SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
ความสําคัญของภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนาภาษากาหนดรหัส
คาสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานอุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์
เริ่มจากรหัส คาสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสองจากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความภาษาอังกฤษ ใน
ยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้านประสิทธิภาพ
คาสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคาสั่งที่มีประสิทธิภาพ
ควบคุมการทางานตามต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กาหนด
จุดประสงค์ไว้
ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถ
ทางานตามคาสั่งนั้นได้คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรม
คือส่วน หนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน
ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่
ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้
ในการเขียนโปรแกรมได้แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และ
ภาษาระดับต่า (low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและ
สะดวกสบายมากกว่าภาษาระดับต่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของ
ภาษาจะถูกแปล (compile) ไปเป็นภาษาระดับต่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้
งานหรือปฏิบัติตามคาสั่งได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปล
ไปเป็นออบเจกต์โค้ด (object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดคาสั่งในภาษาเครื่อง
ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก
(human-readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-
readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูกออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสาร
ได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ) ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมี
โค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้
การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์
การพัฒนาระบบงาน (System Development)
เป็นกระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการทางานแบบให้ มีจุดประสงค์ให้ระบบ
การทางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สาหรับการพัฒนา ระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจากจัดหา
อุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนามาใช้งานแล้วยังต้อง จัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใช้
ในการดาเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความ
เหมาะสม ในที่นี้มีแนวทางดาเนินงานดังนี้
1.) ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา
2.) ขั้นวางแผนและการออกแบบ
3.) ขั้นดาเนินการเขียน คาสั่งงาน
4.) ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
5.) ขั้นจัดทาคู่มือระบบ
6.) ขั้นการติดตั้ง
7.) ขั้นการบารุงรักษา
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงานโปรแกรมเพื่อ
ใช้แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์
ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผน
ลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทา ระบบงาน
โปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับ
ระบบงานได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้
1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นอาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของ
ระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้อง
ปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอน
ย่อยดังนี้
1.) สิ่งที่ต้องการ 2.) สมการคานวณ 3.) ข้อมูล นาเข้า 4.) การแสดงผล
5.) กาหนดคุณสมบัติตัวแปร 6.) ลาดับขั้นตอนการทางาน
2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมี
จุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตาม
ต้องการ ก่อนไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด
สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้
3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการ
ทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ในกระบวนการวางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้
คาสั่งให้ถูกต้องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้
กาหนดไว้
4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคน
เดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบ
โดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้
ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง
ระบบงาน เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมี
ข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะ
ถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน
5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางาน
ถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุด
คือ รวมรวมเอกสารที่จัดทาจาก 1 – 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียด
เกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม
ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน
เป็นต้น
การลาดับขั้นตอนด้วยผังงาน
การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทางานของคอมพิวเตอร์อย่าง
หนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ การควบคุมการทางาน โดยใช้สัญลักษณที่กาหนดความหมาย
ใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการลาดับขั้นตอนการทางาน
ด้วยผังงานประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้
1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็น
ส่วนใหญ่
2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนําในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา
ตรวจสอบลําดับการทํางานได้งาย ไม่สับสน
3. ประโยชนของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน ดังนี้
ทําให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก
3. ประโยชนของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมี
ประโยชน์
4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานของ
ระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็น เรื่องการออกแบบ
ระบบงานของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนาเสนอรูปแบบการเขียนผังงาน
โปรแกรม
กรณีศึกษาการวิเคราะห์ระบบงานและผังงาน
การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทานั้น สิ่งที่สาคัญที่สุดในการ
แก้ปัญหา จะต้องดาเนินการตามขั้นตอนของการเตรียมงาน เรียบเรียงลาดับขั้นตอนการ
ทางานว่าขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรกและขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนเป็นลาดับ
ถัดไป จนกระทั่งถึงขั้นตอนสุดท้าย
การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทาเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและ
เป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด โดยจะต้องกาหนดขอบเขตของงานหรือปัญหา รวบรวม
รายละเอียดของปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทา
อย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะป้อนเข้าเครื่องเป็น
อย่างไร ถ้าต้องการผลลัพธ์เช่นนี้ การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์
(Output) ข้อมูลนาเข้า (Input) วิธีการประมวลผล (Process) และการ
กาหนดชื่อของตัวแปรที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม
หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน
การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสาคัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานตามลาดับดังนี้
สิ่งที่ต้องการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทางานงาน
แต่ละชนิดอาจต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงผลลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และควรจะเขียน
ให้ชักเจนเป็นข้อๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ต้องการอาจจะดูที่คาสั่งหรือโจทย์ของงาน
นั้นๆว่าต้องการให้ทาอะไรบ้าง
ผลลัพธ์ที่ต้องการ คือ การวิเคราะห์ถึงลักษณะของผลลัพธ์หรือรายงาน หรือรูปแบบ
ของผลลัพธ์ที่เราต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงออกมา รายละเอียดที่ต้องการใน
รายงานหรือผลลัพธ์นั้น ๆ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนโปรแกรมที่จะต้องกาหนดรูปแบบว่า
งานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทานั้น ควรจะมีรายละเอียดอะไร เพื่อความสะดวกของ
ผู้นาผลลัพธ์ไปใช้ การวิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่จาเป็นและมีความสาคัญ และต้อง
พิจารณาอย่างละเอียด เพราะการวิเคราะห์รายงานจะทาให้เราทราบจุดหมายที่
ต้องการ หรือเป็นการกาหนดขอบเขตของงานที่เราต้องการทานั่นเอง
ข้อมูลนาเข้า เป็นขั้นตอนที่ต้องทาต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจากที่เราได้
ลักษณะของรายงานแน่นอนแล้ว เราก็มาพิจารณาข้อมูลนาเข้านั้นจะต้องดูจากลักษณะ
ของผลลัพธ์และขั้นตอนในการประมวลผลด้วย
ตัวแปรที่ใช้ เป็นการกาหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวก
ในการอ้างถึงข้อมูล และการเขียนโปรแกรม การตั้งชื่อตัวแปรควรจะตั้งให้มี
ความหมายและเกี่ยวข้องกับข้อมูล และควรตั้งชื่อตัวแปรให้เข้ากับหลักเกณฑ์ของ
ภาษาคอมพิวเตอร์นั้นๆ
วิธีการประมวลผล เป็นขั้นตอนของวิธีการ หรือการคานวณเพื่อให้ได้ผลลัพธ์
ตามที่ต้องการ ตั้งแต่การสั่งให้เครื่องรับข้อมูลเข้าไปทาการประมวลผลและ
แสดงผลลัพธ์ออกมา ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องการทางานทุกอย่างตามลาดับ จึง
จาเป็นจะต้องจัดลาดับการทางานตามลาดับก่อนหลังให้ละเอียดและถูกต้องทุก
ขั้นตอน
ตัววอย่างการวิเคราะห์งาน
จงวิเคราะห์งานเพื่อหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตรพื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว
1.สิ่งที่ต้องการ :
หาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว
2.รูปแบบผลลัพธ์ :
The area is xxxx
3.ข้อมูลนาเข้า :
ความกว้าง และ ความยาว
4.ตัวแปร :
L = ความยาว
W = ความกว้าง
Area = พื้นที่
5.วิธีประมวลผล :
1) รับข้อมูล L
2) รับข้อมูล W
3) ประมวลผล(คานวณหาพื้นที่) Area = L*W
4) แสดงผล“The area is xxxx”
5) จบการทางาน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Onpreeya Sahnguansak
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
Phutawan Murcielago
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
Onrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
Onrutai Intanin
 

Mais procurados (20)

การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
ตัวอย่างโรแกรมที่ใช้ระบบสารสนเทศ
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
26 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_726 ธนาวุฒิ 3_7
26 ธนาวุฒิ 3_7
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
mindmap
mindmapmindmap
mindmap
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
37 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-737 กรวิชญ์-3-7
37 กรวิชญ์-3-7
 
15 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-715 ชมมาศ-3-7
15 ชมมาศ-3-7
 
06 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-906 ธนศักดิ์-3-9
06 ธนศักดิ์-3-9
 

Destaque

Louis vuitton accessories
Louis vuitton accessoriesLouis vuitton accessories
Louis vuitton accessories
Jennifer Smith
 
yoc profile new 01-04-20 WIP Preview
yoc profile new 01-04-20 WIP Previewyoc profile new 01-04-20 WIP Preview
yoc profile new 01-04-20 WIP Preview
Sunair Amjad
 

Destaque (16)

Louis Vuitton Handbag
Louis Vuitton HandbagLouis Vuitton Handbag
Louis Vuitton Handbag
 
Interbit
InterbitInterbit
Interbit
 
Storm album
Storm albumStorm album
Storm album
 
3954375
39543753954375
3954375
 
Verifica finale
Verifica finaleVerifica finale
Verifica finale
 
SITE Institute
SITE InstituteSITE Institute
SITE Institute
 
สร้างลิงค์เพื่อเปิดเว็บใน Powerpoint
สร้างลิงค์เพื่อเปิดเว็บใน Powerpointสร้างลิงค์เพื่อเปิดเว็บใน Powerpoint
สร้างลิงค์เพื่อเปิดเว็บใน Powerpoint
 
Business communication
Business communicationBusiness communication
Business communication
 
โชว์รูปภาพในรูปแบบอัลบั้มภาพใน Powerpoint
โชว์รูปภาพในรูปแบบอัลบั้มภาพใน Powerpointโชว์รูปภาพในรูปแบบอัลบั้มภาพใน Powerpoint
โชว์รูปภาพในรูปแบบอัลบั้มภาพใน Powerpoint
 
DirectCaption for Transcriptions and Closed Captions
DirectCaption for Transcriptions and Closed CaptionsDirectCaption for Transcriptions and Closed Captions
DirectCaption for Transcriptions and Closed Captions
 
Your Digital Footprint - A Flipbook by Sinthiya Sooriyaganthan
Your Digital Footprint - A Flipbook by Sinthiya Sooriyaganthan Your Digital Footprint - A Flipbook by Sinthiya Sooriyaganthan
Your Digital Footprint - A Flipbook by Sinthiya Sooriyaganthan
 
It
ItIt
It
 
szkolenie
szkolenie szkolenie
szkolenie
 
Louis vuitton accessories
Louis vuitton accessoriesLouis vuitton accessories
Louis vuitton accessories
 
Trabajo Word N°1
Trabajo Word N°1Trabajo Word N°1
Trabajo Word N°1
 
yoc profile new 01-04-20 WIP Preview
yoc profile new 01-04-20 WIP Previewyoc profile new 01-04-20 WIP Preview
yoc profile new 01-04-20 WIP Preview
 

Semelhante a งานนำเสนอ1

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Onpreeya Sahnguansak
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
winewic199
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
winewic199
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
thanapon51105
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Sarocha Makranit
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
Tay Atcharawan
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
Phanupong Chanayut
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
amphaiboon
 

Semelhante a งานนำเสนอ1 (18)

Software
SoftwareSoftware
Software
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
 
29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษาหน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
หน่วยที่ 2 โปรแกรมภาษา
 
Know1 2
Know1 2Know1 2
Know1 2
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 

งานนำเสนอ1

  • 1.
  • 2. ความสาคัญของภาษาคอมพิวเตอร์ ความสําคัญของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนาภาษากาหนดรหัส คาสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานอุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัส คาสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสองจากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความภาษาอังกฤษ ใน ยุคปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้านประสิทธิภาพ คาสั่งแตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคาสั่งที่มีประสิทธิภาพ ควบคุมการทางานตามต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กาหนด จุดประสงค์ไว้
  • 3. ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถ ทางานตามคาสั่งนั้นได้คานี้มักใช้เรียกแทนภาษาโปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรม คือส่วน หนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมีภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ ในการเขียนโปรแกรมได้แต่ก็ไม่จัดว่าเป็นภาษาโปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และ ภาษาระดับต่า (low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและ สะดวกสบายมากกว่าภาษาระดับต่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของ ภาษาจะถูกแปล (compile) ไปเป็นภาษาระดับต่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้ งานหรือปฏิบัติตามคาสั่งได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปล ไปเป็นออบเจกต์โค้ด (object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดคาสั่งในภาษาเครื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก (human-readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human- readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูกออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสาร ได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ) ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมี โค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้
  • 4. การพัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์ การพัฒนาระบบงาน (System Development) เป็นกระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้เป็น ระบบการทางานแบบให้ มีจุดประสงค์ให้ระบบ การทางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สาหรับการพัฒนา ระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจากจัดหา อุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อนามาใช้งานแล้วยังต้อง จัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใช้ ในการดาเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความ เหมาะสม ในที่นี้มีแนวทางดาเนินงานดังนี้ 1.) ขั้นกาหนดขอบเขตปัญหา 2.) ขั้นวางแผนและการออกแบบ 3.) ขั้นดาเนินการเขียน คาสั่งงาน 4.) ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม 5.) ขั้นจัดทาคู่มือระบบ 6.) ขั้นการติดตั้ง 7.) ขั้นการบารุงรักษา
  • 5. แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน แนวทางการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน กรณีโปรแกรมประยุกต์งาน เป็นงานโปรแกรมเพื่อ ใช้แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพเฉพาะ สาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผู้สร้างงานโปรแกรมเป็นผู้อยู่ในสาย วิชาชีพนั้นยอมสามารถวิเคราะห์ วางแผน ลาดับการทางาน และลาดับคาสั่งควบคุมการทางานได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผู้อื่นจัดทา ระบบงาน โปรแกรมมีลักษณะตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับ ระบบงานได้ด้วยต้นเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน ดังนี้ 1. ขั้นวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นอาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรือลักษณะรูปแบบรายงานของ ระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ย้อนกลับ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ต้อง ปอนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนวทางการ วิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุปมีขั้นตอน ย่อยดังนี้ 1.) สิ่งที่ต้องการ 2.) สมการคานวณ 3.) ข้อมูล นาเข้า 4.) การแสดงผล 5.) กาหนดคุณสมบัติตัวแปร 6.) ลาดับขั้นตอนการทางาน
  • 6. 2. ขั้นวางแผนลาดับการทางาน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมี จุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตาม ต้องการ ก่อนไปสู่ขั้นตอนการเขียนคาสั่งงาน และกรณี โปรแกรมมีข้อผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ขั้นตอนนี้ได้ 3. ขั้นดาเนินการเขียนโปรแกรม เป็นขั้นตอนการเขียนคาสั่งควบคุมตามลาดับการ ทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ในกระบวนการวางแผน ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ต้องใช้ คาสั่งให้ถูกต้องตามรูปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสั่ง ที่แต่ ละภาษาได้ กาหนดไว้
  • 7. 4. ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม กรณีผู้สร้างระบบงานและผู้ใช้ระบบงานเป็นคน เดียวกัน การทดสอบจึงมีขั้นตอนเดียวคือ ทดสอบไวยากรณ์คาสั่งงาน และทดสอบ โดยใช้ข้อมูลจริงเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณีที่ผู้สร้าง ระบบงานและผู้ใช้ ระบบงานมิใช้คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดยใช้ผู้สร้าง ระบบงาน เมื่อไม่มีข้อผิดพลาดใด จึงส่งให้ผู้ใช้ระบบงานเป็นผู้ทดสอบ หากมี ข้อผิดพลาดใดจะถูก ส่งกลับไปให้ผู้สร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะ ถูกต้องแล้วจึงสงมอบระบบงาน 5. ขั้นเขียนเอกสารประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางาน ถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสารประกอบการใช้ โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่งายที่สุด คือ รวมรวมเอกสารที่จัดทาจาก 1 – 4 มารวมเล่ม นอกนั้น อาจมีรายละเอียด เกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีปอนข้อมูล หรืออาจมีวิธีติดตั้งโปรแกรม ระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็นต้น
  • 8. การลาดับขั้นตอนด้วยผังงาน การลาดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน ผังงานเป็นขั้นตอนวางแผนการทางานของคอมพิวเตอร์อย่าง หนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับ การควบคุมการทางาน โดยใช้สัญลักษณที่กาหนดความหมาย ใช้งานเป็นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน ด้วยลูกศร ในที่นี้กล่าวถึงการลาดับขั้นตอนการทางาน ด้วยผังงานประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้ 1.สัญลักษณ์ของผังงาน ในที่นี้กล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็น ส่วนใหญ่ 2. หลักในการเขียนผังงาน ข้อแนะนําในการเขียนผังงานเพื่อให้ผู้อานระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลําดับการทํางานได้งาย ไม่สับสน 3. ประโยชนของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมีประโยชน ดังนี้ ทําให้องเห็นรูปแบบของงานได้ทั้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก
  • 9. 3. ประโยชนของผังงาน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์นั้นมี ประโยชน์ 4. รูปแบบการเขียนผังงาน การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานของ ระบบงานไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว เพราะเป็น เรื่องการออกแบบ ระบบงานของแต่ละบุคคล ในส่วนนี้เป็นการนาเสนอรูปแบบการเขียนผังงาน โปรแกรม
  • 10. กรณีศึกษาการวิเคราะห์ระบบงานและผังงาน การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทานั้น สิ่งที่สาคัญที่สุดในการ แก้ปัญหา จะต้องดาเนินการตามขั้นตอนของการเตรียมงาน เรียบเรียงลาดับขั้นตอนการ ทางานว่าขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรกและขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนเป็นลาดับ ถัดไป จนกระทั่งถึงขั้นตอนสุดท้าย การวิเคราะห์งานเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องกระทาเมื่อต้องการเขียนโปรแกรมและ เป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด โดยจะต้องกาหนดขอบเขตของงานหรือปัญหา รวบรวม รายละเอียดของปัญหาวิเคราะห์ปัญหาอย่างละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทา อย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการเป็นอย่างไรรูปแบของข้อมูลที่จะป้อนเข้าเครื่องเป็น อย่างไร ถ้าต้องการผลลัพธ์เช่นนี้ การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษาผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลนาเข้า (Input) วิธีการประมวลผล (Process) และการ กาหนดชื่อของตัวแปรที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรม
  • 11. หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานนับว่าเป็นหัวใจสาคัญที่สุดของการเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งมีหลักเกณฑ์การวิเคราะห์งานตามลาดับดังนี้ สิ่งที่ต้องการ คือ การพิจารณาอย่างกว้างๆถึงงานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทางานงาน แต่ละชนิดอาจต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงผลลัพธ์มากกว่า 1 อย่าง และควรจะเขียน ให้ชักเจนเป็นข้อๆ ในการพิจารณาสิ่งที่ต้องการอาจจะดูที่คาสั่งหรือโจทย์ของงาน นั้นๆว่าต้องการให้ทาอะไรบ้าง
  • 12. ผลลัพธ์ที่ต้องการ คือ การวิเคราะห์ถึงลักษณะของผลลัพธ์หรือรายงาน หรือรูปแบบ ของผลลัพธ์ที่เราต้องการให้คอมพิวเตอร์แสดงออกมา รายละเอียดที่ต้องการใน รายงานหรือผลลัพธ์นั้น ๆ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนโปรแกรมที่จะต้องกาหนดรูปแบบว่า งานที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทานั้น ควรจะมีรายละเอียดอะไร เพื่อความสะดวกของ ผู้นาผลลัพธ์ไปใช้ การวิเคราะห์ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่จาเป็นและมีความสาคัญ และต้อง พิจารณาอย่างละเอียด เพราะการวิเคราะห์รายงานจะทาให้เราทราบจุดหมายที่ ต้องการ หรือเป็นการกาหนดขอบเขตของงานที่เราต้องการทานั่นเอง ข้อมูลนาเข้า เป็นขั้นตอนที่ต้องทาต่อจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ คือ หลังจากที่เราได้ ลักษณะของรายงานแน่นอนแล้ว เราก็มาพิจารณาข้อมูลนาเข้านั้นจะต้องดูจากลักษณะ ของผลลัพธ์และขั้นตอนในการประมวลผลด้วย
  • 13. ตัวแปรที่ใช้ เป็นการกาหนดชื่อแทนความหมายของข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวก ในการอ้างถึงข้อมูล และการเขียนโปรแกรม การตั้งชื่อตัวแปรควรจะตั้งให้มี ความหมายและเกี่ยวข้องกับข้อมูล และควรตั้งชื่อตัวแปรให้เข้ากับหลักเกณฑ์ของ ภาษาคอมพิวเตอร์นั้นๆ วิธีการประมวลผล เป็นขั้นตอนของวิธีการ หรือการคานวณเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ ตามที่ต้องการ ตั้งแต่การสั่งให้เครื่องรับข้อมูลเข้าไปทาการประมวลผลและ แสดงผลลัพธ์ออกมา ซึ่งเป็นขั้นตอนที่จะต้องการทางานทุกอย่างตามลาดับ จึง จาเป็นจะต้องจัดลาดับการทางานตามลาดับก่อนหลังให้ละเอียดและถูกต้องทุก ขั้นตอน
  • 14. ตัววอย่างการวิเคราะห์งาน จงวิเคราะห์งานเพื่อหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตรพื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว 1.สิ่งที่ต้องการ : หาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้าจากสูตร พื้นที่ = ความกว้าง x ความยาว 2.รูปแบบผลลัพธ์ : The area is xxxx 3.ข้อมูลนาเข้า : ความกว้าง และ ความยาว 4.ตัวแปร : L = ความยาว W = ความกว้าง Area = พื้นที่ 5.วิธีประมวลผล : 1) รับข้อมูล L 2) รับข้อมูล W 3) ประมวลผล(คานวณหาพื้นที่) Area = L*W 4) แสดงผล“The area is xxxx” 5) จบการทางาน