SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
Baixar para ler offline
เอกสารความรู้เกียวกับโรคไวรัสอีโบลา ขององค์การอนามัยโลก
ทีมา : http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs103/en/
โรคไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease)
แปลโดย ดร.นําชัย ชีวววรรธน์ิ , ฝ่ายสือวทยาศาสตร์ สวทชิ ., 31 ก.ค. 2014
แผ่นเอกสารข้อเท็จจริง N°103, อัพเดทล่าสุดโดย WHO, เม.ย. 2014
ข้อเท็จจรงหลักิ
• โรคไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease, EVD) เดิมรู้จักกันในชือ โรคไข้เลือดออกอีโบ
ลา (Ebola haemorrhagic fever) เป็นโรคร้ายแรง ทีบ่อยครัNงทําให้เสียชีวิต
• การระบาดของ EVD มีอัตราการเสียชีวิตสูงถึง 90%
• การระบาดของ EVD โดยส่วนใหญ่เกิดขึNนในหมู่บ้านห่างไกลแถบแอฟริกากลางและ
ตะวันตก ใกล้กับพืNนทีปาเขตร้อน่
• ไวรัสส่งผ่านจากสัตว์ปาไปยังคนและแพร่กระจายในกลุ่มประชากรผ่านการถ่ายทอด่
ให้กันโดยคน
• ค้างคาวผลไม้ในสกุล Pteropodidae เป็นสัตว์ฟกตัวหลักของไวรัสอีโบลาั
• ผู้ปวยหนักต้่ องการการดูแลรักษาอย่างเข้มงวด ยังไม่มีวัคซีนหรือวิธีการรักษาแบบ
จําเพาะทีได้รับการรับรองให้ใช้ในคนหรือสัตว์
อีโบลาระบาดขึNนครัNงแรกในปี 1976 พร้อมๆ กันสองแห่งคือ ในเมือง Nzara ประเทศซูดาน
และในเมือง Yambuku ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ในกรณีหลังเกิดขึNนทีหมู่บ้าน
แห่งหนึงทีตัNงอยู่ใกล้กับแม่นํNาอีโบลา (Ebola River) ซึงกลายมาเป็นชือของโรคนีNในทีสุด
ไวรัสในสกุลอีโบลา (Genus Ebolavirus) เป็น 1 ในสมาชิก 3 ชนิดของไวรัสวงศ์
Filoviridae (filovirus) ทีเหลือคือ สกุล Marburgvirus และ Cuevavirus ในสกุล Ebolavirus
มีสปีชีส์ทีแตกต่างกัน 5 สปีชีส์คือ
1. Bundibugyo ebolavirus (BDBV)
2. Zaire ebolavirus (EBOV)
3. Reston ebolavirus (RESTV)
4. Sudan ebolavirus (SUDV)
5. Taï Forest ebolavirus (TAFV)
BDBV, EBOV และ SUDV เกียวข้องกับการระบาดใหญ่ของ EVD ในแอฟริกา ขณะที
RESTV และ TAFV ไม่เกียวข้อง สปีชีส์ RESTV ทีพบในประเทศฟิลิปปินส์ และสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน ติดต่อสู่คนได้ แต่ยังไม่พบกรณีทีก่อให้เกิดอาการเจ็บปวยหรือเสียชีวิต่
การแพร่กระจายของโรค
อีโบลาติดได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับเลือด, สารคัดหลัง, อวัยวะ หรือของเหลวแบบอืนๆ จาก
สัตว์ทีติดเชืNอ ในแอฟริกามีหลักฐานว่า การติดเชืNอเกิดจากการเกียวข้องสัมผัสกับชิมแปนซี,
กอริลล่า, ค้างคาวผลไม้, ลิง, แอนทีโลปปา่ (forest antelope) และเม่น ซึงปวยหรือตาย่ หรือ
อยู่ในปาฝน่
อีโบลาแพร่กระจายเข้าชุมชนผ่านการติดต่อจากคนสู่คน โดยการติดเชืNอเกิดจากการสัมผัส
โดยตรง (ผ่านผิวหนังทีถลอกหรือผ่านเยือบุ) กับเลือด, สารคัดหลัง, อวัยวะ หรือของเหลว
อืนๆ จากร่างกายของผู้ติดเชืNอ และผ่านการสัมผัสทางอ้อมจากสิงแวดล้อมทีปนเปืNอน
ของเหลวเหล่านัNน พิธีฝงศพทีผู้มาั ร่วมไว้อาลัยสัมผัสโดยตรงกับร่างกายของศพมีส่วนสําคัญ
ในการแพร่กระจายของอีโบลาเช่นกัน ผู้ทีรอดชีวิตมาได้ยังคงความสามารถในการส่งผ่านเชืNอ
ไวรัสทางนํNาเชืNอได้นานถึง 7 สัปดาห์ภายหลังจากหายจากโรคแล้ว
บ่อยครัNงทีมีรายงานการติดเชืNอในบุคลากรการแพทย์ขณะกําลังรักษาผู้ปวยทีสงสัยหรือยืนยัน่
ว่าติดเชืNอแล้ว ซึงอาจเกิดจากการสัมผัสอย่างใกล้ชิดกับผู้ปวย่ โดยไม่ได้ควบคุมหรือ
ระมัดระวังตัวตามข้อกําหนดอย่างเคร่งครัด
ในการติดเชืNอจากการสัมผัสกับลิงหรือสุกรทีติดเชืNออีโบลาแบบ Reston หลายกรณีเกิดขึNนใน
คนโดยไม่ปรากฏอาการเจ็บปวยใดๆ่ ดังนัNนดูเหมือน RESTV จะมีความสามารถในการก่อ
โรคในคนตํากว่าอีโบลาสปีชีส์อืนๆ
อย่างไรก็ตาม หลักฐานดังกล่าวมาจากกรณีของชายหนุ่มสุขภาพดีเพียงรายเดียว จึงอาจจะ
เป็นการด่วนสรุปเกินไปทีจะแปลผลด้านสุขภาพของไวรัสดังกล่าวให้ครอบคลุมประชากร
มนุษย์ทัNงหมด เช่น ครอบคลุมผู้ทีมีระบบภูมิคุ้มกันไม่ดีเท่า หรือคนทีอยู่ระหว่างการรักษาตัว,
คนตัNงครรภ์ และเด็ก จําเป็นต้องมีการศึกษา RESTV เพิมขึNนก่อนทีจะสรุปได้อย่างแน่ชัด
เกียวกับความสามารถในการก่อโรค และความรุนแรงของโรคของไวรัสชนิดนีNในมนุษย์
สัญญาณหรืออาการป่วย
EVD ก่อโรคแบบเฉียบพลันและรุนแรง ซึงบ่อยครัNงพิจารณาได้จากการมีไข้อย่างปุบปบั , การ
รู้สึกไม่สบายหรือร่างกายอ่อนแออย่างมาก, เจ็บปวดกล้ามเนืNอ, ปวดหัว และเจ็บคอหอย
ตามมาด้วยการอาเจียน, ท้องเสีย, เกิดผืน, ไตและตับล้มเหลว และในบางกรณีอาจพบการตก
เลือดทัNงภายในและภายนอกร่างกาย การศึกษาในห้องปฏิบัติการพบว่า เซลล์เม็ดเลือดขาว
และเกล็ดเลือดลดตําลง และมีเอนไซม์ตับเพิมมากขึNน
ผู้ทีติดเชืNอนัNนตราบใดทียังมีไวรัสและสารคัดหลังอยู่ในตัว พบว่าก็ยังสามารถแพร่เชืNอได้ ดัง
กรณีตัวอย่างของชายคนหนึงทีติดเชืNอในห้องปฏิบัติการ ยังพบไวรัสอีโบลาได้จากนํNาเชืNอ 61
วันหลังจากเริมปวย่
ช่วงระยะฟกตัวั (ช่วงเวลาหลังจากติดเชืNอไวรัสจนเริมมีอาการ) อยู่ที 2-21 วัน
การวนจฉัยโรคิ ิ
มีหลายโรคทีควรวินิจฉัยแยกแยะและตัดออกก่อนทีจะวินิจฉัยว่าเป็น EVD คือ มาลาเรีย, ไข้
ไทฟอยด์, ชิเกลล่า, อหิวาตกโรค, โรคฉีหนู, กาฬโรค, ริกเกตเซีย, ไข้กลับ, ไข้สมองอักเสบ,
ตับอักเสบ, และโรคไข้เลือดออกอืนๆ ทีเกิดจากไวรัส การวินิจฉัยว่าติดเชืNอไวรัสอีโบลาอย่าง
แน่ชัด ทําได้ด้วยวิธีการทดสอบหลายแบบดังนีN
• antibody-capture enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) (อีไลซา)
• antigen detection tests (การตรวจแอนติเจน)
• serum neutralization test (การตรวจซีรัมนิวทรัลไลเซชัน)
• reverse transcriptase polymerase chain reaction (RT-PCR) assay (วิธี RT-PCR)
• electron microscopy (การส่องกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน)
• virus isolation by cell culture (การเลีNยงเซลล์เพือสกัดแยกเชืNอไวรัส)
สารตัวอย่างทีจะใช้ตรวจสอบซึงมาจากผู้ปวยถือว่า่ มีความเสียงด้านชีวภาพอย่างยิง ดังนัNน
การตรวจสอบจึงควรทําภายใต้สภาวะปิดทางชีวภาพทีมีความปลอดภัยสูงสุด
วัคซีนและการรักษา
ยังไม่มีวัคซีนสําหรับ EVD ทีได้รับอนุมัติให้ใช้ มีวัคซีนหลายชนิดทีอยู่ระหว่างการทดสอบ แต่
ยังไม่มีชนิดใดเลยทีพร้อมสําหรับให้ใช้ทางคลินิกได้
ผู้ปวยหนักต้องการการรักษาอย่างเข้มงวดมาก ผู้ปวยมักมีอาการขาดนํNา และต้องการนํNาและ่ ่
สารละลายทีมีสารเกลือแร่ผ่านทางปากเพือชดเชย หรืออาจให้นํNาเกลือใต้ผิวหนัง
ยังไม่มีวิธีการรักษาอย่างจําเพาะเจาะจง ยาชนิดใหม่ๆ อยู่ระหว่างการประเมินผล
สัตว์เจ้าเรือนของไวรัสอีโบลา
ในแอฟริกา ค้างคาวผลไม้โดยเฉพาะอย่างยิงในสกุล Hypsignathus monstrosus, Epomops
franqueti และ Myonycteris torquata อาจเป็นสัตว์เจ้าเรือนตามธรรมชาติสําหรับไวรัสอีโบลา
เนืองจากพบว่ามีการซ้อนเหลือมทางภูมิศาสตร์ของกระจายตัวของค้างคาวผลไม้และไวรัสอี
โบลา
ไวรัสอีโบลาในสัตว์
แม้ว่าไพรเมต (ลิงไร้หาง) อืนๆ ทีไม่รวมคนอาจจะเป็นแหล่งรังโรคสําหรับคนได้ แต่เชือกันว่า
ไม่ได้เป็นเช่นนัNน และน่าจะมาจากการติดเชืNอโดยบังเอิญของมนุษย์มากกว่า เนืองจากพบการ
ระบาดของอีโบลาในปี 1994 จากสปีชีส์ EBOV และ TAFV ในชิมแปนซีและกอริลลา
RESTV เป็นต้นเหตุการระบาดอย่างหนักของ EVD ในลิง Macaca fascicularis ทีเลีNยงใน
ประเทศฟิลิปปินส์ และยังตรวจพบในลิงทีนําเข้าไปยังสหรัฐฯ ในปี 1989, 1990 และ 1996
และในลิงทีนําเข้าประเทศอิตาลีจากฟิลิปปินส์ในปี 1992 และตัNงแต่ปี 2008 ตรวจพบไวรัส
RESTV ระหว่างการระบาดของโรคพิฆาตนีNในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและฟิลิปปินส์
มีรายงานการติดเชืNอในสุกรทีไม่มีอาการ และการทดสอบฉีดเชืNอในห้องปฏิบัติการแสดงให้
เห็นว่า RESTV ไม่ทําให้เกิดโรคในสุกร
การป้ องกันและการควบคุม
การควบคุมอีโบลาไวรัส Reston ในสัตว์เลี;ยง
ยังไม่มีวัคซีนในสัตว์สําหรับ RESTV การทําความสะอาดและการฆ่าเชืNอของฟาร์มสุกรและลิง
เป็นกิจวัตร (ด้วยโซเดียมโฮโปคลอไรท์หรือสารซักฟอกอืนๆ) น่าจะมีประสิทธิภาพพอทีจะทํา
ให้ไวรัสหมดฤทธิได้•
ในกรณีทีสงสัยว่าเกิดการระบาดขึNน ควรใช้การกักโรคทันที สัตว์ทีติดเชืNอต้องกําจัดทิNงโดยการ
ดูแลอย่างใกล้ชิดทัNงการกลบฝงหรือการเผาซากั มาตรการดังกล่าวอาจจําเป็นสําหรับลดความ
เสียงจากการแพร่เชืNอจากสัตว์สู่คน การจํากัดหรือห้ามการเคลือนย้ายสัตว์จากฟาร์มทีติดเชืNอ
ไปยังบริเวณอืนๆ ช่วยลดการแพร่กระจายของโรคได้
มักมีการระบาดของ RESTV ในสุกรและลิงก่อนการติดเชืNอในคน การสร้างระบบเฝาระวังสัตว์้
ทีแอกทีฟจะช่วยตรวจหากรณีใหม่ๆ ได้ ซึงจําเป็นอย่างยิงสําหรับการเตือนภัยแต่เนินๆ
สําหรับสัตวแพทย์และสําหรับผู้มีอํานาจหน้าทีด้านสาธารณสุข
การลดความเสี=ยงของการตดเชื;ออีโบลาในคนิ
การทีไม่มีวัคซีนและวิธีรักษาทีมีประสิทธิภาพในมนุษย์ ทําให้เกิดความห่วงใยว่าจะเป็นปจจัยั
เสียงสําหรับการติดเชืNออีโบลา และมาตรการปองกันตนเองสําหรับบุคคลถือเป็นวิธีการเดียวที้
ช่วยลดการติดเชืNอและการเสียชีวิตในมนุษย์ได้
ในทวีปแอฟริการะหว่างการระบาดของ EVD การให้ข้อมูลข่าวสารด้านสาธารณสุขต่างๆ จะ
ช่วยลดความเสียงได้ โดยต้องเน้นไปยังปจจัยบางประการดังนีNั
• การลดความเสียงการแพร่เชืNอจากสัตว์ปาสู่คน่ ทีเกิดจากการสัมผัสกับค้างคาวผลไม้
หรือลิง/ เอปทีติดเชืNอ และจากการทานเนืNอสดของสัตว์เหล่านีN การหยิบจับสัตว์เหล่านีNควรใช้
ถุงมือและชุดอุปกรณ์ปองกันอืนๆ ทีเหมาะส้ ม ควรปรุงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ (เลือดหรือเนืNอ) ให้
สุกอย่างทัวถึงก่อนการรับประทาน
• การลดความเสียงการแพร่เชืNอจากคนสู่คนในชุมชน ทีเกิดจากการสัมผัสทางตรงหรือ
อย่างใกล้ชิดกับผู้ปวยทีติดเชืNอ โดยเฉพาะอย่างยิงชากของเหลวแบบต่างๆ จากร่างกาย ควร่
งดเว้นการสัมผัสทางกายภาพอย่างใกล้ชิดกับผู้ปวยโรคอีโบลา ควรสวมถุงมือและอุปกรณ์่
ปองกันตนเองทีเหมาะสมเมือต้องดูแลผู้ปวยทีบ้าน ควรล้างมือบ่อยๆ หลังจากไปเยียมผู้ปวย้ ่ ่
ทีโรงพยาบาล เช่นเดียวกับหลังจากทีดูแลผู้ปวยทีบ้าน่
• ชุมชนทีได้รับผลกระทบจากอีโบลาควรให้ข้อมูลของโรคและข้อมูลมาตรการการรับมือ
และจํากัดการระบาด ซึงรวมทัNงการฝงกลบซาก ควรฝงผู้ทีเสียชีวิตจากอีโบลาทันทีอย่างั ั
ระมัดระวัง ฟาร์มสุกรในแอฟริกามีบทบาทสําคัญในการเพิมการติดเชืNอ หากมีค้างคาวผลไม้
ปรากฏในฟาร์มเหล่านัNน ควรเลือกใช้มาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity) ที
เหมาะสมในการจํากัดการแพร่กระจายของเชืNอ สําหรับ RESTV นัNน การให้ข้อมูลด้าน
สาธารณสุขควรเน้นเรืองการลดความเสียงจากการติดต่อของเชืNอจากสุกรสู่คน ทีเป็นผลมา
จากวิธีการเลีNยงและฆ่าสัตว์อย่างไม่ปลอดภัย และการรับประทานเลือดสด นมสด และ
เนืNอสัตว์สดๆ อย่างไม่ปลอดภัย ควรสวมถุงมือและอุปกรณ์ปองกันตนเองทีเหมาะสมเมือต้อง้
จัดการกับสัตว์ปวยหรือเนืNอของมัน และเมือต้องชําแหละสัตว์ต่างๆ ในบริเวณทีมีรายงานว่า่
พบ RESTV ในสุกร ควรปรุงผลิตภัณฑ์ทุกอย่างจากสัตว์ (เลือด, เนืNอ และนม) ให้สุกอย่าง
ทัวถึงก่อนบริโภค
การควบคุมการติดเชื;อในระบบดูแลผู้ป่วย
การติดต่อของเชืNอไวรัสอีโบลาจากคนสู่คน มักเกียวข้องกับการสัมผัสทางตรงหรือทางอ้อมกับ
เลือดหรือของเหลวอืนของร่างกาย มีรายงานการติดเชืNอในบุคลากรการแพทย์ในกรณีทีไม่มี
มาตรการควบคุมการติดเชืNออย่างเหมาะสม บางครัNงก็เป็นไปได้ทีจะจําแนกผู้ปวยติด่ EBV
ไม่ได้แต่เนินๆ เนืองจากอาการเบืNองต้นไม่จําเพาะ (คล้ายกับอีกหลายโรค) ด้วยเหตุนีNจึงถือ
เป็นเรืองสําคัญทีบุคลากรการแพทย์ต้องใช้มาตรการระมัดระวังเบืNองต้นแบบมาตรฐานกับ
ผู้ปวยทุกคน ไม่ว่าผลการวินิจฉัยจะเป็นเช่นใด ตลอดเวลาการทํางานในทุกขัNนตอน ซึ่ งรวมทัNง
การรักษาความสะอาดพืNนฐานของมือ, ความสะอาดของระบบหายใจ, การใช้อุปกรณ์ปองกัน้
ตนเองแบบต่างๆ (เพือปองกันความเสียงจากการกระเด็นหรือการสัมผัสสิงต่างๆ ทีติดเชืNอ้ ),
การฉีดยาอย่างปลอดภัย และการฝงั กลบอย่างปลอดภัย
บุคลากรการแพทย์ทีดูแลผู้ปวยซึงต้อ่ งสงสัยหรือยืนยันแล้วว่าติดเชืNอไวรัสอีโบลาควรเพิมเติม
มาตรการจากข้อควรระวังพืNนฐาน ได้แก่มาตรการควบคุมการติดเชืNอ เพือหลีกเลียงการสัมผัส
กับเลือดหรือของเหลวอืนจากร่างกายของผู้ปวย และการสัมผัสโดยตรงโดยไม่ปองกันตัวเอง่ ้
ในสิงแวดล้อมทีอาจมีการปนเปืNอนของเชืNอ เมือต้องสัมผัสโดยตรง (ระยะไม่เกิน 1 เมตร) กับ
ผู้ปวยทีติด่ EBV บุคลากรการแพทย์ควรสวมอุปกรณ์ปองกันใบหน้า้ (หน้ากากหรือเครือง
ปองกัน และแว่นปองกัน้ ้ ), ชุดกาวน์แขนยาวสะอาด, และถุงมือ (ในบางขัNนตอนควรใช้ถุงมือ
ปลอดเชืNอ) บุคลากรห้องปฏิบัติการก็มีความเสียงเช่นกัน ผู้ทีจะตรวจสอบตัวอย่างจากสัตว์
และจากผู้สงสัยว่าติดเชืNออีโบลา ควรจะผ่านการฝึกและทําด้วยวิธีการและห้องปฏิบัติการทีมี
ความเหมาะสม
การตอบสนองโดยองค์การอนามัยโลก (WHO)
WHO มีทัNงผู้เชียวชาญและเอกสารทีใช้สนับสนุนการสืบสวนและควบคุมโรค
เอกสารคําแนะนําสําหรับการควบคุมการติดเชืNอขณะดูแลผู้ปวยทีต้องสงสัยหรือยืนยันว่าติด่
เชืNอไข้เลือดออกอีโบลา มีชือเอกสารว่า Interim infection control recommendations for care
of patients with suspected or confirmed Filovirus (Ebola, Marburg) haemorrhagic fever,
March 2008. เอกสารนีNปจจุบันอยู่ระหว่างการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยั
WHO ยังได้คิดค้นแบบช่วยบันทึกความจําทีใช้ประกอบข้อควรระวังมาตรฐานสําหรับการ
ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ (ปจจุบันอยู่ระหว่างการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยั ) ข้อควรระวัง
มาตรฐานมีไว้เพือลดความเสียงจากการแพร่กระจายของเชืNอผ่านเลือดหรือเชืNอโรคอืนๆ หาก
มีการนําไปใช้อย่างกว้างขวาง ข้อควรระวังนีNจะช่วยปองกันการแพร่เชืNอส่วนใหญ่ผ่านการ้
สัมผัสกับเลือดและข้อเหลวจากร่างกายได้
แนะนําให้ใช้ข้อควรระวังมาตรฐานนีNขณะดูแลหรือรักษาผู้ปวยทุกคน่ โดยไม่จําเป็นต้องยืนยัน
ว่าติดเชืNอจริงหรือไม่ ซึงข้อควรระวังดังกล่าวก็รวมทัNงระดับพืNนฐานทีใช้ปองกันการติดเชืNอ้ —
การรักษาความสะอาดของมือ, การใช้อุปกรณ์ปองกันส่วนบุคคล้ เพือหลีกเลียงการสัมผัส
โดยตรงกับเลือดหรือของเหลวต่างๆ จากร่างกาย, การปองกันเข็มฉีดยาและการบาดเจ็บจาก้
อุปกรณ์มีคมอืน และชุดควบคุมสิงแวดล้อม
ตาราง: ลําดับเวลาของการระบาดของโรคโดยไวรัสอีโบลาที=เกดขึ;นกอนหน้านี;ิ ่
ปี ประเทศ
สปีชีส์ของไวรัส
อีโบลา
จํานวน
กรณีที=พบ ผู้เสียชีวติ
อัตราการ
เสียชีวติ
2012 คองโก Bundibugyo 57 29 51%
2012 ยูกันดา Sudan 7 4 57%
2012 ยูกันดา Sudan 24 17 71%
2011 ยูกันดา Sudan 1 1 100%
2008 คองโก Zaire 32 14 44%
2007 ยูกันดา Bundibugyo 149 37 25%
2007 คองโก Zaire 264 187 71%
2005 คองโก Zaire 12 10 83%
2004 ซูดาน Sudan 17 7 41%
2003
(พ.ย.-ธ.ค.) คองโก Zaire 35 29 83%
2003 คองโก Zaire 143 128 90%
ปี ประเทศ
สปีชีส์ของไวรัส
อีโบลา
จํานวน
กรณีที=พบ ผู้เสียชีวติ
อัตราการ
เสียชีวติ
(ม.ค.-เม.ย.)
2001-2002 คองโก Zaire 59 44 75%
2001-2002 กาบอง Zaire 65 53 82%
2000 ยูกันดา Sudan 425 224 53%
1996 แอฟริกาใต้ (ไม่รวมกาบอง) Zaire 1 1 100%
1996
(ก.ค.-ธ.ค.) กาบอง Zaire 60 45 75%
1996
(ม.ค.-เม.ย.) กาบอง Zaire 31 21 68%
1995 คองโก Zaire 315 254 81%
1994 Cote d'Ivoire Taï Forest 1 0 0%
1994 กาบอง Zaire 52 31 60%
1979 ซูดาน Sudan 34 22 65%
1977
สาธารณรัฐประชาธิปไตย
คองโก Zaire 1 1 100%
1976 ซูดาน Sudan 284 151 53%
1976
สาธารณรัฐประชาธิปไตย
คองโก Zaire 318 280 88%
ข้อมูลเพมเตมิ= ิ :
WHO Media centre
Telephone: +41 22 791 2222
E-mail: mediainquiries@who.int

Mais conteúdo relacionado

Destaque

แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola techno UCH
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemictaem
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาysmhcnboice
 
คู่มือSrrt ฉบับปรับปรุง 55
คู่มือSrrt ฉบับปรับปรุง 55คู่มือSrrt ฉบับปรับปรุง 55
คู่มือSrrt ฉบับปรับปรุง 55NuFay Donnapa Sookpradit
 
Antimicrobials from natural products used against resistant strains
Antimicrobials from natural products used against resistant strainsAntimicrobials from natural products used against resistant strains
Antimicrobials from natural products used against resistant strainsSaptarshi Samajdar
 
Tetracycline sar
Tetracycline sarTetracycline sar
Tetracycline sarnaseefa
 
Antibiotic Adjuncts To Perio treatment
Antibiotic Adjuncts To Perio treatmentAntibiotic Adjuncts To Perio treatment
Antibiotic Adjuncts To Perio treatmentshabeel pn
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
Tetracyclines- Ravisankar- Medicinal chemistry, Definition,classification,S...
Tetracyclines-  Ravisankar-  Medicinal chemistry, Definition,classification,S...Tetracyclines-  Ravisankar-  Medicinal chemistry, Definition,classification,S...
Tetracyclines- Ravisankar- Medicinal chemistry, Definition,classification,S...Dr. Ravi Sankar
 
Ebola Virus Disease
Ebola Virus DiseaseEbola Virus Disease
Ebola Virus Diseaseguimera
 

Destaque (17)

แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
 
Ebola
EbolaEbola
Ebola
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
 
คู่มือSrrt ฉบับปรับปรุง 55
คู่มือSrrt ฉบับปรับปรุง 55คู่มือSrrt ฉบับปรับปรุง 55
คู่มือSrrt ฉบับปรับปรุง 55
 
Artemisinin
ArtemisininArtemisinin
Artemisinin
 
Antimicrobials from natural products used against resistant strains
Antimicrobials from natural products used against resistant strainsAntimicrobials from natural products used against resistant strains
Antimicrobials from natural products used against resistant strains
 
Tetracycline sar
Tetracycline sarTetracycline sar
Tetracycline sar
 
Antibiotic Adjuncts To Perio treatment
Antibiotic Adjuncts To Perio treatmentAntibiotic Adjuncts To Perio treatment
Antibiotic Adjuncts To Perio treatment
 
Tetracycline and Chloramphenicol
Tetracycline and ChloramphenicolTetracycline and Chloramphenicol
Tetracycline and Chloramphenicol
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Tetracycline
TetracyclineTetracycline
Tetracycline
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
Tetracyclines
TetracyclinesTetracyclines
Tetracyclines
 
Tetracycline
TetracyclineTetracycline
Tetracycline
 
Tetracyclines- Ravisankar- Medicinal chemistry, Definition,classification,S...
Tetracyclines-  Ravisankar-  Medicinal chemistry, Definition,classification,S...Tetracyclines-  Ravisankar-  Medicinal chemistry, Definition,classification,S...
Tetracyclines- Ravisankar- Medicinal chemistry, Definition,classification,S...
 
Ebola Virus Disease
Ebola Virus DiseaseEbola Virus Disease
Ebola Virus Disease
 

Semelhante a Ebola virus disease (10)

HIV
HIV HIV
HIV
 
Laboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infectionLaboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infection
 
Epstein Barr Virus
Epstein Barr VirusEpstein Barr Virus
Epstein Barr Virus
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57
 
Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
 
Emerging infectious disease
Emerging infectious diseaseEmerging infectious disease
Emerging infectious disease
 
plague
plagueplague
plague
 

Mais de Namchai Chewawiwat

Podcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covidPodcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covidNamchai Chewawiwat
 
Podcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memoryPodcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memoryNamchai Chewawiwat
 
Podcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testPodcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testNamchai Chewawiwat
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsNamchai Chewawiwat
 
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?Namchai Chewawiwat
 
WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19Namchai Chewawiwat
 
Basic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirusBasic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirusNamchai Chewawiwat
 
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ  ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ Namchai Chewawiwat
 
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...Namchai Chewawiwat
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ Namchai Chewawiwat
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9Namchai Chewawiwat
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Namchai Chewawiwat
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยNamchai Chewawiwat
 
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ Namchai Chewawiwat
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ Namchai Chewawiwat
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) Namchai Chewawiwat
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO Namchai Chewawiwat
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Namchai Chewawiwat
 

Mais de Namchai Chewawiwat (20)

Podcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covidPodcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covid
 
Podcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memoryPodcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memory
 
Podcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testPodcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid test
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
 
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
 
WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19
 
Basic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirusBasic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirus
 
Emerging diseases
Emerging diseasesEmerging diseases
Emerging diseases
 
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ  ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
 
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
 
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
 
Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books
 

Ebola virus disease

  • 1. เอกสารความรู้เกียวกับโรคไวรัสอีโบลา ขององค์การอนามัยโลก ทีมา : http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs103/en/ โรคไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease) แปลโดย ดร.นําชัย ชีวววรรธน์ิ , ฝ่ายสือวทยาศาสตร์ สวทชิ ., 31 ก.ค. 2014 แผ่นเอกสารข้อเท็จจริง N°103, อัพเดทล่าสุดโดย WHO, เม.ย. 2014 ข้อเท็จจรงหลักิ • โรคไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease, EVD) เดิมรู้จักกันในชือ โรคไข้เลือดออกอีโบ ลา (Ebola haemorrhagic fever) เป็นโรคร้ายแรง ทีบ่อยครัNงทําให้เสียชีวิต • การระบาดของ EVD มีอัตราการเสียชีวิตสูงถึง 90% • การระบาดของ EVD โดยส่วนใหญ่เกิดขึNนในหมู่บ้านห่างไกลแถบแอฟริกากลางและ ตะวันตก ใกล้กับพืNนทีปาเขตร้อน่ • ไวรัสส่งผ่านจากสัตว์ปาไปยังคนและแพร่กระจายในกลุ่มประชากรผ่านการถ่ายทอด่ ให้กันโดยคน • ค้างคาวผลไม้ในสกุล Pteropodidae เป็นสัตว์ฟกตัวหลักของไวรัสอีโบลาั • ผู้ปวยหนักต้่ องการการดูแลรักษาอย่างเข้มงวด ยังไม่มีวัคซีนหรือวิธีการรักษาแบบ จําเพาะทีได้รับการรับรองให้ใช้ในคนหรือสัตว์ อีโบลาระบาดขึNนครัNงแรกในปี 1976 พร้อมๆ กันสองแห่งคือ ในเมือง Nzara ประเทศซูดาน และในเมือง Yambuku ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ในกรณีหลังเกิดขึNนทีหมู่บ้าน แห่งหนึงทีตัNงอยู่ใกล้กับแม่นํNาอีโบลา (Ebola River) ซึงกลายมาเป็นชือของโรคนีNในทีสุด ไวรัสในสกุลอีโบลา (Genus Ebolavirus) เป็น 1 ในสมาชิก 3 ชนิดของไวรัสวงศ์ Filoviridae (filovirus) ทีเหลือคือ สกุล Marburgvirus และ Cuevavirus ในสกุล Ebolavirus มีสปีชีส์ทีแตกต่างกัน 5 สปีชีส์คือ 1. Bundibugyo ebolavirus (BDBV) 2. Zaire ebolavirus (EBOV) 3. Reston ebolavirus (RESTV) 4. Sudan ebolavirus (SUDV) 5. Taï Forest ebolavirus (TAFV)
  • 2. BDBV, EBOV และ SUDV เกียวข้องกับการระบาดใหญ่ของ EVD ในแอฟริกา ขณะที RESTV และ TAFV ไม่เกียวข้อง สปีชีส์ RESTV ทีพบในประเทศฟิลิปปินส์ และสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ติดต่อสู่คนได้ แต่ยังไม่พบกรณีทีก่อให้เกิดอาการเจ็บปวยหรือเสียชีวิต่ การแพร่กระจายของโรค อีโบลาติดได้จากการสัมผัสใกล้ชิดกับเลือด, สารคัดหลัง, อวัยวะ หรือของเหลวแบบอืนๆ จาก สัตว์ทีติดเชืNอ ในแอฟริกามีหลักฐานว่า การติดเชืNอเกิดจากการเกียวข้องสัมผัสกับชิมแปนซี, กอริลล่า, ค้างคาวผลไม้, ลิง, แอนทีโลปปา่ (forest antelope) และเม่น ซึงปวยหรือตาย่ หรือ อยู่ในปาฝน่ อีโบลาแพร่กระจายเข้าชุมชนผ่านการติดต่อจากคนสู่คน โดยการติดเชืNอเกิดจากการสัมผัส โดยตรง (ผ่านผิวหนังทีถลอกหรือผ่านเยือบุ) กับเลือด, สารคัดหลัง, อวัยวะ หรือของเหลว อืนๆ จากร่างกายของผู้ติดเชืNอ และผ่านการสัมผัสทางอ้อมจากสิงแวดล้อมทีปนเปืNอน ของเหลวเหล่านัNน พิธีฝงศพทีผู้มาั ร่วมไว้อาลัยสัมผัสโดยตรงกับร่างกายของศพมีส่วนสําคัญ ในการแพร่กระจายของอีโบลาเช่นกัน ผู้ทีรอดชีวิตมาได้ยังคงความสามารถในการส่งผ่านเชืNอ ไวรัสทางนํNาเชืNอได้นานถึง 7 สัปดาห์ภายหลังจากหายจากโรคแล้ว บ่อยครัNงทีมีรายงานการติดเชืNอในบุคลากรการแพทย์ขณะกําลังรักษาผู้ปวยทีสงสัยหรือยืนยัน่ ว่าติดเชืNอแล้ว ซึงอาจเกิดจากการสัมผัสอย่างใกล้ชิดกับผู้ปวย่ โดยไม่ได้ควบคุมหรือ ระมัดระวังตัวตามข้อกําหนดอย่างเคร่งครัด ในการติดเชืNอจากการสัมผัสกับลิงหรือสุกรทีติดเชืNออีโบลาแบบ Reston หลายกรณีเกิดขึNนใน คนโดยไม่ปรากฏอาการเจ็บปวยใดๆ่ ดังนัNนดูเหมือน RESTV จะมีความสามารถในการก่อ โรคในคนตํากว่าอีโบลาสปีชีส์อืนๆ อย่างไรก็ตาม หลักฐานดังกล่าวมาจากกรณีของชายหนุ่มสุขภาพดีเพียงรายเดียว จึงอาจจะ เป็นการด่วนสรุปเกินไปทีจะแปลผลด้านสุขภาพของไวรัสดังกล่าวให้ครอบคลุมประชากร มนุษย์ทัNงหมด เช่น ครอบคลุมผู้ทีมีระบบภูมิคุ้มกันไม่ดีเท่า หรือคนทีอยู่ระหว่างการรักษาตัว, คนตัNงครรภ์ และเด็ก จําเป็นต้องมีการศึกษา RESTV เพิมขึNนก่อนทีจะสรุปได้อย่างแน่ชัด เกียวกับความสามารถในการก่อโรค และความรุนแรงของโรคของไวรัสชนิดนีNในมนุษย์
  • 3. สัญญาณหรืออาการป่วย EVD ก่อโรคแบบเฉียบพลันและรุนแรง ซึงบ่อยครัNงพิจารณาได้จากการมีไข้อย่างปุบปบั , การ รู้สึกไม่สบายหรือร่างกายอ่อนแออย่างมาก, เจ็บปวดกล้ามเนืNอ, ปวดหัว และเจ็บคอหอย ตามมาด้วยการอาเจียน, ท้องเสีย, เกิดผืน, ไตและตับล้มเหลว และในบางกรณีอาจพบการตก เลือดทัNงภายในและภายนอกร่างกาย การศึกษาในห้องปฏิบัติการพบว่า เซลล์เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือดลดตําลง และมีเอนไซม์ตับเพิมมากขึNน ผู้ทีติดเชืNอนัNนตราบใดทียังมีไวรัสและสารคัดหลังอยู่ในตัว พบว่าก็ยังสามารถแพร่เชืNอได้ ดัง กรณีตัวอย่างของชายคนหนึงทีติดเชืNอในห้องปฏิบัติการ ยังพบไวรัสอีโบลาได้จากนํNาเชืNอ 61 วันหลังจากเริมปวย่ ช่วงระยะฟกตัวั (ช่วงเวลาหลังจากติดเชืNอไวรัสจนเริมมีอาการ) อยู่ที 2-21 วัน การวนจฉัยโรคิ ิ มีหลายโรคทีควรวินิจฉัยแยกแยะและตัดออกก่อนทีจะวินิจฉัยว่าเป็น EVD คือ มาลาเรีย, ไข้ ไทฟอยด์, ชิเกลล่า, อหิวาตกโรค, โรคฉีหนู, กาฬโรค, ริกเกตเซีย, ไข้กลับ, ไข้สมองอักเสบ, ตับอักเสบ, และโรคไข้เลือดออกอืนๆ ทีเกิดจากไวรัส การวินิจฉัยว่าติดเชืNอไวรัสอีโบลาอย่าง แน่ชัด ทําได้ด้วยวิธีการทดสอบหลายแบบดังนีN • antibody-capture enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) (อีไลซา) • antigen detection tests (การตรวจแอนติเจน) • serum neutralization test (การตรวจซีรัมนิวทรัลไลเซชัน) • reverse transcriptase polymerase chain reaction (RT-PCR) assay (วิธี RT-PCR) • electron microscopy (การส่องกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน) • virus isolation by cell culture (การเลีNยงเซลล์เพือสกัดแยกเชืNอไวรัส) สารตัวอย่างทีจะใช้ตรวจสอบซึงมาจากผู้ปวยถือว่า่ มีความเสียงด้านชีวภาพอย่างยิง ดังนัNน การตรวจสอบจึงควรทําภายใต้สภาวะปิดทางชีวภาพทีมีความปลอดภัยสูงสุด วัคซีนและการรักษา
  • 4. ยังไม่มีวัคซีนสําหรับ EVD ทีได้รับอนุมัติให้ใช้ มีวัคซีนหลายชนิดทีอยู่ระหว่างการทดสอบ แต่ ยังไม่มีชนิดใดเลยทีพร้อมสําหรับให้ใช้ทางคลินิกได้ ผู้ปวยหนักต้องการการรักษาอย่างเข้มงวดมาก ผู้ปวยมักมีอาการขาดนํNา และต้องการนํNาและ่ ่ สารละลายทีมีสารเกลือแร่ผ่านทางปากเพือชดเชย หรืออาจให้นํNาเกลือใต้ผิวหนัง ยังไม่มีวิธีการรักษาอย่างจําเพาะเจาะจง ยาชนิดใหม่ๆ อยู่ระหว่างการประเมินผล สัตว์เจ้าเรือนของไวรัสอีโบลา ในแอฟริกา ค้างคาวผลไม้โดยเฉพาะอย่างยิงในสกุล Hypsignathus monstrosus, Epomops franqueti และ Myonycteris torquata อาจเป็นสัตว์เจ้าเรือนตามธรรมชาติสําหรับไวรัสอีโบลา เนืองจากพบว่ามีการซ้อนเหลือมทางภูมิศาสตร์ของกระจายตัวของค้างคาวผลไม้และไวรัสอี โบลา ไวรัสอีโบลาในสัตว์ แม้ว่าไพรเมต (ลิงไร้หาง) อืนๆ ทีไม่รวมคนอาจจะเป็นแหล่งรังโรคสําหรับคนได้ แต่เชือกันว่า ไม่ได้เป็นเช่นนัNน และน่าจะมาจากการติดเชืNอโดยบังเอิญของมนุษย์มากกว่า เนืองจากพบการ ระบาดของอีโบลาในปี 1994 จากสปีชีส์ EBOV และ TAFV ในชิมแปนซีและกอริลลา RESTV เป็นต้นเหตุการระบาดอย่างหนักของ EVD ในลิง Macaca fascicularis ทีเลีNยงใน ประเทศฟิลิปปินส์ และยังตรวจพบในลิงทีนําเข้าไปยังสหรัฐฯ ในปี 1989, 1990 และ 1996 และในลิงทีนําเข้าประเทศอิตาลีจากฟิลิปปินส์ในปี 1992 และตัNงแต่ปี 2008 ตรวจพบไวรัส RESTV ระหว่างการระบาดของโรคพิฆาตนีNในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและฟิลิปปินส์ มีรายงานการติดเชืNอในสุกรทีไม่มีอาการ และการทดสอบฉีดเชืNอในห้องปฏิบัติการแสดงให้ เห็นว่า RESTV ไม่ทําให้เกิดโรคในสุกร การป้ องกันและการควบคุม การควบคุมอีโบลาไวรัส Reston ในสัตว์เลี;ยง ยังไม่มีวัคซีนในสัตว์สําหรับ RESTV การทําความสะอาดและการฆ่าเชืNอของฟาร์มสุกรและลิง เป็นกิจวัตร (ด้วยโซเดียมโฮโปคลอไรท์หรือสารซักฟอกอืนๆ) น่าจะมีประสิทธิภาพพอทีจะทํา ให้ไวรัสหมดฤทธิได้•
  • 5. ในกรณีทีสงสัยว่าเกิดการระบาดขึNน ควรใช้การกักโรคทันที สัตว์ทีติดเชืNอต้องกําจัดทิNงโดยการ ดูแลอย่างใกล้ชิดทัNงการกลบฝงหรือการเผาซากั มาตรการดังกล่าวอาจจําเป็นสําหรับลดความ เสียงจากการแพร่เชืNอจากสัตว์สู่คน การจํากัดหรือห้ามการเคลือนย้ายสัตว์จากฟาร์มทีติดเชืNอ ไปยังบริเวณอืนๆ ช่วยลดการแพร่กระจายของโรคได้ มักมีการระบาดของ RESTV ในสุกรและลิงก่อนการติดเชืNอในคน การสร้างระบบเฝาระวังสัตว์้ ทีแอกทีฟจะช่วยตรวจหากรณีใหม่ๆ ได้ ซึงจําเป็นอย่างยิงสําหรับการเตือนภัยแต่เนินๆ สําหรับสัตวแพทย์และสําหรับผู้มีอํานาจหน้าทีด้านสาธารณสุข การลดความเสี=ยงของการตดเชื;ออีโบลาในคนิ การทีไม่มีวัคซีนและวิธีรักษาทีมีประสิทธิภาพในมนุษย์ ทําให้เกิดความห่วงใยว่าจะเป็นปจจัยั เสียงสําหรับการติดเชืNออีโบลา และมาตรการปองกันตนเองสําหรับบุคคลถือเป็นวิธีการเดียวที้ ช่วยลดการติดเชืNอและการเสียชีวิตในมนุษย์ได้ ในทวีปแอฟริการะหว่างการระบาดของ EVD การให้ข้อมูลข่าวสารด้านสาธารณสุขต่างๆ จะ ช่วยลดความเสียงได้ โดยต้องเน้นไปยังปจจัยบางประการดังนีNั • การลดความเสียงการแพร่เชืNอจากสัตว์ปาสู่คน่ ทีเกิดจากการสัมผัสกับค้างคาวผลไม้ หรือลิง/ เอปทีติดเชืNอ และจากการทานเนืNอสดของสัตว์เหล่านีN การหยิบจับสัตว์เหล่านีNควรใช้ ถุงมือและชุดอุปกรณ์ปองกันอืนๆ ทีเหมาะส้ ม ควรปรุงผลิตภัณฑ์จากสัตว์ (เลือดหรือเนืNอ) ให้ สุกอย่างทัวถึงก่อนการรับประทาน • การลดความเสียงการแพร่เชืNอจากคนสู่คนในชุมชน ทีเกิดจากการสัมผัสทางตรงหรือ อย่างใกล้ชิดกับผู้ปวยทีติดเชืNอ โดยเฉพาะอย่างยิงชากของเหลวแบบต่างๆ จากร่างกาย ควร่ งดเว้นการสัมผัสทางกายภาพอย่างใกล้ชิดกับผู้ปวยโรคอีโบลา ควรสวมถุงมือและอุปกรณ์่ ปองกันตนเองทีเหมาะสมเมือต้องดูแลผู้ปวยทีบ้าน ควรล้างมือบ่อยๆ หลังจากไปเยียมผู้ปวย้ ่ ่ ทีโรงพยาบาล เช่นเดียวกับหลังจากทีดูแลผู้ปวยทีบ้าน่ • ชุมชนทีได้รับผลกระทบจากอีโบลาควรให้ข้อมูลของโรคและข้อมูลมาตรการการรับมือ และจํากัดการระบาด ซึงรวมทัNงการฝงกลบซาก ควรฝงผู้ทีเสียชีวิตจากอีโบลาทันทีอย่างั ั ระมัดระวัง ฟาร์มสุกรในแอฟริกามีบทบาทสําคัญในการเพิมการติดเชืNอ หากมีค้างคาวผลไม้ ปรากฏในฟาร์มเหล่านัNน ควรเลือกใช้มาตรการความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity) ที เหมาะสมในการจํากัดการแพร่กระจายของเชืNอ สําหรับ RESTV นัNน การให้ข้อมูลด้าน สาธารณสุขควรเน้นเรืองการลดความเสียงจากการติดต่อของเชืNอจากสุกรสู่คน ทีเป็นผลมา จากวิธีการเลีNยงและฆ่าสัตว์อย่างไม่ปลอดภัย และการรับประทานเลือดสด นมสด และ
  • 6. เนืNอสัตว์สดๆ อย่างไม่ปลอดภัย ควรสวมถุงมือและอุปกรณ์ปองกันตนเองทีเหมาะสมเมือต้อง้ จัดการกับสัตว์ปวยหรือเนืNอของมัน และเมือต้องชําแหละสัตว์ต่างๆ ในบริเวณทีมีรายงานว่า่ พบ RESTV ในสุกร ควรปรุงผลิตภัณฑ์ทุกอย่างจากสัตว์ (เลือด, เนืNอ และนม) ให้สุกอย่าง ทัวถึงก่อนบริโภค การควบคุมการติดเชื;อในระบบดูแลผู้ป่วย การติดต่อของเชืNอไวรัสอีโบลาจากคนสู่คน มักเกียวข้องกับการสัมผัสทางตรงหรือทางอ้อมกับ เลือดหรือของเหลวอืนของร่างกาย มีรายงานการติดเชืNอในบุคลากรการแพทย์ในกรณีทีไม่มี มาตรการควบคุมการติดเชืNออย่างเหมาะสม บางครัNงก็เป็นไปได้ทีจะจําแนกผู้ปวยติด่ EBV ไม่ได้แต่เนินๆ เนืองจากอาการเบืNองต้นไม่จําเพาะ (คล้ายกับอีกหลายโรค) ด้วยเหตุนีNจึงถือ เป็นเรืองสําคัญทีบุคลากรการแพทย์ต้องใช้มาตรการระมัดระวังเบืNองต้นแบบมาตรฐานกับ ผู้ปวยทุกคน ไม่ว่าผลการวินิจฉัยจะเป็นเช่นใด ตลอดเวลาการทํางานในทุกขัNนตอน ซึ่ งรวมทัNง การรักษาความสะอาดพืNนฐานของมือ, ความสะอาดของระบบหายใจ, การใช้อุปกรณ์ปองกัน้ ตนเองแบบต่างๆ (เพือปองกันความเสียงจากการกระเด็นหรือการสัมผัสสิงต่างๆ ทีติดเชืNอ้ ), การฉีดยาอย่างปลอดภัย และการฝงั กลบอย่างปลอดภัย บุคลากรการแพทย์ทีดูแลผู้ปวยซึงต้อ่ งสงสัยหรือยืนยันแล้วว่าติดเชืNอไวรัสอีโบลาควรเพิมเติม มาตรการจากข้อควรระวังพืNนฐาน ได้แก่มาตรการควบคุมการติดเชืNอ เพือหลีกเลียงการสัมผัส กับเลือดหรือของเหลวอืนจากร่างกายของผู้ปวย และการสัมผัสโดยตรงโดยไม่ปองกันตัวเอง่ ้ ในสิงแวดล้อมทีอาจมีการปนเปืNอนของเชืNอ เมือต้องสัมผัสโดยตรง (ระยะไม่เกิน 1 เมตร) กับ ผู้ปวยทีติด่ EBV บุคลากรการแพทย์ควรสวมอุปกรณ์ปองกันใบหน้า้ (หน้ากากหรือเครือง ปองกัน และแว่นปองกัน้ ้ ), ชุดกาวน์แขนยาวสะอาด, และถุงมือ (ในบางขัNนตอนควรใช้ถุงมือ ปลอดเชืNอ) บุคลากรห้องปฏิบัติการก็มีความเสียงเช่นกัน ผู้ทีจะตรวจสอบตัวอย่างจากสัตว์ และจากผู้สงสัยว่าติดเชืNออีโบลา ควรจะผ่านการฝึกและทําด้วยวิธีการและห้องปฏิบัติการทีมี ความเหมาะสม การตอบสนองโดยองค์การอนามัยโลก (WHO) WHO มีทัNงผู้เชียวชาญและเอกสารทีใช้สนับสนุนการสืบสวนและควบคุมโรค เอกสารคําแนะนําสําหรับการควบคุมการติดเชืNอขณะดูแลผู้ปวยทีต้องสงสัยหรือยืนยันว่าติด่ เชืNอไข้เลือดออกอีโบลา มีชือเอกสารว่า Interim infection control recommendations for care
  • 7. of patients with suspected or confirmed Filovirus (Ebola, Marburg) haemorrhagic fever, March 2008. เอกสารนีNปจจุบันอยู่ระหว่างการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยั WHO ยังได้คิดค้นแบบช่วยบันทึกความจําทีใช้ประกอบข้อควรระวังมาตรฐานสําหรับการ ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ (ปจจุบันอยู่ระหว่างการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยั ) ข้อควรระวัง มาตรฐานมีไว้เพือลดความเสียงจากการแพร่กระจายของเชืNอผ่านเลือดหรือเชืNอโรคอืนๆ หาก มีการนําไปใช้อย่างกว้างขวาง ข้อควรระวังนีNจะช่วยปองกันการแพร่เชืNอส่วนใหญ่ผ่านการ้ สัมผัสกับเลือดและข้อเหลวจากร่างกายได้ แนะนําให้ใช้ข้อควรระวังมาตรฐานนีNขณะดูแลหรือรักษาผู้ปวยทุกคน่ โดยไม่จําเป็นต้องยืนยัน ว่าติดเชืNอจริงหรือไม่ ซึงข้อควรระวังดังกล่าวก็รวมทัNงระดับพืNนฐานทีใช้ปองกันการติดเชืNอ้ — การรักษาความสะอาดของมือ, การใช้อุปกรณ์ปองกันส่วนบุคคล้ เพือหลีกเลียงการสัมผัส โดยตรงกับเลือดหรือของเหลวต่างๆ จากร่างกาย, การปองกันเข็มฉีดยาและการบาดเจ็บจาก้ อุปกรณ์มีคมอืน และชุดควบคุมสิงแวดล้อม ตาราง: ลําดับเวลาของการระบาดของโรคโดยไวรัสอีโบลาที=เกดขึ;นกอนหน้านี;ิ ่ ปี ประเทศ สปีชีส์ของไวรัส อีโบลา จํานวน กรณีที=พบ ผู้เสียชีวติ อัตราการ เสียชีวติ 2012 คองโก Bundibugyo 57 29 51% 2012 ยูกันดา Sudan 7 4 57% 2012 ยูกันดา Sudan 24 17 71% 2011 ยูกันดา Sudan 1 1 100% 2008 คองโก Zaire 32 14 44% 2007 ยูกันดา Bundibugyo 149 37 25% 2007 คองโก Zaire 264 187 71% 2005 คองโก Zaire 12 10 83% 2004 ซูดาน Sudan 17 7 41% 2003 (พ.ย.-ธ.ค.) คองโก Zaire 35 29 83% 2003 คองโก Zaire 143 128 90%
  • 8. ปี ประเทศ สปีชีส์ของไวรัส อีโบลา จํานวน กรณีที=พบ ผู้เสียชีวติ อัตราการ เสียชีวติ (ม.ค.-เม.ย.) 2001-2002 คองโก Zaire 59 44 75% 2001-2002 กาบอง Zaire 65 53 82% 2000 ยูกันดา Sudan 425 224 53% 1996 แอฟริกาใต้ (ไม่รวมกาบอง) Zaire 1 1 100% 1996 (ก.ค.-ธ.ค.) กาบอง Zaire 60 45 75% 1996 (ม.ค.-เม.ย.) กาบอง Zaire 31 21 68% 1995 คองโก Zaire 315 254 81% 1994 Cote d'Ivoire Taï Forest 1 0 0% 1994 กาบอง Zaire 52 31 60% 1979 ซูดาน Sudan 34 22 65% 1977 สาธารณรัฐประชาธิปไตย คองโก Zaire 1 1 100% 1976 ซูดาน Sudan 284 151 53% 1976 สาธารณรัฐประชาธิปไตย คองโก Zaire 318 280 88% ข้อมูลเพมเตมิ= ิ : WHO Media centre Telephone: +41 22 791 2222 E-mail: mediainquiries@who.int