการณ์และคว
ามรู้จากการอ่านหนังสือที่ห
ลากหลายเป็นพื้นฐานการพิ
จารณาเนื้อหา
รูปแบบรวมทั้งคุณค่าทางวร
รณคดีและสังคม
โดยใช้กระบวนการคิด
วิเคราะห์อย่างหลากหลายเป็
นเครื่องมือ
พัฒนาสมรรถภาพการอ่านแ
ละการเรียนรู้
รู้และการค้นคว้าเพิ่ม
เติม
ตำรำงที่4 (ต่อ)
มำตรฐำนกำรเรียนรู้ช่วงชั้น
ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6
3.สามารถอ่านในใจ
อ่านออกเสียงบทร้อยแ
ก้วและบทร้อยกรอง
ได้รวดเร็ว
ถูกต้องตามลักษณะคาป
ระพันธ์และอักขรวิธีแล
ะจาบทร้อยกรองที่ไพเร
าะ
เลือกอ่านหนังสือที่เป็น
ประโยชน์ทั้งความรู้แล
ะความบันเทิงมีมารยาท
การอ่านและมีนิสัยรักก
ารอ่าน
3.สามารถอ่านในใจและอ่านออกเสียง
บทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้
คล่องแคล่ว รวดเร็ว
ถูกต้องตามลักษณะคาประพันธ์และอัก
ขรวิธีและจาบทร้อยกรองที่มีคุณค่าทาง
ความคิดและความงดงามทางภาษาสาม
ารถอธิบายความหมายและคุณค่านาไป
ใช้อ้างอิง
เลือกอ่านหนังสือและสื่อสารสนเทศ
ทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามจุดประสงค์อ
ย่างกว้างขวาง
มีมารยาทการอ่านและนิสัยรักการอ่าน
การดาเนินชีวิตและใช้
การอ่านในการตรวจสอ
บความรู้
3.สามารถอ่านในใจและ
อ่านออกเสียงตามลักษณ
ะคาประพันธ์ที่หลากหล
ายและวิเคราะห์คุณค่าด้า
นภาษาเนื้อหาและสังคม
จาบทประพันธ์ที่มีคุณค่า
นาไปใช้อ้างอิงและเลือก
อ่านหนังสือและสื่อ
สารสนเทศทั้งสื่อสิ่งพิม
พ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
อย่างกว้างขวาง
พัฒนาตนด้านความรู้แล
ะ การทางาน
มีมารยาท
การอ่านและนิสัย
รักการอ่าน
3.สามารถอ่านหนังสืออ
ย่างหลากหลาย
เพื่อเป็นพื้นฐานในการพั
ฒนาสมรรถภาพการเขีย
น
นาข้อความหรือบทประ
พันธ์ที่มีคุณค่าและระบุ
ความประทับใจไปใช้ใ
น การสื่อสารอ้างอิง
เลือกอ่านหนังสือจากแ
หล่งเรียนรู้และสื่อสารส
นเทศเพื่อความรอบรู้แล
ะเป็นประโยชน์ในการศึ
กษาต่อ
การทางานและประกอบ
อาชีพ
มีมารยาทการอ่านและนิ
สัยรักการอ่าน
จ า ก ต า ร า ง ที่ 4 พ บ ว่ า
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นเป็ นมาตรฐานที่มีความต่อเนื่องความรู้ซึ่งผู้เรียน ต้องมีความรู้
ความเข้าใจอย่างชัดเจน จึงสามารถที่จะเรียนรู้สาระในมาตรฐานช่วงชั้นที่สูงขึ้นได้
จากมาตรฐานหลักสูตรช่วงชั้น สาระที่1 การอ่าน กาหนดสาระการเรียนรู้ช่วงชั้นที่3 (ม.1-3)
สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้รายปีหรือรายภาคดังนี้
มำตรฐำนกำรเรียนรู้รำยปีหรือรำยภำค
ตำรำงที่ 5 แสดงมาตรฐานการเรียนรู้รายปี
มำตรฐำนกำรเรียนรู้รำยปีหรือรำยภำค
สำร
ะ
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
ช่วงชั้น ม. 1-3
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 เนื้อหำ
1.
การ
อ่า
น
1. สามารถอ่านได้คล่องแคล่วรวดเร็วยิ่งขึ้น
เข้าใจวงศัพท์กว้างขึ้น
เข้าใจสานวนและโวหารการบรรยาย การพรรณนา
อธิบาย อุปมาและสาธก
สามารถใช้บริบทการอ่านและใช้แหล่งความรู้พัฒนาประ
สบการณ์และความรู้กว้างขวางขึ้น
2. สามารถแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
วิเคราะห์ความตีความ
แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์เรื่องที่อ่าน
ประเมินค่าทั้งข้อดีและข้อด้อยอย่างมีเหตุผล
โดยใช้แผนภาพความคิดและกระบวนการวิเคราะห์อย่าง
หลากหลายพัฒนาความสามารถในการอ่านมาเล่าเรื่อง
ย่อเรื่อง
ถ่ายทอดความรู้ความคิดจากการอ่านไปใช้ประโยชน์ในก
ารดาเนินชีวิตและใช้
การอ่านในการตรวจสอบความรู้
1.
สามารถอ่านได้คล่องแคล่วรวด
เร็วยิ่งขึ้นเข้าใจวงศัพท์
สานวนและโวหาร
จับใจความสาคัญจากเรื่องที่อ่า
นได้
ใช้แหล่งความรู้พัฒนาประสบ
การณ์และความรู้กว้างขวางขึ้น
2. สามารถแยกข้อเท็จจริง
และข้อคิดเห็นวิเคราะห์ความ
ตีความ
แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์
เรื่องที่อ่านได้
พัฒนาความสามารถในการอ่า
นมาเล่าเรื่องย่อเรื่อง
ถ่ายทอดความรู้
ความคิดจากการอ่านไปใช้ประ
1.การอ่านจับใจควา
มสาคัญ
2.การอ่านแยกข้อเท็
จจริงและข้อคิดเห็น
3.การอ่านตีความ
4.การอ่านวิเคราะห์
โยชน์ในการดาเนินชีวิต
ตำรำงที่5 (ต่อ)
มำตรฐำนกำรเรียนรู้รำยปีหรือรำยภำค
สำ
ระ
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
ช่วงชั้น ม. 1-3
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 เนื้อหำ
3.
สามารถอ่านในใจและอ่านออกเสียงตามลักษณะคาประพันธ์ที่ห
ลากหลายและวิเคราะห์คุณค่าด้านภาษา เนื้อหาและสังคม
จาบทประพันธ์ที่มีคุณค่านาไปใช้อ้างอิงและเลือกอ่านหนังสือ
และ
สื่อสารสนเทศทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างกว้างขว
าง พัฒนาตนด้านความรู้และการทางาน
มีมารยาทการอ่านและนิสัยรักการอ่าน
3. สามารถอ่านในใจ
และอ่านออกเสียงตามลักษณะคาป
ระพันธ์ที่หลากหลาย
วิเคราะห์คุณค่าด้านภาษา
เนื้อหาและสังคม
จาบทประพันธ์ที่มีคุณค่า
เลือกอ่านหนังสือและสื่อสาร
สนเทศสื่ออิเล็กทรอนิกส์
อย่างกว้างขวาง
พัฒนาตนด้านความรู้
มีมารยาทการอ่านและนิสัยรักการ
อ่าน
5.การอ่า
นในใจ
จ า ก ต า ร า ง ที่ 5 พ บ ว่ า
มาตรฐานการเรียนรู้รายปีหรือรายภาคเป็นมาตรฐานที่มีความต่อเนื่องระหว่างความรู้เดิมเพื่อนามาพัฒนาใช้
กั บ ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น
จึงสามารถที่จะเรียนรู้สาระในมาตรฐานการเรียนรู้รายปีหรือรายภาคที่สูงขึ้นได้
กำรอ่ำนวิชำภำษำไทย
ควำมหมำยของกำรอ่ำน
มีนักการศึกษาให้คาจากัดความของ “การอ่าน” ไว้หลายท่านดังนี้
อั จ ฉ ร า ว ร ร ณ ศิ ริ รั ต น์ ( 2549 : 48) ก ล่ า ว ว่ า
การอ่านเป็ นกระบวนการโต้ตอบระหว่างผู้เขียนและผู้อ่าน เป็ นกระบวนการทางความคิดสติปัญญา
ที่ผู้อ่านรับรู้ตัวอักษรซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์เดิมและจินตนาการของผู้อ่านเป็นเครื่องมือสาคัญที่ช่วยในกา
ร แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ ไ ป สู่ เ ป้ า ห ม า ย ห ลั ก ที่ ผู้ อ่ า น เ กิ ด ค ว า ม รู้
ความเข้าใจและสามารถนาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิ ไ ล ลั ก ษ ณ์ พั ด ศ รี เ รื อ ง ( 2548:14) ก ล่ า ว ว่ า
การอ่าน เป็ น กระ บ วน ก ารป ฏิ สัมพัน ธ์ โด ยผู้เขี ยน เป็ น ผู้ถ่ายทอ ดเนื้ อห า ความคิ ด
และ บ ริบ ทของ สถาน การณ์ เป็ น ตัวอักษ รห รื อสัญ ลักษณ์ ทั้ง ด้าน ภ าษาและ ความคิด
ประ สบ การณ์ เดิมและ อ งค์ป ระ กอบท าง จิตวิทยา เพื่ อสร้าง ความเข้าใ จความห มา ย
ของผู้เขียนและสามารถตีความได้ตรงตามจุดประสงค์ที่แท้จริงของผู้เขียน และการตีความ
ต้องใช้การบูรณาการความรู้เดิมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อเรื่องที่ปรากฏในบทอ่าน
สานั กง าน เขตพื้ น ที่การศึกษาพังง า (2547 :115) ให้ความหมายของ การอ่าน ว่า
ห ม าย ถึ ง ก ระ บ ว น ก าร แ ป ล ค ว า มห มาย ข อ ง สั ญ ลั ก ษ ณ์ อ อ ก ม าเป็ น ค ว า มคิ ด
ทาให้เกิดความเข้าใจความหมายและได้รับความรู้ ความคิด ตลอดจนความรู้สึก อารมณ์และจินตนาการ
การอ่านในปัจจุบัน มิได้หมายถึง การอ่านหนังสือ ซึ่งเป็นแหล่งบรรจุตัวอักษรเพียงอย่างเดียว
แต่ยัง หมายถึง การแปลความห มายของสั ญ ลักษณ์ ภ าพ ภ าพ จาลอง และ สื่ อต่าง ๆ
ที่สามารถสัมผัสได้โดยผ่านทางตา
สนิท สัตโยภาส (2545:92) ให้ความหมายของการอ่านว่า เป็นความสามารถดูอักษรต่างๆ
แล้วถ่ายทอดความหมายจากตัวอักษร ออกมาเป็ นความคิดจากนั้ นจึงน าความรู้ ความคิด หรือสิ่งที่ได้
จากการอ่านไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในด้านต่างๆ เมื่อถึงเวลาอันควร
สุ นัน ทา มั่น เศรษฐวิทย์ (2540 :2) ใ ห้ ความห มายของ การอ่าน ไว้ว่า ลักษณ ะ
ของกระบวนการเป็ นลาดับขั้นที่เกี่ยวกับการทาความเข้าใจความหมายของคา กลุ่มคา ประโยค
ข้อความและเรื่องราวของสารที่ผู้อ่านสามารถบอกความหมายได้
ธิ ดา โมสิ ก รัตน์ , ต รี ศิล ป์ บุ ญ ข จร , แ ละ ป ระ ภ าวดี สื บ ส น ธ์ (2545 :530)
ได้ให้ความหมายของการอ่านว่า เป็นกระบวนการค้นหาความหมายในสิ่งพิมพ์หรือข้อเขียน จับใจความ
ตีความ เพื่อพัฒนาตนเอง ทั้งด้านสติปัญญา อารมณ์และสังคม
โ ท นี่ บู ซ า น ( 2 5 4 4 :41) ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ก า ร อ่ า น ว่ า
การอ่านเป็นการรับเอาสิ่งที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อในหนังสือหรือการดูซับถ้อยคาในหนังสือและหมายรวมถึง
ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างผู้คนกับข้อมูลเชิงสัญลักษณ์
กองเทพ เคลือบพ าณิช (2542 :81) ได้รวบรวมความหมายของการอ่านที่บรรดาผู้รู้
แ ล ะ นั ก วิ ช า ก า ร ห ล า ย ท่ า น ส รุ ป ไ ด้ ว่ า ก า ร อ่ า น คื อ
ส่วนหนึ่งของกระบวนการสื่อสารเป็นขั้นตอนของการรับสาร โดยผู้อ่านใช้ประสาทสัมผัสทางตารับภาพ
คือตัวอักษรหรือสัญลักษณ์อื่นใด ผ่านกระบวนการทางความคิด เพื่อทาความเข้าใจเรื่องนั้น ๆ
แล้วตีความหมายออกมา
แม้นมาส ชวลิต (2528:232) ให้แนวคิดเกี่ยวกับการอ่านว่า การอ่านคือการใช้ศักยภาพ
ของสมองเพื่อการรับรู้ แปลความหมาย ความเข้าใจปรากฏการณ์ของข้อมูลข่าวสาร เรื่องราว
ประสบการณ์ความคิด ความรู้สึก จินตนาการ ตลอดจนสาระอื่นๆ ซึ่งมีผู้แสดงออกโดยสัญลักษณ์
ที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อสื่อสาร การอ่านเป็นทักษะพื้นฐาน
จรัญ สุ ขเกษม (2542:10) กล่าวว่า การอ่าน คือ กระ บวน การแปลความหมาย
จากตัวอักษร สัญลักษณ์ กลุ่มคา หรือวลี และประโยคออกมาเป็ น ความคิดอย่างมีเหตุผล
โดยอาศัยความสามารถใน การแปล การตีความ การจับใจความสาคัญ และการสรุปความ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างมีจุดมุ่งหมาย
ฉวีวรรณ คูหาอภินันท์ (2542:1) ได้กล่าวถึงการอ่านว่า การอ่านเป็น ความสามารถ
ของมนุษย์ ที่เข้าใจการสื่อความหมายของสัญลักษณ์ต่างๆ เข้าใจในเนื้อเรื่องและแนวความคิด
จากสิ่งที่อ่านไม่ว่าจะเป็นจดหมาย หนังสือ บทความต่างๆ หรือจากภาพยนตร์ โทรทัศน์ วีดีทัศน์
สิ่ ง ที่ป รากฏบ น จอคอมพิ วเตอ ร์ สัญ ลักษณ์ การโบกธง ของ ท ห ารของ นั กเดิน เรื อ
เครื่องหมายจราจรที่ปรากฏบนท้องถนน รูปภาพ โฆษณาต่างๆ ภาพวาด ภาพเขียน แผนที่ แผนภูมิ
การแสดงท่าทางต่างๆ เป็นต้น
วัชรี บูรณสิงห์ และนิรมน ศตวุฒิ (2542:2) ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า การอ่านหมายถึง
การอ่านตามการออกเสียงหรือความเข้าใจตามตัวหนังสือ การค้นหาความหมาย หรือสัญลักษณ์ใดๆ
ที่สามารถนามาตีความ สื่อความหมายให้เกิดความเข้าใจในสิ่งนั้น ๆได้
สมุทร เซ็นเชาวนิช (2542 :1) ได้ให้ความหมายของการอ่านว่าการอ่าน คือการสื่อความหมาย
เป็ นการสื่อความหมายระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน ผู้เขียนพูด ผู้อ่านแสดงปฏิกิริยาตอบโต้กับผู้อื่น
ด้วยการสื่อความหมายในการอ่านนั้นจะต้องมีองค์ประกอบ 3 อย่าง คือ ผู้เขียน ผู้อ่าน และรายงาน
(สิ่งที่ได้อ่านมาแล้วหรือปฏิกิริยาโต้ตอบซึ่งอาจจะเกิดขึ้นจากการอ่านนั้นๆ )
กู๊ดแมน (Goodman 1980:5-11) กล่าวว่า การ อ่าน เป็ น กระ บวน ที่ สลับซับซ้อน
ที่ผู้อ่านจะต้องตั้งสมมุติฐานหรือเดาความหมายของสิ่งที่อ่านจากประสบการณ์ เข้าไปร่วมด้วยมากกว่า
การดูจากสิ่งที่พิมพ์ปรากฏอยู่ในข้อความเพื่อผู้อ่านจะได้เกิดความเข้าใจในความหมายที่อ่านด้วย
บุชและฮิบเนอร์ (Bush andHeubner 1970:14) กล่าวว่า การอ่านเป็ นกระบวนการคิด
ที่ผู้อ่านจะต้องเข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่าน โดยการน าเอาสัญลักษณ์ที่อ่านไปสัมพัน ธ์
กับประสบการณ์เดิมเพื่อให้เข้าใจเนื้อเรื่องอย่างแท้จริงและเกิดมโนภาพขึ้นในใจของผู้อ่าน
แฮ ริสและสมิธ (Haris and Smith 1976:14) มีความเห็ น ว่า การอ่าน เป็ น รู ปแบ บ
ข อ ง ก า ร สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย
เป็นการเปลี่ยนความคิดและข่าวสารระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่านผู้เขียนจะแสดงความคิดเห็นของตนลงบนกระ
ด า ษ ด้ ว ย ภ า ษ า ซึ่ ง เ ป็ น ไ ป ต า ม ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก า ร เ ขี ย น แ ต่ ล ะ ค น
ผู้อ่านก็พยายามอ่านตามความหมายจากที่ผู้เขียนได้เขียนไว้
จ า ก ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ก า ร อ่ า น ที่ ไ ด้ ก ล่ า ว ข้ า ง ต้ น พ อ ส รุ ป ไ ด้ ว่า
การอ่านเป็นกระบวนการสื่อความหมายระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน โดยการแปลความหมายจากตัวอักษร
สัญ ลัก ษณ์ คา กลุ่มคา วลี และประโยค ให้ เกิดความเข้าใจตามลักษณะของเรื่ องที่ อ่าน
โดยอาศัยความสามารถใน หลักการอ่าน ก ารจับ ใ จความ การแป ลความ การตี ความ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถูกต้องตามจุดมุ่งหมาย ของผู้เขียน
ควำมสำคัญของกำรอ่ำน
การอ่านเป็ น รากฐานสาคัญของการศึกษา ผู้ที่อ่านได้เร็ว เข้าใจเรื่องที่อ่านได้ตลอด
จัดได้ว่าเป็นผู้ที่มีความสามารถในการอ่านสูง ประกอบกับในยุคปัจจุบัน การศึกษามีความเจริญก้าวหน้า
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้มากขึ้น การอ่านเป็ นพื้น ฐานสาคัญ
ที่ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ส า ข า วิ ช า ต่ า ง ๆ ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม รู้
ความคิดในการที่จะเลือกสิ่งที่มีคุณค่ามาใช้ในการดาเนินชีวิต ในเรื่องของความสาคัญของการอ่านนั้น
นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงความสาคัญของการอ่านไว้ดังนี้
อวยพ ร พ านิ ช และ คณ ะ (2543 : 40-41) กล่าวถึงความสาคัญ ของการอ่าน ว่า
ท าใ ห้ ค น เป็ น ค น ทัน ส มัย เพ ร าะ ว่ารู้ ข่าว ค วามเค ลื่ อ น ไ ห วต่าง ๆ ต ล อ ด เว ล า
ทาให้มีปัญญาและประสบการณ์ ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ
ฉวีวรรณ คูหาภินันท์ (2542:11) กล่าวว่า การอ่านมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เกิด จนโต
และจนกระทั่งถึงวัยชรา การอ่าน ทาให้รู้ข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งปัจจุบัน เป็ น โลก
ของข้อมูลข่าวสาร ท าใ ห้ผู้อ่าน มีความสุ ข มีความห วัง และ มีความอยากรู้อยากเห็ น
อันเป็นความต้องการของมนุษย์ทุกคน การอ่านมีประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง คือ พัฒนาการศึกษา
พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต ทาให้เป็นคนทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ และสนองความอยากรู้อยากเห็น
นอกจากนั้น การจะพัฒนาประเทศให้รุ่งเรืองก้าวหน้าได้ต้องอาศัยประชาชนที่มีความรู้ ความสามารถ
ซึ่งความรู้ต่าง ๆ ก็ได้มาจากการอ่านนั่นเอง
สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์ (2540:6) ได้สรุปความสาคัญของการอ่านว่า การอ่านสามารถ
ฝึกความคิดสร้างจินตนาการได้ขณะที่อ่าน เกิดความคิดเห็นได้ด้วยตนเองและรู้สึกมีความสุข
ศิริพร ลิ้มตระการ (2537 :6) กล่าวสรุปความสาคัญของการอ่านไว้ดังนี้
1. การอ่านหนังสือทาให้ได้เนื้อหา สาระความรู้มากกว่าการศึกษาหาความรู้ด้วยวิธีอื่น ๆ
เช่นการฟัง
2. ผู้อ่านสามารถอ่านหนังสือได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ สามารถนาติดตัวไปได้
3. หนังสือสามารถเก็บไว้ได้นานกว่าสื่ออย่างอื่น ซึ่งมักมีอายุการใช้งานจากัด
4. ผู้อ่านสามารถฝึกการคิดและจินตนาการได้เองขณะอ่าน
5. การอ่านส่งเสริมให้มีสมองดี มีสมาธินานกว่าและมากกว่าสื่ออย่างอื่น เพราะขณะที่
อ่านจิตใจจะต้องมุ่งมั่นอยู่กับข้อความพินิจพิเคราะห์ข้อความ
6. ผู้อ่านเป็นผู้กาหนดการอ่านได้ด้วยตนเอง จะอ่านคร่าว ๆ อ่านอย่างละเอียด อ่านข้าม
หรืออ่านทุกตัวอักษรก็ได้ ตามใจของผู้อ่าน หรือจะเลือกอ่านเล่มไหนก็ได้ เพราะมีหนังสือให้เลือกมากมาย
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
Nattapon
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
Kamolthip Boonpo
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
Jiraporn Kru
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
Ni Aslan
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
thkitiya
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
an1030
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
Abdul Mahama
 

Mais procurados (20)

การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
รายงานการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน : การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที...
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาที่ 4
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
 
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
วิจัย ม
วิจัย มวิจัย ม
วิจัย ม
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 

Destaque

วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
thkitiya
 
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
devilp Nnop
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
patcharee0501
 
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ตัวอย่าง)
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ตัวอย่าง)ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ตัวอย่าง)
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ตัวอย่าง)
Chuchai Sornchumni
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
physical04
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
0872191189
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
Rawinnipha Joy
 

Destaque (14)

วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
ใบความรู้้เรื่องสื่อสิ่งพิมพ์
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
 
โวหารการเขียน
โวหารการเขียนโวหารการเขียน
โวหารการเขียน
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...
รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...
รายงานการประเมินตนเองปี2555ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าลาดขา...
 
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ตัวอย่าง)
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ตัวอย่าง)ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ตัวอย่าง)
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ตัวอย่าง)
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 

Semelhante a ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Kruthai Kidsdee
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
sripayom
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
NooCake Prommali
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
jiraporn1
 

Semelhante a ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59 (20)

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
04028 683
04028 68304028 683
04028 683
 
test
testtest
test
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
3 lang
3 lang3 lang
3 lang
 
1
11
1
 
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระบทคัดย่อ. หนังสือสาระ
บทคัดย่อ. หนังสือสาระ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
1
11
1
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 

Mais de Natthapon Inhom (7)

บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
Intel จัดหนักเปิดตัว core i7
Intel จัดหนักเปิดตัว core i7Intel จัดหนักเปิดตัว core i7
Intel จัดหนักเปิดตัว core i7
 
รวมปุ่มลัด คีย์บอร์ด
รวมปุ่มลัด คีย์บอร์ดรวมปุ่มลัด คีย์บอร์ด
รวมปุ่มลัด คีย์บอร์ด
 
การสร้าง Query เบื้องต้น
การสร้าง Query เบื้องต้นการสร้าง Query เบื้องต้น
การสร้าง Query เบื้องต้น
 
การสร้าง Query เบื้องต้น
การสร้าง Query เบื้องต้นการสร้าง Query เบื้องต้น
การสร้าง Query เบื้องต้น
 
ปรับขนาดภาพด้วยโปรแกรม Faststone photo resizer
ปรับขนาดภาพด้วยโปรแกรม Faststone photo resizerปรับขนาดภาพด้วยโปรแกรม Faststone photo resizer
ปรับขนาดภาพด้วยโปรแกรม Faststone photo resizer
 
สอนใช้ Lightroom เบื้องต้น
สอนใช้ Lightroom เบื้องต้นสอนใช้ Lightroom เบื้องต้น
สอนใช้ Lightroom เบื้องต้น
 

ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59

  • 1. รายงานการวิจัย เรื่อง พัฒนาและส่งเสริมทักษะการอ่าน รายวิชาภาษาไทย รหัส ท 22101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 นางสาวมารินทร์ จานแก้ว โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี SRINAGARINDRA THE PRINCESS MOTHER SCHOOL KANCHANABURI สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8
  • 2. บทที่ 1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญของปัญหำ ภาษาไทยเป็ นภาษาประจาชาติ ซึ่งเป็ นวัฒนธรรมที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาติไทย แ ล ะ เ ป็ น สื่ อ ก ล า ง ที่ ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ข อ ง ค น ไ ท ย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ ก า ร ง า น การดารงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างมีความสุขและเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ ให้ ทัน ต่อการเป ลี่ยน แปลง ทางสั งคม ความก้าวห น้ าท าง ด้าน เทคโน โล ยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและแสดงถึงภูมิปัญญา สามารถถ่ายทอดขนบธรรมเนี ยมประเพ ณี วัฒน ธรรมของชาติให้คงอยู่คู่คนไทยตลอดไป (กระทรวงศึกษาธิการ:2551) พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ า แ ห่ ง ช าติ พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 4 2 ม าต ร า 2 2 ระบุว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่ า ผู้ เ รี ย น มี ค ว า ม ส า คั ญ ที่ สุ ด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ในมาตรา 23 เน้นการศึกษาในระบบและตามอัธยาศัย ให้ความสาคัญ ในการบูรณาการความรู้ คุณธรรมและกระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของระดับการศึกษา (กรมวิชาการ:2545) จากห ลักสู ตรการศึกษาขั้น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2544 จัดทาขึ้น สาห รับท้องถิ่น และสถานศึกษาได้นาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียน การสอน เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน ไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพ ด้านความรู้และทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและแสวงหาความรู้เพื่อพั ฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ได้กาหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ 1การอ่าน มาตรฐาน ที่ 1.1 ใช้กระ บวน การอ่าน สร้างความรู้และความคิด เพื่อน าไปใช้ตัดสิ น ใจ แ ก้ปั ญ ห าใ น ก า ร ด าเนิ น ชี วิต แ ล ะ มี นิ สั ย รั ก ก าร อ่า น ก า ห น ด ใ ห้ นั ก เรี ย น ใช้ความรู้และประสบการณ์เป็ นเครื่องมือพัฒนาการอ่านหนังสือที่หลากหลายเพื่อเป็ นพื้นฐาน
  • 3. ก าร พิ จ าร ณ าเนื้ อ ห า รู ป แ บ บ วิเค รา ะ ห์ วิจ าร ณ์ แ ล ะ ป ระ เมิน ค่าเรื่ อ ง ที่ อ่า น รวมทั้งคุณค่าทางวรรณคดีและสังคม (กระทรวงศึกษาธิการ:2544) วิชาภาษาไทยประกอบด้วยเนื้อหา 5 สาระ คือ 1. การอ่าน 2. การเขียน 3.การฟัง การดู และการพูด 4. หลักการใช้ภาษา 5. วรรณคดีและวรรณกรรม การอ่านเป็ นเนื้อหาที่ผู้เรียนต้อง มีความรู้ความเข้าใจหลักเกณฑ์การอ่าน ให้ถูกต้องจึงก่อให้ เกิดประสิ ทธิภ าพ ในการเรียน แ ล ะ ส า ม า ร ถ น า ไ ป ใ ช้ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น การอ่าน จึง มีความส าคัญ เพ ราะ เป็ น พื้ น ฐาน ใ น การสื่ อส ารเพื่ อใ ห้ เกิดความเข้าใ จ จาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจหลักการอ่านจึงจะทาให้การสื่อสารประสบความสาเร็จ ทั ก ษ ะ ข อ ง ก า ร อ่า น ที่ จ า เป็ น จ ะ ต้อ ง ส่ ง เส ริ ม ส า ห รั บ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ แ ก่ ทักษะในการแปลความหมายของเนื้อเรื่องที่อ่านและเก็บใจความสาคัญให้ได้ตรงตามที่ผู้แต่งต้องการ แต่การสอนทักษะนี้ จะยากลาบาก เพราะผู้เรียนมีข้อบกพร่องหลายประการดังที่ ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ ได้กล่าวถึงข้อบกพร่องของผู้เรียนดังนี้ 1. ความบกพร่องอันเกิดจากการที่เด็กไม่รู้จักคาแปลของคาที่อ่าน 2. ความบกพร่องอันเกิดจากการที่เด็กไม่สามารถเข้าใจความคิดอันซับซ้อน 3. ความบกพร่องอันเกิดจากการที่เด็กไม่รู้จักวิพากษ์วิจารณ์ 4. ความบกพร่องอันเกิดจากการที่เด็กลาดับเรื่องราวไม่เป็น เ มื่ อ ก า ร อ่ า น มี ค ว า ม ส า คั ญ มี ค ว า ม จ า เ ป็ น แ ล ะ มี ป ร ะ โ ย ช น์ จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้มีความสามารถในการอ่าน เช่น อ่านหนังสือได้เร็ว อ่านแล้วสามารถจับใจความ ของเรื่องได้ สามารถถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกจากเรื่องราวที่อ่านได้ คิดเชิงวิจารณ์และวิเคราะห์ใจความสาคัญ ปฏิบัติตนให้เกิดนิสัยที่ดีในการอ่าน (ไพฑูรย์ ธรรมแสง 2543 : 12) ฉะนั้น การสอน การอ่านต้องจัดกิจกรรมหลายรูปแบบและเป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาส ให้ผู้เรียนได้จับใจความสาคัญ ตีความวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่อ่าน ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรพุทธศักราช 2 5 51 ก ร ะ บ ว น ก า ร ส อ น อ่ า น เ ป็ น สิ่ ง จ า เ ป็ น ค ว รจ ะ ใ ห้ ผู้เรี ย น ไ ด้รั บ ก า รฝึ ก ฝ น ก า รอ่าน ตั้ ง แ ต่ร ะ ดั บ มัธ ย ม ศึ ก ษ าต อ น ต้ น ซึ่ ง จ ะ ไ ด้ ผ ล ดี ก ว่ า ก า ร ฝึ ก ใ น ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า เพ ราะ ปัญ หาการสอน เกี่ยวกับเรื่องการอ่าน ที่เกิดขึ้น ใน ระดับมัธยมศึกษาตอน ต้น นั้ น ผู้ เ รี ย น บ า ง ค น อ่ า น ไ ด้ แ ต่ ไ ม่ เ ข้ า ใ จ เ รื่ อ ง ที่ อ่ า น และส่วนใหญ่ก็ไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับความคิดเห็นของผู้เขียนได้ เนื่องจากผู้เขียนมิได้แสดงแนวคิดหรือใจความสาคัญของเรื่องโดยตรงซึ่งทาให้ขาดสมรรถภาพทางด้านการ อ่าน
  • 4. การจัดการเรียนการสอนด้านการอ่านในปัจจุบัน (2552– 2555) พบว่า การจัดการเรียน การสอนส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่น่าพอใจ นอกจากนี้ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนกลุ่มภาษาไทย มีคะแนนสูงกว่าเกณฑ์เล็กน้อย แต่ยังไม่สูงเท่าที่ควรในฐานะที่เป็นภาษาประจาชาติ จากรายงานการวัดผลและประเมินผลทางด้านคุณภาพการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษ าไทยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ของโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี โดยการสารวจผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2556 คะแน นเฉลี่ยร้อยละ 68.25 ปี การศึกษา 2557คะแน นเฉลี่ยร้อยละ 70.65 ปี การศึกษา 2558 คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 70.95 จากผลการประเมินย้อนหลัง 3 ปี พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการอ่าน มีคะแน นเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ที่โรงเรียน กาหน ดไว้คือ ร้อยละ 80 ซึ่ งปัญหาที่พบมากที่สุ ด ของโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ปี การศึกษา 2556-2558 คือ ทักษะด้านการอ่าน เป็นผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 รายงานการวัดผลและประเมินผลแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ปีการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ เกณฑ์ที่กาหนด คะแนนเฉลี่ย 2556 ภาษาไทย 80.00 68.25 2557 ภาษาไทย 80.00 70.65 2558 ภาษาไทย 80.00 70.95 จากการศึกษาประโยชน์ ของการอ่าน ข้างต้น พ บว่า การมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ด้านการอ่าน วิชาภาษาไทยต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหน ด มีมูลเหตุลาดับหนึ่ งว่า ผู้เรียน ขาดความรู้ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ที่ ช าน า ญ ใ น ก า ร อ่าน ใ น ใ จ ก าร จับ ใ จ ค ว าม ก าร อ่า น ตี ค ว า ม การอ่าน เพื่อแยกข้อความที่เป็ น ข้อเท็จจริง และ ข้อคิดเห็ น การอ่าน เพื่อการวิเคราะ ห์ ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า จากสภาพปัญหาดังกล่าว ผู้รายงานจึงเห็นความสาคัญของปัญหาและสนใจที่จะสร้าง และใช้แบบฝึ กเสริมทักษะการอ่าน ภาษาไทย เป็ นสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง แ บ บ ฝึ ก เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ ก า ร อ่ า น ภ า ษ า ไ ท ย ที่ ผู้ ร า ย ง า น ส ร้ า ง ขึ้ น จึ ง เ ป็ น น วัต ก ร ร ม ที่ ช่ ว ย ใ ห้ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น
  • 5. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างและ พัฒน าแบบฝึ กเสริ มทักษะการอ่าน ภาษาไทย สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ด้านทักษะการอ่านภาษาไทย ก่อนและหลัง การใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี 3 . เพื่ อ ศึ ก ษ า ค ว าม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง นั ก เรี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ าปี ที่ 2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี หลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย สมมติฐำน 1. แบบฝึ กเสริมทักษะ การอ่าน ภ าษาไทย สาห รับนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 2ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 5 9 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านทักษะการอ่านภาษาไทยหลังใช้สูงกว่าก่อนใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภา ษาไทย 3. นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 5 9 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี มีความพึงพอใจต่อการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยอยู่ในระดับดี ขอบเขตของกำรศึกษำค้นคว้ำ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2559ของเฉลิมพ ระเกียรติสมเด็จพ ระศรีน ครินทร์ กาญจน บุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี จานวน 2ห้องเรียน จานวน 80 คน กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559ของโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (SimpleRondom Samping)โดยวิธีการจับฉลากได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 1 ห้องเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 จานวน 40คน 2. เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับการอ่านภาษาไทย ตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนด่านมะขามเตี้ยวิทยาคมพุทธศักราช 2551 (หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544)
  • 6. ส า ร ะ ที่ 1 ก า ร อ่ า น ซึ่ ง แ บ่ ง ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ก า ร อ่ า น ห ล า ย ป ร ะ เ ภ ท สาหรับเนื้อหาวิชาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สาหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 เรื่องการอ่าน ซึ่งประกอบด้วย ชุดที่ 1 อ่านในใจลาดับความคิด ชุดที่ 2 จับประเด็นพินิจใจความสาคัญ ชุดที่ 3 สารพันเลือกสรรอ่านตีความ ชุดที่ 4 แยกตามข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ชุดที่ 5 มุ่งเน้นการคิดวิเคราะห์ 3. ตัวแปรในการศึกษาครั้งนี้ 3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่การสอนโดยใช้สื่อแบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 3.2 ตัวแปรตาม 3.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย 3.2.2 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึ กเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ที่ผู้รายงานสร้างขึ้น นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. การอ่านวิชาภาษาไทย หมายถึง ความสามารถในการอ่าน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ประกอบด้วยการอ่านในใจ การจับใจความสาคัญ การตีความ การแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น การวิเคราะห์ ได้อย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์การอ่าน ทาให้สามารถถ่ายทอดความหมายของตัวอักษรให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง 2 . แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร อ่ า น ภ า ษ า ไ ท ย ห ม า ย ถึ ง สื่อการเรียนที่ผู้รายงานสร้างขึ้นให้ผู้เรียนสามารถใช้เรียนได้ด้วยตนเองในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551สาระที่ 1การอ่าน มาตรฐานที่ ท 1.1 ใ ช้ ก ร ะ บ วน ก าร อ่าน ส ร้ าง ค ว ามรู้ แ ล ะ ค วา มคิ ด เพื่ อ น าไ ป ใ ช้ ตัด สิ น ใ จ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน 3. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถในการทาแบบทดสอบหลังเรียน ของนักเรียน หลังจากที่นักเรียนได้เรียนจากแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามเกณฑ์ที่กาหนด 4. ประสิทธิภาพของแบบฝึกตามเกณฑ์ 80/80
  • 7. 8 0 ตั ว แ ร ก ห ม า ย ถึ ง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยนักเรียนทั้งหมดที่ได้จากการทาแบบทดสอบย่อยหลังจากเรียนโดยใช้แบบฝึกเส ริมทักษะการอ่านภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 8 0 ตั ว ห ลั ง ห ม า ย ถึ ง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยนักเรียนทั้งหมดที่ได้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน 5. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาไทย (ท 22101) ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2559โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี 6. ครูผู้สอนหมายถึงครูผู้สอนนักเรียนที่สอนวิชาภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ภาคเรียนที่1และ 2 ปีการศึกษา 2556- 2558โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 7. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่สร้างขึ้นตามเนื้อหา เกี่ยวกับการอ่านภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ 8. ความพึ ง พ อใ จ ห มายถึ ง ความพ อใ จขอ งนั กเรี ยน ชั้ น มัธยมศึ กษ าปี ที่ 2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ปีการศึกษา 2558 ต่อการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1.แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ โดยใช้เกณฑ์ 80/80 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการอ่านวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 3. ค รู น าแ น ว ท าง ก าร ผ ลิ ต สื่ อ แ บ บ ฝึ ก เส ริ มทั ก ษ ะ ก ารอ่าน ภ าษ าไ ท ย ประยุกต์ใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ 4 . นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 2/ 2 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 5 9 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี หรือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2ที่ใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย มีความพึงพอใจ มีความสุขต่อการใช้สื่อแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในระดั บดี
  • 8. บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างและพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ผู้รายงานได้ศึกษาเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาดังนี้ 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี 2.1 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา 2.2 มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น วิชาภาษาไทย 3. การอ่าน วิชาภาษาไทย 3.1 ความหมายของการอ่าน 3.2 ความสาคัญของการอ่าน
  • 9. 3.3 ทฤษฏีเกี่ยวกับการอ่าน 3.4 ประเภทของการอ่าน 4. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย 4.1 ความหมายของแบบฝึก 4.2 ความสาคัญของแบบฝึก 4.3 หลักการสร้างแบบฝึก 4.4 ลักษณะของแบบฝึกที่ดี 4.5 ประโยชน์ของแบบฝึก 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5.1 งานวิจัยในประเทศ 5.2 งานวิจัยต่างประเทศ หลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย การพัฒนานวัตกรรมในครั้งนี้ ผู้รายงานได้ศึกษา หลักการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จุดหมายโครงสร้าง สาระและมาตรฐาน การเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (กระทรวงศึกษาธิการ.2551 : 4-12) 1. หลักการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็ นไปตามนโยบายการจัดการศึกษาของประเทศ เพื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ไ ด้ พั ฒ น า ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ เ ต็ ม ศั ก ย ภ า พ กาหนดหลักการของหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานไว้ดังนี้ 1.1 เป็นการศึกษาเพื่อเป็นเอกภาพของชาติ มุ่งเน้นความเป็นไทย ควบคู่เป็นสากล 1 . 2 เ ป็ น ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ ป ว ง ช น ที่ประชาชนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน โดยสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 1.3 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒน าและเรียน รู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ 1.4 เป็นหลักสูตรที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระ เวลาและการจัดการเรียนรู้
  • 10. 1 . 5 เ ป็ น ห ลั ก สู ต ร ที่ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ไ ด้ ทุ ก รู ป แ บ บ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายสามารถเทียบโอนผลการเรียนและประสบการณ์ 2. จุ ดมุ่ง ห ม ายข อ ง ห ลัก สู ต รก ารศึ ก ษ าขั้ น พื้ น ฐ าน พุ ท ธ ศักร าช 25 51 หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุ ษย์ที่สมบูรณ์ เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุ ขและ มีความเป็ น ไ ท ย มีศัก ยภ าพ ใ น ก ารศึ ก ษ าต่อ แ ล ะ ป ระ ก อ บ อ าชี พ จึงกาหนดจุดมุ่งหมายซึ่งถือเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังต่อไปนี้ 2 . 1 เ ห็ น คุ ณ ค่ า ข อ ง ต น เ อ ง มีวินัยในตนเองปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ 2.2 มีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รักการอ่าน รักการเขียนและรักการค้นคว้า 2.3 มีความรู้อันเป็นสากล รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ มีทักษะ และศักยภาพ ใ น การจัดการ การสื่ อสารและการใช้เทคโน โลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการทางานได้เหมาะสมกับสถานการณ์ 2.4 มีทักษ ะ ก ระ บ วน ก าร โดยเฉ พ าะ ท าง ค ณิ ตศาส ตร์ วิท ยาศ าส ต ร์ ทักษะการคิดการสร้างปัญญาและทักษะในการดาเนินชีวิต 2.5 รักการออกกาลังกาย ดูแลตนเองให้มีสุขภาพและบุคลิกที่ดี 2.6 มีประสิทธิภาพในการผลิตและการบริโภค มีค่านิยมเป็นผู้ผลิตมากกว่าเป็นผู้บริโภค 2.7 เข้าใจประวัติศาสตร์ของช าติไทย ภูมิใจใน ความเป็ น ไทย เป็ น พลเมืองดี ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2.8 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปะวัฒนธรรมประเพณี กีฬาภูมิปัญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดล้อม 2.9 รักประเทศชาติและท้องถิ่น มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามให้สังคม 3. โครงสร้างของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็ นไปตามหลักการ จุดมุ่งหมายและมาตรฐานการเรียน รู้ ที่กาหน ดไว้ให้สถานศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้องมีแน วปฏิบัติใน การจัดหลักสู ตรสถาน ศึกษา จึงได้กาหนดโครงสร้างของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ โครงสร้ำงของหลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 3.1 ระดับช่วงชั้น กาหนดหลักสูตรเป็น 4 ช่วงชั้น ตามระดับพัฒนาการของผู้เรียน ดังนี้ ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6
  • 11. ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 3.2 สำระกำรเรียนรู้ กาหน ดสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร ซึ่งประกอบด้วยองค์ความรู้ ทักษะ หรือกระบวนการเรียนรู้และคุณลักษณะหรือค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียนเป็น 8 กลุ่มดังนี้ 3.2.1 ภาษาไทย 3.2.2 คณิตศาสตร์ 3.2.3 วิทยาศาสตร์ 3.2.4 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3.2.5 สุขศึกษาและพลศึกษา 3.2.6 ศิลปะ 3.2.7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3.2.8 ภาษาต่างประเทศ 3.3 เวลำเรียน ห ลั ก สู ต ร ก าร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ าน ก าห น ด เว ล าใ น ก า ร จัด ก า ร เรี ย น รู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไว้ดังนี้ ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 3 มีเวลาเรียนประมาณปีละ 800 - 1,000 ชั่วโมง โดยเฉลี่ยวันละ 4-5ชั่วโมง ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 มีเวลาเรียนประมาณปี ละ 800 - 1,000 ชั่วโมง โดยเฉลี่ยวันละ 4-5ชั่วโมง ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 มีเวลาเรียนประมาณปีละ 1,000 - 1,200 ชั่วโมง โดยเฉลี่ยวันละ 5-6ชั่วโมง ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4–6 มีเวลาเรียนประมาณปีละไม่น้อยกว่า 1,200 ชั่วโมง โดยเฉลี่ยวันละไม่น้อยกว่า 6ชั่วโมง ดังแสดงในตารางที่ 2 ตำรำงที่2 แสดงโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม ช่วงชั้น ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ช่วงชั้นที่ 1 (ป.1-3) ช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6) ช่วงชั้นที่ 3 (ม.1-3) ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4-6) การศึกษาภาคบังคับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม
  • 12. ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา     ศิลปะ     การงานอาชีพและเทคโนโลยี     ภาษาต่างประเทศ     กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน     เวลาเรียน ประมาณปีละ 800-1,000 ชม. ประมาณปีละ 800-1,000ชม. ประมาณปีละ 1,000-1,200ชม. ไม่น้อยกว่าปีละ 1,200ชม. หมำยเหตุ สาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาต้องใช้เป็นหลักเพื่อสร้างพื้นฐานการคิด การเรียนรู้ และการแก้ปัญหา  ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ เ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว า ม เ ป็ น ม นุ ษ ย์ และศักยภาพพื้นฐานในการคิดและการทางาน  กิจรรมที่เสริมสร้างการเรียนรู้นอกจากสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม และการพัฒนาตนตาม ศักยภาพทั้งนี้สถานศึกษาอาจจัดเวลาเรียนและกลุ่มสาระต่างๆ ได้ตามสภาพกลุ่มเป้าหมายสาหรับ การศึกษาน อกระ บบ สามารถจัดเวลาเรียน และ ช่วงชั้น ได้ตามระ ดับการศึกษา หลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้น พื้น ฐาน มุ่งพัฒน าผู้เรียน ทุกคน ซึ่ งเป็ น กาลังของช าติ ใ ห้ เ ป็ น ม นุ ษ ย์ ที่ มี ค ว า ม ส ม ดุ ล ทั้ ง ด้ า น ร่ า ง ก า ย ค ว า ม รู้ คุ ณ ธ ร ร ม มี จิ ต ส า นึ ก ใ น ค ว า ม เ ป็ น พ ล เ มื อ ง ไ ท ย แ ล ะ เ ป็ น พ ล เ มื อ ง โ ล ก ยึดมั่นใน การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอัน มีพ ระมห ากษัตริย์ ทรงเป็ นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภ าพ ภาษาไทยเป็ นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารการเรียนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อนาไปใช้ใน ชีวิตจริง การอ่าน การอ่านออกเสียงคา ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่างๆ การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจและการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งที่อ่าน เพื่อนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน คือหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521(ฉบับปรับปรุง 2533)หลักสู ตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521(ฉบับปรับปรุง 2533) แล ะ ห ลัก สู ต รมัธ ยมศึก ษ าตอ น ป ล าย พุ ท ธศัก ราช 2524 (ฉ บับ ป รับ ป รุ ง 2533 ) เป็นหลักสูตรที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีข้อจากัด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
  • 13. กาห น ดให้ บุคคลมีสิ ทธิ เสมอกัน ใ น การรับ การศึกษาขั้น พื้ น ฐาน ไม่น้ อยกว่า 12 ปี อ ย่ า ง ทั่ ว ถึ ง แ ล ะ มี คุ ณ ภ า พ โ ด ย ไ ม่ เ ก็ บ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติได้กาหนดให้มีการจัดทาหลักสูตร ขั้นพื้นฐาน เพื่อความเป็นไทย ค ว า ม เ ป็ น พ ล เมื อ ง ที่ ดี ข อ ง ช า ติ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต แ ล ะ ก าร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ต ล อ ด จ น เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ าต่อ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ าแ ห่ ง ช าติ พ .ศ .2 5 4 2 จึ ง ก า ห น ด ใ ห้ มี ห ลั ก สู ต ร ก าร ศึ ก ษ าขั้ น พื้ น ฐ าน พุ ท ธ ศั ก ร าช 2 5 4 4 โดยยึดหลักความมีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากห ลาย ใ น การปฏิ บัติ กล่าวคือ เป็นหลักสูตรแกนกลางที่มีโครงสร้างยืดหยุ่น กาหนดจุดหมาย ซึ่งเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ในภาพรวม12 ปี สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้แต่ละกลุ่มสาระ และมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น เป็นช่วงชั้นละ3 ปี เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองดีของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อการจัดการศึกษามุ่งเน้นความสาคัญทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถคุณธรรม กระบวน การเรี ยน รู้ และ ความรับ ผิดช อบ ต่อสัง คม เพื่ อพัฒ น าคน ใ ห้ มีความสมดุ ล โดยยึดหลักผู้เรียนสาคัญที่สุด โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เป็นคนดีมีปัญญา มี ค ว า ม สุ ข แ ล ะ มี ค ว า ม เ ป็ น ไ ท ย มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพเพื่อให้เกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1. เห็นคุณค่าของตนเอง 2. มีความคิดสร้างสรรค์ 3. มีความรู้เป็นสากล 4. มีทักษะและกระบวนการในการดาเนินชีวิต 5. รักการออกกาลังกาย 6. มีประสิทธิภาพในการผลิตและการบริโภค 7. เข้าใจประวัติศาสตร์ของชาติไทย 8. มีจิตสานึกอนุรักษ์ภาษาไทย 9. รักประเทศชาติและท้องถิ่น หลักสูตรสถำนศึกษำโรงเรียนด่ำนมะขำมเตี้ยวิทยำคม อำเภอด่ำนมะขำมเตี้ย จังหวัดกำญจนบุรี โครงสร้ำงหลักสูตรสถำนศึกษำ ตำรำงที่3 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลาเรียน(ชั่วโมง) เวลาเรียน(ชั่วโมง) เวลาเรียน(ชั่วโมง) พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม
  • 14. 1.ภาษาไทย 120 40 120 - 120 - 2.คณิตศาสตร์ 120 40 120 - 120 - 3.วิทยาศาสตร์ 120 - 120 - 120 40 4.สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 80 80 160 80 80 5.สุขศึกษาและพลศึกษา 80 - 80 40 80 - 6.ศิลปะ 40 - 40 - 40 - ตำรำงที่ 3 (ต่อ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลาเรียน(ชั่วโมง) เวลาเรียน(ชั่วโมง) เวลาเรียน(ชั่วโมง) พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม 7.การงานอาชีพและเทคโนโลยี 80 80 80 80 80 160 8.ภาษาต่างประเทศ 120 40 120 - 120 - รวมเวลำ 760 280 760 280 760 280 9.กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - กิจกรรมพัฒนาความถนัดความสนใจ( กิจกรรมชุมนุม) 40 40 40 -กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี 40 40 40 -กิจกรรมแนะแนว/โฮมรูม 40 40 40 -กิจกรรมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 40 40 40 รวมเวลำ 920 280 920 280 920 280 รวมเวลำเรียนทั้งหมด 1200 1200 1200 หมายเหตุ รายวิชาเพิ่มเติม จัดตามความเหมาะสม สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้ภำษำไทย ห ลั ก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น พุ ท ธ ศั ก ร า ช 2 5 51 กาหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเกณฑ์ในการกาหนดคุณภาพของผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐ าน เพื่อเป็นพื้นฐาน ในการดารงชีวิตให้มีคุณภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ จานวน 5 สาระคือ สาระที่ 1 การอ่าน สาระที่ 2 การเขียน สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา
  • 15. สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม สำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย สาระที่ 1 : การอ่าน ม า ต ร ฐ า น ที่ ท 1 . 1 : ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน สาระที่ 2 : การเขียน มาตรฐ าน ที่ ท 2.1 : ใ ช้ก ระ บ วน การเขียน เขียน สื่ อ ส าร เขียน เรี ยง ค วาม ย่ อ ค ว า ม แ ล ะ เ ขี ย น เ รื่ อ ง ร า ว ใ น รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ สาระที่ 3 : การฟัง การดู และการพูด มาตรฐานที่ ท 3.1 : สามารถเลือกฟัง และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ สาระที่ 4 : หลักการใช้ภาษา มาต ร ฐ าน ที่ ท 4 .1 : เข้ าใ จ ธ ร ร มช า ติ ข อ ง ภ าษ าแ ล ะ ห ลั ก ภ าษ า ไ ท ย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ม า ต ร ฐ า น ที่ ท 4 .2 : ส า ม า ร ถ ใ ช้ ภ า ษ า แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้ เสริมสร้างลักษณะนิสัยบุคลิกภาพและความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจาวัน สาระที่ 5 : วรรณคดีและวรรณกรรม ม า ต ร ฐ า น ที่ ท 5 .1 : เ ข้ า ใ จ แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง มำตรฐำนกำรเรียนรู้ช่วงชั้น สาระที่ 1 : การอ่าน มาตรฐานที่ ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา และสร้างวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
  • 16. ตำรำงที่ 4 แสดงมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น มำตรฐำนกำรเรียนรู้ช่วงชั้น ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6 1. สามารถอ่านได้ถูกต้องตามหลั กการอ่าน เข้าใจความหมายของคาและข้ อความที่อ่าน 2. สามารถสรุปใจความสาคัญแล ะรายละเอียดของเรื่อง หาคาสาคัญหรือใช้แผนภาพโ ครงเรื่องหรือแผนภาพความคิ ดเป็นเครื่องมือการพัฒนาควา มเข้าใจการอ่าน รู้จักใช้คาถามเกี่ยวกับเนื้อหาแ ละแสดงความรู้ ความคิด คาดคะเนเหตุการณ์ เรื่องราวจากเรื่องที่อ่านและกา หนดแนวทางปฏิบัติ 1.สามารถอ่านได้คล่ องแคล่ว รวดเร็วยิ่งขึ้น เข้าใจความหมายขอ งคา สานวนโวหาร การบรรยาย การพรรณนา การเปรียบเทียบ การใช้บริบท เข้าใจความหมายขอ งถ้อยคา สานวนและเนื้อเรื่อง และใช้แหล่งความรู้ พัฒนาความ สามารถการอ่าน 2.สามารถสรุปความ จากเรื่องที่อ่าน และใช้แผนภาพควา มคิดพัฒนาความสา มารถในการอ่านโดย นาความรู้ ความคิดจากการอ่าน ไปใช้แก้ปัญหา ตัดสินใจคาดการณ์ และใช้การอ่านเป็นเ ครื่องมือพัฒนาตน การตรวจสอบความ 1. สามารถอ่านได้คล่องแคล่วรวดเ ร็วยิ่งขึ้นเข้าใจวงศัพท์กว้างขึ้น เข้าใจสานวนและโวหารการบร รยาย การพรรณนา อธิบาย อุปมาและสาธก สามารถใช้บริบทการอ่านและใ ช้แหล่งความรู้พัฒนาประสบกา รณ์และความรู้กว้างขวางขึ้น 2. สามารถแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นวิเคราะห์ความตีความ แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์เ รื่องที่อ่าน ประเมินค่าทั้งข้อดีและข้อด้อยอ ย่างมีเหตุผล โดยใช้แผนภาพความคิดและกร ะบวนการวิเคราะห์อย่างหลากห ลายพัฒนาความสามารถในการ อ่านมาเล่าเรื่อง ย่อเรื่อง ถ่ายทอดความรู้ ความคิดจากการอ่านไปใช้ประโ ยชน์ใน 1. สามารถอ่านอย่างมีประสิทธิ ภาพ มีวิจารณญาณ ตีความ แปลความและขยายความเรื่ องที่อ่านอย่างลึกซึ้ง รักและสนใจการอ่านหนังสื อประเภทต่าง ๆ อย่างกว้างขวางมากขึ้น และใช้แหล่งความรู้พัฒนาป ระสบการณ์การอ่าน 2.สามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์และประเมินค่าเ รื่องที่อ่าน โดยใช้ประสบการณ์และคว ามรู้จากการอ่านหนังสือที่ห ลากหลายเป็นพื้นฐานการพิ จารณาเนื้อหา รูปแบบรวมทั้งคุณค่าทางวร รณคดีและสังคม โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์อย่างหลากหลายเป็ นเครื่องมือ พัฒนาสมรรถภาพการอ่านแ ละการเรียนรู้
  • 17. รู้และการค้นคว้าเพิ่ม เติม ตำรำงที่4 (ต่อ) มำตรฐำนกำรเรียนรู้ช่วงชั้น ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6 3.สามารถอ่านในใจ อ่านออกเสียงบทร้อยแ ก้วและบทร้อยกรอง ได้รวดเร็ว ถูกต้องตามลักษณะคาป ระพันธ์และอักขรวิธีแล ะจาบทร้อยกรองที่ไพเร าะ เลือกอ่านหนังสือที่เป็น ประโยชน์ทั้งความรู้แล ะความบันเทิงมีมารยาท การอ่านและมีนิสัยรักก ารอ่าน 3.สามารถอ่านในใจและอ่านออกเสียง บทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ คล่องแคล่ว รวดเร็ว ถูกต้องตามลักษณะคาประพันธ์และอัก ขรวิธีและจาบทร้อยกรองที่มีคุณค่าทาง ความคิดและความงดงามทางภาษาสาม ารถอธิบายความหมายและคุณค่านาไป ใช้อ้างอิง เลือกอ่านหนังสือและสื่อสารสนเทศ ทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามจุดประสงค์อ ย่างกว้างขวาง มีมารยาทการอ่านและนิสัยรักการอ่าน การดาเนินชีวิตและใช้ การอ่านในการตรวจสอ บความรู้ 3.สามารถอ่านในใจและ อ่านออกเสียงตามลักษณ ะคาประพันธ์ที่หลากหล ายและวิเคราะห์คุณค่าด้า นภาษาเนื้อหาและสังคม จาบทประพันธ์ที่มีคุณค่า นาไปใช้อ้างอิงและเลือก อ่านหนังสือและสื่อ สารสนเทศทั้งสื่อสิ่งพิม พ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อย่างกว้างขวาง พัฒนาตนด้านความรู้แล ะ การทางาน มีมารยาท การอ่านและนิสัย รักการอ่าน 3.สามารถอ่านหนังสืออ ย่างหลากหลาย เพื่อเป็นพื้นฐานในการพั ฒนาสมรรถภาพการเขีย น นาข้อความหรือบทประ พันธ์ที่มีคุณค่าและระบุ ความประทับใจไปใช้ใ น การสื่อสารอ้างอิง เลือกอ่านหนังสือจากแ หล่งเรียนรู้และสื่อสารส นเทศเพื่อความรอบรู้แล ะเป็นประโยชน์ในการศึ กษาต่อ การทางานและประกอบ อาชีพ มีมารยาทการอ่านและนิ สัยรักการอ่าน
  • 18. จ า ก ต า ร า ง ที่ 4 พ บ ว่ า มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้นเป็ นมาตรฐานที่มีความต่อเนื่องความรู้ซึ่งผู้เรียน ต้องมีความรู้ ความเข้าใจอย่างชัดเจน จึงสามารถที่จะเรียนรู้สาระในมาตรฐานช่วงชั้นที่สูงขึ้นได้ จากมาตรฐานหลักสูตรช่วงชั้น สาระที่1 การอ่าน กาหนดสาระการเรียนรู้ช่วงชั้นที่3 (ม.1-3) สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้รายปีหรือรายภาคดังนี้ มำตรฐำนกำรเรียนรู้รำยปีหรือรำยภำค ตำรำงที่ 5 แสดงมาตรฐานการเรียนรู้รายปี มำตรฐำนกำรเรียนรู้รำยปีหรือรำยภำค สำร ะ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ช่วงชั้น ม. 1-3 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 เนื้อหำ 1. การ อ่า น 1. สามารถอ่านได้คล่องแคล่วรวดเร็วยิ่งขึ้น เข้าใจวงศัพท์กว้างขึ้น เข้าใจสานวนและโวหารการบรรยาย การพรรณนา อธิบาย อุปมาและสาธก สามารถใช้บริบทการอ่านและใช้แหล่งความรู้พัฒนาประ สบการณ์และความรู้กว้างขวางขึ้น 2. สามารถแยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ความตีความ แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์เรื่องที่อ่าน ประเมินค่าทั้งข้อดีและข้อด้อยอย่างมีเหตุผล โดยใช้แผนภาพความคิดและกระบวนการวิเคราะห์อย่าง หลากหลายพัฒนาความสามารถในการอ่านมาเล่าเรื่อง ย่อเรื่อง ถ่ายทอดความรู้ความคิดจากการอ่านไปใช้ประโยชน์ในก ารดาเนินชีวิตและใช้ การอ่านในการตรวจสอบความรู้ 1. สามารถอ่านได้คล่องแคล่วรวด เร็วยิ่งขึ้นเข้าใจวงศัพท์ สานวนและโวหาร จับใจความสาคัญจากเรื่องที่อ่า นได้ ใช้แหล่งความรู้พัฒนาประสบ การณ์และความรู้กว้างขวางขึ้น 2. สามารถแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็นวิเคราะห์ความ ตีความ แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ เรื่องที่อ่านได้ พัฒนาความสามารถในการอ่า นมาเล่าเรื่องย่อเรื่อง ถ่ายทอดความรู้ ความคิดจากการอ่านไปใช้ประ 1.การอ่านจับใจควา มสาคัญ 2.การอ่านแยกข้อเท็ จจริงและข้อคิดเห็น 3.การอ่านตีความ 4.การอ่านวิเคราะห์
  • 19. โยชน์ในการดาเนินชีวิต ตำรำงที่5 (ต่อ) มำตรฐำนกำรเรียนรู้รำยปีหรือรำยภำค สำ ระ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ช่วงชั้น ม. 1-3 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 เนื้อหำ 3. สามารถอ่านในใจและอ่านออกเสียงตามลักษณะคาประพันธ์ที่ห ลากหลายและวิเคราะห์คุณค่าด้านภาษา เนื้อหาและสังคม จาบทประพันธ์ที่มีคุณค่านาไปใช้อ้างอิงและเลือกอ่านหนังสือ และ สื่อสารสนเทศทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างกว้างขว าง พัฒนาตนด้านความรู้และการทางาน มีมารยาทการอ่านและนิสัยรักการอ่าน 3. สามารถอ่านในใจ และอ่านออกเสียงตามลักษณะคาป ระพันธ์ที่หลากหลาย วิเคราะห์คุณค่าด้านภาษา เนื้อหาและสังคม จาบทประพันธ์ที่มีคุณค่า เลือกอ่านหนังสือและสื่อสาร สนเทศสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อย่างกว้างขวาง พัฒนาตนด้านความรู้ มีมารยาทการอ่านและนิสัยรักการ อ่าน 5.การอ่า นในใจ จ า ก ต า ร า ง ที่ 5 พ บ ว่ า มาตรฐานการเรียนรู้รายปีหรือรายภาคเป็นมาตรฐานที่มีความต่อเนื่องระหว่างความรู้เดิมเพื่อนามาพัฒนาใช้ กั บ ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น จึงสามารถที่จะเรียนรู้สาระในมาตรฐานการเรียนรู้รายปีหรือรายภาคที่สูงขึ้นได้ กำรอ่ำนวิชำภำษำไทย ควำมหมำยของกำรอ่ำน มีนักการศึกษาให้คาจากัดความของ “การอ่าน” ไว้หลายท่านดังนี้ อั จ ฉ ร า ว ร ร ณ ศิ ริ รั ต น์ ( 2549 : 48) ก ล่ า ว ว่ า การอ่านเป็ นกระบวนการโต้ตอบระหว่างผู้เขียนและผู้อ่าน เป็ นกระบวนการทางความคิดสติปัญญา ที่ผู้อ่านรับรู้ตัวอักษรซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์เดิมและจินตนาการของผู้อ่านเป็นเครื่องมือสาคัญที่ช่วยในกา ร แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ ไ ป สู่ เ ป้ า ห ม า ย ห ลั ก ที่ ผู้ อ่ า น เ กิ ด ค ว า ม รู้ ความเข้าใจและสามารถนาไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 20. วิ ไ ล ลั ก ษ ณ์ พั ด ศ รี เ รื อ ง ( 2548:14) ก ล่ า ว ว่ า การอ่าน เป็ น กระ บ วน ก ารป ฏิ สัมพัน ธ์ โด ยผู้เขี ยน เป็ น ผู้ถ่ายทอ ดเนื้ อห า ความคิ ด และ บ ริบ ทของ สถาน การณ์ เป็ น ตัวอักษ รห รื อสัญ ลักษณ์ ทั้ง ด้าน ภ าษาและ ความคิด ประ สบ การณ์ เดิมและ อ งค์ป ระ กอบท าง จิตวิทยา เพื่ อสร้าง ความเข้าใ จความห มา ย ของผู้เขียนและสามารถตีความได้ตรงตามจุดประสงค์ที่แท้จริงของผู้เขียน และการตีความ ต้องใช้การบูรณาการความรู้เดิมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อเรื่องที่ปรากฏในบทอ่าน สานั กง าน เขตพื้ น ที่การศึกษาพังง า (2547 :115) ให้ความหมายของ การอ่าน ว่า ห ม าย ถึ ง ก ระ บ ว น ก าร แ ป ล ค ว า มห มาย ข อ ง สั ญ ลั ก ษ ณ์ อ อ ก ม าเป็ น ค ว า มคิ ด ทาให้เกิดความเข้าใจความหมายและได้รับความรู้ ความคิด ตลอดจนความรู้สึก อารมณ์และจินตนาการ การอ่านในปัจจุบัน มิได้หมายถึง การอ่านหนังสือ ซึ่งเป็นแหล่งบรรจุตัวอักษรเพียงอย่างเดียว แต่ยัง หมายถึง การแปลความห มายของสั ญ ลักษณ์ ภ าพ ภ าพ จาลอง และ สื่ อต่าง ๆ ที่สามารถสัมผัสได้โดยผ่านทางตา สนิท สัตโยภาส (2545:92) ให้ความหมายของการอ่านว่า เป็นความสามารถดูอักษรต่างๆ แล้วถ่ายทอดความหมายจากตัวอักษร ออกมาเป็ นความคิดจากนั้ นจึงน าความรู้ ความคิด หรือสิ่งที่ได้ จากการอ่านไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในด้านต่างๆ เมื่อถึงเวลาอันควร สุ นัน ทา มั่น เศรษฐวิทย์ (2540 :2) ใ ห้ ความห มายของ การอ่าน ไว้ว่า ลักษณ ะ ของกระบวนการเป็ นลาดับขั้นที่เกี่ยวกับการทาความเข้าใจความหมายของคา กลุ่มคา ประโยค ข้อความและเรื่องราวของสารที่ผู้อ่านสามารถบอกความหมายได้ ธิ ดา โมสิ ก รัตน์ , ต รี ศิล ป์ บุ ญ ข จร , แ ละ ป ระ ภ าวดี สื บ ส น ธ์ (2545 :530) ได้ให้ความหมายของการอ่านว่า เป็นกระบวนการค้นหาความหมายในสิ่งพิมพ์หรือข้อเขียน จับใจความ ตีความ เพื่อพัฒนาตนเอง ทั้งด้านสติปัญญา อารมณ์และสังคม โ ท นี่ บู ซ า น ( 2 5 4 4 :41) ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ก า ร อ่ า น ว่ า การอ่านเป็นการรับเอาสิ่งที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อในหนังสือหรือการดูซับถ้อยคาในหนังสือและหมายรวมถึง ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างผู้คนกับข้อมูลเชิงสัญลักษณ์ กองเทพ เคลือบพ าณิช (2542 :81) ได้รวบรวมความหมายของการอ่านที่บรรดาผู้รู้ แ ล ะ นั ก วิ ช า ก า ร ห ล า ย ท่ า น ส รุ ป ไ ด้ ว่ า ก า ร อ่ า น คื อ ส่วนหนึ่งของกระบวนการสื่อสารเป็นขั้นตอนของการรับสาร โดยผู้อ่านใช้ประสาทสัมผัสทางตารับภาพ คือตัวอักษรหรือสัญลักษณ์อื่นใด ผ่านกระบวนการทางความคิด เพื่อทาความเข้าใจเรื่องนั้น ๆ แล้วตีความหมายออกมา แม้นมาส ชวลิต (2528:232) ให้แนวคิดเกี่ยวกับการอ่านว่า การอ่านคือการใช้ศักยภาพ ของสมองเพื่อการรับรู้ แปลความหมาย ความเข้าใจปรากฏการณ์ของข้อมูลข่าวสาร เรื่องราว
  • 21. ประสบการณ์ความคิด ความรู้สึก จินตนาการ ตลอดจนสาระอื่นๆ ซึ่งมีผู้แสดงออกโดยสัญลักษณ์ ที่เป็นลายลักษณ์อักษรที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อสื่อสาร การอ่านเป็นทักษะพื้นฐาน จรัญ สุ ขเกษม (2542:10) กล่าวว่า การอ่าน คือ กระ บวน การแปลความหมาย จากตัวอักษร สัญลักษณ์ กลุ่มคา หรือวลี และประโยคออกมาเป็ น ความคิดอย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความสามารถใน การแปล การตีความ การจับใจความสาคัญ และการสรุปความ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างมีจุดมุ่งหมาย ฉวีวรรณ คูหาอภินันท์ (2542:1) ได้กล่าวถึงการอ่านว่า การอ่านเป็น ความสามารถ ของมนุษย์ ที่เข้าใจการสื่อความหมายของสัญลักษณ์ต่างๆ เข้าใจในเนื้อเรื่องและแนวความคิด จากสิ่งที่อ่านไม่ว่าจะเป็นจดหมาย หนังสือ บทความต่างๆ หรือจากภาพยนตร์ โทรทัศน์ วีดีทัศน์ สิ่ ง ที่ป รากฏบ น จอคอมพิ วเตอ ร์ สัญ ลักษณ์ การโบกธง ของ ท ห ารของ นั กเดิน เรื อ เครื่องหมายจราจรที่ปรากฏบนท้องถนน รูปภาพ โฆษณาต่างๆ ภาพวาด ภาพเขียน แผนที่ แผนภูมิ การแสดงท่าทางต่างๆ เป็นต้น วัชรี บูรณสิงห์ และนิรมน ศตวุฒิ (2542:2) ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า การอ่านหมายถึง การอ่านตามการออกเสียงหรือความเข้าใจตามตัวหนังสือ การค้นหาความหมาย หรือสัญลักษณ์ใดๆ ที่สามารถนามาตีความ สื่อความหมายให้เกิดความเข้าใจในสิ่งนั้น ๆได้ สมุทร เซ็นเชาวนิช (2542 :1) ได้ให้ความหมายของการอ่านว่าการอ่าน คือการสื่อความหมาย เป็ นการสื่อความหมายระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน ผู้เขียนพูด ผู้อ่านแสดงปฏิกิริยาตอบโต้กับผู้อื่น ด้วยการสื่อความหมายในการอ่านนั้นจะต้องมีองค์ประกอบ 3 อย่าง คือ ผู้เขียน ผู้อ่าน และรายงาน (สิ่งที่ได้อ่านมาแล้วหรือปฏิกิริยาโต้ตอบซึ่งอาจจะเกิดขึ้นจากการอ่านนั้นๆ ) กู๊ดแมน (Goodman 1980:5-11) กล่าวว่า การ อ่าน เป็ น กระ บวน ที่ สลับซับซ้อน ที่ผู้อ่านจะต้องตั้งสมมุติฐานหรือเดาความหมายของสิ่งที่อ่านจากประสบการณ์ เข้าไปร่วมด้วยมากกว่า การดูจากสิ่งที่พิมพ์ปรากฏอยู่ในข้อความเพื่อผู้อ่านจะได้เกิดความเข้าใจในความหมายที่อ่านด้วย บุชและฮิบเนอร์ (Bush andHeubner 1970:14) กล่าวว่า การอ่านเป็ นกระบวนการคิด ที่ผู้อ่านจะต้องเข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่าน โดยการน าเอาสัญลักษณ์ที่อ่านไปสัมพัน ธ์ กับประสบการณ์เดิมเพื่อให้เข้าใจเนื้อเรื่องอย่างแท้จริงและเกิดมโนภาพขึ้นในใจของผู้อ่าน แฮ ริสและสมิธ (Haris and Smith 1976:14) มีความเห็ น ว่า การอ่าน เป็ น รู ปแบ บ ข อ ง ก า ร สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย เป็นการเปลี่ยนความคิดและข่าวสารระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่านผู้เขียนจะแสดงความคิดเห็นของตนลงบนกระ ด า ษ ด้ ว ย ภ า ษ า ซึ่ ง เ ป็ น ไ ป ต า ม ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก า ร เ ขี ย น แ ต่ ล ะ ค น ผู้อ่านก็พยายามอ่านตามความหมายจากที่ผู้เขียนได้เขียนไว้ จ า ก ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ก า ร อ่ า น ที่ ไ ด้ ก ล่ า ว ข้ า ง ต้ น พ อ ส รุ ป ไ ด้ ว่า การอ่านเป็นกระบวนการสื่อความหมายระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน โดยการแปลความหมายจากตัวอักษร
  • 22. สัญ ลัก ษณ์ คา กลุ่มคา วลี และประโยค ให้ เกิดความเข้าใจตามลักษณะของเรื่ องที่ อ่าน โดยอาศัยความสามารถใน หลักการอ่าน ก ารจับ ใ จความ การแป ลความ การตี ความ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถูกต้องตามจุดมุ่งหมาย ของผู้เขียน ควำมสำคัญของกำรอ่ำน การอ่านเป็ น รากฐานสาคัญของการศึกษา ผู้ที่อ่านได้เร็ว เข้าใจเรื่องที่อ่านได้ตลอด จัดได้ว่าเป็นผู้ที่มีความสามารถในการอ่านสูง ประกอบกับในยุคปัจจุบัน การศึกษามีความเจริญก้าวหน้า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้มากขึ้น การอ่านเป็ นพื้น ฐานสาคัญ ที่ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ส า ข า วิ ช า ต่ า ง ๆ ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม รู้ ความคิดในการที่จะเลือกสิ่งที่มีคุณค่ามาใช้ในการดาเนินชีวิต ในเรื่องของความสาคัญของการอ่านนั้น นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงความสาคัญของการอ่านไว้ดังนี้ อวยพ ร พ านิ ช และ คณ ะ (2543 : 40-41) กล่าวถึงความสาคัญ ของการอ่าน ว่า ท าใ ห้ ค น เป็ น ค น ทัน ส มัย เพ ร าะ ว่ารู้ ข่าว ค วามเค ลื่ อ น ไ ห วต่าง ๆ ต ล อ ด เว ล า ทาให้มีปัญญาและประสบการณ์ ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ฉวีวรรณ คูหาภินันท์ (2542:11) กล่าวว่า การอ่านมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เกิด จนโต และจนกระทั่งถึงวัยชรา การอ่าน ทาให้รู้ข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งปัจจุบัน เป็ น โลก ของข้อมูลข่าวสาร ท าใ ห้ผู้อ่าน มีความสุ ข มีความห วัง และ มีความอยากรู้อยากเห็ น อันเป็นความต้องการของมนุษย์ทุกคน การอ่านมีประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง คือ พัฒนาการศึกษา พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต ทาให้เป็นคนทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ และสนองความอยากรู้อยากเห็น นอกจากนั้น การจะพัฒนาประเทศให้รุ่งเรืองก้าวหน้าได้ต้องอาศัยประชาชนที่มีความรู้ ความสามารถ ซึ่งความรู้ต่าง ๆ ก็ได้มาจากการอ่านนั่นเอง สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์ (2540:6) ได้สรุปความสาคัญของการอ่านว่า การอ่านสามารถ ฝึกความคิดสร้างจินตนาการได้ขณะที่อ่าน เกิดความคิดเห็นได้ด้วยตนเองและรู้สึกมีความสุข ศิริพร ลิ้มตระการ (2537 :6) กล่าวสรุปความสาคัญของการอ่านไว้ดังนี้ 1. การอ่านหนังสือทาให้ได้เนื้อหา สาระความรู้มากกว่าการศึกษาหาความรู้ด้วยวิธีอื่น ๆ เช่นการฟัง 2. ผู้อ่านสามารถอ่านหนังสือได้โดยไม่จากัดเวลาและสถานที่ สามารถนาติดตัวไปได้ 3. หนังสือสามารถเก็บไว้ได้นานกว่าสื่ออย่างอื่น ซึ่งมักมีอายุการใช้งานจากัด 4. ผู้อ่านสามารถฝึกการคิดและจินตนาการได้เองขณะอ่าน 5. การอ่านส่งเสริมให้มีสมองดี มีสมาธินานกว่าและมากกว่าสื่ออย่างอื่น เพราะขณะที่ อ่านจิตใจจะต้องมุ่งมั่นอยู่กับข้อความพินิจพิเคราะห์ข้อความ 6. ผู้อ่านเป็นผู้กาหนดการอ่านได้ด้วยตนเอง จะอ่านคร่าว ๆ อ่านอย่างละเอียด อ่านข้าม หรืออ่านทุกตัวอักษรก็ได้ ตามใจของผู้อ่าน หรือจะเลือกอ่านเล่มไหนก็ได้ เพราะมีหนังสือให้เลือกมากมาย