SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 
ตีพิมพ์ครังที 1, พ.ศ. 2548, สำนักพิมพ์ สวทช. 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 1 / 45
พิภพในสงครามดวงดาว 
A long time ago in a galaxy far, far away … 
นานมาแล้ว ในดาราจักรอันไกลสุดไกลโพ้น … 
เมือกลางเดือนพฤษภาคมทีผ่านมา บรรดาแฟนๆ ของมหากาพย์สงครามดวงดาว “สตาร์ วอร์ส” (ไม่ว่าจะ 
พันธ์ุแท้ หรือพันธ์ุทาง) ก็คงจะแฮปปีป9รีดากันถ้วนหน้ากับการมาเยือนของ ภาพยนตร์ตอนทีสองในไตรภาคทีหนงึของ 
มหากาพย์จักรวาลเรืองยิงใหญ่นี 9 ทีมีชือตอนว่า Episode II- Attack of the Clones 
จังโก้ เฟ็ทท์ และ กองทัพโคลนทีสร้างโดยขึนใช้เขาเป็นต้นแบบ 
รวมไปถึงก่อนหน้านัน9 (ในช่วงเดือนเมษายนและพฤษภาคม) ทีได้มีการนำสตาร์วอร์สทัง9สตีอน ทีออกฉาย 
ไปแล้วมาออกอากาศอีกครัง9ทางสถานีโทรทัศน์สีช่อง 7 ในช่วงบBิกซีนีม่า เพือเป็นการรำลึกความหลัง และ เรียก 
นำ9ย่อยไปพลางๆ ก่อนทีจะได้ชมตอนใหม่ล่าสุดกัน 
ความจริงจะว่าไปแล้วก็น่าจะเป็นเรืองน่ายินดีสำหรับทัง9ผู้สร้างและผู้ชมนนัแหละนะครับ เพราะว่า 
ภาพยนตร์ในชุดสตาร์ วอรส์นี 9ได้กลายมาเป็น “ตำนานทียังมีชีวิตอยู่” และ จัดได้ว่าเป็นภาพยนตร์ประเภททีว่า 
“ต้องดู” ให้ได้ … ขนาดนัน9เลยทีเดียว 
สำหรับคำกล่าวอ้างเรืองว่าสตาร์วอร์สเป็นภาพยนตร์ที “พลาดไม่ได้” นีพ9ิสูจน์ง่ายนิดเดียวครับ คือ ดูได้ 
จากรายรับจาก สตาร์วอร์ส ตอนก่อนล่าสุด คือตอน Episode I-The Phantom Menace ทีออกฉายไปเมือสามปี 
ก่อนหน้านี 9ซงึมีความพิเศษอยู่มาก เพราะ นับเป็นตอนทีผู้ชมต้องรอคอยอย่างยาวนานถึงสิบหกปี (สตาร์ วอร์ส ตอน 
ก่อนหน้านัน9คือ Episode VI-Return of the Jedi ออกฉายในปี 2526) 
นัยว่า จำเป็นต้องรอคอยพัฒนาการของเทคโนโลยีการสร้างภาพดิจิทัล ให้ถึงระดับทีจะทำให้ได้ภาพ 
ใกล้เคียงกับจินตนาการของจอร์จ ลูกัส ผู้รังสรรค์งานมหากาพย์สงครามดวงดาวนี 9เสียก่อน !!! 
ตอน Episode I-The Phantom Menace นัน9 สามารถทำเงินได้อย่างมหาศาล กล่าวคือ เฉพาะในอเมริกา 
ก็มากกว่า 431 ล้านเหรียญเข้าไปแล้ว นับเป็นรายได้ทีเป็นรองก็เพียงแต่ภาพยนตร์ทำเงินตลอดกาลสามเรืองคือ 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 2 / 45
ไททานิค, สตาร์วอร์ส ตอนแรกสุด (Episode IV-A New Hope) และ อีที (E.T. The Extra-Terrestrial ซึงนำฉบับ 
ปรับปรุงเทคนิคพิเศษ และ มาออกฉายใหม่ในปีนีเ9ช่นกัน) เท่านัน9 
มีคำกล่าวทเีชือว่าหลายท่านคงคุ้นเคยกันดี ก็คือวลีทวี่า “ดูหนังดูละครแล้วให้ย้อนดูตัว” ดังนัน9 แม้ว่า 
มหากาพย์สงครามดวงดาวชุดนี 9 จะเหมาะเป็นอย่างยิงกับการดูเพือความบันเทิงเริงรมย์ และ พักผ่อน แต่ในฐานะ 
ของคนในแวดวงวิทยาศาสตร์ ผมจะขอชวนคุณ ๆ มาช่วยกันตัง9 “ปุจฉา” และร่วมกัน “วิสัชนา” ว่า … มีความเป็นไป 
ได้ทางวิทยาศาสตร์ สำหรับบุคคล และ เหตุการณ์ต่างๆ ในเรื%องสตาร์วอร์สมากน้อยเพียงใด ? 
กาลครังหนึงนานมาแล้ว 
เรืองแรกสุดทีเราน่าจะได้มาพิจารณากันก็คือ เรืองของ “พิภพต่างๆ” ในเรืองสตาร์ วอร์ส 
การทีจะมีสงครามดวงดาวได้นัน9 ก็ต้องมีสถานทีอยู่ให้กับทัง9ฝ่ายจักรวรรดิและฝ่ายกบฏได้พักพิงอยู่อาศัย 
เสียก่อน และ เพือให้สมเหตุสมผลว่า ฝ่ายจักรวรรดิไม่รู้และไม่สามารถระบุได้ง่าย ๆ ว่าฝ่ายกบฏอยู่ทีใดกันแน่ 
ก็ต้องมีดาวเคราะห์ทีพอจะอาศัยได้อยู่จำนวนมากสักหน่อย 
ในแต่ละตอนของ สตาร์ วอร์ส แฟนๆ ก็ได้เห็นถึงฉากพิภพทีแตกต่างกันมากมาย ไม่ว่าจะเป็นพิภพ 
ทะเลทรายทีแล้งกันดารบนดาวบ้านเกิดของลุคอย่าง ทาทูอีน ใน Episode IV ดาวดาโกบาฮ์ ทีเต็มไปด้วยหนองบึง 
และเป็นทีพำนักและหลบซ่อนตัวของโยดา ปรมาจารย์เจได และ ดาวหิมะโฮธ ทีฝ่ายจักรวรรดิส่งยานวอล์กเกอร์เข้าไล่ 
ล่าฝ่ายกบฏใน Episode V ดวงจันทร์แห่งดาวเอนดอร์ ทีเป็นป่าโบราณ และ เป็นบ้านของอีโวกส์ เหล่านักรบตัวจ้อย 
(คล้ายตุ๊กตาหมี) ใน Episode VI 
เมืองบาดาลบนดาว นาบู บ้านเกิดของจาร์ จาร์ บิงค์ส ตัวละครดิจิทัลเต็มรูปแบบตัวแรกของสตาร์วอร์ส ใน 
Episode I เมืองคอรัสแคนท์ ราชธานีแห่งสาธารณรัฐทีมีการจราจรทางอากาศทีแสนจะแออัด และสับสนวุ่นวาย (ไม่ 
แพ้การจราจรในถนนของกรุงเทพฯ) รวมไปถึง ดาวเคราะห์น้อย ทีฮัน โซโล ขียานมิลเลเนียม ฟอลคอล หลบหนีการ 
ไล่ล่าของฝ่ายจักรวรรดิเข้าไปหลบอยู่ในกระเพาะของหนอนอวกาศ 
อ้อ … ทีเอ่ยมาไม่ได้หมายความว่าแต่ละพิภพจะปรากฏในตอนนัน9ๆ เท่านัน9แต่อย่างใดนะครับ (อาจจะเห็น 
ในตอนอืนด้วย) 
นับว่าเป็นภาพยนตร์ Sci-fi ทีมีรูปแบบของพิภพหลากหลายเป็นอย่างยิง เรียกว่าในบรรดาภาพยนตร์แนว 
เดียวกันแล้ว ทีพอจะเทียบรัศมีกันได้ในเรืองนีก9็คงจะมีแค่ “สตาร์เทร็ค” เพียงเรืองเดียวกระมังครับ 
คำถามแรกสุดทีออกจะพืน9ๆ และ ควรจะถามกันเสียตรงนีก9็คือ มีดาวเคราะห์อยู่มากน้อยเพียงใดในเอก 
ภพทีจะให้บรรดาสิงมีชีวิตในเรืองอาศัยอยู่ได้ ? 
คำถามทีฟ%ังดูไม่ยุ่งยากซับซ้อนแบบนีแ-หละครับที %… ตอบได้ไม่ง่ายเลย 
ก่อนอืนคงต้องมาทบทวนกันดูสักหน่อยหนึงก่อนว่า ดาวเคราะห์ต่างๆ ในเอกภพนันมีกำเนิด และ 
ทีมาอย่างไรกัน 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 3 / 45
เอกภพอันกว้างใหญ่จะมีดาวเคราะห์ทีเป็นพิภพทีอาศัยอยู่ได้ 
แบบทีเห็นภาพยนตร์เรืองสตาร์วอร์ส มากน้อยเพียงใดกัน 
เริมกันทีดาวเคราะห์ทีมีลักษณะเป็นหินแข็งอย่างโลกของเรากันก่อน การทีจะเกิดดาวเคราะห์แบบนีไ9ด้ต้อง 
อาศัยธาตุทมีีนำ9หนักมากสักหน่อย อย่างจำพวก คาร์บอน, ไนโตรเจน, ออกซิเจน หรือ เหล็ก เป็นต้น 
โชคร้ายอยู่สักหน่อยทีธาตุเหล่านีเ9มือพิจารณาในขอบเขตชนาดใหญ่อย่างเอกภพแล้ว ถือได้ว่าเป็นธาตุทีออก 
จะหายากอยู่ทีเดียว เพราะว่าประมาณกันว่า 99.8 เปอร์เซนต์ของอะตอมในจักรวาล เป็นธาตุเบาทีส%ุดสองธาตุแค่นน-ั 
คือ ไฮโดรเจน และ ฮีเลียม 
นอกจากนี 9 ธาตุทีหนักกว่าเหล่านีไ9ม่ได้เกิดขึน9พร้อมกับการเกิดของเอกภพแต่อย่างใด แต่เป็นธาตุที 
เกิดขึน9ในภายหลัง โดยเกิดจากกระบวนการการหลอมรวมนิวเคลียส ทีเรียกว่า นิวเคลียร์ ฟิวชัน ทีเกิดขึน9ภายใน 
ดาวฤกษ์ 
กระบวนการดังกล่าวนี%เอง ที%เป็นแหล่งพลังงาน และ ต้นกำเนิดของแสงที%เปล่งออกมาของดาวฤกษ์ต่าง ๆ 
นอกจากนี 9 “ซูเปอร์โนวา” (supernova) หรือ การระเบิดของดาวฤกษ์ทีสิน9อายุขัย ก็เป็นต้นกำเนิดสำคัญ 
อีกแหล่งหนงึของธาตุหนักเหล่านี 9 มีนักดาราศาสตร์บางคนประมาณว่า ซูเปอร์โนวาอาจจะเกิดขึน9ได้ถีมากใน 
กาแล็กซีขนาดใหญ่ๆ (หมายถึงว่าถีเมือเปรียบเทียบกับอายุเอกภพ ไม่ใช่เทียบกับอายุของคนเรานะครับ) 
นน%ัก็คือ อาจจะเกิดข-ึนทุกๆ ศตวรรษเลยทีเดียว ! 
หากธาตุหนักเหล่านีเ9กิดขึน9ในกาแล็กซี (หรือกลุ่มดาว) ทีมีมวลสารมากพอ (เช่น ในกาแล็กซีทางช้างเผือกที 
เราอาศัยอยู่) ธาตุเหล่านีก9็จะถูกแรงดึงดูดของกาแล็กซีจับไว้ และ อาจจะรวมตัวกับละอองก๊าซ และฝุ่น เกิดเป็น 
ดาวฤกษ์ดวงใหม่ หรือ แม้แต่ดาวเคราะห์ดวงใหม่ก็ยังได้ 
นักดาราศาสตร์ (อีกนนัแหละ) ประมาณว่า เอกภพน่าจะเกิดขึนในช่วงเวลาราว 1.5 หมืนล้านปีก่อน 
แต่เนืองจากธาตุหนักน่าจะมีปริมาณเพียงพอ ทีจะให้กำเนิดดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายคลึงกับโลกได้ไม่เร็วกว่า 1 
หมืนล้านปีทีแล้ว หากพิจารณาดังนีแ9ล้วก็จะพอประมาณได้ว่า คำกล่าวทีว่า “นานมาแล้ว …” ในตอนต้น 
เรืองสตาร์วอร์สทุกภาคนัน 
จึงน่าจะอยู่ในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 1 หมืนล้านปีก่อน 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 4 / 45
กำเนิดสรวงสวรรค์และพิภพ 
เอาล่ะครับ เมือได้ธาตุหนักมาเป็นวัสดุแล้ว ธรรมชาติก็ดูท่าน่าจะพร้อมจะ “เนรมิตสวรรค์สรรค์สร้าง 
พิภพ” กันได้แล้ว … แต่ว่าทำได้อย่างไรล่ะครับ ? 
ทฤษฎีทีเชือกันอยู่ในปัจจุบัน อธิบายกันเป็นตุเป็นตะว่าอย่างนีค9รับ เศษซากทีประกอบไปด้วยก๊าซ, ฝุ่น 
และ สารเคมีทีมีความเย็นจัดในอวกาศจะมาเกาะกันเป็นกระจุกคล้ายกับ “ก้อนเมฆ” ประมาณนัน9แหละครับ (ตรงกลาง 
จะกลวงๆ) จากนัน9ก็จะ “เริมหมุน” 
ต่อมาก็จะเริมเกิดการยุบตัวเปลยีนมาเป็น “แผ่น” … แต่ยังคงหมุนต่อไปไม่หยุดยัง9 
ต่อมาก็จะมีการเปลียนแปลงอีกคือ บริเวณด้านในของแผ่น หรือ จานดังกล่าวทีมีมวลสารหนาแน่นกว่าก็จะ 
เริมรวมตัวกัน และจะกลายไปเป็นดาวฤกษ์ต่อไป ตอนนีห9น้าตาของแผ่นทีว่าเริมจะคล้ายกับจานร่อน “ฟริสบี”9 ทีคน 
เอามาร่อนเล่นกันนันแหละครับ 
ตรงกลางของจานร่อนฟริสบีน9ีแหละครับ ทีจะเป็นทีตัง9ของดาวฤกษ์ทีเกิดใหม่ 
คาดว่าน่าจะมีดาวฤกษ์ไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 จนถึงอาจจะมากถึงครึ%งหนึ%งด้วยซํ-า ที%เกิดใหม่ด้วยกระบวนการ 
ดังที%เล่ามาข้างต้น 
ถึงตอนนีเ9ราก็ได้ดาวฤกษ์ (หรือดวงดาราในสรวงสวรรค์) กันเรียบร้อยแล้ว แต่ว่าดาวเคราะห์บริวารของดาว 
ฤกษ์เหล่านีท9ีจะเป็นทีอยู่อาศัย และ ทีทำการสัประยุทธ์ระหว่างฝ่ายจักรวรรดิ และ เหล่ากบฏ ล่ะ … เกิดขึน9มาได้ 
อย่างไรกัน ? 
กระบวนการเกิดดาวเคราะห์ จะเริมจากขณะทีอนุภาคแข็งใน “แผ่นจานหมุน” หมุนไปรอบๆ ดาวฤกษ์นัน9 
มันจะทำหน้าทีคล้ายกับเป็น “แกน” ให้อนุภาคต่างๆ มาเกาะได้ ขึน9อยู่กับว่าใครจะชนะระหว่างความเร็วของอนุภาค 
ทีพุ่งชนกันกับแกนดังกล่าวกับ แรงดึงดูดทีแกนดังกล่าวมีอยู่ 
เมือแกนดังกล่าว “กวาด” ไปตามวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของมัน จำนวนอนุภาคทีจะชนและรวมตัวกับแกน 
ดังกล่าวก็จะเพมิมากขึน9ทุกที ๆ ทำให้ “แกน” ดังกล่าวมีขนาดใหญ่ขึน9 ๆ ทุกทีเช่นกัน 
ผลก็คือ หากรวมตัวได้ใหญ่มากพอก็กลายเป็น “ดาวเคราะห์” แต่หากรวมตัวกันได้ขนาดไม่ใหญ่นักก็ 
อาจจะไปจบลงทีกลายไปเป็น “ดาวหาง” หรือ “ดาวเคราะห์น้อย” ในทีสุด 
คำถามต่อไปจึงตามมาว่า ก็แล้วดาวเคราะห์เหล่านี-จะเกิดมีได้มากน้อยเพียงใด ? 
แสนจักรวาลล้านพิภพ 
คำถามทีว่า ดาวเคราะห์จะเกิดมีได้มากน้อยเพียงใดในเอกภพ ก็เป็นอีกคำถามหนึงทีตอบได้ไม่ง่ายนัก 
เราต้องอาศัยสมมติฐานหลายๆ ข้อนะครับ เพือทีจะตอบคำถามดังกล่าว 
นักดาราศาสตร์บางท่าน ประเมินไว้ว่าทุกๆ 1 ใน 4 ถึงครึงหนึงของดาวฤกษ์ทีเกิดขึน น่าจะมีดาว 
เคราะห์แบบเดียวกับโลกของเราเกิดขึนด้วย 
สิงทีเป็นปัญหาก็คือ การทีจะหาหลักฐานมาสนับสนุน หรือ หักล้างสมมติฐานเรืองจำนวนของดาวเคราะห์ 
ข้างต้นทำได้ยากมาก เนืองจากเราไม่สามารถสังเกตเห็นดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะของเราได้โดยตรง ไม่ว่าจะ 
ด้วยอุปกรณ์ทีทันสมัยลำ9ยุคเพียงใด 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 5 / 45
แม้ว่าจะมีรายงานอยู่เป็นระยะๆ ว่ามีการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะมาตัง9แต่ทศวรรษ 1940 แต่ก็ 
ล้วนแล้วแต่ยืนยันในภายหลังได้ว่าไม่เป็นความจริง จนเมือเพียงไม่กีปีทีผ่านมาเท่านัน9ทีมีการค้นพบหลักฐานที 
ค่อนข้างจะน่าเชือถือได้ว่า มีดาวเคราะห์ทีอยู่นอกระบบสุริยะของเราจริง ๆ 
ตัวอย่างทดีีทีสุดว่า การค้นหาดาวเคราะห์นัน9ยากเย็นแสนเข็ญเพียงใดก็คงจะได้แก่ การค้นพบ “พลูโต” 
ดาวเคราะห์ดวงหลังสุดในระบบสุริยะ (* ทีกลายเป็นดาวเคราะห์แคระไปแล้ว - บันทึกเพิมเติม 21 ก.ย. 2557) 
เพราะว่าเพิงมาเจอเอาในปี 2473 นีเอง ! 
ดังนัน9ก็น่าจะจินตนาการกันได้ไม่ยากว่า แม้แต่การค้นหาดาวเคราะห์ในกลุ่มดาวพร็อกซิมา เซนทอรี ทีเป็น 
กลุ่มดาวฤกษ์ทใีกล้เรามากทีสุด และ อยู่ห่างเราออกไปมากกว่าระยะทางจากโลกถึงดาวพลูโตถึงราวหนงึหมืนเท่านัน9 
จะทำได้ยากเย็นแสนเข็ญเพียงใด 
อันทีจริงระยะทางดังกล่าว ทำให้การสังเกตหาดาวเคราะห์ด้วยกล้องโทรทรรศน์แทบจะเป็นไป 
ไม่ได้เลยทีเดียว !!! 
ถ้าเช่นนน-ั นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะของเราได้อย่างไร ? 
แทนทีจะใช้วิธีพยายามดูหรือถ่ายภาพของดาวเคราะห์โดยตรง นักดาราศาสตร์ใช้วิธีสังเกตเส้นทางโคจรของ 
ดาวฤกษ์แทนน่ะครับ 
เวลาเรานึกถึง “ดาวเคราะห์” สักดวง คงจะมีบ่อยครัง9ทีหลายคนคิดไปว่า ดาวเคราะห์ดวงนัน9ๆ โคจรอยู่รอบ 
“ดาวฤกษ์” ที “อยู่กับที” อันทีจริงไม่ใช่นะครับ ไม่ว่าจะดาวเคราะห์ หรือ ดาวฤกษ์ต่างก็โคจรไปรอบๆ “ศูนย์กลางแรง 
โน้มถ่วง” ของมัน 
นักดาราศาสตร์ก็เลยจ้องสังเกตเส้นทางโคจรของดาวฤกษ์เป้าหมายว่า มีการกวัดแกว่งเนืองจากอิทธิพล 
ของดาวเคราะห์บริวาร หรือ ไม่ก็ดูจากความถีของแสงทีเปลยีนแปลงไป เมือดาวฤกษ์หมุนและอยู่ใกล้ไกลจากโลก 
ต่างๆ กันทีเวลาต่างๆ กัน (คล้าย ๆ กับเสียงหวูดรถไฟทีมีเสียงแหลมทุ้มเพีย9นไปเล็กน้อยเมือพุ่งเข้าหาหรือวงิออกจาก 
เรา) 
ทั-งสองวิธีจะเหมาะกับการค้นหาดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ที%หมุนรอบดาวฤกษ์ขนาดเล็ก 
ผลก็คือในปี ค.ศ. 2538 นักดาราศาสตร์ชาวสวิสสองคนได้ใช้เทคนิคดังกล่าวพิสูจน์ว่า ดาวฤกษ์ 51 เพกาซี 
มีอาการหมุนทีตีความได้ว่า น่าจะมีดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ (น่าจะมีขนาดเท่าๆ กับดาวพฤหัสบดี) โคจรอยู่รอบๆโดย 
มีรอบการโคจรเพียง 4.2 วัน เท่านัน9 !!! 
ด้วยระยะเวลาทีสัน9มากๆ ดังกล่าว (ดาวพุธทีอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากทีสุด ยังต้องใช้เวลาถึง 88 วันในการ 
หมุนรอบดวงอาทิตย์) ทำให้คาดได้ว่าดาวเคราะห์ดวงดังกล่าวน่าจะอยู่ใกล้ดาวฤกษ์ดวงดังกล่าวมาก ใกล้มากขนาด 
ทีพ%อจะแผดเผาให้มันมีอุณหภูมิสูงถึงเกือบ 2000 องศาเซลเซียสเลยทีเดียว 
ข้อมูลในปัจจุบันก็คือ เราพบดาวเคราะห์ราว 15 ดวงแล้วทีโคจรอยู่รอบดาวฤกษ์อืน แทบทัง9หมดมี 
ขนาดใหญ่กว่าดาวพฤหัสบดี และ ส่วนใหญ่มีวงโคจรรอบดาวฤกษ์ของมันทีแคบมาก คือ ใกล้มากกว่าวงโคจรทีดาว 
พุธของเราใช้โคจรรอบดวงอาทิตย์ 
แม้ว่าเราจะมีความสามารถจำกัดจำเขียเต็มทีสำหรับการค้นหาดาวเคราะห์ แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ประมาณ 
เอาว่า ในเมือราวทุกๆ 20 ระบบดาวฤกษ์ทีเราได้ตรวจสอบไปแล้ว จะพบดาวเคราะห์สักดวงหนึงเสมอ นันก็หมายความ 
ว่า เฉพาะแค่กาแล็กซีของเราก็น่าจะมีระบบสุริยะ ที%มีดาวเคราะห์ที% “คล้าย” กับโลกเรานี-ได้มากมายถึง 20,000 ล้าน 
ระบบ ! 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 6 / 45
แต่ช้าก่อน … อย่าเพิงดีใจจนเกินไปครับ เพราะว่าลำพังการมีดาวเคราะห์ทีมีลักษณะ “คล้ายกับโลก” 
จำนวนมาก ก็ไม่ได้มีความเกียวข้อง หรือ ยืนยันในข้อทีว่าจะ “มีชีวิตเกิดขึน9ได้บนโลกเหล่านัน9” ได้แต่อย่างใด ไม่ต้อง 
พูดไกลไปถึงว่าจะเป็นดาวเคราะห์ทีมนุษย์ไปอาศัยอยู่ได้หรือไม่ 
ลองนึกภาพดาวเคราะห์แต่ละดวงในระบบสุริยะของเราดูก็ได้ครับ แต่ละดวงดูไม่ค่อยจะเอือ9อารีหรือ 
สนับสนุนการเกิดมี “ชีวิต” สักกีมากน้อยเลย … จริงไหมครับ ? 
ในตอนหน้าเราจะมาดูกันว่า พิภพทีเอือ9ต่อการกำเนิดชีวิตต้องมีลักษณะเช่นไร และ สงิมีชีวิตต่างดาวที 
ปรากฏในภาพยนตร์เรืองสตาร์วอร์สนัน9 มีความเป็นไปได้บนพืน9ฐานของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทีเรามีอยู่มากน้อย 
เพียงใด 
ชีวิตในสงครามแห่งดวงดาว 
“ หากการมีสิงมีชีวิตต่างดาวทีทรงภูมิปัญญาเป็นเรืองธรรมดา 
ทำไมพวกเขาจึงไม่ปรากฏตัวให้เราได้พบ” 
เฟอร์มี พาราด็อกซ์ 
เราได้ลองพิจารณาดูกันแล้วว่า สงครามแห่งดวงดาว หรือ สตาร์วอร์ส ทีว่าเกิดขึน9 “นานมาแล้ว” นัน9น่าจะ 
นานสักเพียงใดกันแน่ อีกทัง9มีโอกาสมากน้อยเพียงใดทจีะมี “ดาวเคราะห์” จำนวนมากมาย และมีลักษณะหลากหลาย 
ดังทีปรากฏให้เห็นในภาพยนตร์ 
ในคราวนีเ9ราจะมาดูกันต่อว่า โอกาสทีจะมีสงิมีชีวิตเกิดขึน9และมีวิวัฒนาการสูงพอ ตลอดจนพัฒนาไปมี 
ความก้าวหน้าทางวิทยาการระดับสูงนัน9 … มีมากน้อยเพียงใดกันแน่ 
ฤาชีวิตจะเกิดได้ง่ายดายนัก 
ในภาพยนตร์เรืองสตาร์วอร์ส คุณจะพบชีวิตอยู่ทวัไปทุกหนทุกแห่งบนดาวเคราะห์ทุกๆ ดวง ไม่ว่าจะเป็น 
ดาวเคราะห์ทีมีแต่หิมะขาวโพลน, ภายในถำ9, ในหนองนำ9, ใต้ทะเลลึก, ในเครืองอัดขยะ หรือ แม้กระทงัสถานทีเหลือเชือ 
อย่างบนดาวเคราะห์น้อย ! 
สงิมีชีวิตเหล่านัน9ก็มีตัง9แต่ทเีป็นสัตว์ชัน9ตาํทีไม่แสดงลักษณะของอารยธรรมให้เห็นแต่อย่างใด ไปจนถึง 
สงิมีชีวิตทีมีสติปัญญาชัน9สูงสามารถควบคุมและใช้งานอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ทีมีความสลับซับซ้อน ลักษณะเช่นนีน9เีอง 
ทีทำให้ “จักรวาลของสตาร์วอร์ส” ดูมีชีวิตชีวาเปียมไปด้วยจินตนาการ และเป็นจริงเป็นจังราวกับไม่ใช่เรืองแต่ง 
แต่ว่า … ชีวิตในเอกภพนัน มีได้มากมายและหลากหลายเช่นนันจริงๆ น่ะหรือ ? 
ดังทีได้กล่าวไว้ในตอนทีแล้วว่า หากประมาณว่าอาจมีดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลกเกิดขึน9ได้มากถึง 
20,000 ล้านดวงในกาแล็กซีของเรา ในจำนวนนีจ9ะมีสักกีมากน้อยทีน่าจะพอเป็นทีอาศัยพักพิงของสงิมีชีวิตชัน9สูง ? 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 7 / 45
STAR WARS TIPS 
ดาวเคราะห์ในระบบดาวฤกษ์คู่ มีได้จริงหรือ ? 
ใครทีได้ชม สตาร์วอร์ส ตอน Episode IV: A New Hope ผมว่าน่าจะมีฉากหนึงทีน่าจะจำกันได้ติดตาก็คือ 
ฉากที ลุค สกายวอคเกอร์ กำลังเหม่อมองอาทิตย์ลับขอบฟ้าของ “ทาทูอีน “ ดาวบ้านเกิด แต่ทีพิเศษและไม่เหมือนกับ 
ภาพอาทิตย์อัสดงบนโลกเราก็คือ ดวงอาทิตย์ทีเห็นกำลังอ้อยอิงลับจากขอบฟ้าไปมีจำนวน “สองดวง” 
เอ๊ะ … แต่ว่าเป็นไปได้หรือทีจ%ะมีดาวเคราะห์ทีโ%คจรอยู่รอบดวงอาทิตย์คู่ ? 
อาทิตย์คู่อัสดงทีดาวทาทูอีน 
ระบบดาวคู่ทีมี “ดาวฤกษ์สองดวง” โคจรอยู่รอบศูนย์กลางแรงโน้มถ่วงนัน9 พบได้เป็นเรืองปกติในจักรวาล 
ไม่ถือว่าแปลกอะไรนะครับ 
แต่นักวิทยาศาสตร์เชือว่า ดาวเคราะห์รอบดาวฤกษ์คู่นัน9ออกจะหาได้ยากสักหน่อย เนืองจากแรงโน้มถ่วงของ 
ดาวฤกษ์แต่ละดวง น่าจะรบกวนการโคจรรอบดาวฤกษ์อีกดวงหนงึ นอกจากนีย9ังอาจจะมีผลเกียวกับความไม่อยู่ตัว 
หรือ ความสมาํเสมอของอุณหภูมิบนดาวเคราะห์ ณะทีโคจรไประหว่างดาวฤกษ์ทัง9สอง 
แต่ก็มีความเป็นได้อยู่สองกรณีทอีาจจะมีดาวเคราะห์เกิดขึน9รอบดาวฤกษ์คู่ และยังเป็นแหล่งกำเนิดชีวิตได้ได้ 
กรณีแรกคือ หากดาวฤกษ์ทัง9คู่อยู่ไกลกันมาก เช่น ไกลกันมากกว่าพันล้านกิโลเมตร ดังนน-ัดาวเคราะห์ก็จะ 
โคจรรอบดาวฤกษ์เพียงดวงเดียว โดยมีผลกระทบจากดาวฤกษ์อีกดวงน้อยมาก ยกตัวอย่าง เช่น ระบบดาวพร็อกซิมา 
เซนทอรี ทีอยู่ใกล้ระบบสุริยะของเรามากทีสุดนัน9 เป็นระบบดาวฤกษ์ 3 ดวง โดยพร็อกซิมานัน9อยู่ไกลกับดาวฤกษ์พีน้อง 
อีกสองดวงกว่ากว่าแสนล้านกิโลเมตร (หรือมากกว่า 250 เท่าของระยะทางจากโลกถึงดาวพลูโต) หากมีดาวเคราะห์ 
บริวารเกิดขึน9 ก็จะได้รับผลกระทบจากดาวพีน้องน้อยมาก 
ความเป็นไปได้อีกแบบหนงึก็คือ ดาวฤกษ์ทัง9คู่อาจจะอยู่ใกล้กันมากๆ (ในระดับเพียงๆ ไม่กีล้านกิโลเมตร) 
ดังนัน9 สำหรับดาวเคราะห์ทีไกลออกไปมากๆ แรงโน้มถ่วงของดาวฤกษ์คู่จะให้ผลลัพธ์คล้ายกับเป็นของดาวฤกษ์เพียง 
ดวงเดียว ประมาณโดยคร่าวๆ ก็คือ ระยะระหว่างดาวฤกษ์ทัง9คู่น่าจะสัน9ในราว 1 ใน 10 ของระยะไปยังดาวเคราะห์นัน9 
ในกรณีหลังนี 9วงโคจรของดาวเคราะห์จะมีลักษณะกลมค่อนข้างมาก และอุณหภูมิจะค่อนข้างอยู่ตัว ดาวฤกษ์ 
ทัง9คู่จะขึน9 และตกไล่ๆ กันแบบเดียวกับทีเห็นในภาพยนตร์ !!! 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 8 / 45
คำตอบคือ เมือพิจารณาจากปัจจัยต่างๆจำนวนมาก (ดังจะได้ยกตัวอย่างต่อไปภายหลัง) แล้ว นักวิทยาศาสตร์ประมาณว่า 
น่าจะมีได้ไม่เกิน 1 หมื%นถึง 2.5 ล้านดวงเป็นอย่างมาก 
นันก็คือ ประมาณคร่าวๆ ว่ามีโอกาสอย่างมากเพียงหนึงในหมืน (กล่าวโดยเปรียบเทียบก็คือ ยากกว่าถูกรางวัล 
เลขท้ายสามตัวตัง9สิบเท่าแน่ะครับ !) 
ระบบดาวเคราะห์อืนทีเอือต่อการเกิด 
สิงมีชีวิตทรงปัญญาอาจจะมีได้ไม่มากนักในเอกภพ 
โลกสีครามใบเดียวในจักรวาล ? 
ไม่ว่านักวิทยาศาสตร์ฝ่ายสนับสนุนชีวิตต่างดาวจะประเมินประมาณอย่างไรก็ตาม แต่ความจริงก็คือ โลกยัง 
เป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวทีเรายืนยันได้แน่นอนว่ามีชีวิต (โดยเฉพาะทีทรงภูมิปัญญา) เกิดขึน9 ดังนัน9หากใช้โลกเป็น 
บรรทัดฐานแล้ว การเกิด “เอกภพแห่งชีวิต” ทีใกล้เคียงกับจินตนาการในสตาร์วอร์ส ต้องมี “ข้อจำกัด” อยู่หลายข้ออย่าง 
ยิง 
ภาพถ่าายจากอวกาศของโลกสีคราม 
พิภพแห่งชีวิตทีเต็มไปด้วยนำ 
ข้อแม้แรกทีสุดก็คือ จะต้องมีระบบดาวเคราะห์ทีเ%หมาะสมทีอ%าจจะทำหน้าทีเ%ป็นแหล่งกำเนิด และอยู่อาศัย 
ของสิ%งมีชีวิตได้ เมือมีดาวเคราะห์ดังกล่าวแล้ว ข้อแม้ต่อมาก็คือ สภาพของดาวเคราะห์เหล่านี-ต้องเอื-ออำนวยต่อการ 
กำเนิดและวิวัฒนาการของชีวิต 
มาดูกันก่อนว่า สภาพเช่นไรของดาวเคราะห์จึงจะ “เอืออำนวยต่อการกำเนิดชีวิต” ? 
ปัจจัยสำคัญอันแรกทีสุดก็คือ ดาวเคราะห์เหล่านี-น่าจะต้องมีระยะห่างจากดาวฤกษ์ของมันอย่างเหมาะสม 
ทีว่าเหมาะสมก็คือ จะต้องอยู่ในระยะทีความร้อนจากดาวฤกษ์นัน9ไม่ทำให้ดาวเคราะห์นัน9 ๆ ร้อนหรือหนาวจัดจนเกินไป 
และทีสำคัญก็คือ ยังยินยอมให้ “นำ9” บนดาวเคราะห์เหล่านีอ9ยู่ในรูปของ ”ของเหลว” ได้ 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 9 / 45
Star Wars Tip 
มีสิงมีชีวิตทรงภูมิปัญญามากมายในจักรวาล 
แบบทีเห็นในสตาร์วอร์ส ได้จริงหรือไม่ ? 
ในภาพยนตร์เรืองสตาร์วอร์ส สิงมีชีวิตต่างดาวทรงปัญญาปรากฏให้เห็นมากมายไปหมด ไม่ว่าจะเป็น 
ชิวแบ็กก้า นักบินอวกาศและเพือนขนยาวของฮัน โซโล, แอ็คบาร์ (นายพลหัวปลาทอง) ทีเป็นฝ่ายเสนาธิการวาง 
แผนการรบของพวกกบฏ, เจ้าพ่ออึงอ่างอวกาศอย่าง แจ็บบ้า เดอะฮัทท์ ไปจนถึง โยดา ปรมาจารย์เจไดทีเพิงได้ 
โอกาสวาดลวดลายการควงดาบแสงและใช้ “พลัง” ของเจได้เข้าต่อสู้กับพวกเหล่าร้ายไปในสตาร์วอร์สตอนล่าสุด 
(Episode 2) 
มาดเข้มๆของโยดา ปรมาจาย์เจได 
เมือพูดถึงเรืองสิงมีชีวิตทรงภูมิปัญญานอกโลก นักวิทยาศาสตร์ก็แบ่งออกได้เป็นสองพวกคือ พวกทีเชือว่าเป็น 
เรืองทีเป็นไปไม่ได้ หรือแทบจะเป็นไปไม่ได้ แนวคิดหลักสำหรับนักวิทยาศาสตร์ในกลุ่มนีก9็คือ สภาวะทีก่อให้เกิดชีวิต 
และเอือ9ต่อวิวัฒนาการบนโลกนัน9มีความจำเพาะมากเกินกว่าจะเชือว่ามี “โลกแห่งทีส%อง” ได้อีกในจักรวาล 
นักวิทยาศาสตร์อีกกลุ่มหนงึกลับมีความเชือว่า เรืองของสงิมีชีวิตทรงปัญญาต่างดาวคือเรืองทีคือ เป็นไปได้ 
แน่นอน และ ไม่แปลกอะไรเลย! 
นันก็คือ มีดาวเคราะห์จำนวนมากทีพร้อมจะเป็น “โลกแห่งที%สอง” 
ดร. แฟร็ง เดรก หัวหน้าสถาบัน SETI ทีมีหน้าทีค้นหาสิงมีชีวิตทรงปัญญานอกโลกและมีความเชือในแบบหลัง 
ได้เสนอสมการทใีช้ประมาณจำนวนอารยธรรมต่างดาว (เรียกว่า สมการเดรก) ไว้ มีรายละเอียดดังนี 9คือ 
โฉมหน้าของดร. แฟร็ง เดรก สมการเดรก 
โดยที N ก็คือจำนวนอารยธรรมต่างดาวทีเราอาจจะติดต่อสือสารกันได้, R* ก็คือ อัตราของการเกิดดาวฤกษ์ที 
เหมาะสม, Fp คือ สัดส่วนของดาวฤกษ์ทีมีดาวเคราะห์, Ne เท่ากับจำนวนดาวเคราะห์ต่อระบบดาวเคราะห์, fl หมายถึง 
สัดส่วนดาวเคราะห์ทีเกิดมีสงิมีชีวิตขึน9, fi คือ สัดส่วนดาวเคราะห์ทีมีสงิมีชีวิตภูมิปัญญาเกิดขึน9, fc คือ สัดส่วนดาว 
เคราะห์ทมีีการพัฒนาเทคโนโลยีเกิดขึน9 และ L ก็คือ ค่าช่วงชีวิตของอารยธรรมทีจะติดต่อสอืสารกันได้ 
เขาได้ประมาณด้วยสมการดังกล่าว (ทีฝ่ายไม่เห็นด้วยมองว่ามองโลกในแง่ดีเกินไป) และได้ผลลัพธ์ว่า น่าจะมี 
อายธรรมทรงภูมิปัญญาเกิดขึนในกาแล็กซีของเราในราว 10,000 – 100,000 อารยธรรม ! 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 10 / 45
หากจะยกตัวอย่างระบบสุริยะของเราเอง ระยะห่างดังกล่าวก็จะครอบคลุมอย่ระหว่างตั-ูงแต่รอบวงโคจรของดาว 
ศุกร์ถึงดาวอังคาร ส่วนระยะห่างทีอยู่นอกเหนือระยะดังกล่าวก็จะมีโอกาสน้อยลงไปมาก แต่ทัง9นีร9ะยะห่างเพียง 
อย่างเดียวคงไม่พอ ยังมีปัจจัยอืนทีเข้ามาเกียวข้องอีกหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นเรืองของ ขนาดและมวลของ 
ดาวเคราะห์ ซึงจะไปมีผลต่อแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์อีกทีหนึง 
และนีก็คือ สาเหตุทีทำให้ดาวอังคารทีมีมวลเพียงหนึงในสิบของโลกมีบรรยากาศบางเบา และมีอุณหภูมิที 
พืน9ผิวดาวหนาวเหน็บเกินกว่าทนีำ9จะอยู่เป็นของเหลวได้ แม้ว่ายังมีโอกาสทีจะพบนำ9และชีวิตอยู่ใต้พืน9ผิวลงไปก็ 
ตาม 
ส่วนทีว่าจำเป็นต้องมีนำ9 และต้องเป็นนำ9ทีเป็น “นำ9เหลว” นัน9 ก็เพราะว่านำ9เป็นตัวทำละลายทีดีทีสุดชนิด 
หนงึ กล่าวคือ เกือบครึงหนึงของสารต่างๆ ทีเรารู้จักสามารถละลายได้ในนำ! นำ9จึงเป็นตัวกลางทีดีในปฏิกิริยา 
ทางชีวเคมีทุกอย่างในร่างกายสิงมีชีวิต และมีความสามารถในการเป็นตัวกลางในการถ่ายเทสารอาหาร, อากาศ และ 
ของเสียภายในร่างกายของสิงมีชีวิตได้ดีอีกด้วย 
ส่วนทีว่าต้องการ “นำ9เหลว” ก็เพราะว่า นำ9ในสถานะก๊าซ (ก็ “ไอน-ำ” นนัแหละครับ) จะยอมให้โมเลกุลของ 
สารเคมีอืนอยู่ไกลจนบางครัง9ก็ไกลเกินกว่าจะมีปฏิกิริยาต่อกันได้ ในขณะทีนำ9ในสถานะของแข็ง หรือพูดง่ายๆก็ 
“นํ-าแข็ง” นันแหละครับ ก็มีโครงสร้างและแรงยึดระหว่างโมเลกุลทีขัดขวางการเคลือนทีของโมเลกุลของสารอืนๆ 
นำ9ยังมีลักษณะเฉพาะตัวหลายอย่างกล่าวคือ นำ9ประกอบขึน9ด้วยอะตอมของไฮโดรเจนและออกซิเจน ซงึ 
ทราบกันดีอยู่แล้วว่าธาตุทีหาได้ไม่ยากนักในจักรวาล โดยเฉพาะไฮโดรเจนนัน9เป็นธาตุทมีีมากทีสุดอีกด้วย 
นอกจากนี 9 น-ำยังเป็นสารอย่างเดียวทีเ%รารู้จัก ทีม%ีความหนาแน่นในสถานะของเหลวมากกว่าของแข็งอีก 
ด้วย ! 
กาลเวลากับชีวิต 
ปัจจัยข้อต่อไปก็คือ ดาวเคราะห์เหล่านัน9ต้องมีระยะเวลามากเพียงพอ ให้สงิมีชีวิตได้มีพัฒนาการจาก 
รูปแบบทีมีความซับซ้อนน้อยไปสู่ความซับซ้อนทมีากยิงขึน9 นนัก็คือระบบดาวฤกษ์ทีดาวเคราะห์ดวงนัน9อาศัยอยู่ต้อง 
มีความเสถียรพอสมควร ยกตัวอย่าง ดวงอาทิตย์ของเรานัน9มีอายุราว 5 พันล้านปีแล้ว และคาดหมายกันว่าน่าจะมี 
อายุได้อีกราว 3-4 พันล้านปี 
เวลาดังกล่าวทำให้สงิมีชีวิตมีโอกาสเกิดและพัฒนาจนมีลักษณะหลากหลายดังทีเห็นอยู่ในปัจจุบัน 
สิงมีชีวิตขนาดจิkวหลากรูปแบบทีเป็นผลพวง 
ระหว่างกระบวนการวิวัฒนาการบนโลก 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 11 / 45
หากดวงอาทิตย์มีมวลมากขึน9เช่น มีมวลเป็น 10 เท่าของทีเป็นอยู่หรือมากกว่านัน9 มันก็จะมีอัตราการเผา 
ผลาญพลังงานทีรวดเร็วขึน9และอาจจะมีอายุอยู่ได้ราว 10 ถึง 100 ล้านปีเป็นอย่างมาก ซงึไม่น่าจะพอเพียงต่อการเกิด 
สิงมีชีวิตทีมีลักษณะซับซ้อนได้ 
เพราะจากหลักฐานซากฟอสซิลระบุว่า การทีจะเกิดสิงมีชีวิตทีมีสติปัญญาชันสูงอย่างมนุษย์เราบนโลก 
ได้นันกินเวลายาวนานถึงราว 4,000 ล้านปีเลยทีเดียว ! 
การเกิดสงิมีชีวิตชัน9สูงในพิภพอนืนัน9ก็อาจจะต้องการเวลาสำหรับกระบวนการวิวัฒนาการมากหรือน้อยกว่านี9 
ไม่มากนักก็เป็นได้ 
นอกจากปัจจัยหลักๆ ทีกล่าวไปแล้ว ปัจจัยย่อยๆทีสำคัญอีกหลายข้อก็มีผลต่อการเกิดชีวิตทรงภูมิปัญญา 
ทัง9สิน9 ไม่ว่าจะเป็น ความเร็วในการหมุนรอบตัวเอง (มีผลต่อระดับอุณหภูมิระหว่างวัน) ระดับความแรงของ 
สนามแม่เหล็ก (ช่วยป้องกันการชนของอนุภาคความพลังงานสูงในอวกาศ) ความเอียงของแกนการหมุนของ 
ดาวเคราะห์ (มีผลต่อการเปลยีนแปลงของฤดูกาล) ระดับของนำขึนนำลง (มีผลต่อโครงสร้างและพฤติกรรมของ 
สิงมีชีวิตในทะเลหรือบริเวณใกล้เคียง) 
รวมไปถึง ความถีในการถูกชนด้วยดาวเคราะห์น้อย ทีอาจจะมีผลเปลยีนโฉมหน้าของวิวัฒนาการบนดาว 
เคราะห์ (แบบเดียวกับทีทำให้ไดโนเสาร์บนโลกสูญพันธ์ุและเกิดการ “บูม” ของสัตว์เลีย9งลูกด้วยนมขึน9มาแทน) หรือ 
แม้แต่อาจจะถึงกับมีผลกวาดล้างสงิมีชีวิตทัง9หมดก็ได้เช่นกัน ! 
มนุษย์ต่างดาวกับเฟอร์มีพาราด็อกซ์ 
ดังทีได้กล่าวไว้แต่ตอนต้นว่า แฟร็ง เดรก ได้สร้างสมการเดรกขึน9และประมาณว่า เฉพาะกาแล็กซีของเรา 
เท่านัน9ก็น่าจะมีอายธรรมทรงภูมิปัญญาเกิดขึน9มากมายถึง 10,000 – 100,000 อารยธรรมเข้าไปแล้ว ถ้าเป็นทัง9เอกภพ 
ก็น่าจะมีมากมายมหาศาลเอาเลยทีเดียว แต่ทางฝ่ายทีไม่เห็นด้วยก็แย้งว่า ถ้าเช่นนัน9มนุษย์ต่างดาวทีว่าทรงภูมิปัญญา 
เหล่านัน9 หายไปไหนกันหมดเสียล่ะ เรียกคำแย้งนีว9่าเป็น เฟอร์มี พาราด็อกซ์ 
นน%ัน่ะสิครับ … หายไปไหนกันหมดล่ะเนีย% ? 
มนุษย์ต่างดาวจะโดยสารยานอวกาศของเขา 
มาเยือนโลกสักวันหนึง … จริงหรือ ? 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 12 / 45
เหตุผลทีฝ่ายสนับสนุนคิดออกและเสนอไว้ก็คือ อาจจะเป็นเพราะว่าอารยธรรมต่างดาวเหล่านัน9ได้ทำลาย 
ตัวเองกันไปหมด ก่อนทีจะได้มีโอกาสพัฒนาเทคโนโลยีการท่องอวกาศ (อันนีค9งได้ไอเดียมาจากชีวิตจริงก็คือกรณีของ 
“สงครามเย็น” ระหว่างสหรัฐและอดีตสหภาพโซเวียตทีทำท่าจะหำ9หนักัน ด้วยอาวุธนิวเคลียร์ทีมีอยู่มากเกินพอทจีะ 
ทำลายโลกทัง9ใบได้) 
มิฉะนัน9ก็อาจจะเป็นได้ว่ามนุษย์ต่างดาวได้มาเยือนพวกเราแล้ว แต่พวกเขาต้องการให้การมาเยือนเป็น 
ความลับ (อันนีฟ9ังดูคล้ายๆกับพล็อตเรือง 2001 Space Odyssey แต่ว่าอันทีจริง … จะว่าไปมนุษย์ต่างดาวพวกนี9 
อาจจะเผลอทิง9ร่องรอย ให้มนุษย์โลกถ่ายรูปได้หลายครัง9หลายคราแล้วก็ได้ … ว่าเข้าไปนนั) 
อีกทางหนงึทีเป็นไปได้ก็คือ อุปสรรคเรืองระยะทางระหว่างดวงดาวอาจจะทำให้มนุษย์ต่างดาวเหล่านัน9ยัง 
มาเยือนเราไม่ได้ (เช่นเดียวกับทีเราก็ยังไปเยือนโลกอืนไม่ได้เช่นกัน) ไม่ว่าจะเป็นเพราะเทคโนโลยียังก้าวหน้าไม่ถึง 
หรือมีเทคโนโลยีทีเพียงพอแล้ว แต่เทคโนโลยีเหล่านัน9ยังมีราคาแพงเกินกว่าจะลงทุนได้ 
ไม่เช่นนัน9ก็อาจจะเป็นเพราะทีตัง9ของระบบสุริยะของเราไม่น่าดึงดูดใจพอ และมนุษย์ต่างดาวเหล่านัน9เลือก 
ทีจะเดินทางไปในเส้นทางทีมีดาวฤกษ์และดาวเคราะห์หนาแน่นมากกว่า (อย่างเช่นบริเวณใกล้ศูนย์กลางของจักรวาล) 
เพราะโอกาสจะพบสิงมีชีวิตทรงปัญญาอืนจะมีมากกว่าตามไปด้วย 
ความเป็นไปได้สุดท้ายก็คือ ไม่แน่ว่าพวกมนุษย์ต่างดาวเหล่านัน9อาจจะชอบทีจะนอนอยู่กับบ้านทีแสนจะ 
อบอุ่นจิบเครืองดืมและทานอาหารอร่อยๆ มากกว่าจะเดินทางรอนแรมมาไกลแสนไกล เพราะว่า … พวกเขาสามารถ 
สังเกตเราได้ทุกเมือด้วย “พลัง” แบบเดียวกับเหล่าเจไดทัง9หลาย เหมือนกับทีเราดูละครหลังข่าว … ก็เป็นได้ (อิอิอิ) 
เราจะมาดูในแง่มุมทางชีววิทยาให้ละเอียดมากขึน9อีกสักหน่อยนะครับ 
กำเนิดและวิวัฒนาการของเราต่างก็ผูกพันแน่นแฟ้นกับเหตุการณ์ในจักรวาลอันไกลโพ้น 
การสำรวจจักรวาลก็เป็นการเดินทางผจญภัยสู่การค้นพบตัวตนของเราเองแบบหนงึ 
(การศึกษา) ธรรมชาติของชีวิตบนโลก และการค้นหาชีวิตในแห่งหนอืนต่างก็เป็น 
สองด้านของคำถามอันเดียวกัน – เป็นการค้นหาว่าเราคือใคร 
คาร์ล เซแกน, หนังสือ Cosmos 
ในสองตอนทีผ่านมา เราได้พิจารณากันเกียวกับความเป็นไปได้ทีจะเกิดพิภพทีมีความหลากหลาย และโอกาส 
ทีจะมีสิงมีชีวิตต่างดาวทีทรงภูมิปัญญามากมายดังทีปรากฏในภาพยนตร์ รวมถึงคำถามทีว่าหากมีมนุษย์ต่างดาว 
มากมายจริง ทำไมพวกเขาจึงไม่ปรากฏตัวให้เราได้พบเห็นเป็นเรืองเป็นราวเสียที 
ในตอนนีเ9ราจะมาดูกันให้ละเอียดขึน9เกียวกับรูปแบบของสงิมีชีวิตต่างดาวทีอาจจะเกิดขึน9ได้ โดยอาศัยความรู้ 
เกียวกับสิงมีชีวิตบนโลกเป็นฐาน 
มนุษย์ต่าวดาวตัวเขียว, เอเลียนส์ และ อีที 
หากเราเชือในสมมติฐานทีว่า เป็นไปได้ทีจะมีสงิมีชีวิตเกิดขึน9ในโลกในอืนนอกเหนือจากโลกนี 9 คำถามต่อมาก็ 
คือ สิงมีชีวิตเหล่านันน่าจะมีลักษณะเป็นเช่นไร ? 
จะมีลักษณะแปลกพิสดารนับร้อยนับพันแบบอย่างที%เราเห็นในภาพยนตร์เรื%องสตาร์ วอร์สได้หรือไม่ ? 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 13 / 45
หรือ จะเป็นไปได้ไหมทีจะมีลักษณะเป็นมนุษย์ต่างดาวตัวเขียวตัวเล็กตาโตไม่มีปาก (หรือทีบางคนชอบระบุ 
ว่าเป็น มนุษย์ดาวอังคาร) แบบทีเห็นในภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดสมัยก่อน ? หรือ จะเป็นไปได้ไหมทีเราจะเจอแมลงอวกาศ 
จอมวายร้าย ทีมีการเปลียนโครงสร้างร่างกาย หรือฟักตัวแบบในภาพยนตร์เรืองเอเลียน(ส์) ? แล้วไหนยังจะมี 
มนุษย์ต่างดาวคอยาวหน้าตาพิลึกแต่จิตใจดี และเอาแต่อยากจะโทรศัพท์กลับบ้าน อย่างในเรือง ET หรือ มนุษย์ต่าง 
ดาวใจดีทีมาทำ “ฝันทีเป็นจริง” ให้กับหุ่นยนต์เด็กน้อยในเรือง AI ล่ะ 
สิงมีชีวิตต่างดาวทรงปัญญาแบบหนึงที 
มนุษย์จินตนาการไว้ (จากเรือง E.T.) 
จะตอบคำถามเรืองนีใ9ห้ดี น่าจะต้องเริมจากการพิจารณา และทำความเข้าใจลักษณะของสงิมีชีวิตบนโลก 
เราเสียให้ถ่องแท้ก่อน … หรืออย่างน้อยทีสุดก็ให้พอได้เป็นแนวคิด 
บนโลกในนีเ9องเราก็สังเกตเห็นได้ไม่ยากว่า ตลอดระยะเวลา 4,000 ล้านปีแห่งวิวัฒนาการของสงิมีชีวิตบน 
โลก ธรรมชาติได้สรรสร้างสิงมีชีวิตมีลักษณะทีหลากหลายจนพิสดารอย่างเหลือเชือ ยกตัวอย่าง เช่น เราสามารถพบ 
เห็นสงิมีชีวิตทมีีอวัยวะ หรือ เครืองช่วยป้องกันอันตรายทีผิดแผกกันมากมาย ไม่ว่าจะเป็น อุ้งเล็บ, เขีย9ว, งา, ฟัน, นอ, 
เขา, เกล็ด, พิษ, เหล็กใน, ขน, เปลือก, กระดอง, ใย, กลิน, เมือก หรือแม้แต่ กระแสไฟฟ้า เป็นต้น 
สงิมีชีวิตต่างๆมีถินฐานทีอยู่ทเีราอาจจะพบได้ทัง9ในอากาศ, ในนำ9 (นำ9จืด, นำ9กร่อย, นำ9ทะเล, ใต้ทะเลลึก, 
นำ9พุร้อน), ในนำ9มัน, ในฝุ่นผง, ในดิน, ในหิน, ในโคลน, ในทราย, ใต้แผ่นดินลึกนับร้อยเมตร, ในนำ9แข็งทีขัว9โลก 
นักวิทยาศาสตร์พบว่าแบคทีเรียบางชนิดอาศัยอยู่ได้ในก้อนเมฆด้วยซ-ำไป ! 
ทีดูจะเด็ดไม่แพ้กันก็คือ เราสามารถพบสงิมีชีวิตทเีป็น “ปรสิต” ทีปรับตัวจนสามารถอยู่ได้ทัง9แทบจะทุก 
ส่วนของ “ร่างกายสิงมีชีวิตอืน” ไม่ว่าจะบนผิวหนัง (หรือบนเปลือกในกรณีของพืช), ในอวัยวะภายใน, ในเลือด, ในเยือ 
เมือก, ในกล้ามเนือ9, ในอวัยวะภายในต่างๆ (รวมทัง9ตับ, ปอด และ สมอง) หรือ แม้กระทงัในของเสียของสงิมีชีวิตอืน ! 
ดูเหมือนว่า จะมีส%ิงมีชีวิตรูปแบบต่างๆ แทรกซึมอยู่ทุกอณูของทุกส%ิงทุกอย่างบนโลกใบนี - 
นักวิทยาศาสตร์ประมาณว่า ตลอดอายุขัยของโลกนับแต่เกิดมีสงิมีชีวิตเกิดขึน9มาชนิดแรก น่าจะมีรูปแบบ 
ของชีวิตทีแตกต่างกันมากถึงหมืนล้านสปีชีส์หรือมากกว่า ! 
หากมีใครหยิบยกเอาสงิมีชีวิตทีเราไม่เคยเห็น หรือรู้จักมาก่อนแล้วบอกว่า … ได้เจ้าตัวนมีาจากนอกโลก 
คุณคิดหรือว่าคุณจะแยกความแตกต่างได้ ? 
คำตอบคือ น่าจะยากมากๆๆๆ ทีจะบอกได้ ! 
ตัวอย่างง่ายๆ ก็คือ คุณๆ หลายคนคงจะเคยเห็นภาพถ่ายใต้กล้องจุลทรรศน์ของแมลงต่างๆ ทีบางครัง9ก็ 
ประหลาดชวนพิศวงเพราะปกติเราไม่เคยเห็นมันเลย เพราะมันเล็กเกินกว่าทีเราจะสังเกตได้สะดวกด้วยตาเปล่าได้ 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 14 / 45
แต่หากเราเชือว่า ”กฎทางฟิสิกส์” เป็นกฎทีสากลและเหมือนกันหมดทุกแห่งในจักรวาล อย่างน้อยทีสุด 
เราก็น่าจะบอกได้สิงมีชีวิตทีเราเห็นในภาพยนตร์เรืองสตาร์วอร์ส น่าจะมีความเป็นได้ (หรือสมเหตุสมผล) ทีจะเกิดขึน9 
บนดาวเคราะห์ดวงนัน9ๆ หรือไม่ 
หลายชีวิตในสตาร์วอร์ส 
จริงอยู่ว่าอาจจะมีสงิมีชีวิตหลากหลายนับร้อยนับพันแบบทีปรากฏให้เห็นในภาพยนตร์เรืองสตาร์ วอร์ส แต่ 
หากสังเกตให้ดีจะพบว่าอาจจะแบ่งได้เป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ เท่านัน9ก็คือ 
พวกทีมีโครงสร้างทัวไปคล้ายกันหรือร่วมกันกับมนุษย์ (humanoid aliens) กล่าวคือ มีแขนสองข้างทใีช้ 
หยิบจับทำงานต่างๆ, มีขาสองข้างไว้สำหรับเดิน และ มีศีรษะเป็นทีตัง9ของอวัยวะรับสัมผัสหลัก ๆของร่างกาย (ตา, หู, 
จมูก และ ปาก) ตัวอย่างสงิมีชีวิตในกลุ่มนีก9็ได้แก่ ปรมาจารย์โยดา, ชูแบ็กก้า นักบินคู่หูของฮัน โซโล, จาร์ จาร์ บิงส์ 
ตัวละครดิจิทัลทีพูดมากและขีโ9ม้, นายพล (หัวปลาทอง) แอ็กค์บาร์ เสนาธิการคนสำคัญของฝ่ายกบฏ, ตัวอีวอกส์, 
มนุษย์ทราย, ฯลฯ 
สงิมีชีวิตอีกกลุ่มหนงึได้แก่ พวกทีมีโครงสร้างทัวไปทีต่างจากมนุษย์ (non-humanoid aliens) ได้แก่ 
เจ้าพ่อ (องึอ่างอวกาศ) แจ็บบ้า เดอะฮัทท์, ตัวตวนตวน, ทากอวกาศ, ตัวซาร์แล็กซ์, ตัวแบนธาร์ เป็นต้น สงิมีชีวิตกลุ่ม 
หลังนีเองทีทำให้มนุษย์ต่างดาวในสตาร์วอร์สมีความเฉพาะตัว, ดูมีเลือดเนือ9 และ เป็นจริงเป็นจังมากกว่าภาพยนตร์ 
เกียวกับมนุษย์ต่างดาวทีมีมาก่อนหน้านัน9 ทีมักจะมีรูปร่างคล้ายคนไปเสียทัง9นัน9 
แต่ข้อทีน่าสังเกตก็คือ ส%ิงมีชีวิตต่างดาวทีร%ูปร่างต่างจากมนุษย์มักจะได้รับบทบาททีถ%ูกเหยียดกลายๆว่าถ้า 
ไม่เป็นพวกคดโกงไม่ซื%อ ก็มักจะเป็นพวกทีม%ีวิวัฒนาการต%ำและเป็นพลเมืองชัน-สอง (จนไปถึงชน-ัลอยหรือชน-ัสาม) ของ 
จักรวาล ! 
นายพลแอ็กค์บาร์ ขณะบัญชาการรบกองทัพฝ่ายบฏ ชูแบ็กก้า นักบินคู่หูของฮัน โซโล 
ตัวตวนตวน สัตว์พาหนะสำคัญของนักรบฝ่ายกบฏบนดาวนําแข็งโฮธ 
เจ้าพ่ออึงอ่างอวกาศ แจ็บบ้า เดอะฮัทท์ในแบบเต็มตัวและโคลสอัปเฉพาะหน้า 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 15 / 45
โฉมหน้าทากอวกาศในเรืองสตาร์วอร์ส ตัวไมน็อกส์ทีเป็นอาหารของทากอวกาศ 
อันทีจริงแล้วลักษณะโครงสร้างทีคล้ายมนุษย์ (ไม่น่าจะ) มีความเกียวข้องสัมพันธ์โดยตรงกับระดับความ 
เฉลียวฉลาดของสิงมีชีวิตแต่อย่างใด ลองนึกถึงปลาโลมาหรือปลาวาฬทีสามารถติดต่อกันด้วยสัญญาณเสียงทีซับซ้อน 
แม้แต่ช้างก็สามารถสือสารกันด้วยเสียงร้องทีมีรูปแบบเฉพาะและมีลักษณะซับซ้อน ดังทีนักวิทยาศาสตร์เพิงเริมจะ 
สามารถจัดจำแนกได้บ้างแล้วเช่นกัน 
ถ้าเช่นนันมนุษย์ต่างดาวต้องการ “ลักษณะเฉพาะ” อะไรหรือไม่ ? 
นักวิทยาศาสตร์บางท่านเชือว่ามีปัจจัยหลักทจีะมากำหนดรูปร่างอยู่สามอย่างก็คือ ข้อแรก น่าจะมี 
โครงสร้างทีเอืออำนวยต่อการสร้างและสือเสียงและภาษา (ทีอาจจะไม่เหมือนของมนุษย์ก็ได้) รวมไปถึงอวัยวะที 
ใช้ฟังหรือรับเสียงด้วย การสอืสารติดต่อได้ในเผ่าพันธ์ุเดียวกันน่าจะมีผลอย่างมากต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและ 
เทคโนโลยี 
ปัจจัยในข้อต่อมาก็คือ น่าจะต้องมีอวัยวะทีมีความสามารถในการหยิบจับ ซงึนอกจากจะสำคัญต่อการ 
ต่อสู้เอาตัวรอดแล้ว ก็ยังมีความสำคัญต่อการสร้าง, บันทึกและถ่ายทอดวัฒนธรรมและเทคโนโลยีสู่รุ่นถัด ๆ ไป 
เช่นกัน กล่าวให้ละเอียดขึน9อีกนิดก็คือ น่าจะมีนิว9หรืออวัยวะทคีล้ายคลึงกับนิว9ทีสามารถพับขวางได้กับส่วนอืนของ 
มือหรือระยางค์นัน9 ๆ 
ท้ายทีสุดก็คือ น่าจะต้องมีดวงตา (หรืออวัยวะในทำนองเดียวกัน) ทีมีประสิทธิภาพสูง สามารถ 
มองเห็นในช่วงคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าทีเหมาะสม, สามารถมองได้ไกลและมองเห็นเป็น 3 มิติ (มีความชัดลึก) ซึงจะเป็น 
ประโยชน์อย่างมากต่อการต่อสู้เพือความอยู่รอด (ใช้ตามล่าและหาอาหาร) ทัง9ยังรวมไปถึงการหลบหลีกศัตรู 
นอกเหนือจากนัน อวัยวะอืนๆ ก็น่าจะผิดแผกกันไปได้อย่างไม่น่าจะมีข้อจำกัดอันใดอีก ! 
ยิงไปกว่านัน9หากพิจารณาลึกลงไปถึงอะตอมทเีป็นธาตุองค์ประกอบพืน9ฐานก็ยิงน่าสนใจไม่น้อย ทาง 
ทีมงานผู้สร้างสตาร์วอร์สได้จินตนาการไว้ให้ ทากอวกาศเป็นสัตว์ทีมีโครงสร้างจากธาตุซิลิกอน ซงึก็จะทำให้มัน 
แตกต่างจากสงิมีชีวิตอืนๆบนโลกทีมีโครงสร้างทีใช้ธาตุคาร์บอนเป็นหลักทัง9สิน9 
ยังไม่พบสิ%งมีชีวิตที%ใช้ธาตุซิลิกอนเลยแม้แต่ชนิดเดียว! 
แต่ทีน่าสนใจไปกว่านัน9ก็คือ กำลังมีความพยายามทำการวิจัยทีอาจจะนำไปสู่สร้างคอมพิวเตอร์แบบใหม่ทีไม่ 
เคยมีมาก่อน เมือปี 2544 ทีผ่านมา นักวิทยาศาสตร์ทีสถาบันวิจัยแม็ก แพลงค์ ได้พิสูจน์ว่ามีการส่งผ่านสัญญาณ- 
ไฟฟ้าได้ระหว่างส่วนของเซลล์ประสาทของหอยทาก และ ส่วนของวงจรในแผ่นชิปทีเซลล์เหล่านัน9เติบโตติดอยู่ 
นนัก็คือ หากงานทางด้านนีไ9ด้รับการพัฒนาต่อไปมากพอ ไม่แน่ว่าสักวันหนงึเราอาจจะมีคอมพิวเตอร์ทีจะ 
ผสมผสานการทำงานระหว่างวงจรบนแผ่นชิป (ทีมีธาตุซิลิกอนเป็นองค์ประกอบหลักอันหนึง) กับเซลล์สมองที (ทีมีธาตุ 
คาร์บอนเป็นเหลัก) เลีย9งบนแผ่นชิปนัน9ก็เป็นได้ !!! 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 16 / 45
เอกภพของพวกชีวิตสุดขัว 
หากพิจารณาโดยใช้วิวัฒนาการบนโลกเป็นเกณฑ์ ก็จะเป็นไปได้อย่างยิงว่าสิงมีชีวิตต่างดาวส่วนใหญ่ 
ทีเราอาจจะพบบนดาวเคราะห์ดวงอืน แทนทีจะมีลักษณะซับซ้อนและพิสดารแบบในภาพยนตร์เรือง 
สตาร์วอร์ส กลับน่าจะมีลักษณะคล้ายกับแบคทีเรียบนโลกมากกว่าอย่างอืน เพราะแบคทีเรียชนิดแรก 
ประมาณกันว่าน่าจะเกิดขึน9ในราว 3.85 พันล้านปีก่อน และ เป็นสงิมีชีวิตชนิดเดียวบนโลกอยู่นานนับพันล้านปี 
ก่อนทีสิงมีชีวิตทีซับซ้อนกว่าคือ ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์จะเกิดเมือราว 1 พันล้านปีทีแล้ว 
สงิมีชีวิตชัน9สูงจริงๆ อย่างสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชนิดต่างๆ เพิงเกิดมีขึน9บนโลกได้ไม่เกิน 600-700 
ล้านปีทีแล้ว ในขณะทีสงิมีชีวิตทรงปัญญาอย่างมนุษย์มีทีมาเก่าแก่ไม่เกิน 1.5 ล้านปีเท่านัน9 สอดคล้องกับทีผม 
ได้เกรินไว้บ้างแล้วในตอนก่อนว่า สิ%งมีชีวิตทรงปัญญาต้องการเวลาที%มากพอในกระบวนการวิวัฒนาการ 
แต่แม้ว่าแบคทีเรียจะมีกำเนิดมานานมากว่าสงิมีชีวิตอืนใด แต่มันก็ยังคงสืบเผ่าพันธ์ุอยู่ต่อมาได้ 
จนปัจจุบัน ยิงไปกว่านัน9 แบคทีเรียยังเป็นสิงมีชีวิตทีมีทัง “จำนวน” และ ”ชนิด” มากมายทีสุดอย่างที 
สิงมีชีวิตอืนไม่อาจจะเทียบด้วยได้ โดยทีกลยุทธ์สำคัญของแบคทีเรียเหล่านีก9็คือ ความสามารถในการผัน 
แปรลักษณะทางพันธุกรรมไปทีละน้อย (เรียกว่าเกิด มิวเตชัน (mutation)) จนมีความหลากหลาย และความ- 
หลากหลายทเีกิดขึน9นี 9ก็จะทำให้พวกมันกลุ่มใดกลุ่มหนงึ (หรือหลายกลุ่ม) หลบรอดการคัดเลือกโดย 
สภาพแวดล้อมมาได้ตลอด 
กล่าวโดยเปรียบเทียบก็คือ แบคทีเรียใช้วิธีแทงหวยแบบสุ่มจำนวนมากๆ (แบบไม่ซำ9) จึงมีโอกาสถูก 
หวย (คือรอดการคัดเลือกตามธรรมชาติ) มากกว่า ในขณะทีมีสิงมีชีวิตจำนวนมากมายทีมีความหลากหลาย 
น้อยกว่าต่างก็ทยอยสูญสิน9เผ่าพันธ์ุไปมากต่อมากแล้ว 
นำพุร้อนในอุทยานแห่งชาติเยลโล่ สโตน ของสหรัฐ ก้อนหินทีได้จากขัวโลกก้อนนี บางคนเชือว่า 
ก็เป็นบ้านของแบคทีเรียหลายชนิดเช่นกัน มีแบคทีเรียจากดาวอังคารอาศัยอยู่ 
จากความสำเร็จในการปรับตัวระดับสุดยอดของแบคทีเรียดังทีกล่าวมา ทำให้อาจจะมองในมุมหนึงได้ 
ว่าอันทีจริงแล้ว สิงมีชีวิตทีครองโลกอยู่ในทุกวันนีอันทีจริงแล้วไม่ใช่มนุษย์ แต่เป็นแบคทีเรียกระจ้อย- 
ร่อยพวกนีนีเอง ! 
ด้วยความสำคัญของสงิมีชีวิตจำพวกแบคทีเรียพวกนีน9ีเอง ทำให้วิทยาศาสตร์สาขาทีศึกษาความ- 
เป็นไปได้หรือมีอยู่ของสงิมีชีวิตนอกโลกทีมีชือว่า ดาราชีววิทยา (Astrobiology) หรือ ชีววิทยานอกโลก 
(Exobiology) ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาสงิมีชีวิตเหล่านีท9ชีมชอบอาศัยอยู่ในสงิแวดล้อมทีสุดขัว9มากๆ ไม่ 
ว่าจะเป็นในนำ9พุร้อน, ในทีมีความหนาวเย็นผิดธรรมดามากๆ เช่น ในนำ9แข็งทีขัว9โลก, ในสภาวะทมีีความเป็น 
กรดด่างมากๆ เป็นต้น 
เพราะความรู้เกียวกับสงิมีชีวิตสุดขัว9พวกนีเ9องทีน่าจะบอกข้อมูลแก่เราคร่าว ๆ ว่า น่าจะมีสงิมีชีวิตนอก 
โลกได้หรือไม่ และ ถ้าเป็นไปได้น่าจะมีลักษณะแปลกและแตกต่างไปจากสิงมีชีวิตบนโลกมากน้อยเพียงใด 
ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 17 / 45
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส
Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส

More Related Content

What's hot

ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีวิริยะ ทองเต็ม
 
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)Thanuphong Ngoapm
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกFah Philip
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
แผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาแผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาJarinya Chaiyabin
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ vanichar
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)Pear Pimnipa
 

What's hot (20)

ก-ฮ
ก-ฮก-ฮ
ก-ฮ
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
ดนตรีไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี
 
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
 
มัทนะพาธา
มัทนะพาธามัทนะพาธา
มัทนะพาธา
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียนข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
ข้อสอบ เรื่องชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สำหรับ นักเรียน
 
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติกโครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
โครงงานผักสวนครัวในขวดพลาสติก
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
แผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาแผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธา
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 

More from Namchai Chewawiwat

Podcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covidPodcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covidNamchai Chewawiwat
 
Podcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memoryPodcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memoryNamchai Chewawiwat
 
Podcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testPodcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testNamchai Chewawiwat
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsNamchai Chewawiwat
 
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?Namchai Chewawiwat
 
WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19Namchai Chewawiwat
 
Basic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirusBasic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirusNamchai Chewawiwat
 
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ  ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ Namchai Chewawiwat
 
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...Namchai Chewawiwat
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ Namchai Chewawiwat
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9Namchai Chewawiwat
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Namchai Chewawiwat
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยNamchai Chewawiwat
 
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ Namchai Chewawiwat
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ Namchai Chewawiwat
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) Namchai Chewawiwat
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO Namchai Chewawiwat
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Namchai Chewawiwat
 

More from Namchai Chewawiwat (20)

Podcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covidPodcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covid
 
Podcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memoryPodcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memory
 
Podcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testPodcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid test
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
 
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
 
WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19
 
Basic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirusBasic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirus
 
Emerging diseases
Emerging diseasesEmerging diseases
Emerging diseases
 
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ  ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
 
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
 
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
 
Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books
 

Science in Star Wars วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส

  • 1. วิทยาศาสตร์ในสตาร์วอร์ส ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ ตีพิมพ์ครังที 1, พ.ศ. 2548, สำนักพิมพ์ สวทช. ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 1 / 45
  • 2. พิภพในสงครามดวงดาว A long time ago in a galaxy far, far away … นานมาแล้ว ในดาราจักรอันไกลสุดไกลโพ้น … เมือกลางเดือนพฤษภาคมทีผ่านมา บรรดาแฟนๆ ของมหากาพย์สงครามดวงดาว “สตาร์ วอร์ส” (ไม่ว่าจะ พันธ์ุแท้ หรือพันธ์ุทาง) ก็คงจะแฮปปีป9รีดากันถ้วนหน้ากับการมาเยือนของ ภาพยนตร์ตอนทีสองในไตรภาคทีหนงึของ มหากาพย์จักรวาลเรืองยิงใหญ่นี 9 ทีมีชือตอนว่า Episode II- Attack of the Clones จังโก้ เฟ็ทท์ และ กองทัพโคลนทีสร้างโดยขึนใช้เขาเป็นต้นแบบ รวมไปถึงก่อนหน้านัน9 (ในช่วงเดือนเมษายนและพฤษภาคม) ทีได้มีการนำสตาร์วอร์สทัง9สตีอน ทีออกฉาย ไปแล้วมาออกอากาศอีกครัง9ทางสถานีโทรทัศน์สีช่อง 7 ในช่วงบBิกซีนีม่า เพือเป็นการรำลึกความหลัง และ เรียก นำ9ย่อยไปพลางๆ ก่อนทีจะได้ชมตอนใหม่ล่าสุดกัน ความจริงจะว่าไปแล้วก็น่าจะเป็นเรืองน่ายินดีสำหรับทัง9ผู้สร้างและผู้ชมนนัแหละนะครับ เพราะว่า ภาพยนตร์ในชุดสตาร์ วอรส์นี 9ได้กลายมาเป็น “ตำนานทียังมีชีวิตอยู่” และ จัดได้ว่าเป็นภาพยนตร์ประเภททีว่า “ต้องดู” ให้ได้ … ขนาดนัน9เลยทีเดียว สำหรับคำกล่าวอ้างเรืองว่าสตาร์วอร์สเป็นภาพยนตร์ที “พลาดไม่ได้” นีพ9ิสูจน์ง่ายนิดเดียวครับ คือ ดูได้ จากรายรับจาก สตาร์วอร์ส ตอนก่อนล่าสุด คือตอน Episode I-The Phantom Menace ทีออกฉายไปเมือสามปี ก่อนหน้านี 9ซงึมีความพิเศษอยู่มาก เพราะ นับเป็นตอนทีผู้ชมต้องรอคอยอย่างยาวนานถึงสิบหกปี (สตาร์ วอร์ส ตอน ก่อนหน้านัน9คือ Episode VI-Return of the Jedi ออกฉายในปี 2526) นัยว่า จำเป็นต้องรอคอยพัฒนาการของเทคโนโลยีการสร้างภาพดิจิทัล ให้ถึงระดับทีจะทำให้ได้ภาพ ใกล้เคียงกับจินตนาการของจอร์จ ลูกัส ผู้รังสรรค์งานมหากาพย์สงครามดวงดาวนี 9เสียก่อน !!! ตอน Episode I-The Phantom Menace นัน9 สามารถทำเงินได้อย่างมหาศาล กล่าวคือ เฉพาะในอเมริกา ก็มากกว่า 431 ล้านเหรียญเข้าไปแล้ว นับเป็นรายได้ทีเป็นรองก็เพียงแต่ภาพยนตร์ทำเงินตลอดกาลสามเรืองคือ ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 2 / 45
  • 3. ไททานิค, สตาร์วอร์ส ตอนแรกสุด (Episode IV-A New Hope) และ อีที (E.T. The Extra-Terrestrial ซึงนำฉบับ ปรับปรุงเทคนิคพิเศษ และ มาออกฉายใหม่ในปีนีเ9ช่นกัน) เท่านัน9 มีคำกล่าวทเีชือว่าหลายท่านคงคุ้นเคยกันดี ก็คือวลีทวี่า “ดูหนังดูละครแล้วให้ย้อนดูตัว” ดังนัน9 แม้ว่า มหากาพย์สงครามดวงดาวชุดนี 9 จะเหมาะเป็นอย่างยิงกับการดูเพือความบันเทิงเริงรมย์ และ พักผ่อน แต่ในฐานะ ของคนในแวดวงวิทยาศาสตร์ ผมจะขอชวนคุณ ๆ มาช่วยกันตัง9 “ปุจฉา” และร่วมกัน “วิสัชนา” ว่า … มีความเป็นไป ได้ทางวิทยาศาสตร์ สำหรับบุคคล และ เหตุการณ์ต่างๆ ในเรื%องสตาร์วอร์สมากน้อยเพียงใด ? กาลครังหนึงนานมาแล้ว เรืองแรกสุดทีเราน่าจะได้มาพิจารณากันก็คือ เรืองของ “พิภพต่างๆ” ในเรืองสตาร์ วอร์ส การทีจะมีสงครามดวงดาวได้นัน9 ก็ต้องมีสถานทีอยู่ให้กับทัง9ฝ่ายจักรวรรดิและฝ่ายกบฏได้พักพิงอยู่อาศัย เสียก่อน และ เพือให้สมเหตุสมผลว่า ฝ่ายจักรวรรดิไม่รู้และไม่สามารถระบุได้ง่าย ๆ ว่าฝ่ายกบฏอยู่ทีใดกันแน่ ก็ต้องมีดาวเคราะห์ทีพอจะอาศัยได้อยู่จำนวนมากสักหน่อย ในแต่ละตอนของ สตาร์ วอร์ส แฟนๆ ก็ได้เห็นถึงฉากพิภพทีแตกต่างกันมากมาย ไม่ว่าจะเป็นพิภพ ทะเลทรายทีแล้งกันดารบนดาวบ้านเกิดของลุคอย่าง ทาทูอีน ใน Episode IV ดาวดาโกบาฮ์ ทีเต็มไปด้วยหนองบึง และเป็นทีพำนักและหลบซ่อนตัวของโยดา ปรมาจารย์เจได และ ดาวหิมะโฮธ ทีฝ่ายจักรวรรดิส่งยานวอล์กเกอร์เข้าไล่ ล่าฝ่ายกบฏใน Episode V ดวงจันทร์แห่งดาวเอนดอร์ ทีเป็นป่าโบราณ และ เป็นบ้านของอีโวกส์ เหล่านักรบตัวจ้อย (คล้ายตุ๊กตาหมี) ใน Episode VI เมืองบาดาลบนดาว นาบู บ้านเกิดของจาร์ จาร์ บิงค์ส ตัวละครดิจิทัลเต็มรูปแบบตัวแรกของสตาร์วอร์ส ใน Episode I เมืองคอรัสแคนท์ ราชธานีแห่งสาธารณรัฐทีมีการจราจรทางอากาศทีแสนจะแออัด และสับสนวุ่นวาย (ไม่ แพ้การจราจรในถนนของกรุงเทพฯ) รวมไปถึง ดาวเคราะห์น้อย ทีฮัน โซโล ขียานมิลเลเนียม ฟอลคอล หลบหนีการ ไล่ล่าของฝ่ายจักรวรรดิเข้าไปหลบอยู่ในกระเพาะของหนอนอวกาศ อ้อ … ทีเอ่ยมาไม่ได้หมายความว่าแต่ละพิภพจะปรากฏในตอนนัน9ๆ เท่านัน9แต่อย่างใดนะครับ (อาจจะเห็น ในตอนอืนด้วย) นับว่าเป็นภาพยนตร์ Sci-fi ทีมีรูปแบบของพิภพหลากหลายเป็นอย่างยิง เรียกว่าในบรรดาภาพยนตร์แนว เดียวกันแล้ว ทีพอจะเทียบรัศมีกันได้ในเรืองนีก9็คงจะมีแค่ “สตาร์เทร็ค” เพียงเรืองเดียวกระมังครับ คำถามแรกสุดทีออกจะพืน9ๆ และ ควรจะถามกันเสียตรงนีก9็คือ มีดาวเคราะห์อยู่มากน้อยเพียงใดในเอก ภพทีจะให้บรรดาสิงมีชีวิตในเรืองอาศัยอยู่ได้ ? คำถามทีฟ%ังดูไม่ยุ่งยากซับซ้อนแบบนีแ-หละครับที %… ตอบได้ไม่ง่ายเลย ก่อนอืนคงต้องมาทบทวนกันดูสักหน่อยหนึงก่อนว่า ดาวเคราะห์ต่างๆ ในเอกภพนันมีกำเนิด และ ทีมาอย่างไรกัน ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 3 / 45
  • 4. เอกภพอันกว้างใหญ่จะมีดาวเคราะห์ทีเป็นพิภพทีอาศัยอยู่ได้ แบบทีเห็นภาพยนตร์เรืองสตาร์วอร์ส มากน้อยเพียงใดกัน เริมกันทีดาวเคราะห์ทีมีลักษณะเป็นหินแข็งอย่างโลกของเรากันก่อน การทีจะเกิดดาวเคราะห์แบบนีไ9ด้ต้อง อาศัยธาตุทมีีนำ9หนักมากสักหน่อย อย่างจำพวก คาร์บอน, ไนโตรเจน, ออกซิเจน หรือ เหล็ก เป็นต้น โชคร้ายอยู่สักหน่อยทีธาตุเหล่านีเ9มือพิจารณาในขอบเขตชนาดใหญ่อย่างเอกภพแล้ว ถือได้ว่าเป็นธาตุทีออก จะหายากอยู่ทีเดียว เพราะว่าประมาณกันว่า 99.8 เปอร์เซนต์ของอะตอมในจักรวาล เป็นธาตุเบาทีส%ุดสองธาตุแค่นน-ั คือ ไฮโดรเจน และ ฮีเลียม นอกจากนี 9 ธาตุทีหนักกว่าเหล่านีไ9ม่ได้เกิดขึน9พร้อมกับการเกิดของเอกภพแต่อย่างใด แต่เป็นธาตุที เกิดขึน9ในภายหลัง โดยเกิดจากกระบวนการการหลอมรวมนิวเคลียส ทีเรียกว่า นิวเคลียร์ ฟิวชัน ทีเกิดขึน9ภายใน ดาวฤกษ์ กระบวนการดังกล่าวนี%เอง ที%เป็นแหล่งพลังงาน และ ต้นกำเนิดของแสงที%เปล่งออกมาของดาวฤกษ์ต่าง ๆ นอกจากนี 9 “ซูเปอร์โนวา” (supernova) หรือ การระเบิดของดาวฤกษ์ทีสิน9อายุขัย ก็เป็นต้นกำเนิดสำคัญ อีกแหล่งหนงึของธาตุหนักเหล่านี 9 มีนักดาราศาสตร์บางคนประมาณว่า ซูเปอร์โนวาอาจจะเกิดขึน9ได้ถีมากใน กาแล็กซีขนาดใหญ่ๆ (หมายถึงว่าถีเมือเปรียบเทียบกับอายุเอกภพ ไม่ใช่เทียบกับอายุของคนเรานะครับ) นน%ัก็คือ อาจจะเกิดข-ึนทุกๆ ศตวรรษเลยทีเดียว ! หากธาตุหนักเหล่านีเ9กิดขึน9ในกาแล็กซี (หรือกลุ่มดาว) ทีมีมวลสารมากพอ (เช่น ในกาแล็กซีทางช้างเผือกที เราอาศัยอยู่) ธาตุเหล่านีก9็จะถูกแรงดึงดูดของกาแล็กซีจับไว้ และ อาจจะรวมตัวกับละอองก๊าซ และฝุ่น เกิดเป็น ดาวฤกษ์ดวงใหม่ หรือ แม้แต่ดาวเคราะห์ดวงใหม่ก็ยังได้ นักดาราศาสตร์ (อีกนนัแหละ) ประมาณว่า เอกภพน่าจะเกิดขึนในช่วงเวลาราว 1.5 หมืนล้านปีก่อน แต่เนืองจากธาตุหนักน่าจะมีปริมาณเพียงพอ ทีจะให้กำเนิดดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายคลึงกับโลกได้ไม่เร็วกว่า 1 หมืนล้านปีทีแล้ว หากพิจารณาดังนีแ9ล้วก็จะพอประมาณได้ว่า คำกล่าวทีว่า “นานมาแล้ว …” ในตอนต้น เรืองสตาร์วอร์สทุกภาคนัน จึงน่าจะอยู่ในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 1 หมืนล้านปีก่อน ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 4 / 45
  • 5. กำเนิดสรวงสวรรค์และพิภพ เอาล่ะครับ เมือได้ธาตุหนักมาเป็นวัสดุแล้ว ธรรมชาติก็ดูท่าน่าจะพร้อมจะ “เนรมิตสวรรค์สรรค์สร้าง พิภพ” กันได้แล้ว … แต่ว่าทำได้อย่างไรล่ะครับ ? ทฤษฎีทีเชือกันอยู่ในปัจจุบัน อธิบายกันเป็นตุเป็นตะว่าอย่างนีค9รับ เศษซากทีประกอบไปด้วยก๊าซ, ฝุ่น และ สารเคมีทีมีความเย็นจัดในอวกาศจะมาเกาะกันเป็นกระจุกคล้ายกับ “ก้อนเมฆ” ประมาณนัน9แหละครับ (ตรงกลาง จะกลวงๆ) จากนัน9ก็จะ “เริมหมุน” ต่อมาก็จะเริมเกิดการยุบตัวเปลยีนมาเป็น “แผ่น” … แต่ยังคงหมุนต่อไปไม่หยุดยัง9 ต่อมาก็จะมีการเปลียนแปลงอีกคือ บริเวณด้านในของแผ่น หรือ จานดังกล่าวทีมีมวลสารหนาแน่นกว่าก็จะ เริมรวมตัวกัน และจะกลายไปเป็นดาวฤกษ์ต่อไป ตอนนีห9น้าตาของแผ่นทีว่าเริมจะคล้ายกับจานร่อน “ฟริสบี”9 ทีคน เอามาร่อนเล่นกันนันแหละครับ ตรงกลางของจานร่อนฟริสบีน9ีแหละครับ ทีจะเป็นทีตัง9ของดาวฤกษ์ทีเกิดใหม่ คาดว่าน่าจะมีดาวฤกษ์ไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 จนถึงอาจจะมากถึงครึ%งหนึ%งด้วยซํ-า ที%เกิดใหม่ด้วยกระบวนการ ดังที%เล่ามาข้างต้น ถึงตอนนีเ9ราก็ได้ดาวฤกษ์ (หรือดวงดาราในสรวงสวรรค์) กันเรียบร้อยแล้ว แต่ว่าดาวเคราะห์บริวารของดาว ฤกษ์เหล่านีท9ีจะเป็นทีอยู่อาศัย และ ทีทำการสัประยุทธ์ระหว่างฝ่ายจักรวรรดิ และ เหล่ากบฏ ล่ะ … เกิดขึน9มาได้ อย่างไรกัน ? กระบวนการเกิดดาวเคราะห์ จะเริมจากขณะทีอนุภาคแข็งใน “แผ่นจานหมุน” หมุนไปรอบๆ ดาวฤกษ์นัน9 มันจะทำหน้าทีคล้ายกับเป็น “แกน” ให้อนุภาคต่างๆ มาเกาะได้ ขึน9อยู่กับว่าใครจะชนะระหว่างความเร็วของอนุภาค ทีพุ่งชนกันกับแกนดังกล่าวกับ แรงดึงดูดทีแกนดังกล่าวมีอยู่ เมือแกนดังกล่าว “กวาด” ไปตามวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ของมัน จำนวนอนุภาคทีจะชนและรวมตัวกับแกน ดังกล่าวก็จะเพมิมากขึน9ทุกที ๆ ทำให้ “แกน” ดังกล่าวมีขนาดใหญ่ขึน9 ๆ ทุกทีเช่นกัน ผลก็คือ หากรวมตัวได้ใหญ่มากพอก็กลายเป็น “ดาวเคราะห์” แต่หากรวมตัวกันได้ขนาดไม่ใหญ่นักก็ อาจจะไปจบลงทีกลายไปเป็น “ดาวหาง” หรือ “ดาวเคราะห์น้อย” ในทีสุด คำถามต่อไปจึงตามมาว่า ก็แล้วดาวเคราะห์เหล่านี-จะเกิดมีได้มากน้อยเพียงใด ? แสนจักรวาลล้านพิภพ คำถามทีว่า ดาวเคราะห์จะเกิดมีได้มากน้อยเพียงใดในเอกภพ ก็เป็นอีกคำถามหนึงทีตอบได้ไม่ง่ายนัก เราต้องอาศัยสมมติฐานหลายๆ ข้อนะครับ เพือทีจะตอบคำถามดังกล่าว นักดาราศาสตร์บางท่าน ประเมินไว้ว่าทุกๆ 1 ใน 4 ถึงครึงหนึงของดาวฤกษ์ทีเกิดขึน น่าจะมีดาว เคราะห์แบบเดียวกับโลกของเราเกิดขึนด้วย สิงทีเป็นปัญหาก็คือ การทีจะหาหลักฐานมาสนับสนุน หรือ หักล้างสมมติฐานเรืองจำนวนของดาวเคราะห์ ข้างต้นทำได้ยากมาก เนืองจากเราไม่สามารถสังเกตเห็นดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะของเราได้โดยตรง ไม่ว่าจะ ด้วยอุปกรณ์ทีทันสมัยลำ9ยุคเพียงใด ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 5 / 45
  • 6. แม้ว่าจะมีรายงานอยู่เป็นระยะๆ ว่ามีการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะมาตัง9แต่ทศวรรษ 1940 แต่ก็ ล้วนแล้วแต่ยืนยันในภายหลังได้ว่าไม่เป็นความจริง จนเมือเพียงไม่กีปีทีผ่านมาเท่านัน9ทีมีการค้นพบหลักฐานที ค่อนข้างจะน่าเชือถือได้ว่า มีดาวเคราะห์ทีอยู่นอกระบบสุริยะของเราจริง ๆ ตัวอย่างทดีีทีสุดว่า การค้นหาดาวเคราะห์นัน9ยากเย็นแสนเข็ญเพียงใดก็คงจะได้แก่ การค้นพบ “พลูโต” ดาวเคราะห์ดวงหลังสุดในระบบสุริยะ (* ทีกลายเป็นดาวเคราะห์แคระไปแล้ว - บันทึกเพิมเติม 21 ก.ย. 2557) เพราะว่าเพิงมาเจอเอาในปี 2473 นีเอง ! ดังนัน9ก็น่าจะจินตนาการกันได้ไม่ยากว่า แม้แต่การค้นหาดาวเคราะห์ในกลุ่มดาวพร็อกซิมา เซนทอรี ทีเป็น กลุ่มดาวฤกษ์ทใีกล้เรามากทีสุด และ อยู่ห่างเราออกไปมากกว่าระยะทางจากโลกถึงดาวพลูโตถึงราวหนงึหมืนเท่านัน9 จะทำได้ยากเย็นแสนเข็ญเพียงใด อันทีจริงระยะทางดังกล่าว ทำให้การสังเกตหาดาวเคราะห์ด้วยกล้องโทรทรรศน์แทบจะเป็นไป ไม่ได้เลยทีเดียว !!! ถ้าเช่นนน-ั นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะของเราได้อย่างไร ? แทนทีจะใช้วิธีพยายามดูหรือถ่ายภาพของดาวเคราะห์โดยตรง นักดาราศาสตร์ใช้วิธีสังเกตเส้นทางโคจรของ ดาวฤกษ์แทนน่ะครับ เวลาเรานึกถึง “ดาวเคราะห์” สักดวง คงจะมีบ่อยครัง9ทีหลายคนคิดไปว่า ดาวเคราะห์ดวงนัน9ๆ โคจรอยู่รอบ “ดาวฤกษ์” ที “อยู่กับที” อันทีจริงไม่ใช่นะครับ ไม่ว่าจะดาวเคราะห์ หรือ ดาวฤกษ์ต่างก็โคจรไปรอบๆ “ศูนย์กลางแรง โน้มถ่วง” ของมัน นักดาราศาสตร์ก็เลยจ้องสังเกตเส้นทางโคจรของดาวฤกษ์เป้าหมายว่า มีการกวัดแกว่งเนืองจากอิทธิพล ของดาวเคราะห์บริวาร หรือ ไม่ก็ดูจากความถีของแสงทีเปลยีนแปลงไป เมือดาวฤกษ์หมุนและอยู่ใกล้ไกลจากโลก ต่างๆ กันทีเวลาต่างๆ กัน (คล้าย ๆ กับเสียงหวูดรถไฟทีมีเสียงแหลมทุ้มเพีย9นไปเล็กน้อยเมือพุ่งเข้าหาหรือวงิออกจาก เรา) ทั-งสองวิธีจะเหมาะกับการค้นหาดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ที%หมุนรอบดาวฤกษ์ขนาดเล็ก ผลก็คือในปี ค.ศ. 2538 นักดาราศาสตร์ชาวสวิสสองคนได้ใช้เทคนิคดังกล่าวพิสูจน์ว่า ดาวฤกษ์ 51 เพกาซี มีอาการหมุนทีตีความได้ว่า น่าจะมีดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ (น่าจะมีขนาดเท่าๆ กับดาวพฤหัสบดี) โคจรอยู่รอบๆโดย มีรอบการโคจรเพียง 4.2 วัน เท่านัน9 !!! ด้วยระยะเวลาทีสัน9มากๆ ดังกล่าว (ดาวพุธทีอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากทีสุด ยังต้องใช้เวลาถึง 88 วันในการ หมุนรอบดวงอาทิตย์) ทำให้คาดได้ว่าดาวเคราะห์ดวงดังกล่าวน่าจะอยู่ใกล้ดาวฤกษ์ดวงดังกล่าวมาก ใกล้มากขนาด ทีพ%อจะแผดเผาให้มันมีอุณหภูมิสูงถึงเกือบ 2000 องศาเซลเซียสเลยทีเดียว ข้อมูลในปัจจุบันก็คือ เราพบดาวเคราะห์ราว 15 ดวงแล้วทีโคจรอยู่รอบดาวฤกษ์อืน แทบทัง9หมดมี ขนาดใหญ่กว่าดาวพฤหัสบดี และ ส่วนใหญ่มีวงโคจรรอบดาวฤกษ์ของมันทีแคบมาก คือ ใกล้มากกว่าวงโคจรทีดาว พุธของเราใช้โคจรรอบดวงอาทิตย์ แม้ว่าเราจะมีความสามารถจำกัดจำเขียเต็มทีสำหรับการค้นหาดาวเคราะห์ แต่นักวิทยาศาสตร์ก็ประมาณ เอาว่า ในเมือราวทุกๆ 20 ระบบดาวฤกษ์ทีเราได้ตรวจสอบไปแล้ว จะพบดาวเคราะห์สักดวงหนึงเสมอ นันก็หมายความ ว่า เฉพาะแค่กาแล็กซีของเราก็น่าจะมีระบบสุริยะ ที%มีดาวเคราะห์ที% “คล้าย” กับโลกเรานี-ได้มากมายถึง 20,000 ล้าน ระบบ ! ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 6 / 45
  • 7. แต่ช้าก่อน … อย่าเพิงดีใจจนเกินไปครับ เพราะว่าลำพังการมีดาวเคราะห์ทีมีลักษณะ “คล้ายกับโลก” จำนวนมาก ก็ไม่ได้มีความเกียวข้อง หรือ ยืนยันในข้อทีว่าจะ “มีชีวิตเกิดขึน9ได้บนโลกเหล่านัน9” ได้แต่อย่างใด ไม่ต้อง พูดไกลไปถึงว่าจะเป็นดาวเคราะห์ทีมนุษย์ไปอาศัยอยู่ได้หรือไม่ ลองนึกภาพดาวเคราะห์แต่ละดวงในระบบสุริยะของเราดูก็ได้ครับ แต่ละดวงดูไม่ค่อยจะเอือ9อารีหรือ สนับสนุนการเกิดมี “ชีวิต” สักกีมากน้อยเลย … จริงไหมครับ ? ในตอนหน้าเราจะมาดูกันว่า พิภพทีเอือ9ต่อการกำเนิดชีวิตต้องมีลักษณะเช่นไร และ สงิมีชีวิตต่างดาวที ปรากฏในภาพยนตร์เรืองสตาร์วอร์สนัน9 มีความเป็นไปได้บนพืน9ฐานของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทีเรามีอยู่มากน้อย เพียงใด ชีวิตในสงครามแห่งดวงดาว “ หากการมีสิงมีชีวิตต่างดาวทีทรงภูมิปัญญาเป็นเรืองธรรมดา ทำไมพวกเขาจึงไม่ปรากฏตัวให้เราได้พบ” เฟอร์มี พาราด็อกซ์ เราได้ลองพิจารณาดูกันแล้วว่า สงครามแห่งดวงดาว หรือ สตาร์วอร์ส ทีว่าเกิดขึน9 “นานมาแล้ว” นัน9น่าจะ นานสักเพียงใดกันแน่ อีกทัง9มีโอกาสมากน้อยเพียงใดทจีะมี “ดาวเคราะห์” จำนวนมากมาย และมีลักษณะหลากหลาย ดังทีปรากฏให้เห็นในภาพยนตร์ ในคราวนีเ9ราจะมาดูกันต่อว่า โอกาสทีจะมีสงิมีชีวิตเกิดขึน9และมีวิวัฒนาการสูงพอ ตลอดจนพัฒนาไปมี ความก้าวหน้าทางวิทยาการระดับสูงนัน9 … มีมากน้อยเพียงใดกันแน่ ฤาชีวิตจะเกิดได้ง่ายดายนัก ในภาพยนตร์เรืองสตาร์วอร์ส คุณจะพบชีวิตอยู่ทวัไปทุกหนทุกแห่งบนดาวเคราะห์ทุกๆ ดวง ไม่ว่าจะเป็น ดาวเคราะห์ทีมีแต่หิมะขาวโพลน, ภายในถำ9, ในหนองนำ9, ใต้ทะเลลึก, ในเครืองอัดขยะ หรือ แม้กระทงัสถานทีเหลือเชือ อย่างบนดาวเคราะห์น้อย ! สงิมีชีวิตเหล่านัน9ก็มีตัง9แต่ทเีป็นสัตว์ชัน9ตาํทีไม่แสดงลักษณะของอารยธรรมให้เห็นแต่อย่างใด ไปจนถึง สงิมีชีวิตทีมีสติปัญญาชัน9สูงสามารถควบคุมและใช้งานอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ทีมีความสลับซับซ้อน ลักษณะเช่นนีน9เีอง ทีทำให้ “จักรวาลของสตาร์วอร์ส” ดูมีชีวิตชีวาเปียมไปด้วยจินตนาการ และเป็นจริงเป็นจังราวกับไม่ใช่เรืองแต่ง แต่ว่า … ชีวิตในเอกภพนัน มีได้มากมายและหลากหลายเช่นนันจริงๆ น่ะหรือ ? ดังทีได้กล่าวไว้ในตอนทีแล้วว่า หากประมาณว่าอาจมีดาวเคราะห์ทีมีลักษณะคล้ายโลกเกิดขึน9ได้มากถึง 20,000 ล้านดวงในกาแล็กซีของเรา ในจำนวนนีจ9ะมีสักกีมากน้อยทีน่าจะพอเป็นทีอาศัยพักพิงของสงิมีชีวิตชัน9สูง ? ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 7 / 45
  • 8. STAR WARS TIPS ดาวเคราะห์ในระบบดาวฤกษ์คู่ มีได้จริงหรือ ? ใครทีได้ชม สตาร์วอร์ส ตอน Episode IV: A New Hope ผมว่าน่าจะมีฉากหนึงทีน่าจะจำกันได้ติดตาก็คือ ฉากที ลุค สกายวอคเกอร์ กำลังเหม่อมองอาทิตย์ลับขอบฟ้าของ “ทาทูอีน “ ดาวบ้านเกิด แต่ทีพิเศษและไม่เหมือนกับ ภาพอาทิตย์อัสดงบนโลกเราก็คือ ดวงอาทิตย์ทีเห็นกำลังอ้อยอิงลับจากขอบฟ้าไปมีจำนวน “สองดวง” เอ๊ะ … แต่ว่าเป็นไปได้หรือทีจ%ะมีดาวเคราะห์ทีโ%คจรอยู่รอบดวงอาทิตย์คู่ ? อาทิตย์คู่อัสดงทีดาวทาทูอีน ระบบดาวคู่ทีมี “ดาวฤกษ์สองดวง” โคจรอยู่รอบศูนย์กลางแรงโน้มถ่วงนัน9 พบได้เป็นเรืองปกติในจักรวาล ไม่ถือว่าแปลกอะไรนะครับ แต่นักวิทยาศาสตร์เชือว่า ดาวเคราะห์รอบดาวฤกษ์คู่นัน9ออกจะหาได้ยากสักหน่อย เนืองจากแรงโน้มถ่วงของ ดาวฤกษ์แต่ละดวง น่าจะรบกวนการโคจรรอบดาวฤกษ์อีกดวงหนงึ นอกจากนีย9ังอาจจะมีผลเกียวกับความไม่อยู่ตัว หรือ ความสมาํเสมอของอุณหภูมิบนดาวเคราะห์ ณะทีโคจรไประหว่างดาวฤกษ์ทัง9สอง แต่ก็มีความเป็นได้อยู่สองกรณีทอีาจจะมีดาวเคราะห์เกิดขึน9รอบดาวฤกษ์คู่ และยังเป็นแหล่งกำเนิดชีวิตได้ได้ กรณีแรกคือ หากดาวฤกษ์ทัง9คู่อยู่ไกลกันมาก เช่น ไกลกันมากกว่าพันล้านกิโลเมตร ดังนน-ัดาวเคราะห์ก็จะ โคจรรอบดาวฤกษ์เพียงดวงเดียว โดยมีผลกระทบจากดาวฤกษ์อีกดวงน้อยมาก ยกตัวอย่าง เช่น ระบบดาวพร็อกซิมา เซนทอรี ทีอยู่ใกล้ระบบสุริยะของเรามากทีสุดนัน9 เป็นระบบดาวฤกษ์ 3 ดวง โดยพร็อกซิมานัน9อยู่ไกลกับดาวฤกษ์พีน้อง อีกสองดวงกว่ากว่าแสนล้านกิโลเมตร (หรือมากกว่า 250 เท่าของระยะทางจากโลกถึงดาวพลูโต) หากมีดาวเคราะห์ บริวารเกิดขึน9 ก็จะได้รับผลกระทบจากดาวพีน้องน้อยมาก ความเป็นไปได้อีกแบบหนงึก็คือ ดาวฤกษ์ทัง9คู่อาจจะอยู่ใกล้กันมากๆ (ในระดับเพียงๆ ไม่กีล้านกิโลเมตร) ดังนัน9 สำหรับดาวเคราะห์ทีไกลออกไปมากๆ แรงโน้มถ่วงของดาวฤกษ์คู่จะให้ผลลัพธ์คล้ายกับเป็นของดาวฤกษ์เพียง ดวงเดียว ประมาณโดยคร่าวๆ ก็คือ ระยะระหว่างดาวฤกษ์ทัง9คู่น่าจะสัน9ในราว 1 ใน 10 ของระยะไปยังดาวเคราะห์นัน9 ในกรณีหลังนี 9วงโคจรของดาวเคราะห์จะมีลักษณะกลมค่อนข้างมาก และอุณหภูมิจะค่อนข้างอยู่ตัว ดาวฤกษ์ ทัง9คู่จะขึน9 และตกไล่ๆ กันแบบเดียวกับทีเห็นในภาพยนตร์ !!! ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 8 / 45
  • 9. คำตอบคือ เมือพิจารณาจากปัจจัยต่างๆจำนวนมาก (ดังจะได้ยกตัวอย่างต่อไปภายหลัง) แล้ว นักวิทยาศาสตร์ประมาณว่า น่าจะมีได้ไม่เกิน 1 หมื%นถึง 2.5 ล้านดวงเป็นอย่างมาก นันก็คือ ประมาณคร่าวๆ ว่ามีโอกาสอย่างมากเพียงหนึงในหมืน (กล่าวโดยเปรียบเทียบก็คือ ยากกว่าถูกรางวัล เลขท้ายสามตัวตัง9สิบเท่าแน่ะครับ !) ระบบดาวเคราะห์อืนทีเอือต่อการเกิด สิงมีชีวิตทรงปัญญาอาจจะมีได้ไม่มากนักในเอกภพ โลกสีครามใบเดียวในจักรวาล ? ไม่ว่านักวิทยาศาสตร์ฝ่ายสนับสนุนชีวิตต่างดาวจะประเมินประมาณอย่างไรก็ตาม แต่ความจริงก็คือ โลกยัง เป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวทีเรายืนยันได้แน่นอนว่ามีชีวิต (โดยเฉพาะทีทรงภูมิปัญญา) เกิดขึน9 ดังนัน9หากใช้โลกเป็น บรรทัดฐานแล้ว การเกิด “เอกภพแห่งชีวิต” ทีใกล้เคียงกับจินตนาการในสตาร์วอร์ส ต้องมี “ข้อจำกัด” อยู่หลายข้ออย่าง ยิง ภาพถ่าายจากอวกาศของโลกสีคราม พิภพแห่งชีวิตทีเต็มไปด้วยนำ ข้อแม้แรกทีสุดก็คือ จะต้องมีระบบดาวเคราะห์ทีเ%หมาะสมทีอ%าจจะทำหน้าทีเ%ป็นแหล่งกำเนิด และอยู่อาศัย ของสิ%งมีชีวิตได้ เมือมีดาวเคราะห์ดังกล่าวแล้ว ข้อแม้ต่อมาก็คือ สภาพของดาวเคราะห์เหล่านี-ต้องเอื-ออำนวยต่อการ กำเนิดและวิวัฒนาการของชีวิต มาดูกันก่อนว่า สภาพเช่นไรของดาวเคราะห์จึงจะ “เอืออำนวยต่อการกำเนิดชีวิต” ? ปัจจัยสำคัญอันแรกทีสุดก็คือ ดาวเคราะห์เหล่านี-น่าจะต้องมีระยะห่างจากดาวฤกษ์ของมันอย่างเหมาะสม ทีว่าเหมาะสมก็คือ จะต้องอยู่ในระยะทีความร้อนจากดาวฤกษ์นัน9ไม่ทำให้ดาวเคราะห์นัน9 ๆ ร้อนหรือหนาวจัดจนเกินไป และทีสำคัญก็คือ ยังยินยอมให้ “นำ9” บนดาวเคราะห์เหล่านีอ9ยู่ในรูปของ ”ของเหลว” ได้ ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 9 / 45
  • 10. Star Wars Tip มีสิงมีชีวิตทรงภูมิปัญญามากมายในจักรวาล แบบทีเห็นในสตาร์วอร์ส ได้จริงหรือไม่ ? ในภาพยนตร์เรืองสตาร์วอร์ส สิงมีชีวิตต่างดาวทรงปัญญาปรากฏให้เห็นมากมายไปหมด ไม่ว่าจะเป็น ชิวแบ็กก้า นักบินอวกาศและเพือนขนยาวของฮัน โซโล, แอ็คบาร์ (นายพลหัวปลาทอง) ทีเป็นฝ่ายเสนาธิการวาง แผนการรบของพวกกบฏ, เจ้าพ่ออึงอ่างอวกาศอย่าง แจ็บบ้า เดอะฮัทท์ ไปจนถึง โยดา ปรมาจารย์เจไดทีเพิงได้ โอกาสวาดลวดลายการควงดาบแสงและใช้ “พลัง” ของเจได้เข้าต่อสู้กับพวกเหล่าร้ายไปในสตาร์วอร์สตอนล่าสุด (Episode 2) มาดเข้มๆของโยดา ปรมาจาย์เจได เมือพูดถึงเรืองสิงมีชีวิตทรงภูมิปัญญานอกโลก นักวิทยาศาสตร์ก็แบ่งออกได้เป็นสองพวกคือ พวกทีเชือว่าเป็น เรืองทีเป็นไปไม่ได้ หรือแทบจะเป็นไปไม่ได้ แนวคิดหลักสำหรับนักวิทยาศาสตร์ในกลุ่มนีก9็คือ สภาวะทีก่อให้เกิดชีวิต และเอือ9ต่อวิวัฒนาการบนโลกนัน9มีความจำเพาะมากเกินกว่าจะเชือว่ามี “โลกแห่งทีส%อง” ได้อีกในจักรวาล นักวิทยาศาสตร์อีกกลุ่มหนงึกลับมีความเชือว่า เรืองของสงิมีชีวิตทรงปัญญาต่างดาวคือเรืองทีคือ เป็นไปได้ แน่นอน และ ไม่แปลกอะไรเลย! นันก็คือ มีดาวเคราะห์จำนวนมากทีพร้อมจะเป็น “โลกแห่งที%สอง” ดร. แฟร็ง เดรก หัวหน้าสถาบัน SETI ทีมีหน้าทีค้นหาสิงมีชีวิตทรงปัญญานอกโลกและมีความเชือในแบบหลัง ได้เสนอสมการทใีช้ประมาณจำนวนอารยธรรมต่างดาว (เรียกว่า สมการเดรก) ไว้ มีรายละเอียดดังนี 9คือ โฉมหน้าของดร. แฟร็ง เดรก สมการเดรก โดยที N ก็คือจำนวนอารยธรรมต่างดาวทีเราอาจจะติดต่อสือสารกันได้, R* ก็คือ อัตราของการเกิดดาวฤกษ์ที เหมาะสม, Fp คือ สัดส่วนของดาวฤกษ์ทีมีดาวเคราะห์, Ne เท่ากับจำนวนดาวเคราะห์ต่อระบบดาวเคราะห์, fl หมายถึง สัดส่วนดาวเคราะห์ทีเกิดมีสงิมีชีวิตขึน9, fi คือ สัดส่วนดาวเคราะห์ทีมีสงิมีชีวิตภูมิปัญญาเกิดขึน9, fc คือ สัดส่วนดาว เคราะห์ทมีีการพัฒนาเทคโนโลยีเกิดขึน9 และ L ก็คือ ค่าช่วงชีวิตของอารยธรรมทีจะติดต่อสอืสารกันได้ เขาได้ประมาณด้วยสมการดังกล่าว (ทีฝ่ายไม่เห็นด้วยมองว่ามองโลกในแง่ดีเกินไป) และได้ผลลัพธ์ว่า น่าจะมี อายธรรมทรงภูมิปัญญาเกิดขึนในกาแล็กซีของเราในราว 10,000 – 100,000 อารยธรรม ! ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 10 / 45
  • 11. หากจะยกตัวอย่างระบบสุริยะของเราเอง ระยะห่างดังกล่าวก็จะครอบคลุมอย่ระหว่างตั-ูงแต่รอบวงโคจรของดาว ศุกร์ถึงดาวอังคาร ส่วนระยะห่างทีอยู่นอกเหนือระยะดังกล่าวก็จะมีโอกาสน้อยลงไปมาก แต่ทัง9นีร9ะยะห่างเพียง อย่างเดียวคงไม่พอ ยังมีปัจจัยอืนทีเข้ามาเกียวข้องอีกหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นเรืองของ ขนาดและมวลของ ดาวเคราะห์ ซึงจะไปมีผลต่อแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์อีกทีหนึง และนีก็คือ สาเหตุทีทำให้ดาวอังคารทีมีมวลเพียงหนึงในสิบของโลกมีบรรยากาศบางเบา และมีอุณหภูมิที พืน9ผิวดาวหนาวเหน็บเกินกว่าทนีำ9จะอยู่เป็นของเหลวได้ แม้ว่ายังมีโอกาสทีจะพบนำ9และชีวิตอยู่ใต้พืน9ผิวลงไปก็ ตาม ส่วนทีว่าจำเป็นต้องมีนำ9 และต้องเป็นนำ9ทีเป็น “นำ9เหลว” นัน9 ก็เพราะว่านำ9เป็นตัวทำละลายทีดีทีสุดชนิด หนงึ กล่าวคือ เกือบครึงหนึงของสารต่างๆ ทีเรารู้จักสามารถละลายได้ในนำ! นำ9จึงเป็นตัวกลางทีดีในปฏิกิริยา ทางชีวเคมีทุกอย่างในร่างกายสิงมีชีวิต และมีความสามารถในการเป็นตัวกลางในการถ่ายเทสารอาหาร, อากาศ และ ของเสียภายในร่างกายของสิงมีชีวิตได้ดีอีกด้วย ส่วนทีว่าต้องการ “นำ9เหลว” ก็เพราะว่า นำ9ในสถานะก๊าซ (ก็ “ไอน-ำ” นนัแหละครับ) จะยอมให้โมเลกุลของ สารเคมีอืนอยู่ไกลจนบางครัง9ก็ไกลเกินกว่าจะมีปฏิกิริยาต่อกันได้ ในขณะทีนำ9ในสถานะของแข็ง หรือพูดง่ายๆก็ “นํ-าแข็ง” นันแหละครับ ก็มีโครงสร้างและแรงยึดระหว่างโมเลกุลทีขัดขวางการเคลือนทีของโมเลกุลของสารอืนๆ นำ9ยังมีลักษณะเฉพาะตัวหลายอย่างกล่าวคือ นำ9ประกอบขึน9ด้วยอะตอมของไฮโดรเจนและออกซิเจน ซงึ ทราบกันดีอยู่แล้วว่าธาตุทีหาได้ไม่ยากนักในจักรวาล โดยเฉพาะไฮโดรเจนนัน9เป็นธาตุทมีีมากทีสุดอีกด้วย นอกจากนี 9 น-ำยังเป็นสารอย่างเดียวทีเ%รารู้จัก ทีม%ีความหนาแน่นในสถานะของเหลวมากกว่าของแข็งอีก ด้วย ! กาลเวลากับชีวิต ปัจจัยข้อต่อไปก็คือ ดาวเคราะห์เหล่านัน9ต้องมีระยะเวลามากเพียงพอ ให้สงิมีชีวิตได้มีพัฒนาการจาก รูปแบบทีมีความซับซ้อนน้อยไปสู่ความซับซ้อนทมีากยิงขึน9 นนัก็คือระบบดาวฤกษ์ทีดาวเคราะห์ดวงนัน9อาศัยอยู่ต้อง มีความเสถียรพอสมควร ยกตัวอย่าง ดวงอาทิตย์ของเรานัน9มีอายุราว 5 พันล้านปีแล้ว และคาดหมายกันว่าน่าจะมี อายุได้อีกราว 3-4 พันล้านปี เวลาดังกล่าวทำให้สงิมีชีวิตมีโอกาสเกิดและพัฒนาจนมีลักษณะหลากหลายดังทีเห็นอยู่ในปัจจุบัน สิงมีชีวิตขนาดจิkวหลากรูปแบบทีเป็นผลพวง ระหว่างกระบวนการวิวัฒนาการบนโลก ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 11 / 45
  • 12. หากดวงอาทิตย์มีมวลมากขึน9เช่น มีมวลเป็น 10 เท่าของทีเป็นอยู่หรือมากกว่านัน9 มันก็จะมีอัตราการเผา ผลาญพลังงานทีรวดเร็วขึน9และอาจจะมีอายุอยู่ได้ราว 10 ถึง 100 ล้านปีเป็นอย่างมาก ซงึไม่น่าจะพอเพียงต่อการเกิด สิงมีชีวิตทีมีลักษณะซับซ้อนได้ เพราะจากหลักฐานซากฟอสซิลระบุว่า การทีจะเกิดสิงมีชีวิตทีมีสติปัญญาชันสูงอย่างมนุษย์เราบนโลก ได้นันกินเวลายาวนานถึงราว 4,000 ล้านปีเลยทีเดียว ! การเกิดสงิมีชีวิตชัน9สูงในพิภพอนืนัน9ก็อาจจะต้องการเวลาสำหรับกระบวนการวิวัฒนาการมากหรือน้อยกว่านี9 ไม่มากนักก็เป็นได้ นอกจากปัจจัยหลักๆ ทีกล่าวไปแล้ว ปัจจัยย่อยๆทีสำคัญอีกหลายข้อก็มีผลต่อการเกิดชีวิตทรงภูมิปัญญา ทัง9สิน9 ไม่ว่าจะเป็น ความเร็วในการหมุนรอบตัวเอง (มีผลต่อระดับอุณหภูมิระหว่างวัน) ระดับความแรงของ สนามแม่เหล็ก (ช่วยป้องกันการชนของอนุภาคความพลังงานสูงในอวกาศ) ความเอียงของแกนการหมุนของ ดาวเคราะห์ (มีผลต่อการเปลยีนแปลงของฤดูกาล) ระดับของนำขึนนำลง (มีผลต่อโครงสร้างและพฤติกรรมของ สิงมีชีวิตในทะเลหรือบริเวณใกล้เคียง) รวมไปถึง ความถีในการถูกชนด้วยดาวเคราะห์น้อย ทีอาจจะมีผลเปลยีนโฉมหน้าของวิวัฒนาการบนดาว เคราะห์ (แบบเดียวกับทีทำให้ไดโนเสาร์บนโลกสูญพันธ์ุและเกิดการ “บูม” ของสัตว์เลีย9งลูกด้วยนมขึน9มาแทน) หรือ แม้แต่อาจจะถึงกับมีผลกวาดล้างสงิมีชีวิตทัง9หมดก็ได้เช่นกัน ! มนุษย์ต่างดาวกับเฟอร์มีพาราด็อกซ์ ดังทีได้กล่าวไว้แต่ตอนต้นว่า แฟร็ง เดรก ได้สร้างสมการเดรกขึน9และประมาณว่า เฉพาะกาแล็กซีของเรา เท่านัน9ก็น่าจะมีอายธรรมทรงภูมิปัญญาเกิดขึน9มากมายถึง 10,000 – 100,000 อารยธรรมเข้าไปแล้ว ถ้าเป็นทัง9เอกภพ ก็น่าจะมีมากมายมหาศาลเอาเลยทีเดียว แต่ทางฝ่ายทีไม่เห็นด้วยก็แย้งว่า ถ้าเช่นนัน9มนุษย์ต่างดาวทีว่าทรงภูมิปัญญา เหล่านัน9 หายไปไหนกันหมดเสียล่ะ เรียกคำแย้งนีว9่าเป็น เฟอร์มี พาราด็อกซ์ นน%ัน่ะสิครับ … หายไปไหนกันหมดล่ะเนีย% ? มนุษย์ต่างดาวจะโดยสารยานอวกาศของเขา มาเยือนโลกสักวันหนึง … จริงหรือ ? ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 12 / 45
  • 13. เหตุผลทีฝ่ายสนับสนุนคิดออกและเสนอไว้ก็คือ อาจจะเป็นเพราะว่าอารยธรรมต่างดาวเหล่านัน9ได้ทำลาย ตัวเองกันไปหมด ก่อนทีจะได้มีโอกาสพัฒนาเทคโนโลยีการท่องอวกาศ (อันนีค9งได้ไอเดียมาจากชีวิตจริงก็คือกรณีของ “สงครามเย็น” ระหว่างสหรัฐและอดีตสหภาพโซเวียตทีทำท่าจะหำ9หนักัน ด้วยอาวุธนิวเคลียร์ทีมีอยู่มากเกินพอทจีะ ทำลายโลกทัง9ใบได้) มิฉะนัน9ก็อาจจะเป็นได้ว่ามนุษย์ต่างดาวได้มาเยือนพวกเราแล้ว แต่พวกเขาต้องการให้การมาเยือนเป็น ความลับ (อันนีฟ9ังดูคล้ายๆกับพล็อตเรือง 2001 Space Odyssey แต่ว่าอันทีจริง … จะว่าไปมนุษย์ต่างดาวพวกนี9 อาจจะเผลอทิง9ร่องรอย ให้มนุษย์โลกถ่ายรูปได้หลายครัง9หลายคราแล้วก็ได้ … ว่าเข้าไปนนั) อีกทางหนงึทีเป็นไปได้ก็คือ อุปสรรคเรืองระยะทางระหว่างดวงดาวอาจจะทำให้มนุษย์ต่างดาวเหล่านัน9ยัง มาเยือนเราไม่ได้ (เช่นเดียวกับทีเราก็ยังไปเยือนโลกอืนไม่ได้เช่นกัน) ไม่ว่าจะเป็นเพราะเทคโนโลยียังก้าวหน้าไม่ถึง หรือมีเทคโนโลยีทีเพียงพอแล้ว แต่เทคโนโลยีเหล่านัน9ยังมีราคาแพงเกินกว่าจะลงทุนได้ ไม่เช่นนัน9ก็อาจจะเป็นเพราะทีตัง9ของระบบสุริยะของเราไม่น่าดึงดูดใจพอ และมนุษย์ต่างดาวเหล่านัน9เลือก ทีจะเดินทางไปในเส้นทางทีมีดาวฤกษ์และดาวเคราะห์หนาแน่นมากกว่า (อย่างเช่นบริเวณใกล้ศูนย์กลางของจักรวาล) เพราะโอกาสจะพบสิงมีชีวิตทรงปัญญาอืนจะมีมากกว่าตามไปด้วย ความเป็นไปได้สุดท้ายก็คือ ไม่แน่ว่าพวกมนุษย์ต่างดาวเหล่านัน9อาจจะชอบทีจะนอนอยู่กับบ้านทีแสนจะ อบอุ่นจิบเครืองดืมและทานอาหารอร่อยๆ มากกว่าจะเดินทางรอนแรมมาไกลแสนไกล เพราะว่า … พวกเขาสามารถ สังเกตเราได้ทุกเมือด้วย “พลัง” แบบเดียวกับเหล่าเจไดทัง9หลาย เหมือนกับทีเราดูละครหลังข่าว … ก็เป็นได้ (อิอิอิ) เราจะมาดูในแง่มุมทางชีววิทยาให้ละเอียดมากขึน9อีกสักหน่อยนะครับ กำเนิดและวิวัฒนาการของเราต่างก็ผูกพันแน่นแฟ้นกับเหตุการณ์ในจักรวาลอันไกลโพ้น การสำรวจจักรวาลก็เป็นการเดินทางผจญภัยสู่การค้นพบตัวตนของเราเองแบบหนงึ (การศึกษา) ธรรมชาติของชีวิตบนโลก และการค้นหาชีวิตในแห่งหนอืนต่างก็เป็น สองด้านของคำถามอันเดียวกัน – เป็นการค้นหาว่าเราคือใคร คาร์ล เซแกน, หนังสือ Cosmos ในสองตอนทีผ่านมา เราได้พิจารณากันเกียวกับความเป็นไปได้ทีจะเกิดพิภพทีมีความหลากหลาย และโอกาส ทีจะมีสิงมีชีวิตต่างดาวทีทรงภูมิปัญญามากมายดังทีปรากฏในภาพยนตร์ รวมถึงคำถามทีว่าหากมีมนุษย์ต่างดาว มากมายจริง ทำไมพวกเขาจึงไม่ปรากฏตัวให้เราได้พบเห็นเป็นเรืองเป็นราวเสียที ในตอนนีเ9ราจะมาดูกันให้ละเอียดขึน9เกียวกับรูปแบบของสงิมีชีวิตต่างดาวทีอาจจะเกิดขึน9ได้ โดยอาศัยความรู้ เกียวกับสิงมีชีวิตบนโลกเป็นฐาน มนุษย์ต่าวดาวตัวเขียว, เอเลียนส์ และ อีที หากเราเชือในสมมติฐานทีว่า เป็นไปได้ทีจะมีสงิมีชีวิตเกิดขึน9ในโลกในอืนนอกเหนือจากโลกนี 9 คำถามต่อมาก็ คือ สิงมีชีวิตเหล่านันน่าจะมีลักษณะเป็นเช่นไร ? จะมีลักษณะแปลกพิสดารนับร้อยนับพันแบบอย่างที%เราเห็นในภาพยนตร์เรื%องสตาร์ วอร์สได้หรือไม่ ? ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 13 / 45
  • 14. หรือ จะเป็นไปได้ไหมทีจะมีลักษณะเป็นมนุษย์ต่างดาวตัวเขียวตัวเล็กตาโตไม่มีปาก (หรือทีบางคนชอบระบุ ว่าเป็น มนุษย์ดาวอังคาร) แบบทีเห็นในภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดสมัยก่อน ? หรือ จะเป็นไปได้ไหมทีเราจะเจอแมลงอวกาศ จอมวายร้าย ทีมีการเปลียนโครงสร้างร่างกาย หรือฟักตัวแบบในภาพยนตร์เรืองเอเลียน(ส์) ? แล้วไหนยังจะมี มนุษย์ต่างดาวคอยาวหน้าตาพิลึกแต่จิตใจดี และเอาแต่อยากจะโทรศัพท์กลับบ้าน อย่างในเรือง ET หรือ มนุษย์ต่าง ดาวใจดีทีมาทำ “ฝันทีเป็นจริง” ให้กับหุ่นยนต์เด็กน้อยในเรือง AI ล่ะ สิงมีชีวิตต่างดาวทรงปัญญาแบบหนึงที มนุษย์จินตนาการไว้ (จากเรือง E.T.) จะตอบคำถามเรืองนีใ9ห้ดี น่าจะต้องเริมจากการพิจารณา และทำความเข้าใจลักษณะของสงิมีชีวิตบนโลก เราเสียให้ถ่องแท้ก่อน … หรืออย่างน้อยทีสุดก็ให้พอได้เป็นแนวคิด บนโลกในนีเ9องเราก็สังเกตเห็นได้ไม่ยากว่า ตลอดระยะเวลา 4,000 ล้านปีแห่งวิวัฒนาการของสงิมีชีวิตบน โลก ธรรมชาติได้สรรสร้างสิงมีชีวิตมีลักษณะทีหลากหลายจนพิสดารอย่างเหลือเชือ ยกตัวอย่าง เช่น เราสามารถพบ เห็นสงิมีชีวิตทมีีอวัยวะ หรือ เครืองช่วยป้องกันอันตรายทีผิดแผกกันมากมาย ไม่ว่าจะเป็น อุ้งเล็บ, เขีย9ว, งา, ฟัน, นอ, เขา, เกล็ด, พิษ, เหล็กใน, ขน, เปลือก, กระดอง, ใย, กลิน, เมือก หรือแม้แต่ กระแสไฟฟ้า เป็นต้น สงิมีชีวิตต่างๆมีถินฐานทีอยู่ทเีราอาจจะพบได้ทัง9ในอากาศ, ในนำ9 (นำ9จืด, นำ9กร่อย, นำ9ทะเล, ใต้ทะเลลึก, นำ9พุร้อน), ในนำ9มัน, ในฝุ่นผง, ในดิน, ในหิน, ในโคลน, ในทราย, ใต้แผ่นดินลึกนับร้อยเมตร, ในนำ9แข็งทีขัว9โลก นักวิทยาศาสตร์พบว่าแบคทีเรียบางชนิดอาศัยอยู่ได้ในก้อนเมฆด้วยซ-ำไป ! ทีดูจะเด็ดไม่แพ้กันก็คือ เราสามารถพบสงิมีชีวิตทเีป็น “ปรสิต” ทีปรับตัวจนสามารถอยู่ได้ทัง9แทบจะทุก ส่วนของ “ร่างกายสิงมีชีวิตอืน” ไม่ว่าจะบนผิวหนัง (หรือบนเปลือกในกรณีของพืช), ในอวัยวะภายใน, ในเลือด, ในเยือ เมือก, ในกล้ามเนือ9, ในอวัยวะภายในต่างๆ (รวมทัง9ตับ, ปอด และ สมอง) หรือ แม้กระทงัในของเสียของสงิมีชีวิตอืน ! ดูเหมือนว่า จะมีส%ิงมีชีวิตรูปแบบต่างๆ แทรกซึมอยู่ทุกอณูของทุกส%ิงทุกอย่างบนโลกใบนี - นักวิทยาศาสตร์ประมาณว่า ตลอดอายุขัยของโลกนับแต่เกิดมีสงิมีชีวิตเกิดขึน9มาชนิดแรก น่าจะมีรูปแบบ ของชีวิตทีแตกต่างกันมากถึงหมืนล้านสปีชีส์หรือมากกว่า ! หากมีใครหยิบยกเอาสงิมีชีวิตทีเราไม่เคยเห็น หรือรู้จักมาก่อนแล้วบอกว่า … ได้เจ้าตัวนมีาจากนอกโลก คุณคิดหรือว่าคุณจะแยกความแตกต่างได้ ? คำตอบคือ น่าจะยากมากๆๆๆ ทีจะบอกได้ ! ตัวอย่างง่ายๆ ก็คือ คุณๆ หลายคนคงจะเคยเห็นภาพถ่ายใต้กล้องจุลทรรศน์ของแมลงต่างๆ ทีบางครัง9ก็ ประหลาดชวนพิศวงเพราะปกติเราไม่เคยเห็นมันเลย เพราะมันเล็กเกินกว่าทีเราจะสังเกตได้สะดวกด้วยตาเปล่าได้ ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 14 / 45
  • 15. แต่หากเราเชือว่า ”กฎทางฟิสิกส์” เป็นกฎทีสากลและเหมือนกันหมดทุกแห่งในจักรวาล อย่างน้อยทีสุด เราก็น่าจะบอกได้สิงมีชีวิตทีเราเห็นในภาพยนตร์เรืองสตาร์วอร์ส น่าจะมีความเป็นได้ (หรือสมเหตุสมผล) ทีจะเกิดขึน9 บนดาวเคราะห์ดวงนัน9ๆ หรือไม่ หลายชีวิตในสตาร์วอร์ส จริงอยู่ว่าอาจจะมีสงิมีชีวิตหลากหลายนับร้อยนับพันแบบทีปรากฏให้เห็นในภาพยนตร์เรืองสตาร์ วอร์ส แต่ หากสังเกตให้ดีจะพบว่าอาจจะแบ่งได้เป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ เท่านัน9ก็คือ พวกทีมีโครงสร้างทัวไปคล้ายกันหรือร่วมกันกับมนุษย์ (humanoid aliens) กล่าวคือ มีแขนสองข้างทใีช้ หยิบจับทำงานต่างๆ, มีขาสองข้างไว้สำหรับเดิน และ มีศีรษะเป็นทีตัง9ของอวัยวะรับสัมผัสหลัก ๆของร่างกาย (ตา, หู, จมูก และ ปาก) ตัวอย่างสงิมีชีวิตในกลุ่มนีก9็ได้แก่ ปรมาจารย์โยดา, ชูแบ็กก้า นักบินคู่หูของฮัน โซโล, จาร์ จาร์ บิงส์ ตัวละครดิจิทัลทีพูดมากและขีโ9ม้, นายพล (หัวปลาทอง) แอ็กค์บาร์ เสนาธิการคนสำคัญของฝ่ายกบฏ, ตัวอีวอกส์, มนุษย์ทราย, ฯลฯ สงิมีชีวิตอีกกลุ่มหนงึได้แก่ พวกทีมีโครงสร้างทัวไปทีต่างจากมนุษย์ (non-humanoid aliens) ได้แก่ เจ้าพ่อ (องึอ่างอวกาศ) แจ็บบ้า เดอะฮัทท์, ตัวตวนตวน, ทากอวกาศ, ตัวซาร์แล็กซ์, ตัวแบนธาร์ เป็นต้น สงิมีชีวิตกลุ่ม หลังนีเองทีทำให้มนุษย์ต่างดาวในสตาร์วอร์สมีความเฉพาะตัว, ดูมีเลือดเนือ9 และ เป็นจริงเป็นจังมากกว่าภาพยนตร์ เกียวกับมนุษย์ต่างดาวทีมีมาก่อนหน้านัน9 ทีมักจะมีรูปร่างคล้ายคนไปเสียทัง9นัน9 แต่ข้อทีน่าสังเกตก็คือ ส%ิงมีชีวิตต่างดาวทีร%ูปร่างต่างจากมนุษย์มักจะได้รับบทบาททีถ%ูกเหยียดกลายๆว่าถ้า ไม่เป็นพวกคดโกงไม่ซื%อ ก็มักจะเป็นพวกทีม%ีวิวัฒนาการต%ำและเป็นพลเมืองชัน-สอง (จนไปถึงชน-ัลอยหรือชน-ัสาม) ของ จักรวาล ! นายพลแอ็กค์บาร์ ขณะบัญชาการรบกองทัพฝ่ายบฏ ชูแบ็กก้า นักบินคู่หูของฮัน โซโล ตัวตวนตวน สัตว์พาหนะสำคัญของนักรบฝ่ายกบฏบนดาวนําแข็งโฮธ เจ้าพ่ออึงอ่างอวกาศ แจ็บบ้า เดอะฮัทท์ในแบบเต็มตัวและโคลสอัปเฉพาะหน้า ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 15 / 45
  • 16. โฉมหน้าทากอวกาศในเรืองสตาร์วอร์ส ตัวไมน็อกส์ทีเป็นอาหารของทากอวกาศ อันทีจริงแล้วลักษณะโครงสร้างทีคล้ายมนุษย์ (ไม่น่าจะ) มีความเกียวข้องสัมพันธ์โดยตรงกับระดับความ เฉลียวฉลาดของสิงมีชีวิตแต่อย่างใด ลองนึกถึงปลาโลมาหรือปลาวาฬทีสามารถติดต่อกันด้วยสัญญาณเสียงทีซับซ้อน แม้แต่ช้างก็สามารถสือสารกันด้วยเสียงร้องทีมีรูปแบบเฉพาะและมีลักษณะซับซ้อน ดังทีนักวิทยาศาสตร์เพิงเริมจะ สามารถจัดจำแนกได้บ้างแล้วเช่นกัน ถ้าเช่นนันมนุษย์ต่างดาวต้องการ “ลักษณะเฉพาะ” อะไรหรือไม่ ? นักวิทยาศาสตร์บางท่านเชือว่ามีปัจจัยหลักทจีะมากำหนดรูปร่างอยู่สามอย่างก็คือ ข้อแรก น่าจะมี โครงสร้างทีเอืออำนวยต่อการสร้างและสือเสียงและภาษา (ทีอาจจะไม่เหมือนของมนุษย์ก็ได้) รวมไปถึงอวัยวะที ใช้ฟังหรือรับเสียงด้วย การสอืสารติดต่อได้ในเผ่าพันธ์ุเดียวกันน่าจะมีผลอย่างมากต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและ เทคโนโลยี ปัจจัยในข้อต่อมาก็คือ น่าจะต้องมีอวัยวะทีมีความสามารถในการหยิบจับ ซงึนอกจากจะสำคัญต่อการ ต่อสู้เอาตัวรอดแล้ว ก็ยังมีความสำคัญต่อการสร้าง, บันทึกและถ่ายทอดวัฒนธรรมและเทคโนโลยีสู่รุ่นถัด ๆ ไป เช่นกัน กล่าวให้ละเอียดขึน9อีกนิดก็คือ น่าจะมีนิว9หรืออวัยวะทคีล้ายคลึงกับนิว9ทีสามารถพับขวางได้กับส่วนอืนของ มือหรือระยางค์นัน9 ๆ ท้ายทีสุดก็คือ น่าจะต้องมีดวงตา (หรืออวัยวะในทำนองเดียวกัน) ทีมีประสิทธิภาพสูง สามารถ มองเห็นในช่วงคลืนแม่เหล็กไฟฟ้าทีเหมาะสม, สามารถมองได้ไกลและมองเห็นเป็น 3 มิติ (มีความชัดลึก) ซึงจะเป็น ประโยชน์อย่างมากต่อการต่อสู้เพือความอยู่รอด (ใช้ตามล่าและหาอาหาร) ทัง9ยังรวมไปถึงการหลบหลีกศัตรู นอกเหนือจากนัน อวัยวะอืนๆ ก็น่าจะผิดแผกกันไปได้อย่างไม่น่าจะมีข้อจำกัดอันใดอีก ! ยิงไปกว่านัน9หากพิจารณาลึกลงไปถึงอะตอมทเีป็นธาตุองค์ประกอบพืน9ฐานก็ยิงน่าสนใจไม่น้อย ทาง ทีมงานผู้สร้างสตาร์วอร์สได้จินตนาการไว้ให้ ทากอวกาศเป็นสัตว์ทีมีโครงสร้างจากธาตุซิลิกอน ซงึก็จะทำให้มัน แตกต่างจากสงิมีชีวิตอืนๆบนโลกทีมีโครงสร้างทีใช้ธาตุคาร์บอนเป็นหลักทัง9สิน9 ยังไม่พบสิ%งมีชีวิตที%ใช้ธาตุซิลิกอนเลยแม้แต่ชนิดเดียว! แต่ทีน่าสนใจไปกว่านัน9ก็คือ กำลังมีความพยายามทำการวิจัยทีอาจจะนำไปสู่สร้างคอมพิวเตอร์แบบใหม่ทีไม่ เคยมีมาก่อน เมือปี 2544 ทีผ่านมา นักวิทยาศาสตร์ทีสถาบันวิจัยแม็ก แพลงค์ ได้พิสูจน์ว่ามีการส่งผ่านสัญญาณ- ไฟฟ้าได้ระหว่างส่วนของเซลล์ประสาทของหอยทาก และ ส่วนของวงจรในแผ่นชิปทีเซลล์เหล่านัน9เติบโตติดอยู่ นนัก็คือ หากงานทางด้านนีไ9ด้รับการพัฒนาต่อไปมากพอ ไม่แน่ว่าสักวันหนงึเราอาจจะมีคอมพิวเตอร์ทีจะ ผสมผสานการทำงานระหว่างวงจรบนแผ่นชิป (ทีมีธาตุซิลิกอนเป็นองค์ประกอบหลักอันหนึง) กับเซลล์สมองที (ทีมีธาตุ คาร์บอนเป็นเหลัก) เลีย9งบนแผ่นชิปนัน9ก็เป็นได้ !!! ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 16 / 45
  • 17. เอกภพของพวกชีวิตสุดขัว หากพิจารณาโดยใช้วิวัฒนาการบนโลกเป็นเกณฑ์ ก็จะเป็นไปได้อย่างยิงว่าสิงมีชีวิตต่างดาวส่วนใหญ่ ทีเราอาจจะพบบนดาวเคราะห์ดวงอืน แทนทีจะมีลักษณะซับซ้อนและพิสดารแบบในภาพยนตร์เรือง สตาร์วอร์ส กลับน่าจะมีลักษณะคล้ายกับแบคทีเรียบนโลกมากกว่าอย่างอืน เพราะแบคทีเรียชนิดแรก ประมาณกันว่าน่าจะเกิดขึน9ในราว 3.85 พันล้านปีก่อน และ เป็นสงิมีชีวิตชนิดเดียวบนโลกอยู่นานนับพันล้านปี ก่อนทีสิงมีชีวิตทีซับซ้อนกว่าคือ ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์จะเกิดเมือราว 1 พันล้านปีทีแล้ว สงิมีชีวิตชัน9สูงจริงๆ อย่างสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชนิดต่างๆ เพิงเกิดมีขึน9บนโลกได้ไม่เกิน 600-700 ล้านปีทีแล้ว ในขณะทีสงิมีชีวิตทรงปัญญาอย่างมนุษย์มีทีมาเก่าแก่ไม่เกิน 1.5 ล้านปีเท่านัน9 สอดคล้องกับทีผม ได้เกรินไว้บ้างแล้วในตอนก่อนว่า สิ%งมีชีวิตทรงปัญญาต้องการเวลาที%มากพอในกระบวนการวิวัฒนาการ แต่แม้ว่าแบคทีเรียจะมีกำเนิดมานานมากว่าสงิมีชีวิตอืนใด แต่มันก็ยังคงสืบเผ่าพันธ์ุอยู่ต่อมาได้ จนปัจจุบัน ยิงไปกว่านัน9 แบคทีเรียยังเป็นสิงมีชีวิตทีมีทัง “จำนวน” และ ”ชนิด” มากมายทีสุดอย่างที สิงมีชีวิตอืนไม่อาจจะเทียบด้วยได้ โดยทีกลยุทธ์สำคัญของแบคทีเรียเหล่านีก9็คือ ความสามารถในการผัน แปรลักษณะทางพันธุกรรมไปทีละน้อย (เรียกว่าเกิด มิวเตชัน (mutation)) จนมีความหลากหลาย และความ- หลากหลายทเีกิดขึน9นี 9ก็จะทำให้พวกมันกลุ่มใดกลุ่มหนงึ (หรือหลายกลุ่ม) หลบรอดการคัดเลือกโดย สภาพแวดล้อมมาได้ตลอด กล่าวโดยเปรียบเทียบก็คือ แบคทีเรียใช้วิธีแทงหวยแบบสุ่มจำนวนมากๆ (แบบไม่ซำ9) จึงมีโอกาสถูก หวย (คือรอดการคัดเลือกตามธรรมชาติ) มากกว่า ในขณะทีมีสิงมีชีวิตจำนวนมากมายทีมีความหลากหลาย น้อยกว่าต่างก็ทยอยสูญสิน9เผ่าพันธ์ุไปมากต่อมากแล้ว นำพุร้อนในอุทยานแห่งชาติเยลโล่ สโตน ของสหรัฐ ก้อนหินทีได้จากขัวโลกก้อนนี บางคนเชือว่า ก็เป็นบ้านของแบคทีเรียหลายชนิดเช่นกัน มีแบคทีเรียจากดาวอังคารอาศัยอยู่ จากความสำเร็จในการปรับตัวระดับสุดยอดของแบคทีเรียดังทีกล่าวมา ทำให้อาจจะมองในมุมหนึงได้ ว่าอันทีจริงแล้ว สิงมีชีวิตทีครองโลกอยู่ในทุกวันนีอันทีจริงแล้วไม่ใช่มนุษย์ แต่เป็นแบคทีเรียกระจ้อย- ร่อยพวกนีนีเอง ! ด้วยความสำคัญของสงิมีชีวิตจำพวกแบคทีเรียพวกนีน9ีเอง ทำให้วิทยาศาสตร์สาขาทีศึกษาความ- เป็นไปได้หรือมีอยู่ของสงิมีชีวิตนอกโลกทีมีชือว่า ดาราชีววิทยา (Astrobiology) หรือ ชีววิทยานอกโลก (Exobiology) ได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาสงิมีชีวิตเหล่านีท9ชีมชอบอาศัยอยู่ในสงิแวดล้อมทีสุดขัว9มากๆ ไม่ ว่าจะเป็นในนำ9พุร้อน, ในทีมีความหนาวเย็นผิดธรรมดามากๆ เช่น ในนำ9แข็งทีขัว9โลก, ในสภาวะทมีีความเป็น กรดด่างมากๆ เป็นต้น เพราะความรู้เกียวกับสงิมีชีวิตสุดขัว9พวกนีเ9องทีน่าจะบอกข้อมูลแก่เราคร่าว ๆ ว่า น่าจะมีสงิมีชีวิตนอก โลกได้หรือไม่ และ ถ้าเป็นไปได้น่าจะมีลักษณะแปลกและแตกต่างไปจากสิงมีชีวิตบนโลกมากน้อยเพียงใด ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ 17 / 45