SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 27
บทที่  1 ความหมายและขอบเขตปรัชญาการเมือง Socrates 469 – 399  B.C. Aristotle  384 - 322 B.C บิดารัฐศาสตร์ บิดาปรัชญาการเมือง บิดาปรัชญาการเมือง สมัยใหม่ Niccolo Machiavelli  1469 - 1527
คำถามที่ท้าทายให้คุณตอบ 1.  ปรัชญาการเมืองต่างจากปรัชญาสังคมอย่างไร  ? 2.  ใครเป็นบิดาของปรัชญาการเมือง  ? 3.  ใครเป็นบิดาของวิชารัฐศาสตร์  ? 4.  ใครเป็นบิดาของปรัชญาการเมืองสมัยใหม่  ? 5.  แบ่งปรัชญาการเมืองออกได้เป็นกี่ยุค  ? 6.  ปรัชญาการเมืองยุคคลาสสิกหมายถึงยุคใด และมีใครบ้าง  ? 7.  แนวคิดของยุคคลาสสิกเป็นอย่างไร  ?
8.  สัญญาประชาคมมีแนวคิดมาจากใครบ้าง  ? 9.  ประชาธิปไตยในยุคปัจจุบันได้รับอิทธิพลอย่างมากจากใคร  ? 10.  ลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นปฏิกิริยาต่อแนวคิดทางการเมืองแบบไหน เพราะเหตุใด  ? Thomas Hobbes   1588-1679 John Locke 1632-1704 Jean Jaeques  Rousseau 1712 -1778 Karl Marx   1818 - 1883
วัตถุประสงค์เพื่อให้นิสิต 1.  ได้รู้ความหมายและขอบเขตของปรัชญาการเมือง 2.  ได้เข้าใจว่ามนุษย์มีความคิดทางการเมืองอย่างไร 3.  ได้เรียนรู้ภาพปรัชญาการเมืองตะวันตกและตะวันออกแบบกว้างๆ
 
“ ...  สิ่งสำคัญในการปกครองก็คือ บ้านเมืองนั้นมีทั้งคนดีและคนไม่ดี ไม่มีใครจะทำให้ทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด การทำให้บ้านเมืองมีความปกติสุขเรียบร้อย จึงไม่ใช่การทำให้ทุกคนเป็นคนดี หากแต่อยู่ที่การส่งเสริมคนดี ให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดีไม่ให้มีอำนาจ ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้ ... ” พระบรมราโชวาทในรัชกาลปัจจุบัน 11  ธันวาคม  2512
“ รัฐศาสตร์เป็นศาสตร์ภาคปฏิบัติ ” “ Politcs is Practical Science” อริสโตเติ้ล บิดารัฐศาสตร์  ( นักปรัชญาชาวกรีก )
“ การเมืองเป็นศิลปะแห่งการเป็นไปได้ ” “ Politics is the art of the possible” อาร์ . เอ .  บัตเลอร์ นักปรัชญาชาวอังกฤษ
- Social Philosophy   ปรัชญาสังคม   ได้แก่   ปรัชญาที่ว่าด้วยเสรีภาพ   ความเสมอภาค   และความยุติธรรมในสังคม   นักปรัชญาบางคนใช้คำนี้แทนคำว่า   ปรัชญาการเมือง   (Political Philosophy)  ( ราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมศัพท์ปรัชญาอังกฤษ  –  ไทย   พระนคร   :  บริษัทอมรินทร์พริ้น   ติ้ง กรุ๊พ จำกัด , 2532,  น .  103) 1.  ความหมายของปรัชญาสังคมและการเมือง
- Political Philosophy   ปรัชญาการเมือง   ได้แก่   ปรัชญาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเมือง   การปกครองและรัฐ   เช่น   ธรรมชาติและจุดมุ่งหมายของรัฐ   สิทธิอันชอบธรรมที่จะปกครอง   สัมพันธภาพระหว่างเสรีภาพของปัจเจกบุคคลกับอำนาจรัฐ -  ปรัชญาสังคมจะศึกษาธรรมชาติและบ่อเกิดของสังคม ,  ความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกบุคคลกับรัฐ ,  สถาบันในสังคม   :-  ครอบครัวและการสมรส ,  การศึกษา ,  การเมือง ,  เศรษฐกิจ ,  ศาสนา   กฎหมาย   ฯลฯ -  บทสรุป ปรัชญาการเมืองคือการกระทำที่มุ่งให้ประชาชนเป็นสุข 1.  ความหมายของปรัชญาสังคมและการเมือง  ( ต่อ )
2.  ลักษณะของปรัชญาการเมือง ปรัชญาการเมือง มีลักษณะเป็นแนวคิด ปรัชญา เป็นนามธรรม เป็นอุดมคติ อุดมการณ์ เป็นความพยายามที่จะรู้ธรรมชาติของสิ่งที่เป็นการเมือง และระเบียบทางการเมืองที่ถูกและดีพร้อมๆ กัน ปรัชญาการเมืองจะตั้งคำถามว่าอะไรเป็นบ่อเกิดแห่งสังคมและสังคมมีจุดมุ่งหมายอย่างไร สังคมรวมกันอยู่โดยยึดหลักอะไร อะไรคือคุณประโยชน์หรือส่วนดีของการปกครอง การปกครองระบอบใดที่ดีที่สุด ความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกชนกับรัฐควรเป็นอย่างไร
โซเครตีส  (469-399  B.C. )   ถือว่าเป็นบิดาของปรัชญาการเมือง เพราะเป็นคนแรกที่ตั้งคำถามว่า อะไรคือความดี อะไรคือความกล้าหาญ อะไรคือความยุติธรรม อันเป็นการโยงแนวคิดจากเรื่องธรรมชาติมาสู่มนุษย์ การแสวงหาธรรมชาติของความยุติธรรม และการตั้งคำถาม อื่นๆ ที่เกี่ยวโยงกับมนุษย์และชุมชนการเมือง นี่แหละ คือจุดเริ่มต้นของปรัชญาการเมือง อริสโตเติ้ล ถือว่าเป็นบิดาของรัฐศาสตร์ เพราะเป็นผู้นำวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้กับงานเขียนรัฐศาสตร์ของเขา  2.  ลักษณะของปรัชญาการเมือง  ( ต่อ )
แนวคิดทางการเมืองเริ่มต้นด้วยโซเครติสผู้เริ่มตั้งคำถามอย่างจริงจังว่า อะไรคือความดี ความกล้าหาญ ความยุติธรรม การแสวงหาคำตอบของโซเครติสเกี่ยวกับธรรมชาติของความยุติธรรมหรือความดีและการตั้งคำถามอื่น ๆ ที่เชื่อมโยงระหว่างมนุษย์ผู้เป็นปัจเจกชนกับรัฐ จึงถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของปรัชญาการเมืองโดยแท้  3.  ประวัติความเป็นมาของปรัชญาการเมือง
ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาด้วยเหตุผลหลายประการดังนี้  1.  คำถามทางปรัชญาของท่านที่ว่าอะไรคือความดีและความยุติธรรมเป็นการชี้ให้เห็นถึงลักษณะสากล จึงเป็นการชี้ให้เห็นว่าความดีและความยุติธรรมมีธรรมชาติเป็นของตนเองเป็นอิสระจากความเห็นทั้งปวง 2.  ในทางปฏิบัติคำถามของท่านพยายามที่จะก้าวออกไปให้พ้นจากขอบเขตของความเห็นทั้งปวง พร้อมทั้งชี้แนะถึงความคงอยู่ของระเบียบการเมืองที่ดีที่สุดที่เป็นสากล 3.  ประวัติความเป็นมาของปรัชญาการเมือง  ( ต่อ )
3.  แนวคิดของท่านกลายมาเป็นปรัชญาการเมืองเพราะมุ่งจะเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ดีกว่าและมุ่งจะรักษาสิ่งที่ดีเอาไว้ไม่ให้เลวลง ดังนั้นการกระทำทางการเมืองย่อมต้องมีความรู้ในสิ่งที่ดีและสิ่งที่เลวเป็นเครื่องนำทางเสมอ 4.  ปรัชญาทางการเมืองของท่าน ถือว่าเป็นแนวคิดที่ใกล้ตัวมนุษย์มากที่สุด สามารถอธิบายจุดเริ่มต้นของปรัชญาการเมืองในส่วนสำคัญว่า ความพยายามที่จะทดแทนความเห็นในเรื่องธรรมชาติของการเมืองด้วยความรู้ในเรื่องธรรมชาติในสิ่งที่เป็นการเมืองรวมทั้งระเบียบทางการเมืองที่ถูกต้องด้วย 3.  ประวัติความเป็นมาของปรัชญาการเมือง  ( ต่อ )
สามารถแบ่งออกได้เป็น  3  ประเภท ดังนี้ 1.  ปรัชญาการเมืองคลาสสิก  ( Classical Political Philosophy )     มีโซเครติสเป็นผู้เริ่มต้น สืบทอดและพัฒนาโดยเพลโต้และเจริญถึงขีดสุดในสมัยอริสโตเติ้ล โดยมีแนวคิดที่สำคัญคือ เป็นเรื่องการต่อสู้เพื่อดำรงรักษาและพัฒนาชุมชนขนาดเล็กให้มีความเจริญก้าวหน้าในการปกครองตนเอง มีเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได้ ถือว่าเป็นปรากฏการณ์ที่สำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมของมนุษยชาติ 4.  ประเภทของปรัชญาการเมือง
ปรัชญาการเมืองยุคนี้ พิจารณาเป้าหมายสูงสุดของชีวิตการเมืองคือคุณธรรม โดยเห็นว่าความเสมอภาคหรือประชาธิปไตยไม่ใช่สิ่งสูงสุด เพราะมนุษย์ไม่ได้ถูกสร้างให้มีคุณธรรมเท่าเทียมกัน การกำหนดให้สิทธิแก่มนุษย์ทุกคนอย่างเท่าเทียมกันในขณะที่บางคนเป็นผู้สูงกว่าผู้อื่นโดยธรรมชาติจึงเป็นเรื่องไม่ยุติธรรม  สรุปว่า ยุคนี้ถือว่ารัฐที่ดีที่สุดได้แก่รัฐที่มีการปกครองแบบอภิชนาธิปไตย  ( Aristocracy  หรือรัฐผสม  Mixed regime ) 4.  ประเภทของปรัชญาการเมือง  ( ต่อ )
2.  ปรัชญาการเมืองสมัยใหม่  ( Modern Political Philosophy )   ลักษณะของปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ ถือกำเนิดขึ้นในศตวรรษที่  16 - 17  เป็นปฏิกิริยาที่มีผลต่อคริสต์ศาสนาที่แตกแยกออกเป็นนิกายต่างๆ อันเป็นสาเหตุอย่างหนึ่งของสงครามกลางเมืองและสงครามระหว่างรัฐที่ไม่หยุดหย่อน แนวคิดนี้ สังเกตได้จากงานเขียนของ   มาเคียเว็ลลี ฮอบส์ และรุสโซ่ เป็นต้น  อันเป็นการต่อต้านแนวคิดอุดมการทางคริสต์ศาสนา ซึ่งมีรากฐานอยู่ในปรัชญาการเมืองคลาสสิกอีกทีหนึ่ง  นักปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ แม้จะมีแนวคิดที่ต่างกันมากมาย แต่ที่เห็นร่วมกันคือ การปฏิเสธโครงร่างของปรัชญาการเมืองคลาสสิกว่าเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ 4.  ประเภทของปรัชญาการเมือง  ( ต่อ )
มาเคียเว็ลลี ถือว่าเป็นบิดาของปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ เพราะเขาวิจารณ์แนวคิดแบบยุคคลาสสิกว่าเป็นแนวคิดที่ผิด เพราะไปตั้งสมมติฐานหาเป้าหมายที่คุณธรรมและคิดว่ามนุษย์เป็นสัตว์ทางการเมือง  อันที่จริง ควรเริ่มมองมนุษย์จากแง่ความเป็นจริงว่า มนุษย์เป็นสัตว์ที่ชั่วร้ายและจะต้องถูกบังคับให้เป็นคนดี สำหรับฮอบส์ก็ปฏิเสธแนวคิดของยุคคลาสสิก ที่เห็นว่ามนุษย์จะดีได้เพราะอาศัยการเมือง เพราะเขาถือว่า ความปรารถนาที่จะมีชีวิตรอดต่างหาก เป็นรากฐานที่สำคัญที่สุดของความยุติธรรมและศีลธรรม 4.  ประเภทของปรัชญาการเมือง  ( ต่อ )
แนวคิดของนักปรัชญาการเมืองเหล่านี้ได้นำไปสู่การปฏิบัติการทางการเมืองในยุคปัจจุบันรวมทั้งการศึกษาการเมืองหลายรูปแบบ เช่น  1.  การศึกษาทางการเมืองในเชิงพฤติกรรม 2.  การศึกษาทางการเมืองในเชิงสถาบัน 3.  การศึกษาทางการเมืองตามโครงสร้างทางการเมือง 4.  การศึกษาทางการเมืองตามหน้าที่ทางการเมือง 4.  ประเภทของปรัชญาการเมือง  ( ต่อ )
[object Object],[object Object],4.  ประเภทของปรัชญาการเมือง  ( ต่อ )
แนวคิดปรัชญาการเมืองสมัยปัจจุบัน เน้นที่ความเป็นประชาธิปไตยซึ่งขัดแย้งกับแนวคิดในยุคคลาสสิกโดยถือว่าสังคมจะดีขึ้นหรือเจริญขึ้น ขึ้นอยู่กับสถาบันในสังคม เช่น สถาบันการปกครอง หรือ สถาบันทางเศรษฐกิจเป็นใหญ่ ไม่ใช่การอบรมบ่มนิสัยสร้างบุคคลอย่างที่ยุคคลาสสิกยึดถือ  4.  ประเภทของปรัชญาการเมือง  ( ต่อ )
5 .  ขอบเขตปรัชญาการเมือง จะต้องศึกษาแนวคิดทางการเมืองตะวันตกตั้งแต่ยุคโบราณจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปรัชญายุคคลาสสิก ปรัชญาการเมืองสมัยกลาง สมัยปัจจุบัน สมัยใหม่ ศึกษาแนวคิดที่สำคัญ เช่น อำนาจอธิปไตย ความยุติธรรม สิทธิเสรีภาพ สัญญาประชาคม เสรีนิยม สังคมนิยม ธรรมาธิปไตย เป็นต้น และศึกษาผลงานของนักปรัชญาตะวันตกและตะวันออกคนสำคัญเพื่อเป็นแนวทางในการอธิบายปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบการเมืองต่าง ๆ ในยุคปัจจุบัน
เน้นแนวคิดของนักปรัชญาในสมัยต่างๆ ทั้งตะวันตกและตะวันออก   โดยวิเคราะห์ถึงปัญหาและสาเหตุที่ทำให้นักปรัชญาเหล่านั้นคิดเกี่ยวกับเรื่องการเมืองมีส่วนสัมพันธ์กับรัฐศาสตร์   นิติศาสตร์   อภิปรัชญา   ญาณวิทยา   และจริยศาสตร์   โดยใช้วิธีการทางปรัชญานั้นคือการ   วิเคราะห์ ,   สังเคราะห์ ,   วิพากษ์วิจารณ์และการประเมินคุณค่า 6.  วิธีการทางปรัชญา
มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่ไม่สามารถจะอยู่อย่างโดดเดี่ยวได้ ดังนั้น มนุษย์จึงต้องสร้างกฎกติกาเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุขโดยการใช้เหตุผลในการแสวงหาความยุติธรรมระหว่างปัจเจกชนต่อรัฐ ปัจเจกชนต่อปัจเจกชน รัฐต่อรัฐ  ดังนั้น ประโยชน์อย่างสูงสุดสำหรับปรัชญาทางการเมืองคือการให้มนุษย์หารูปแบบการปกครองที่เหมาะสมที่สุด ให้ประโยชน์ที่สุดแก่ประชาชน 7.  ความสำคัญและประโยชน์ของการศึกษาปรัชญาการเมือง
สรุป ,[object Object],[object Object],[object Object]
 

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
BeeBee ComEdu
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
pentanino
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บรรพต แคไธสง
 
จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า
chonlataz
 

Mais procurados (19)

จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 

Semelhante a ธรรมชาติ

บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไรบทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
SakdaNasongsi1
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
Dental Faculty,Phayao University.
 
En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1
Yota Bhikkhu
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
Sani Satjachaliao
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479
CUPress
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
peemai12
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
T Ton Ton
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
นายจักราวุธ คำทวี
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
pentanino
 
พัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองพัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมือง
pailinsarn
 

Semelhante a ธรรมชาติ (20)

9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไรบทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
บทความวิชาการ --เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด aเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479
 
9789740330479
97897403304799789740330479
9789740330479
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
 
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
 
World civ
World civ World civ
World civ
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
พัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองพัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมือง
 

Mais de Jutamas Mouengkaew (6)

เมตริก
เมตริกเมตริก
เมตริก
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
Dk
DkDk
Dk
 
43040989
4304098943040989
43040989
 

ธรรมชาติ

  • 1. บทที่ 1 ความหมายและขอบเขตปรัชญาการเมือง Socrates 469 – 399 B.C. Aristotle 384 - 322 B.C บิดารัฐศาสตร์ บิดาปรัชญาการเมือง บิดาปรัชญาการเมือง สมัยใหม่ Niccolo Machiavelli 1469 - 1527
  • 2. คำถามที่ท้าทายให้คุณตอบ 1. ปรัชญาการเมืองต่างจากปรัชญาสังคมอย่างไร ? 2. ใครเป็นบิดาของปรัชญาการเมือง ? 3. ใครเป็นบิดาของวิชารัฐศาสตร์ ? 4. ใครเป็นบิดาของปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ ? 5. แบ่งปรัชญาการเมืองออกได้เป็นกี่ยุค ? 6. ปรัชญาการเมืองยุคคลาสสิกหมายถึงยุคใด และมีใครบ้าง ? 7. แนวคิดของยุคคลาสสิกเป็นอย่างไร ?
  • 3. 8. สัญญาประชาคมมีแนวคิดมาจากใครบ้าง ? 9. ประชาธิปไตยในยุคปัจจุบันได้รับอิทธิพลอย่างมากจากใคร ? 10. ลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นปฏิกิริยาต่อแนวคิดทางการเมืองแบบไหน เพราะเหตุใด ? Thomas Hobbes 1588-1679 John Locke 1632-1704 Jean Jaeques Rousseau 1712 -1778 Karl Marx 1818 - 1883
  • 4. วัตถุประสงค์เพื่อให้นิสิต 1. ได้รู้ความหมายและขอบเขตของปรัชญาการเมือง 2. ได้เข้าใจว่ามนุษย์มีความคิดทางการเมืองอย่างไร 3. ได้เรียนรู้ภาพปรัชญาการเมืองตะวันตกและตะวันออกแบบกว้างๆ
  • 5.  
  • 6. “ ... สิ่งสำคัญในการปกครองก็คือ บ้านเมืองนั้นมีทั้งคนดีและคนไม่ดี ไม่มีใครจะทำให้ทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด การทำให้บ้านเมืองมีความปกติสุขเรียบร้อย จึงไม่ใช่การทำให้ทุกคนเป็นคนดี หากแต่อยู่ที่การส่งเสริมคนดี ให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดีไม่ให้มีอำนาจ ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้ ... ” พระบรมราโชวาทในรัชกาลปัจจุบัน 11 ธันวาคม 2512
  • 7. “ รัฐศาสตร์เป็นศาสตร์ภาคปฏิบัติ ” “ Politcs is Practical Science” อริสโตเติ้ล บิดารัฐศาสตร์ ( นักปรัชญาชาวกรีก )
  • 8. “ การเมืองเป็นศิลปะแห่งการเป็นไปได้ ” “ Politics is the art of the possible” อาร์ . เอ . บัตเลอร์ นักปรัชญาชาวอังกฤษ
  • 9. - Social Philosophy ปรัชญาสังคม ได้แก่ ปรัชญาที่ว่าด้วยเสรีภาพ ความเสมอภาค และความยุติธรรมในสังคม นักปรัชญาบางคนใช้คำนี้แทนคำว่า ปรัชญาการเมือง (Political Philosophy) ( ราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมศัพท์ปรัชญาอังกฤษ – ไทย พระนคร : บริษัทอมรินทร์พริ้น ติ้ง กรุ๊พ จำกัด , 2532, น . 103) 1. ความหมายของปรัชญาสังคมและการเมือง
  • 10. - Political Philosophy ปรัชญาการเมือง ได้แก่ ปรัชญาที่ศึกษาเกี่ยวกับการเมือง การปกครองและรัฐ เช่น ธรรมชาติและจุดมุ่งหมายของรัฐ สิทธิอันชอบธรรมที่จะปกครอง สัมพันธภาพระหว่างเสรีภาพของปัจเจกบุคคลกับอำนาจรัฐ - ปรัชญาสังคมจะศึกษาธรรมชาติและบ่อเกิดของสังคม , ความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกบุคคลกับรัฐ , สถาบันในสังคม :- ครอบครัวและการสมรส , การศึกษา , การเมือง , เศรษฐกิจ , ศาสนา กฎหมาย ฯลฯ - บทสรุป ปรัชญาการเมืองคือการกระทำที่มุ่งให้ประชาชนเป็นสุข 1. ความหมายของปรัชญาสังคมและการเมือง ( ต่อ )
  • 11. 2. ลักษณะของปรัชญาการเมือง ปรัชญาการเมือง มีลักษณะเป็นแนวคิด ปรัชญา เป็นนามธรรม เป็นอุดมคติ อุดมการณ์ เป็นความพยายามที่จะรู้ธรรมชาติของสิ่งที่เป็นการเมือง และระเบียบทางการเมืองที่ถูกและดีพร้อมๆ กัน ปรัชญาการเมืองจะตั้งคำถามว่าอะไรเป็นบ่อเกิดแห่งสังคมและสังคมมีจุดมุ่งหมายอย่างไร สังคมรวมกันอยู่โดยยึดหลักอะไร อะไรคือคุณประโยชน์หรือส่วนดีของการปกครอง การปกครองระบอบใดที่ดีที่สุด ความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกชนกับรัฐควรเป็นอย่างไร
  • 12. โซเครตีส (469-399 B.C. ) ถือว่าเป็นบิดาของปรัชญาการเมือง เพราะเป็นคนแรกที่ตั้งคำถามว่า อะไรคือความดี อะไรคือความกล้าหาญ อะไรคือความยุติธรรม อันเป็นการโยงแนวคิดจากเรื่องธรรมชาติมาสู่มนุษย์ การแสวงหาธรรมชาติของความยุติธรรม และการตั้งคำถาม อื่นๆ ที่เกี่ยวโยงกับมนุษย์และชุมชนการเมือง นี่แหละ คือจุดเริ่มต้นของปรัชญาการเมือง อริสโตเติ้ล ถือว่าเป็นบิดาของรัฐศาสตร์ เพราะเป็นผู้นำวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้กับงานเขียนรัฐศาสตร์ของเขา 2. ลักษณะของปรัชญาการเมือง ( ต่อ )
  • 13. แนวคิดทางการเมืองเริ่มต้นด้วยโซเครติสผู้เริ่มตั้งคำถามอย่างจริงจังว่า อะไรคือความดี ความกล้าหาญ ความยุติธรรม การแสวงหาคำตอบของโซเครติสเกี่ยวกับธรรมชาติของความยุติธรรมหรือความดีและการตั้งคำถามอื่น ๆ ที่เชื่อมโยงระหว่างมนุษย์ผู้เป็นปัจเจกชนกับรัฐ จึงถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของปรัชญาการเมืองโดยแท้ 3. ประวัติความเป็นมาของปรัชญาการเมือง
  • 14. ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาด้วยเหตุผลหลายประการดังนี้ 1. คำถามทางปรัชญาของท่านที่ว่าอะไรคือความดีและความยุติธรรมเป็นการชี้ให้เห็นถึงลักษณะสากล จึงเป็นการชี้ให้เห็นว่าความดีและความยุติธรรมมีธรรมชาติเป็นของตนเองเป็นอิสระจากความเห็นทั้งปวง 2. ในทางปฏิบัติคำถามของท่านพยายามที่จะก้าวออกไปให้พ้นจากขอบเขตของความเห็นทั้งปวง พร้อมทั้งชี้แนะถึงความคงอยู่ของระเบียบการเมืองที่ดีที่สุดที่เป็นสากล 3. ประวัติความเป็นมาของปรัชญาการเมือง ( ต่อ )
  • 15. 3. แนวคิดของท่านกลายมาเป็นปรัชญาการเมืองเพราะมุ่งจะเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ดีกว่าและมุ่งจะรักษาสิ่งที่ดีเอาไว้ไม่ให้เลวลง ดังนั้นการกระทำทางการเมืองย่อมต้องมีความรู้ในสิ่งที่ดีและสิ่งที่เลวเป็นเครื่องนำทางเสมอ 4. ปรัชญาทางการเมืองของท่าน ถือว่าเป็นแนวคิดที่ใกล้ตัวมนุษย์มากที่สุด สามารถอธิบายจุดเริ่มต้นของปรัชญาการเมืองในส่วนสำคัญว่า ความพยายามที่จะทดแทนความเห็นในเรื่องธรรมชาติของการเมืองด้วยความรู้ในเรื่องธรรมชาติในสิ่งที่เป็นการเมืองรวมทั้งระเบียบทางการเมืองที่ถูกต้องด้วย 3. ประวัติความเป็นมาของปรัชญาการเมือง ( ต่อ )
  • 16. สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ปรัชญาการเมืองคลาสสิก ( Classical Political Philosophy ) มีโซเครติสเป็นผู้เริ่มต้น สืบทอดและพัฒนาโดยเพลโต้และเจริญถึงขีดสุดในสมัยอริสโตเติ้ล โดยมีแนวคิดที่สำคัญคือ เป็นเรื่องการต่อสู้เพื่อดำรงรักษาและพัฒนาชุมชนขนาดเล็กให้มีความเจริญก้าวหน้าในการปกครองตนเอง มีเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได้ ถือว่าเป็นปรากฏการณ์ที่สำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมของมนุษยชาติ 4. ประเภทของปรัชญาการเมือง
  • 17. ปรัชญาการเมืองยุคนี้ พิจารณาเป้าหมายสูงสุดของชีวิตการเมืองคือคุณธรรม โดยเห็นว่าความเสมอภาคหรือประชาธิปไตยไม่ใช่สิ่งสูงสุด เพราะมนุษย์ไม่ได้ถูกสร้างให้มีคุณธรรมเท่าเทียมกัน การกำหนดให้สิทธิแก่มนุษย์ทุกคนอย่างเท่าเทียมกันในขณะที่บางคนเป็นผู้สูงกว่าผู้อื่นโดยธรรมชาติจึงเป็นเรื่องไม่ยุติธรรม สรุปว่า ยุคนี้ถือว่ารัฐที่ดีที่สุดได้แก่รัฐที่มีการปกครองแบบอภิชนาธิปไตย ( Aristocracy หรือรัฐผสม Mixed regime ) 4. ประเภทของปรัชญาการเมือง ( ต่อ )
  • 18. 2. ปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ ( Modern Political Philosophy ) ลักษณะของปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ ถือกำเนิดขึ้นในศตวรรษที่ 16 - 17 เป็นปฏิกิริยาที่มีผลต่อคริสต์ศาสนาที่แตกแยกออกเป็นนิกายต่างๆ อันเป็นสาเหตุอย่างหนึ่งของสงครามกลางเมืองและสงครามระหว่างรัฐที่ไม่หยุดหย่อน แนวคิดนี้ สังเกตได้จากงานเขียนของ มาเคียเว็ลลี ฮอบส์ และรุสโซ่ เป็นต้น อันเป็นการต่อต้านแนวคิดอุดมการทางคริสต์ศาสนา ซึ่งมีรากฐานอยู่ในปรัชญาการเมืองคลาสสิกอีกทีหนึ่ง นักปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ แม้จะมีแนวคิดที่ต่างกันมากมาย แต่ที่เห็นร่วมกันคือ การปฏิเสธโครงร่างของปรัชญาการเมืองคลาสสิกว่าเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ 4. ประเภทของปรัชญาการเมือง ( ต่อ )
  • 19. มาเคียเว็ลลี ถือว่าเป็นบิดาของปรัชญาการเมืองสมัยใหม่ เพราะเขาวิจารณ์แนวคิดแบบยุคคลาสสิกว่าเป็นแนวคิดที่ผิด เพราะไปตั้งสมมติฐานหาเป้าหมายที่คุณธรรมและคิดว่ามนุษย์เป็นสัตว์ทางการเมือง อันที่จริง ควรเริ่มมองมนุษย์จากแง่ความเป็นจริงว่า มนุษย์เป็นสัตว์ที่ชั่วร้ายและจะต้องถูกบังคับให้เป็นคนดี สำหรับฮอบส์ก็ปฏิเสธแนวคิดของยุคคลาสสิก ที่เห็นว่ามนุษย์จะดีได้เพราะอาศัยการเมือง เพราะเขาถือว่า ความปรารถนาที่จะมีชีวิตรอดต่างหาก เป็นรากฐานที่สำคัญที่สุดของความยุติธรรมและศีลธรรม 4. ประเภทของปรัชญาการเมือง ( ต่อ )
  • 20. แนวคิดของนักปรัชญาการเมืองเหล่านี้ได้นำไปสู่การปฏิบัติการทางการเมืองในยุคปัจจุบันรวมทั้งการศึกษาการเมืองหลายรูปแบบ เช่น 1. การศึกษาทางการเมืองในเชิงพฤติกรรม 2. การศึกษาทางการเมืองในเชิงสถาบัน 3. การศึกษาทางการเมืองตามโครงสร้างทางการเมือง 4. การศึกษาทางการเมืองตามหน้าที่ทางการเมือง 4. ประเภทของปรัชญาการเมือง ( ต่อ )
  • 21.
  • 22. แนวคิดปรัชญาการเมืองสมัยปัจจุบัน เน้นที่ความเป็นประชาธิปไตยซึ่งขัดแย้งกับแนวคิดในยุคคลาสสิกโดยถือว่าสังคมจะดีขึ้นหรือเจริญขึ้น ขึ้นอยู่กับสถาบันในสังคม เช่น สถาบันการปกครอง หรือ สถาบันทางเศรษฐกิจเป็นใหญ่ ไม่ใช่การอบรมบ่มนิสัยสร้างบุคคลอย่างที่ยุคคลาสสิกยึดถือ 4. ประเภทของปรัชญาการเมือง ( ต่อ )
  • 23. 5 . ขอบเขตปรัชญาการเมือง จะต้องศึกษาแนวคิดทางการเมืองตะวันตกตั้งแต่ยุคโบราณจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปรัชญายุคคลาสสิก ปรัชญาการเมืองสมัยกลาง สมัยปัจจุบัน สมัยใหม่ ศึกษาแนวคิดที่สำคัญ เช่น อำนาจอธิปไตย ความยุติธรรม สิทธิเสรีภาพ สัญญาประชาคม เสรีนิยม สังคมนิยม ธรรมาธิปไตย เป็นต้น และศึกษาผลงานของนักปรัชญาตะวันตกและตะวันออกคนสำคัญเพื่อเป็นแนวทางในการอธิบายปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบการเมืองต่าง ๆ ในยุคปัจจุบัน
  • 24. เน้นแนวคิดของนักปรัชญาในสมัยต่างๆ ทั้งตะวันตกและตะวันออก โดยวิเคราะห์ถึงปัญหาและสาเหตุที่ทำให้นักปรัชญาเหล่านั้นคิดเกี่ยวกับเรื่องการเมืองมีส่วนสัมพันธ์กับรัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ อภิปรัชญา ญาณวิทยา และจริยศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางปรัชญานั้นคือการ วิเคราะห์ , สังเคราะห์ , วิพากษ์วิจารณ์และการประเมินคุณค่า 6. วิธีการทางปรัชญา
  • 25. มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่ไม่สามารถจะอยู่อย่างโดดเดี่ยวได้ ดังนั้น มนุษย์จึงต้องสร้างกฎกติกาเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุขโดยการใช้เหตุผลในการแสวงหาความยุติธรรมระหว่างปัจเจกชนต่อรัฐ ปัจเจกชนต่อปัจเจกชน รัฐต่อรัฐ ดังนั้น ประโยชน์อย่างสูงสุดสำหรับปรัชญาทางการเมืองคือการให้มนุษย์หารูปแบบการปกครองที่เหมาะสมที่สุด ให้ประโยชน์ที่สุดแก่ประชาชน 7. ความสำคัญและประโยชน์ของการศึกษาปรัชญาการเมือง
  • 26.
  • 27.