SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 71
Baixar para ler offline
สรุปยอเนื้อหาและขอสอบ O-NET
สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
                ครูขวัญจิต บุญมาก
  www.kwandjit2555.wordpress.com
เก็งข้อสอบศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม O-NET
พระพุทธศาสนา (10 กวาขอ)
- อริยสัจ 4 ขันธ 5 สติปฏฐาน 4 ไมควรพลาดโดยตองจําศัพท + ความหมาย ใหได
(หลักธรรมออกเยอะ)
- พุทธสาวก ชาวพุทธตัวอยาง เขาจะสุมมา 1 คนโดยจะมักถามคุณธรรมเดนๆ
- พุทธศาสนสุภาษิต พระไตรป4ฎก ศาสนพิธีตางๆ บทสวด
- ชาดก 3 เรื่อง เวสสันดร, มโหสถ, มหาชนก
ศาสนาตาง ๆ (ไมถึง 10 ขอ)
- ศาสนาพราหมณ-ฮินดู ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม (ออกศาสนาละประมาณ 1-2 ข
อ) จับหลักธรรมสําคัญ? เปAาหมายสูงสุดของศาสนา? นิกาย จุดเดนของแตละนิกาย?
และเหตุการณแตกนิกาย? พิธีกรรม?
 - ความสอดคลองของแตละศาสนา (ที่สอดคลองที่สุด “ความเมตตา”)
ศาสนาพืนฐาน : นิ ยาม
ศาสนา ตามรูปศัพทมาจากคําในภาษาสันสกฤตวา “ศาสน” แปลวา “คําสอน
ขอบังคับ” ตรงกับคําในภาษาบาลีวา“สาสน”แปลวาศาสนา คําสั่งสอนของศาสดา”
หมายถึง หลักคําสอนอันเปEนที่ยึดเหนี่ยวทางใจ เพือเปEนแนวทางในการปฏิบัติ
                                                  ่
เพื่อใหรอดพนจากความทุกขJ ประสบแตความสุข โดยมีความสุขนิรันดรJเปEนจุด
มุงหมายสูงสุด
ที่มาของศาสนา 1. ความไมรู 2. ความกลัว 3. ตองการศูนยรวมกําลังใจ
4. ความตองการที่พึ่งทางใจ 5. ความตองการความสงบสุขของสังคม
ความสําคัญของศาสนา 1.เปHนสิงยึดเหนี่ยวทางใจทีทําใหมนุษยมีที่พงและสราง
                               ่                ่              ึ่
ความมันใจในการดําเนินชีวิต 2.เปHนเครื่องมือในการสรรสรางความสามัคคีทําให
       ่
สังคมเปHนอันหนึงอันเดียวกัน ชวยลดความขัดแยงทําใหเกิดสันติสุข 3.เปHนเครื่องมือ
               ่
ในการอบรมขัดเกลาสมาชิกของสังคม 4.เปHนพืนฐานของขนบธรรมเนียมประเพณี
                                            ้
5.เปHนเครื่องหมายของสังคม เปHนสัญลักษณที่แสดงใหเห็นถึงความเปHนอันหนึ่งอัน
เดียวกันของประชาชน 6.เปHนมรดกของสังคม และวัฒนธรรมที่สําคัญยิ่งของสังคม
โลก เพราะทุกศาสนาจะมีศาสนวัตถุ ศาสนิกชน หลักธรรมคําสอนและศาสนพิธี
องค์ประกอบของศาสนา 5 ประการ
ผูตั้งหรือศาสดา : ผูคิดคนหลักคําสอนครั้งแรกแลววางกฎและหลัก
คําสอนที่ไดคิดคนเพื่อเปHนหลักปฏิบัติ
หลักคําสอนหรือหลักธรรม : หลักธรรมคําสั่งสอนที่องคศาสนาได
คิดคนหรือเหลาสาวกไดคิดคนเพิ่มเติมขึ้นมา
นักบวชหรือสาวก : ผูปฏิบัติตามหลักคําสอนอยางเครงครัดเพื่อเปHน
ตัวอยางในวิถีชีวิตของผูอื่นไดเปHนอยางดี
ศาสนสถานหรือโบสถJ วิหาร : บางศาสนาอาจจัดตั้งขึ้นเปHนครั้ง
คราวเมื่อเสร็จพิธีแลวรื้อถอนไปหรือจะสรางถาวรเพื่อใชประกอบ
พิธีกรรมทางศาสนาได
ศาสนพิธีหรือพิธีกรรมทางศาสนา : ทุกศาสนาจะตองมีพิธีกรรม
ทางศาสนาที่เปHนเอกลักษณเฉพาะตัวของศาสนานั้นๆ
ประเภทของศาสนา แบ่งได้หลายประเภท
แบงตามความเชื่อเกี่ยวกับพระเจา
1.เอกเทวนิยม (Monotheism) หมายถึง ศาสนาที่มีความเชื่อในพระเจาองคเดียว คริสต อิสลาม
2.พหุเทวนิยม (Polytheism) หมายถึงศาสนาที่มีความเชื่อในพระเจาหลายองค ฮินดู (พราหมณ)
 3.อเทวนิยม (Atheism) หมายถึงศาสนาที่ไมเชื่อวาพระเจาเปHนผูสราง พระพุทธศาสนา ศาสนาเชน
แบงตามแหลงผูนับถือ
1.ศาสนาระดับทองถิ่น คือ ศาสนาที่เกิดขึ้น ณ ที่ใดที่หนึ่งและผูนับถือภายในทองถิ่นนั้นๆ เชน ศาสนา
ชินโตของญี่ปุ]น ศาสนาสิกขของอินเดีย ศาสนายูดายและ อิสราเอล เปHนตน
2.ศาสนาระดับสากล คือศาสนาที่เกิดขึ้น ณ ที่ใดที่หนึ่ง และไดแผกระจายไปยังดินแดนสวนตางๆ ในโลก
จนเรียกไดวาเปHนศาสนาของโลก เชน ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู และศาสนาพุทธ เปHนตน
แบงตามการมีผูนับถืออยูหรือไม
 1.ศาสนาที่ตายไปแลว คือศาสนาที่มีผูนับถือในอดีต แตปจจุบันไมมีใครนับถือแลว เชน ศาสนาของอียิปต
โบราณ ศาสนากรีกโบราณ เปHนตน
2.ศาสนาที่ยังมีชีวิตอยู คือศาสนาที่ยังมีผูนับถืออยูในปจจุบัน เชน ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต ศาสนา
อิสลาม และศาสนาพราหมณ–ฮินดู
ประโยชน์ของศาสนา
ศาสนาเปEนแหลงกําเนิดจริยธรรม สอนใหงดเวนความชั่วใหรูจัก
ทําความดีทางกาย ทางวาจาและทางใจ
ศาสนาสอนใหคนปกครองตนเองได สอนใหรูจักตนเองวาจิตใจมี
แนวโนมทางดีหรือทางเสื่อม
ศาสนาทําใหมนุษยJมีทยึดเหนียว เพราะสังคมมนุษยยอม
                        ี่      ่
เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ผูมีหลักศาสนายอมมีหลักความเชื่อที่มั่นคง
เปHนเครื่องยึดเหนี่ยวไมใหออนไหวหลงใหลไปกับความเปลี่ยนแปลง
ทําใหสังคมเปEนปOกแผน เพราะคนที่นับถือศาสนาเปHนคนมีเหตุผล
มีใจกวางไววางใจเอื้อเฟ`aอเผื่อแผตอกัน รักใครปรองดองกัน
สามัคคีกัน
ลองมาทําข้อสอบ
1. องคJประกอบที่มีปรากฏอยูในศาสนาสําคัญในปPจจุบันคือขอใด
  ก. ศาสดาและนักบวช
  ข. รูปเคารพและศาสนสถาน
  ค. นักบวชและศาสนพิธี
  ง. ศาสนพิธีและหลักคําสอน
2. ขอใดคือแกนแทของศาสนา
  ก. การใหคําสอนทีเปHนแนวทางการดําเนินชีวิต
                  ่
  ข. การใหคําอธิบายความเปHนจริงสูงสุดของชีวตและโลก
                                            ิ
  ค. การใหคําอธิบายและคําสอนเกี่ยวกับความดีความชั่ว
  ง. การใหคําสอนเพือเปHนทีพึ่งทางใจใหพนจากความกลัว
                    ่     ่
3. ศาสนาพุทธ จัดอยูในศาสนาประเภทใด
  ก. พหุเทวนิยม ข. เอกเทวนิยม            ค. อเทวนิยม ง. เทวนิยม
4. จุดมุงหมายสําคัญของศาสนาทุกศาสนาคืออะไร
   ก. เนนการเขาใจหลักธรรม
   ข. สอนใหยึดมั่นในองคศาสดา
   ค. เนนการปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา
   ง. สอนใหศาสนิกชนของตนทําความดี
5. หลักคําสอนของแตละศาสนาแมจะมีรายละเอียดแตกตางกัน แตมี
  ลักษณะสําคัญบางประการรวมกัน ลักษณะดังกลาวคืออะไร
   ก. ความเขาใจชีวิตและพัฒนาชีวิต
   ข. ความยึดมั่นศรัทธาในองคศาสดา
   ค. ความยึดมั่นในความศักดิ์สิทธิ์ของศาสนา
   ง. ความเห็นวาชีวิตเปHนสิ่งที่ปราศจากคุณคา
6. ขอใดเหมาะสมที่สุดในการอยูรวมกันระหวางผูนับถือศาสนาตางกัน
   ก. ไมถือวาศาสนาเปHนเรื่องสําคัญในการดําเนินชีวิต
   ข. หลีกเลี่ยงการพูดคุยเรื่องศาสนากับเพื่อนตางศาสนา
   ค. ไมวิพากษวิจารณศาสนาอื่น ใหความสนใจเฉพาะศาสนาของตน
   ง. ไมลบหลูความคิดหลักในศาสนาอื่นโดยยังเชื่อมันในศาสนาของตน
                                                  ่
7. เพราะเหตุใดพระพุทธศาสนาจึงมีทฤษฎี และวิธีการที่เปEนสากล
   ก. เปHนศาสนาที่แพรหลายทั่วโลก
   ข. เปHนศาสนาทีมุงเอาชนะธรรมชาติ
                    ่
   ค. เปHนศาสนาทีมุงเนนความสะดวกสบายของมนุษย
                      ่
   ง. เปHนศาสนาทีมุงเนนความสันติสุขของมวลมนุษยชาติ
                  ่
8. “พระพุทธศาสนามีหลักคําสอนที่เปEนสากล” หมายความวาอยางไร
   ก. เปHนคําสอนที่สามารถพิสูจนได
   ข. เปHนคําสอนที่ตรงกันกับศาสนาอืน่
   ค. เปHนคําสอนทีนาเชื่อถือเปHนอยางยิ่ง
                        ่
   ง. เปHนคําสอนที่มงประโยชนสุขแกคนทั่วไป
                          ุ
9. ศาสนาในขอใดตอไปนี้ที่มีความแตกตางจากขออื่น
  ก. ศาสนาพราหมณ-ฮินดู        ข. ศาสนายูดาห
  ค. ศาสนาอิสลาม              ง. ศาสนาคริสต
10. คัมภีรJของศาสนาในขอใดที่มีความแตกตางจากคัมภีรJเลมอื่น
  ก. พระเวท ข. พระไตรป4ฎก         ค. ไบเบิล       ง. อัลกุรอาน
11. ขอใดคือจุดมุงหมายที่สําคัญของพิธีกรรมทางศาสนา
  ก. การสรางความขลังหรือความศักดิ์สิทธิ์
  ข. การอบรมจิตใจศาสนิกชนใหเปHนอันหนึ่งอันเดียวกัน
  ค. การแสดงใหเห็นความแตกตางกับศาสนาอื่น
  ง. การทําใหเขาถึงหลักคําสอนของศาสนานั้น
12. ขอใดที่มีความสัมพันธJกันไมถูกตอง
  ก. พราหมณ-ฮินดู - ศิวลึงค
  ข. พระพุทธศาสนา - เสมาธรรมจักร
  ค. คริสต - ไมกางเขน
  ง. อิสลาม - พระจันทรเสี้ยว
13. ขอใดไมใชแนวคิดของศาสนาพุทธ
  ก. สอนใหอุทิศตนแกสิ่งศักดิ์สิทธิ์
  ข. สอนใหพิสูจนคําบอกเลาแลวจึงเชื่อ
  ค. เชื่อวากรรมเปHนตัวกําหนดสรรพสิ่ง
  ง. หลักศีลธรรมเกิดจากการศึกษาของผูรู
ข้อสอบสองข้อนี ตอบถูก 2 คําตอบ
14. พฤติกรรมของบุคคลใดตอไปนี้ที่เปEนไปตามหลักองคJประกอบที่สําคัญ
  ที่สุดของศาสนา
  ก. เมธินียึดหลักปฏิบติละชั่ว ทําดี มีจตใจบริสทธิ์ผองแผว
                      ั                 ิ      ุ
  ข. กาเซ็มทําละหมาดวันละ 5 ครั้งอยางสม่ําเสมอ
  ค. คริสตี้เสียสละวันหยุดสวนตัวเขาคอรสลดนาหนักเพื่อเตรียมตัวประกวดซุป
                                              d
  เปอรโมเดล
  ง. มาระตีสวดมนตขอพรพระวิษณุใหคุมครองใหรอดพนจากน้ําทวม
15.พระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตรJมีความคลายคลึงกันในประเด็นใดบาง
  ก. เนนหลักความเปHนจริงที่มอยูในธรรมชาติ
                               ี
  ข. เนนประโยชนที่เกิดขึ้นในสังคมปจจุบัน
  ค. การตั้งสมมติฐานในอํานาจลีลับหรืออํานาจเหนือธรรมชาติ
                                  ้
  ง. การสงเสริมการคนควาหาเหตุผลและการพิสจนดวยการลงมือปฏิบตจริง
                                                 ู              ั ิ
ศาสนาสากล : เปรียบเทียบ
พุทธประวัติ
กําเนิดในประเทศอินเดีย เมื่อ 2500 ปfเศษมาแลว ศาสดา คือ พระพุทธเจา
พระชนมมายุ 29 พรรษา ไดเสด็จออกบรรพชา พระองคทรงศึกษาและบําเพ็ญ
ทุกขกริยาอยูนาน 6 ปf แตไมสําเร็จ จึงทรงเลิก และทรงแสวงหาสัจธรรม
จนสามารถตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ เปHนพระสัมมาสัมพุทธเจา
เมือพระชนมายุได 35 พรรษา โดยพระองคตรัสรูตามลําดับ คือ
   ่
- ปฐมยาม - ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติแตหนหลังได
- มัชฌิมยาม - จุตูปปาตญาณ - ความรูดุจตาทิพย
- ปจฉิมยาม - อาสวักขยญาณ - ความรูอันเปHนเหตุใหสิ้นอาสวะกิเลสทั้งปวง
พระสัมมาสัมพุทธจาทรงเผยแผหลักธรรมจนพระชนมายุ 80 พรรษาก็ดับขันธ
ปรินิพพานที่เมืองกุสินารา
สังเวชนียสถาน หมายถึงสถานที่ที่ทําใหเกิดความรูสึกระลึกถึงพระพุทธเจา
  เกิดความแชมชื่น เบิกบาน เกิดแรงบันดาลใจทีจะทําความดี เมือไดไปพบเห็น
                                              ่                  ่
  สังเวชนียสถาน มี 4 แหง คือ
สถานที่ประสูติ : สวนลุมพินีวัน ประเทศเนปาล
สถานที่ตรัสรู : พุทธคยามีชื่อเรียกอีกชือวาวัดมหาโพธิ์ ตั้งอยูทีจังหวัดคยา
                                       ่                       ่
  รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย หางจากริมฝkงแมน้ําเนรัญชรา 350 เมตร ในอดีต
  ตําบลทีตั้งพุทธคยามีชื่อวา อุรเวลาเสนานิคม ตอมา จึงเพี้ยนเปHน อุเรล
         ่                      ุ
  ปจจุบัน ประเทศอินเดีย
สถานที่แสดงปฐมเทศนา : สารนาถในสมัยพุทธกาล เรียกกันวา ป_าอิสิปตน
  มฤคทายวัน ประเทศอินเดีย
สถานที่ปรินิพพาน : กุสินารา ตั้งอยูที่ตาบลมถากัวร อําเภอกุสินคร
                                         ํ
  รัฐอุตรประเทศ ประเทศอินเดีย
ตนพระศรีมหาโพธิ์ ภายในปริมณฑลลุมพินีวัน ชาวพุทธนมัสการ เสาพระเจาอโศกมหาราช
เครื่องหมายสถานที่พระพุทธเจาประสูติ ณ ลุมพินีวัน ประเทศเนปาล
ตนพระศรีมหาโพธิ์ เหนือพระแทนวัชรอาสนพุทธบัลลังก
 สถานที่ตรัสรูของพระพุทธเจา




พระสงฆ นมัสการพระมหาโพธิเจดีย สถานที่ตรัสรูขององค
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา พุทธสังเวชนียสถานที่สําคัญ
ที่สุดของชาวพุทธ
ซากฐานเจดียธรรมราชิกสถูป สถานที่พระพุทธองคทรงแสดงอนันตตลักขณสูตร
โปรดปญจวัคคีย ทําใหปญจวัคคียบรรลุเปHนพระอรหันต
มหาปรินิพพานวิหาร ภายในสาลวโนทยาน
สถานที่ประดิษฐานพระพุทธสรีระพระพุทธเจาเปEนเวลา 7 วันกอนอัญเชิญ
                  ไปถวายพระเพลิงพระบรมศพ
มกุฏพันธนเจดียJ สถานที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระสัมมาสัมพระพุทธเจา
16. บุคคลกลุมใดที่สรางระบบวรรณะให เกิดขึ้นในสมัยกอนพุทธกาล
    ก. ศูทร        ข. แพศย          ค. กษัตริย       ง. พราหมณ
17. การแบงชนชั้นทางสังคมโดยใชระบบวรรณะในสมัยกอนพุทธกาล
  กอใหเกิดผลตามขอใด
     ก. เปHนประโยชนในการปกครอง
     ข. ทําใหทุกคนรูจักหนาที่ของตน
     ค. เปHนการทําลายสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของมนุษย
     ง. ทําใหบานเมืองไมเจริญกาวหนาเพราะมัวแตแยงชิงความเปHนใหญกัน
18. พระสิทธัตถะตรัสรูเปEนพระพุทธเจาดวยวิธีการใด
     ก. อดอาหาร               ข. เขาญาณสมาบัติ
     ค. บําเพ็ญทุกรกิริยา ง. บําเพ็ญเพียรทางจิต
19. พระพุทธศาสนาไดประดิษฐานในดินแดน ใดเปEนแหงแรก
    ก. เมืองพาราณสี แควนกาสี        ข. เมืองราชคฤห แควนมคธ
    ค. เมืองกุสินารา แควนมัลละ        ง. เมืองกบิลพัสดุ แควนสักกะ
20. สถานที่ใด ไมเกี่ยวของ กับการตรัสรู
    ก. โคนตนนิโครธ                   ข. ริมฝkงแมน้ําอโนมา
    ค. ริมฝkงแมน้ําเนรัญชรา          ง. ใตตนพระศรีมหาโพธิ์
21. ใครเปEนพระสาวกองคJสุดทายของพระพุทธเจา
    ก. พระอานนท                     ข. พระสุภัททะ
    ค. พระสารีบุตร                   ง. พระอัญญาโกณฑัญญะ
22.พระพุทธเจาทรงแสดงธรรมครั้งแรกใหแกใคร
   ก. ปญจวัคคีย                  ข. ชฎิล 3 พี่นอง
   ค. พระเจาสุทโธทนะ             ง. อาฬารดาบสและอุทกดาบส
23. การเกิดขึ้นของพระพุทธศาสนามีผลตอการปฏิรูปสังคมชมพูทวีป
 โดยตรงและโดยออมอยางไร
    ก. การลมสลายของชันวรรณะ
                         ้
    ข. การลมสลายของศาสนาอื่น
    ค. การเชือในอเทวนิยมคือไมเชือเรืองพระเจา
              ่                  ่ ่
    ง. การไมแบงชั้นวรรณะ การแกไขความทุกขของสังคม การชวยให
 สังคมเกิดสันติสุข
24. ขอใดกลาวถึงดินแดนชมพูทวีปไม ถูกตอง
    ก. เปHนดินแดนแหงตนหวา
    ข. เดิมเปHนที่อยูของพวกดราวิเดียน
    ค. เดิมเปHนที่อยูของพวกอารยันซึ่งเปHนชนผิวขาว
    ง. เปHนดินแดนที่มากไปดวยลัทธิความเชื่อและวัฒนธรรม
25. ขอใด ไมใช ความหมายของศรัทธาในพระพุทธศาสนา
    ก. ความเชื่อมั่นในพระรัตนตรัย
    ข. ความเชื่อมั่นในพระปญญาของพระพุทธเจา
    ค. ความเชือมั่นในกฎแหงเหตุและผลของการกระทําในวัฏสงสาร
               ่
    ง. ความเชื่อมั่นในความเปHนอมตะของวิญญาณที่ตองคอยรับผลกรรม
26. ขอใดคือความหมายที่ถูกตองที่สดของศีลในพุทธศาสนา
                                   ุ
    ก. ความเครงครัดสํารวมระวัง            ข. การงดเวนความชั่วทุกอยาง
    ค. การไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น ง. ขอหามไมใหลวงเกินผูอื่น
27. ขอใดคือลักษณะเดนที่สุดของพุทธศาสนา
   ก. การไมเชือเรืองพระเจา
                 ่ ่                 ข. การสอนเรืองกรรมในอดีต
                                                  ่
   ค. การสอนใหรักและเมตตากัน          ง. การสอนใหมนุษยพึ่งพาตนเอง
28. ขอใดเปEนเอกลักษณJของศาสนาพุทธ
    ก. กรรม         ข. ภาวนา       ค. นรก – สวรรค ง. อนัตตา
29. คําสอนเรื่อง ชีวตเปEนทุกขJ ของ พระพุทธศาสนา หมายถึงขอใด
                     ิ
    ก. ชีวิตมีปญหาอยูตลอดเวลา
    ข. รางกายตองเปลี่ยนแปลงเจ็บไขอยูเสมอ
    ค. ความทุกขเปHนขอเท็จจริงของชีวิต
    ง. จิตใจตองพบความเศราและเสียใจอยูเรื่อยๆ
30. คําสอนเรื่องกรรมในพุทธศาสนาสําคัญอยางไร
    ก. ทําใหคนเปHนคนดี
    ข. ทําใหเชื่อวากรรมพิสจนได
                          ู
    ค. ทําใหคนกลัวนรกไมกลาทําชั่ว
    ง. ทําใหเราเขาใจวาเราคือผูลิขิตชีวิตเรา
หลักธรรมพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนามีหลักธรรม 3 ระดับเพื่อสอนใหชาวพุทธทําความดี ละเวนความชั่ว ชําระ
จิตใจใหบริสุทธิ์ เรียกวา โอวาทปาติโมกข ซึ่งเปHนจริยธรรมของบุคคลในสังคมพิจารณาได
•จริยธรรมขั้นพื้นฐานเพื่อการละความชั่ว จะเปHนขอปฏิบัติที่ควบคุมกาย วาจา ใจ ใหปกติ
ไมกอใหเกิดทุกข โทษ แกตนและผูอื่น
      เบญจศีล คือ เวนจากการฆาสัตว ลักทรัพย ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ ดื่ม
สุรา และของมึนเมา
      เบญจธรรม คือ มีเมตตากรุณา ประกอบอาชีพสุจริต สํารวมในกาม มีสัจจะ มี
สติสัมปชัญญะและไมมัวเมาในอบายมุข
•จริยธรรมระดับกลาง เพื่อการสรางความดี เปHนขอปฏิบัติที่ควบคุมไปถึงจิตใจเรียกวา
      กายสุจริต 3 คือ เวนจากการฆาสัตว ลักทรัพย และประพฤตผิดในกาม
      วจีสุจริต 4 คือ เวนจากการพูดเท็จ พูดสอเสียด พูดคําหยาบ และพูดเพอเจอ
      มโนสุจริต 3 คือ ไมโลภอยากไดของผูอื่น ไมคิดพยาบาทปองรายผูอื่นและมี
ความเห็นถูกตองตามทํานองคลองธรรม
จริยธรรมระดับสูงเพื่อการชําระจิตใจใหบริสุทธิ์ คือ อริยมรรคมีองค 8 ประการ เปHน
หนทางดับทุกขที่แทจริงไดแก สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ สัมมาสังกัปปะ ความ
ดําริชอบ สัมมาวาจา การเจรจาชอบ สัมมากัมมันตะ การกระทําชอบ สัมมา
อาชีพวะ การเลี้ยงชีพชอบ สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ สัมมาสติ การระลึก
ชอบ และ สัมมาสมาธิ การตั้งใจมั่นชอบ การฝpกจิตดวยอริยมรรคมีองค 8 นี้
ผูฝpกจิตไดจะสามารถดับกิเลสดับกองทุกข ไดสิ้นเชิง เรียกภาวะนี้วา การบรรลุ
นิพพาน
หลักธรรมที่ชาวพุทธควรรู
อิทธิบาท 4 หลักธรรมที่นําสูความสําเร็จ
     ฉันทะ ความพอใจในการทํางาน ทํางานดวยความเต็มใจ มีใจรักที่จะทํางานให
สําเร็จลุลวงไปดวยดี
     วิริยะ มีความเพียรพยายามทํางานใหสําเร็จ ดวยความอดทน ไมทอถอย
     จิตตะ มีความเอาใจใสตอการทํางาน เอาใจฝกใฝ]ที่จะทํา
     วิมังสา รูจักตริตรองพิจารณาเหตุผล ดวยสติปญญา เพื่อปรับปรุงแกไขและ
ทํางานใหสําเร็จ
ฆราวาสธรรม 4 หลักธรรม ขอปฏิบัติของผูครองเรือน 4 ประการคือ
สัจจะ แปลวา ความซือสัตย ความจริงใจ ความซือตรงตอกัน ซึ่งถือวาเปHน
                     ่                        ่
พื้นฐานในการครองเรือน
ทมะ แปลวา การขมใจ การฝpกฝนปรับปรุงตนเองใหเจริญกาวหนาดวย
สติปญญาหมายถึง การบังคับจิตใจไมใหใฝ]สูงเกินไป และรูจักฝpกฝนตนเอง
ไมใหถลําไปสูความชั่วหรือความผิดตางๆ
ขันติ แปลวา ความอดทน หมายถึงความอดทนตอสิ่งไมดี อดทนตอความ
ยากลําบาก โดยไมหวั่นไหว และไมทอถอย ความอบทนแบงได 4 ประการ
อดทนตอความยากลําบาก อดทนตอความทุกขเวทนา อดทนตอความเจ็บ
ใจ อดทนตออํานาจกิเลส
จาคะ แปลวา ความเสียสละ หมายถึง การเสียสละความสุขความสบาย
สวนตน พรอมทีจะรวมมือชวยเหลือ ไมคับแคนเห็นแกตัวหรือเอาแตใจตัวเอง
              ่
ความเสียสละในสวนนี้ทําได 2 วิธี เสียสละวัตถุ เสียสละอารมณ
อริยสัจ 4       หมายถึง หลักความจริงอันประเสริฐ หรือหลักความจริงที่ทําใหคนเปHนผู
 ประเสริฐ ซึ่งเปHนหลักในการแกปญหาชีวิต 4 ประการ
 ทุกขJ หมายถึง ความไมสบายกายไมสบายใจ อันเนื่องมาจากสภาพที่ทนไดยาก คือ
 สภาวะที่บีบคั้นจิตใจ ความขัดแยง
 สมุทัย หมายถึง เหตุที่ทําใหเกิดความทุกข คือ สิ่งที่เปHนจุดเริ่มตนที่ทําใหเกิดทุกข แต
 สาเหตุที่แทจริงคือ ตัณหาหรือความตองการ 3 ประการ คือ กามตัณหา หมายถึง
 ความอยากได ภวตัณหา หมายถึง ความอยากเปHน วิภาวตัณหา หมายถึง ความ
 ไมอยากเปHน
 นิโรธ หมายถึง ความดับทุกข คือภาวะที่ตัณหา ดับสิ้นไป
      มรรค หมายถึง ขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข ซึ่งไดแก การเดินทางสายกลาง
      หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา มรรค ซึ่งมีสวนประกอบ 8 ประการคือ
      สัมมาทิฏฐิ-เห็นชอบ สัมมาสังกัปปะ-ดําริชอบ สัมมาวาจา-เจรจาชอบ
      สัมมากัมมันตะ-กระทําชอบ สัมมาอาชีวะ-เลี้ยงชีพชอบ สัมมาวายามะ-
      พยายามชอบ สัมมาสติ-ระลึก สัมมาสมาธิ-ตั้งจิตมั่นชอบ
มรรค 8 นี้ รวมเรียกวา ไตรสิกขา ไดแก
1. ศีล คือ การสํารวมกาย วาจา ไดแก เจรจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ
2. สมาธิ คือ การฝpกฝนอบรมจิตใหมั่นคง ไดแก พยายามชอบ สติชอบ สมาธิชอบ
3. ปญญา คือ ความรูในการพิจารณาสภาวะตางๆ ตามความเปHนจิรง ไดแก เห็นชอบ
   และดําริชอบ
ขันธJ ๕ คือ องคประกอบของชีวิตมนุษย ไดแก รูป ขันธ และนามขันธ มี 5 ประการ คือ
1. รูป คือ รางกาย
2. เวทนา คือ ความรูสึกที่เกิดจากสิ่งที่รับรู ไดแก สุข ทุกข เฉยๆ
3. สัญญา คือ การกําหนดหมายรูสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไดแก หวาน เค็ม แข็ง นิ่ม ดัง คอย
   เหม็น หอม สวย นารัก
4. สังขาร คือ สิ่งปรุงแตงหรือแรงจูงใจที่ทําใหมนุษยกระทําอยางใด ซึ่งเปHนขั้นตอนที่ก
   อใหเกิดพฤติกรรม
5. วิญญาณ คือ การรับรูผานประสาทสัมผัส คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
ไตรลักษณJ (สามัญลักษณะ) หมายถึง ลักษณะทั่วไปในสิงทังปวงมี 3 ประการ
                                                     ่ ้
  คือ
 1. อนิจจัง คือ ความไมเที่ยง
 2. ทุกขตา คือ สภาวะที่ทนไมได
 3. อนัตตา คือ ความไมใชตัวตน
นิยาม 5 กําหนดอันแนนอน ความเปHนไปอันมีระเบียบแนนอนของธรรมชาติ
ประกอบดวย
1. อุตุนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับอุณหภูมิ หรือปรากฏการณธรรมชาติตางๆ
  โดยเฉพาะ ดิน น้ํา อากาศ และฤดูกาล อันเปHนสิงแวดลอมสําหรับมนุษย)
                                                 ่
2. พีชนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการสืบพันธุมีพนธุกรรม เปHนตน)
                                               ั
3. จิตตนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการทํางานของจิต)
4. กรรมนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย คือ กระบวนการใหผล
  ของการกระทํา)
5. ธรรมนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับความสัมพันธและอาการที่เปHนเหตุ เปHนผลแก
  กันแหงสิงทังหลาย)
            ่ ้
ปฏิจจสมุปบาท
 สภาพอาศัยปจจัยเกิดขึ้น การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงมีขึ้น การที่ทุกขเกิดขึ้นเพราะ
 อาศัยปจจัยตอเนื่องกันมา หรือเรียกวา กฎอิทัปปจจยตา
 - อวิชชา (ความไมรู)                   - สังขาร (สภาพที่ปรุงแตง)
 - วิญญาณ (ความรูแจงอารมณ)             - นามรูป (นามขันธกับรูปขันธ)
 - สฬายตนะ (อายตนะภายใน 6)
 - ผัสสะ (การกระทบของอายตนะภายใน 6 กับอารมณภายนอก
 - เวทนา (ความเสวยอารมณ ทุกข สุข ไมทุกขไมสุข)
 - ตัณหา (ความอยาก เชน รูป กลิ่น รส สัมผัส ชื่อเสียง ตําแหนง)
 - อุปาทาน (ความยึดมั่น ไดแก อุปาทาน 4)
 - ภพ (ภาวะชีวิต) ชาติ (ความเกิดแหงขันธทั้งหลายการไดอายตนะ)
 - ชรามรณะ (ความแกและความตาย)
31. การจัดกลุมธรรมในอริยสัจ 4 ขอใดไมถูกตอง
   ก. ทุกข – ขันธ5 – โลกธรรม8                ลองดูขอสอบกันบ้าง
                                                    ้
   ข. สมุทัย – นิวรณ5 – อุปทาน4
   ค. นิโรธ – ปฏิจจสมุปบาท – กรรม12
   ง. มรรค – อปริหานิยธรรม7 – มงคล 38
32. ขอใดคือคําตอบที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักคําสอนเรื่อง อริยสัจ4
   ก. รูทุกข ละสมุทัย ทํานิโรธใหแจง ทํามรรคใหเกิดมี
   ข. ละทุกข รูสมุทัย ทํานิโรธใหเกิดมี ทํามรรคใหแจง
   ค. รูทุกข รูสมุทัย ทํานิโรธใหเกิดมี ทํามรรคใหแจง
   ง. ละทุกข ละสมุทัย ทํานิโรธใหแจง ทํามรรคใหเกิดมี
33. การรับรู รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ในขันธ5 คือขอใด
   ก. จิต ข. เวทนา              ค. สังขาร         ง. วิญญาณ
34. การตัดสินใจอพยพออกจากบานที่ถูกน้ําทวมไปอาศัยพักพิงตามศูนยอพยพของ
  ทางราชการ หรือเอกชนนั้น เป:นขั้นตอนใดของขันธ5
   ก. เวทนาขันธ ข. สังขารขันธ ค. วิญญาณขันธ                 ง. รูปขันธ
35. พระพุทธเจาทรงสอนอริยสัจ4 ในวันใด
   ก. วันมาฆบูชา ข. วันวิสาขบูชา ค. วันอาสาฬหบูชา ง. วันจาตุรงคสันนิบาต
36. ขอใดบางที่เป:นเหตุตามหลักอริยสัจ4 (ตอบถูก2ขอ)
   ก. สมาพรกังวงใจที่โรงเรียนเป@ดเรียนชาเพราะกลัวเรียนไมทันเพื่อน
   ข. สมพรใชสติระงับความเครียดไมสรางทุกขใหกับตนเองในยามที่ประสบภัย
   ค. กษมพรยึดติดคานิยม K-POP จึงเลียนแบบการแตงกายตามนักรองเกาหลี
   ง. กชพรรองไหเสียใจกับการจากไปของนักนวัตกรโลกอยาง สตีฟ จIอบส
37. หลักคําสอนเรื่องขันธ5 เกียวของกับคําตอบขอใดบาง (2 คําตอบ)
                                ่
   ก. สังสารวัฏมีความเกียวของกับกฎแหงกรรม
                           ่
   ข. วิญญาณเป:นความรูสึกที่สัมผัสตอสิ่งตาง ๆ แลวเกิดสุขบางทุกขบาง
   ค. รูปขันธสามารถมองเห็นและสัมผัสไดเนื่องจากเกิดจากดินน้ําลมไฟ
   ง. สัญญาเป:นสิ่งที่สามารถบงบอกไดภายหลังการสัมผัส เชน รสเปรี้ยว
38. วิธีคิดแบบสามัญลักษณะคือการคิดแบบใด
   ก. มัชฌิมาปฏิปทา                    ข. ไตรลักษณ
   ค. อานาปานสติ                       ง. ปฏิจจสมุปบาท
39. ..ละชั่ว ทําดี มีจิตใจบริสุทธิ์.. เป:นหลักคําสอนที่เกี่ยวของกับวันใด
   ก. วันวิสาขบูชา                     ข. วันอาสาฬหบูชา
   ค. วันเขาพรรษา                      ง. วันมาฆบูชา
40. คําวา พุทธ มีความหมายอยางไร (ตอบ2ขอ)
   ก. ผูรูผูตื่น      ข. ผูหลุดพน      ค. ผูเบิกบาน ง. ผูมีปQญญา
41. ปฐมเทศนาของพระพุทธเจา ประกอบดวยหลักธรรมใดบาง (ตอบ2ขอ)
   ก. อริยสัจ4                  ข. โอวาทปาฏิโมกข
   ค. มัชฌิมาปฏิปทา             ง. อนันตลักขณสูตร
42. สามัญลักษณเป:นเรื่องที่เกี่ยวของกับคําตอบขอใด (ตอบ2ขอ)
   ก. ละชั่ว ทําดี มีจิตใจบริสุทธิ์
   ข. สิ่งตาง ๆมีการเปลี่ยนแปลงไมสามารถรักษาสภาพเดิมได
   ค. เมือโลกเกิดไดโลกยอมดับไดหรือสิ่งตาง ๆ เมือมีเกิดตองมีดับ
          ่                                        ่
   ง. อัตตาและอนัตตาเป:นสิ่งที่มีอยูในธรรมชาติและเป:นเหตุเป:นผล
พรหมวิหาร หมายถึง ธรรมประจําใจอันประเสริฐ หรือหลักความประพฤติที่
 ประเสริฐไดแก
 เมตตา หมายถึง ความรัก ความปรารถนาดีอยากใหผูอื่นเปHนสุขและมี
 ไมตรีจิตคิดที่เปHนประโยชนแกผูอื่นโดยทั่วหนา ไมวาจะเปHนมนุษยหรือสัตว
 กรุณา หมายถึง ความสงสารคิดชวยใหผูอื่นพนทุกข อาจจะชวยดวยกําลัง
 ทรัพย กําลังความคิด หรือกําลังกายแลวแตกรณี
 มุทิตา หมายถึง ความบันเทิงใจ หรือความเบิกบานใจ คือมีความยินดีเมื่อ
 ไดเห็น ไดยินผูอื่นไดดีมีความสุขความสบาย เราพลอยดีใจไปกับเขา
 อุเบกขา หมายถึง ความวางใจเปHนกลาง คือการทํางานโดยปราศอคติ
 วางตัวเปHนกลางไมลําเอียงเพราะรัก ชัง หลง หรือกลัว โดยพิจารณาวาใคร
 ทําดียอมไดดี ใครทําชั่วยอมไดรับชั่ว
อุปาทาน 4
 ความยึดมั่น ความถือมั่นดวยอํานาจกิเลส ความยึดติดอันเนืองมาแตตัณหา
                                                       ่
 ผูกพันเอาตัวตนเปHนที่ตั้ง ไดแก
 1. กามุปาทาน ความยึดมั่นในกาม คือ รูป เสียง กลิ่น รส ที่นาใคร
 นาพอใจ
 2. ทิฏqุปาทาน ความยึดมั่นในทิฏฐิหรือทฤษฎี คือ ความเห็น ลัทธิ หรือหลัก
 คําสอนตาง ๆ
 3. สีลัพพตุปาทาน ความยึดมั่นในศีลและพรต คือ หลักความประพฤติ
 ขอปฏิบติ แบบแผน ระเบียบวิธี ขนบธรรมเนียมประเพณี ลัทธิพิธตางๆ
         ั                                                    ี
 กันไปอยางงมงาย
 4. อัตตวาทุปาทาน ความยึดมั่นในวาทะวาตัวตน คือ ความถือหรือสําคัญ
 หมายอยู ในภายในวามีตวตน ที่จะได จะมี จะเปHน
                             ั
การบริหารจิตและการเจริญปPญญา
 การบริหารจิต หมายถึง การฝpกใหจิตมีคุณภาพ หมายถึง มีความ
 ดีงาม ออนโยน หนักแนน มั่นคง แข็งแกรง สงบรมเย็นมีความสุข
 การเจริญปPญญา คือ การฝpกใหรูจักคิด คิดใหเปHน เพื่อใหเกิด
 ปญญา ความรูแจงรูเทาทันกระแสโลก และกระแสธรรม
 การทําสมาธิ สมาธิ หมายถึง ความตั้งมั่น หรือแนวแน การรวม
 พลังจิต ความไมฟุAงซาน หรือการจัดระเบียบความคิดได
 สติ สมาธิ และปPญญา มีลักษณะเกื้อกูลกัน และมีความสัมพันธ
 กันอยางใกลชิด สติ คือ ความตั้งมั่น เปHนจุดเริ่ม แลวมีสมาธิ คือ มี
 จิตใจแนวแน และปญญา คือ การไตรตรองใหรอบคอบ
ประเภทของสมาธิ
ระดับของสมาธิแบงออกเปHน 3 ระดับ
  1. ขณิกสมาธิ หมายถึง อาการทีจิตนิ่งสงบเพียงชั่วระยะเวลาสั้นๆ
                                 ่
  2. อุปจารสมาธิ หมายถึง สมาธิที่กําลังจะแนวแน แตยังไมถึงขั้นสงบจริงๆ
  3. อัปปนาสมาธิ หมายถึง สมาธิที่แนวแนเขาสูความสงบจริงๆ
  จุดมุงหมายของสมาธิ
  1. เพื่อความตั้งมั่นแหงสติสมปชัญญะ
                             ั
  2. เพืออยูเปHนสุขในปจจุบัน
         ่
  3. เพือไดฌานทัศนะ
           ่
  4. เพือทํากิเลสใหสิ้น
             ่
อุปสรรคของสมาธิเกิดจากนิวรณ
 นิวรณJ เปHนชื่อเรียกความคิดนึกของคนเราที่เปHนอุปสรรคในการทําความดี
 แบงเปHน 5 ประเภท คือ
 1. กามฉันทะ คือ ความพอใจ ความอยากในสิ่งทีปรารถนา แกไดดวยการ
                                               ่
 พิจารณาความตองการแลวพยายามขมใจตนเอง
 2. พยาบาท คือ ความโกรธแคนหรืออาฆาตพยาบาท แกดวยเมตตา
 3. ถีนมิทธะ คือ ความเบือหนายเกียจคราน แกไดดวยการตั้งสติเพงไปที่ซง
                         ่                                          ึ่
 มีแสงสวางมากๆ
 4. อุทธัจจกุกกุจจะ คือ ความฟุAงซานและรําคาญ แกไดดวยการคิดแตเรือง่
 ของคุณงามความดีทเราไดทําไปแลวเพือใหเกิดความภูมิใจ
                      ี่            ่
 5. วิจิกจฉา คือ ความลังเลสงสัย แกไดดวยการปลอยวางใหผานไปแลว
         ิ
 คอยหาขอยุตใหม ิ
การเจริญปPญญา
 ปญญา คือ ความรูจริง รูทั่ว รูเทาทัน การเจริญหรือการพัฒนาปญญามี 3 วิธี คือ
 1. สุตมยปญญา คือ ปญญาเกิดจากการฟงการอานการเขียน ซึ่งการพัฒนาปญญาดานนี้
 ตองผานกระบวนการ ดังนี้
 1.1 ตองฟงมากจนเปHนพหูสูตร
 1.2 นําความรูไปขยายหาเหตุผลใหกวางขวาง
 1.3 สอบถามจากทานผูรู
 1.4 บันทึกความจําไวเปHนหมวดหมู
2. จินตามยปญญา คือ ปญญาเกิดจากการคิด เปHนการนําเอาความรูหรือขอมูลที่ไดจาก
 การฟงมาไตรตรอง โดยผานกระบวนการ ดังนี้
 2.1 คิดอยางปราศจากฉันทาคติ ลําเอียงเพราะรักใครชอบพอ
 2.2 คิดอยางปราศจากภยาคติ ลําเอียงเพราะขลาดกลัว เกรงใจ
 2.3 คิดอยางปราศจากโมหาคติ ลําเอียงเพราะความหลง โงเขลา
 2.4 คิดอยางปราศจากโทสาคติ ลําเอียงเพราะโกรธเกลียด
3. ภาวนามยปญญา คือ ปญญาอันเกิดจากการลงมือปฏิบติ เปHนการนํา
                                                 ั
  ปญญาไปใชแกปญหา ภาวนามยปญญามีความหมาย 2 ระดับ คือ
  3.1 ความหมายทั่วๆ ไป เปHนปญญาที่ใชแกปญหาในชีวิตประจําวัน
  3.2 ความหมายทางพระพุทธศาสนา เปHนปญญาทีเกิดขึ้นโดยผานกระบวน
                                           ่
  การดังนี้
   1) สมถภาวนา คือ การอบรมจิตใหเกิดสมาธิ
   2) วิปสสนาภาวนา คือ การอบรมจิตใหเกิดปญญา
สติปPฏฐาน ๔
    ที่ตงของสติ การตั้งสติกําหนดพิจารณาสิ่งทังหลายใหรูเห็นตามความเปHนจ
        ั้                                   ้
 ริง คือ ตามสิงนั้นๆ นับเปHนของมันเองมี 4 ประการ คือ
              ่
1. กายานุปสสนาสติปฏฐาน (การตั้งสติกําหนดพิจารณากายใหรูเห็นตามเปHน
 จริงวา เปHนแตเพียงกาย ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา) จําแนกวิธีปฏิบัตไว
                                                                  ิ
 หลายอยาง คือ
 - อานาปานสติ กําหนดลมหายใจ 1,
 - อิริยาบถ กําหนดรูทันอิริยาบถ 1,
 - สัมปชัญญะ สรางสัมปชัญญะในการกระทําความเคลือนไหวทุกอยาง 1,
                                                   ่
 - ปฏิกูลมนสิการ พิจารณาสวนประกอบอันไมสะอาดทั้งหลายที่ประชุมเขาเปHน
 รางกายนี้ 1,
 - ธาตุมนสิการ พิจารณาเห็นรางกายของตนโดยสักวาเปHนธาตุแตละอยางๆ 1
2. เวทนานุปสสานสติปฏฐาน (การตั้งสติกําหนดพิจารณาเวทนาใหรูเห็นตาม
  เปHนจริงวา เปHนแตเพียงเวทนา ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา) คือ มีสติอยู
  พรอมดวยความรูชัดเวทนาอันเปHนสุข ก็ดี ทุกขก็ดี เฉยๆ ก็ดี ทั้งที่เปHน
  สามิสและเปHนนิรามิสตามทีเปHนอยูขณะนั้นๆ
                            ่
3. จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน (การตั้งสติกําหนดพิจารณาจิต ใหรูเห็นตาม
  เปHนจริงวา เปHนแตเพียงจิต ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา) คือ มีสติอยู
  พรอมดวยความรูชัดจิตของตนที่มีราคะ ไมมีราคะ มีโทสะ ไมมีโทสะ
  มีโมหะ ไมมีโมหะ เศราหมองหรือผองแผว ฟุAงซานหรือเปHนสมาธิ ฯลฯ
  อยางไรๆ ตามทีเปHนไปอยูในขณะนั้นๆ
                  ่
4. ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน (การตั้งสติกําหนดพิจารณาธรรมใหรูเห็นตาม
  เปHนจริงวาเปHนแตเพียงธรรม ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา) คือ มีสติอยู
  พรอมดวยความรูชัดธรรมทังหลาย ไดแก นิวรณ ๕ ขันธ ๕ อายตนะ ๑๒
                              ้
  โพชฌงค ๗ อริยสัจ ๔ วาคืออะไร เปHนอยางไร มีในตนหรือไม เกิดขึ้น
  เจริญบริบูรณ และดับไดอยางไร เปHนตน ตามที่เปHนจริงของมันอยางนั้นๆ
พระไตรปeฎก คือ คัมภีรของพระพุทธศาสนา ไตร แปลวา สาม ป4ฎก แปลวา
  ตะกราก็ได ไตรป4ฎกจึงแปลวา คัมภีรสามคัมภีร ไดแก พระวินัยป4ฎก พระสุต
  ตันตป4ฎก และพระอภิธรรมป4ฎก
โครงสรางของพระไตรปeฎก แบงเปHน 3 สวนใหญๆ และแตละหมวดมีสาระ ดังนี้
1. พระวินัยป4ฎก วาดวยสิกขาบทและบทบัญญัติตางๆ เกี่ยวกับภิกษุสงฆและภิกษุณี
      แบงเปHน 3 หมวด
2. พระสุตตันตป4ฎก วาดวยพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจา (มีของพระสาวกบาง
      บางสวน) ที่ตรัสแก ชนตางชั้น ตางกาละและโอกาส เปHนในรูปคํารอยแกว
      ลวนบาง ผสมรอยแกวกับรอยกรองบาง พระป4ฎกนี้มทั้งสิน 21000 พระธรรม
                                                    ี ้
      ขันธ โดยแบงออกเปHน 5 นิกาย
3. พระอภิธรรมป4ฎก วาดวยการอธิบายหลักธรรมตางๆ ในดานวิชาการลวนๆ ไม
  เกี่ยวกับเหตุการณและบุคคล ซึ่งหลักธรรมทีไดนําเอามาอธิบายมีอยูในสวนของ
                                          ่
  พระสุตตันตป4ฎกนันเอง มี 42000 พระธรรมขันธ แบงเปHน 7 คัมภีร
                    ่
พุทธศาสนสุภาษิต
จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิตที่ฝpกดีแลวนําสุขมาให
นอุจฺจาวจํ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ บัณฑิตยอมไมแสดงอาการขึ้นๆ ลงๆ
นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต คนที่ไมถูกนินทา ไมมีในโลก
โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ ฆาความโกรธได ยอมอยูเปHนสุข
ปฏิรูปการี ธุรวา อุฏฐาตา วินฺทเต ธนํ คนขยันเอาการเอางาน กระทําเหมาะสม
  ยอมหาทรัพยได
วายเมถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา เกิดเปHนคนควรจะพยายามจนกวาจะประสบ
  ความสําเร็จ
สนฺตุฏฐี ปรมํ ธนํ ความสันโดษเปHนทรัพยอยางยิ่ง
อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก การเปHนหนี้เปHนทุกขในโลก
ราชา มุขํ มนุสฺสานํ พระราชาเปHนประมุขของประชาชน
สติ โลกสฺมิ ชาคโร สติเปHนเครื่องตื่นในโลก
นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ สุขอื่นยิ่งกวาความสงบไมมี
นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ นิพพานเปHนสุขอยางยิ่ง
พุทธสาวก พุทธสาวิกา
 พระอัสสชิ พระสาวกผูดํารงตนอยาง “สมถะ” อริยาบทสํารวมและเปHนผูชักชวนใหพระสารีบุตร
มาเปHนพระภิกษุ
 พระกีสาโคตมีเถรี ภิกษุณีผูทรงจีวรเศราหมอง
 พระนางมัลลิกา พุทธสาวิกาที่มีความมั่นคงในหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา
 หมอชีวก โกมารภัจ อุบาสกผูเลื่อมใสในบุคคล แพทยประจําพระองคพระพุทธเจาและภิกษุสงฆ
 พระอนุรุทธะ ผูไมเคยไดยินคําวา “ไมมี” เพราะยินดีในการใหทานและทิพยจักษุญาณ
 พระองคุลิมาล โจรกลับใจ หรือตนคด ปลายตรง
 พระธัมมทินนาเถรี ภิกษุณีผูไดรับการยกยองวาเปHนนักบรรยายธรรม หรือผูเปHนเลิศทางทรงธรรม
 จิตตคหบดี อุบาสกผูไดรับการยกยองในการแสดงธรรม
 พระอานนท พหูสูตรผูทรงจําพระธรรมวินัย
 พระปฏาจาราเถรี ภิกษุณีผูเปHนเลิศทางทรงพระวินยั
 จูฬสุภัททา สตรีนักเผยแผพระพุทธศาสนาชั้นนํา
 สุมนมาลาการ ผูยอมสละชีวิตเพือแลกกับการไดบูชาพระพุทธเจา
                                ่
ชาวพุทธตัวอยาง
พระนาคเสน-พระยามิลินท การเปHนผูใฝ]รูและเปHนผูมีปฏิภาณในการตอบโตวาทะ
สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) ผูแตกฉานในพระปริยัติธรรมและพระนักปกครองที่ยอดเยี่ยม
พระอาจารยมั่น ภูริทตฺโต พระอาจารยใหญ ฝ]ายวิปสสนาธุระ
สุชีพ ปุญญานุภาพ ผูเรียบเรียงพระไตรป4ฎกฉบับประชาชนและริเริ่มแตงนวนิยายอิงธรรมะ
สมเด็จพระนารายณมหาราช มีพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาอยางมั่นคงและทรงอุปถัมภแกศาสนาอื่น
พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ) พระนักเทศน นักปาฐกถาธรรม นักเขียนธรรมะระดับแนวหนาของ
  ประเทศ
พระพรหมมังคลาจารย (ปญญานันทภิกขุ) พระนักเทศนเนื้อหาสมัยใหม ตรงไปตรงมาเนนธรรมะที่บริสุทธิ์
ดร.เอ็มเบดการ บัวบานที่อยูเหนือกาลเวลา
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระมหากษัตริยที่ทรงออกผนวชและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา
  ในทุกดาน รวมทั้งสงเสริมการศึกษาของพระภิกษุสงฆ
พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) พระวิปสสนาจารยทําอยางไรพูดอยางนั้น ผูทําใหดอกบัวบานในโลก
  ตะวันตก
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต) ปราชญทางพระพุทธศาสนาในโลกปจจุบัน ภูมิปญญาไทยกาวไกลสู
  ระดับสากล
อนาคาริก ธรรมปาละ ผูพลิกฟ`aนพระพุทธศาสนาคืนใหแกแผนดินแม
ชาดก
เวสสันดรชาดก ทรงบําเพ็ญทานบารมี
มโหสถชาดก มหาบัณฑิตผูมีปญญาเปHนเอก
มหาชนกชาดก ทรงบําเพ็ญวิริยะบารมี
นิกายสําคัญแบงแยกออกเปHน 2 นิกาย คือ
1. นิกายเถรวาท - ปฏิบัติตามคําสั่งสอนของพระพุทธเจาเดิม
2. นิกายอาจาริยวาท (มหายาน) - ดัดแปลงพระธรรมวินัยตามควร
43. ผูประสบภัยมักกลาววา ..บานนี้อยูมา30-40 ปfไมเคยเจอน้ําทวม
    แตน้ํามาทวมในปfนี้... ขอความดังกลาวนี้สอดคลองกับหลักไตรลักษณใด
    ก. อนิจจัง ข. อัตตา ค. ทุกขัง ง. อนัตตา
44. สมพรเปHนผูมีความขยันหมั่นเพียร ประหยัด เลี้ยงชีพตามกําลังทรัพย
     และคบเพื่อนที่ดี สมพรปฏิบัตตามหลักธรรมขอใด
                                         ิ
    ก. โลกธรรม ข. โภคอาทิยะ ค. ทิฏฐธัมมิกตถะ ง. อปริหานิยธรรม
                                                            ั
45. ขอใด ไมถูกตอง เกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท
    ก. เปHนธรรมนิยาม
    ข. ชีวิตเปHนไปตามดวง
    ค. อวิชชาเปHนจุดเริมตนของกระบวนการเกิดความทุกขในชีวิตมนุษย
                             ่
    ง. เมือสิ่งนี้มี สิ่งนี้จงมี เมือสิ่งนี้ไมมี สิ่งนี้ก็ไมมี
          ่                    ึ    ่
46. พีชนิยามในนิยาม5 ของสมุทัย หมายถึงกฎธรรมชาติเรื่องใด
   ก. การสืบพันธุ ข. สิ่งไมมีชีวิต ค. สภาพแวดลอม ง. การทํางานของจิต
47. การที่ผูปกครองประเทศตัดสินใจดําเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยคํานึงถึง
    ความเห็นของคนสวนใหญ เป:นการดําเนินการตามหลักการใดในพระพุทธ
   ก. อัตตาธิปไตย ข. โลกาธิปไตย ค. ธรรมาธิปไตย ง. ประชาธิปไตย
48. การใชหลักโยนิโสมนสิการขอใด สามารถดับทุกขจากการหลงยึดติดในรูปกาย
   ไดมากที่สุด
   ก. การคิดพิจารณาหาเหตุปQจจัย
   ข. การคิดพิจารณาแยกแยะสวนประกอบ
   ค. การคิดพิจารณาแบบสามัญลักษณะ
   ง. การคิดพิจารณาเห็นคุณ-โทษและทางออก
49. การกําหนดลมหายใจเขา-ออก จัดอยูในสติปQฏฐานประเภทใด
   ก. กายานุปQสสนา              ข. จิตตานุปQสสนา
   ค. ธัมมานุปQสสนา            ง. เวทนานุปQสสนา
50. การมีสติกําหนดรูวาขันธ5 แตละอยางคือไร เกิดขึ้นไดอยางไร และดับไป
    ไดอยางไรนั้นอยูในสติปQฏฐานใด
   ก. กายานุปQสสนา            ข. เวทนานุปQสสนา
   ค. จิตตานุปQสสนา           ง. ธัมมานุปQสสนา
51. ธรรมใดสอนเรื่องความเพียร (2คําตอบ)
   ก. เบญจศีล ข. อริยวัฑฒิ ค. อปริหานิยธรรม ง. ทศพิธราชธรรม
52. ขอใดคือประโยชนที่บุคคลไดรับจากการบริหารจิตตามหลักสติปQฏฐาน(2 คําตอบ)
   ก. ทําใหระลึกชาติได         ข. ทําใหเชือในบาปบุญคุณโทษ
                                          ่
   ค. ทําใหรางกายแข็งแรงมีสขภาพดี ง. ทําใหมีศรัทธาในพระพุทธศาสนาเพิมขึ้น
                            ุ                                       ่
53. ผูปกครองประเทศควรยึดหลักใด สังคมจึงจะสงบสุขและมีสันติ (2 คําตอบ)
   ก. เบญจศีล ข. อริยวัฑฒิ ค. อปริหานิยธรรม ง. ทศพิธราชธรรม
54. ตนไมทีมีความเกี่ยวของกับวันวิสาขบูชา ไดแกตนไมอะไร (2 คําตอบ)
           ่
   ก. ตนโพธิ์ ข. ตนสาละ ค. ตนประดู               ง. ตนไทร
55. ขอใด ไมถูกตอง (2 คําตอบ)
   ก. พระไตรป@ฎกพัฒนามาจากพระธรรมวินัย
   ข. การบันทึกพระไตรป@ฎกเป:นลายลักษณอักษรครั้งแรกใชภาษามคธ
   ค. พระไตรป@ฎกไดรับการเผยแผไปยังประเทศตาง ๆ พรอมกับคณะพระธรรม
  ทูต
   ง. การสังคายนาพระไตรป@ฎกครั้งแรกทําในสมัยพุทธกาลโดยพระอานนทเป:น
  หัวหนา
56. การประกอบศาสนพิธีของบุคคลในขอใดตอไปนี้แตกตางจากบุคคลอื่น
   ก. สมบุญเป:นเจาภาพทอดกฐินที่วัดราษฎรนิยม
   ข. บุญชัยทําบุญถวายสังฆทานในวันครบรอบวันเกิด
   ค. กอบบุญแสดงตนเป:นพุทธมามกะกอนเดินทางไปศึกษาตอตางประเทศ
   ง. บุญมากถวายเทียนพรรษาและผาอาบน้ําฝนในเทศกาลเขาพรรษาที่ผานมา
57. หนาที่ที่สําคัญที่สุดของพุทธศาสนิกชนคือขอใด
   ก. รักษาศีล                   ข. ศึกษาพระไตรป@ฎก
   ค. เผยแผพระพุทธศาสนา ง. ทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา
58. ศาสนพิธีใดเป:นเรื่องของพระสงฆลวน ๆ ไมมีฆราวาสเกี่ยวของ
   ก. พิธีอุปสมบท                ข. พิธีปวารณา
   ค. พิธีมหากฐิน               ง. พิธีรักษาอุโบสถศีล
59. คําตอบขอใดตอไปนี้ ไมถูกตอง เกี่ยวกับเทศกาลสงกรานต
   ก. มีการประกอบพิธีกรรมอุทิศสวนกุศลใหบรรพชนที่เสียชีวิต
   ข. เป:นเทศกาลสงทายปVเกาตอนรับปVใหมของไทยในอดีต
   ค. มีการกอพระเจดียทรายซึ่งเป:นการขนทรายเขาวัด
   ง. คําวา สงกรานต มีความหมายวาการที่พระจันทรเคลื่อนยายจากราศีมีน
  เขาสูราศีเมษ
60. เทศกาลสําคัญทางพระพุทธศาสนาขอใดทีพุทธศาสนิกชนมีโอกาสไดแสดงความ
                                           ่
  กตัญXูกตเวทีตอสิ่งตาง ๆ มากที่สุด
   ก. เขาพรรษา – สงกรานต            ข. ทอดกฐิน – ออกพรรษา
   ค. ออกพรรษา – ลอยกระทง           ง. ลอยกระทง – สงกรานต
61. ศาสนพิธใด ไมมี การเจาะจงพระภิกษุผรับ
             ี                           ู
   ก. ทอดกฐิน ข. ถวายผาอาบน้ําฝน ค. ถวายสังฆทาน ง. ถวายผาจํานําพรรษา
62. ขอใดตอไปนี้เป:นศาสนพิธีประเทศทานพิธี (2 คําตอบ)
   ก. การตักบาตรตอนเชา          ข. การทอดกฐิน
   ค. การสมาทานศีล              ง. การทําบุญอุทิศสวนกุศลใหผูเสียชีวิต
63. การทําบุญในงานมงคลเมื่อพระสงฆนั่งประจําอาสนะแลว เจาภาพจุดธูปเทียน
    บูชาพระ จะมีการอาราธนาใดบาง (2 คําตอบ)
   ก. อาราธนาศีล               ข. อาราธนาพระสงฆ
   ค. อาราธนาพระธรรม           ง. อาราธนาพระปริตร
64. เทศกาลสําคัญทางพระพุทธศาสนาเทศกาลใดบางที่พุทธบริษัทไดปฏิบัติตน
    เพื่อแสดงความกตัญXูตอธรรมชาติ (2 คําตอบ)
   ก. เขาพรรษา ข. ออกพรรษา ค. ลอยกระทง ง. ทอดกฐิน
65. พุทธสาวกและพุทธสาวิกาที่ไดรับยกยองในการบรรยายธรรมคือใคร
   ก. จุฬสุภัททา ข. พระปฏาจาราเถรี ค. จิตตคหบดี ง. พระธัมมทินนาเถรี
ศาสนาพราหมณ-ฮินดู
   มีวิวัฒนาการ 3 สมัย คือ
1. สมัยพระเวท เริ่มแรก นับถือเทพเจาตาง ๆ
2. สมัยพราหมณ เกิดเทพ พระพรหม ผูสราง และความเชื่อตรีมูรติ
3. สมัยฮินดู เขาสูยุคใหม เชื่อในเรื่องการหลุดพน แบงออกเป:น 6 ลัทธิ(ทรรศนะ6)
 - นยายะ บรรลุปรมัตถโดยอาศัยการคิดอยางมีเหตุผลมีขั้นตอน
 - ไวเศษิกะ หลุดพนจากการเวียนวายตายเกิดดวยการแยะแยะสัจธรรม 9 อยาง
 - สางขยะ หากมนุษยแยกแยะสสารออกจากวิญญาณไดก็จะบรรลุโมกษะ
 - โยคะ เนนวิธีปฏิบัติใหหลุดพนโดยการดับทุกขทางจิต
 - มิมางสา การตีความพิธีกรรมและคัมภีรพระเวท
 - เวทานตะ การสืบคนหาพรหม มีอทธิพลตอพัฒนาการของศาสนาฮินดูมากที่สุด
                                       ิ
คัมภีรในศาสนาพราหมณ-ฮินดู
  1. คัมภีรศรุติ เป:นคัมภีรที่เกิดจากการรับฟQงมาจากโอษฐของพระเจา
  เชน คัมภีรพระเวท
  2. คัมภีรสมฤติ เป:นคัมภีรที่มนุษยสรางขึ้นและจดจํา ถายทอดสืบตอ
  มา เชน คัมภีรธรรมศาสตร
คัมภีรพระเวท ไดแก
  1. ฤคเวท ออนวอนสรรเสริญเทพเจาตาง ๆ
  2. ยชุรเวท คูมือพราหมณในการทําพิธี
  3. สามเวท บทรอยกรองใชในพิธยญกรรม หรือถวายน้ําโสมแก
                                    ีั
  พระอินทร
  4. อาถรรพเวท คัมภีรเกิดหลังสุด เรื่องเกี่ยวกับมนตคาถา พิธีแกเสนียด
  จัญไร เพื่อเป:นสิริมงคลแกตนเอง และนําผลรายไปสูผูอื่น
นิกายสําคัญในศาสนาพราหมณ-ฮินดู
 1. นิกายพรหม นับถือจงรักภักดีพระพรหม
 2. นิกายไวษณพ นับถือจงรักภักดีตอพระวิษณุ หรือพระนารายณ
 3. นิกายไศวะ นับถือจงรักภักดีตอพระศิวะ หรือพระอิศวร
 4. นิกายศักติ นับถือจงรักภักดีพระเป:นเจาฝ[ายหญิง ไดแก
    พระสุรัสวดี พระอุมา พระลักษมี
ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ
พระแมอุมาเทวี... เจ$าแมอุมา หรือ ปารวตี คือ
                             พระนามแหงพระแมผูเป:นใหญในจักรวาล เป:นเทวี
                             แหงอํานาจวาสนาและบารมีอันสูงสุด พระองค
                             ทรงประทานยศถาบรรดาศักดิ์ และความเป:นใหญ
พระแม่กาลี เทวีผูทรงมหิทธา
                 ้           แกผูหมั่นบูชาตอพระองคอยางสม่ําเสมอ.
พระแมลักษมี คือเทวีแหงความงดงาม ความร่ํารวย
                                   และความอุดมสมบูรณ พระองคมักประทานความสําเร็จใน
                                   การประกอบกิจการ การเจรจาตอรอง การทํามาคาขาย
พระแมสรัสวดี เทวีแหงป(ญญาความรู$   การประกอบธุรกิจทุกสาขา ตลอดจนประทานโภคทรัพย
ศิลปวิทยาการ การภาวนาและพิธีกรรม   เงินทอง สมบัติ แกผูหมั่นบูชาพระองคและประกอบความดี
                                   อยูเป:นนิจ
หลักธรรมในศาสนาพราหมณ-ฮินดู
1. หลักอาศรม4 – ขั้นตอนชีวิต หรือทางปฏิบติเพื่อยกระดับชีวิต
                                            ั
  1.1 พรหมจารี – วัยแหงการศึกษาเลาเรียน
  1.2 คฤหัสถ – วัยแหงการครองเรือน
  1.3 วรปรัสถ – วัยแหงการปฏิบติศีลในป[า
                                ั
  1.4 สันยาสี – วัยแหงการหลุดพน
2. หลักปุรุษารถะ – หลักการดําเนินชีวิตที่ดี
  2.1 ธรรมะ – ประพฤติปฏิบัตธรรม เขาใจชีวต เพื่อไปเกิดในสุคติภมิ
                             ิ                ิ              ู
  2.2 กามะ – เสริมสรางชีวิตใหมั่นคง เชน การประกอบอาชีพ แตงงาน
  2.3 อรรถะ – แสวงหาความมั่นคงใหแกชีวิตดานตาง ๆ เชน การศึกษา
  2.4 โมกษะ – ออกบําเพ็ญพรต เพื่อความหลุดพน
3. หลักปรมาตมันหรือโมกษะ – หนทางนําไปสูการหลุดพนจากการเวียน
  วายตายเกิด ไดแก
  3.1 กรรมมรรค หรือกรรมโยคะ – ละกรรมที่จะทําใหเวียนวายตายเกิด
  3.2 ภักติมรรค หรือภักติโยคะ – ความภักดีตอพระเจา
  3.3 ราชมรรค หรือราชโยคะ – ทางแหงการฝกฝนอบรมจิตใหมั่นคง
  3.4 ชญาณมรรค หรือชญาณโยคะ - ทางแหงปQญญาที่จะนําไปสูการ
  หลุดพน
พิธีกรรมในศาสนาพราหมณ-ฮินดู
  1. ระบบวรรณะ – การปฏิบัติตามกําเนิดวรรณะและหนาที่ตาม
 วรรณะของตน
 2. พิธีสังสการ – พิธีกรรมที่ทําใหเกิดความบริสุทธิ์ เป:นพิธเกียวกับ
                                                           ี ่
 ขั้นตอนชีวิตตั้งแตเกิด เป:นพิธีประจําบานเฉพาะวรรณะพราหมณ
 กษัตริย แพศย 12 อยาง เชน ตั้งครรภ คลอดบุตร ตั้งชื่อเด็ก นําเด็ก
 ออกดูดวงอาทิตย ป^อนขาว โกนผม ตัดผม เริ่มการศึกษา แตงงาน
 3. พิธีศราทธ – พิธีทําบุญอุทิศใหแกดวงวิญญาณบรรพบุรุษ มีการ
 ถวายขาวบิณฑ (กอนขาวสุก)
 4. พิธีบูชาเทวดา – การสวดมนตบูชาพระเจา การไปนมัสการบําเพ็ญ
 กุศลในเทวาลัย และพิธีบูชาในวันศักดิสิทธิ์
                                       ์
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันJungko
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวPadvee Academy
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมthnaporn999
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551Tos Prom
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 

Mais procurados (20)

การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
หนังสือรุ่นโรงเรียนบ้านหินลับศิลามงคล ปีการศึกษา 2551
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 

Semelhante a ติวศาสนา55

ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6thnaporn999
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555Carzanova
 

Semelhante a ติวศาสนา55 (20)

ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
งาน
งานงาน
งาน
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Mais de Kwandjit Boonmak

แนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากล
แนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากลแนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากล
แนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากลKwandjit Boonmak
 
สอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียสอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียKwandjit Boonmak
 
แผ่นพับ Copy
แผ่นพับ Copyแผ่นพับ Copy
แผ่นพับ CopyKwandjit Boonmak
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนKwandjit Boonmak
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาKwandjit Boonmak
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาKwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวเศรษฐศาสตร์55 copy
ติวเศรษฐศาสตร์55   copyติวเศรษฐศาสตร์55   copy
ติวเศรษฐศาสตร์55 copyKwandjit Boonmak
 
ไบแซนทิอุม
ไบแซนทิอุมไบแซนทิอุม
ไบแซนทิอุมKwandjit Boonmak
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกKwandjit Boonmak
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
Tutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกTutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกKwandjit Boonmak
 
Tutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกTutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกKwandjit Boonmak
 

Mais de Kwandjit Boonmak (20)

แนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากล
แนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากลแนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากล
แนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากล
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
Earthfrom sky1
Earthfrom sky1Earthfrom sky1
Earthfrom sky1
 
Ocean beauties
Ocean beautiesOcean beauties
Ocean beauties
 
สอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียสอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชีย
 
แผ่นพับ Copy
แผ่นพับ Copyแผ่นพับ Copy
แผ่นพับ Copy
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวเศรษฐศาสตร์55 copy
ติวเศรษฐศาสตร์55   copyติวเศรษฐศาสตร์55   copy
ติวเศรษฐศาสตร์55 copy
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
ไบแซนทิอุม
ไบแซนทิอุมไบแซนทิอุม
ไบแซนทิอุม
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
Tutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกTutorอารยธรรมตะวันตก
Tutorอารยธรรมตะวันตก
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 
Tutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกTutorอารยธรรมตะวันตก
Tutorอารยธรรมตะวันตก
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 

ติวศาสนา55

  • 1. สรุปยอเนื้อหาและขอสอบ O-NET สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ครูขวัญจิต บุญมาก www.kwandjit2555.wordpress.com
  • 2. เก็งข้อสอบศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม O-NET พระพุทธศาสนา (10 กวาขอ) - อริยสัจ 4 ขันธ 5 สติปฏฐาน 4 ไมควรพลาดโดยตองจําศัพท + ความหมาย ใหได (หลักธรรมออกเยอะ) - พุทธสาวก ชาวพุทธตัวอยาง เขาจะสุมมา 1 คนโดยจะมักถามคุณธรรมเดนๆ - พุทธศาสนสุภาษิต พระไตรป4ฎก ศาสนพิธีตางๆ บทสวด - ชาดก 3 เรื่อง เวสสันดร, มโหสถ, มหาชนก ศาสนาตาง ๆ (ไมถึง 10 ขอ) - ศาสนาพราหมณ-ฮินดู ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม (ออกศาสนาละประมาณ 1-2 ข อ) จับหลักธรรมสําคัญ? เปAาหมายสูงสุดของศาสนา? นิกาย จุดเดนของแตละนิกาย? และเหตุการณแตกนิกาย? พิธีกรรม? - ความสอดคลองของแตละศาสนา (ที่สอดคลองที่สุด “ความเมตตา”)
  • 3. ศาสนาพืนฐาน : นิ ยาม ศาสนา ตามรูปศัพทมาจากคําในภาษาสันสกฤตวา “ศาสน” แปลวา “คําสอน ขอบังคับ” ตรงกับคําในภาษาบาลีวา“สาสน”แปลวาศาสนา คําสั่งสอนของศาสดา” หมายถึง หลักคําสอนอันเปEนที่ยึดเหนี่ยวทางใจ เพือเปEนแนวทางในการปฏิบัติ ่ เพื่อใหรอดพนจากความทุกขJ ประสบแตความสุข โดยมีความสุขนิรันดรJเปEนจุด มุงหมายสูงสุด ที่มาของศาสนา 1. ความไมรู 2. ความกลัว 3. ตองการศูนยรวมกําลังใจ 4. ความตองการที่พึ่งทางใจ 5. ความตองการความสงบสุขของสังคม ความสําคัญของศาสนา 1.เปHนสิงยึดเหนี่ยวทางใจทีทําใหมนุษยมีที่พงและสราง ่ ่ ึ่ ความมันใจในการดําเนินชีวิต 2.เปHนเครื่องมือในการสรรสรางความสามัคคีทําให ่ สังคมเปHนอันหนึงอันเดียวกัน ชวยลดความขัดแยงทําใหเกิดสันติสุข 3.เปHนเครื่องมือ ่ ในการอบรมขัดเกลาสมาชิกของสังคม 4.เปHนพืนฐานของขนบธรรมเนียมประเพณี ้ 5.เปHนเครื่องหมายของสังคม เปHนสัญลักษณที่แสดงใหเห็นถึงความเปHนอันหนึ่งอัน เดียวกันของประชาชน 6.เปHนมรดกของสังคม และวัฒนธรรมที่สําคัญยิ่งของสังคม โลก เพราะทุกศาสนาจะมีศาสนวัตถุ ศาสนิกชน หลักธรรมคําสอนและศาสนพิธี
  • 4. องค์ประกอบของศาสนา 5 ประการ ผูตั้งหรือศาสดา : ผูคิดคนหลักคําสอนครั้งแรกแลววางกฎและหลัก คําสอนที่ไดคิดคนเพื่อเปHนหลักปฏิบัติ หลักคําสอนหรือหลักธรรม : หลักธรรมคําสั่งสอนที่องคศาสนาได คิดคนหรือเหลาสาวกไดคิดคนเพิ่มเติมขึ้นมา นักบวชหรือสาวก : ผูปฏิบัติตามหลักคําสอนอยางเครงครัดเพื่อเปHน ตัวอยางในวิถีชีวิตของผูอื่นไดเปHนอยางดี ศาสนสถานหรือโบสถJ วิหาร : บางศาสนาอาจจัดตั้งขึ้นเปHนครั้ง คราวเมื่อเสร็จพิธีแลวรื้อถอนไปหรือจะสรางถาวรเพื่อใชประกอบ พิธีกรรมทางศาสนาได ศาสนพิธีหรือพิธีกรรมทางศาสนา : ทุกศาสนาจะตองมีพิธีกรรม ทางศาสนาที่เปHนเอกลักษณเฉพาะตัวของศาสนานั้นๆ
  • 5. ประเภทของศาสนา แบ่งได้หลายประเภท แบงตามความเชื่อเกี่ยวกับพระเจา 1.เอกเทวนิยม (Monotheism) หมายถึง ศาสนาที่มีความเชื่อในพระเจาองคเดียว คริสต อิสลาม 2.พหุเทวนิยม (Polytheism) หมายถึงศาสนาที่มีความเชื่อในพระเจาหลายองค ฮินดู (พราหมณ) 3.อเทวนิยม (Atheism) หมายถึงศาสนาที่ไมเชื่อวาพระเจาเปHนผูสราง พระพุทธศาสนา ศาสนาเชน แบงตามแหลงผูนับถือ 1.ศาสนาระดับทองถิ่น คือ ศาสนาที่เกิดขึ้น ณ ที่ใดที่หนึ่งและผูนับถือภายในทองถิ่นนั้นๆ เชน ศาสนา ชินโตของญี่ปุ]น ศาสนาสิกขของอินเดีย ศาสนายูดายและ อิสราเอล เปHนตน 2.ศาสนาระดับสากล คือศาสนาที่เกิดขึ้น ณ ที่ใดที่หนึ่ง และไดแผกระจายไปยังดินแดนสวนตางๆ ในโลก จนเรียกไดวาเปHนศาสนาของโลก เชน ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู และศาสนาพุทธ เปHนตน แบงตามการมีผูนับถืออยูหรือไม 1.ศาสนาที่ตายไปแลว คือศาสนาที่มีผูนับถือในอดีต แตปจจุบันไมมีใครนับถือแลว เชน ศาสนาของอียิปต โบราณ ศาสนากรีกโบราณ เปHนตน 2.ศาสนาที่ยังมีชีวิตอยู คือศาสนาที่ยังมีผูนับถืออยูในปจจุบัน เชน ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต ศาสนา อิสลาม และศาสนาพราหมณ–ฮินดู
  • 6. ประโยชน์ของศาสนา ศาสนาเปEนแหลงกําเนิดจริยธรรม สอนใหงดเวนความชั่วใหรูจัก ทําความดีทางกาย ทางวาจาและทางใจ ศาสนาสอนใหคนปกครองตนเองได สอนใหรูจักตนเองวาจิตใจมี แนวโนมทางดีหรือทางเสื่อม ศาสนาทําใหมนุษยJมีทยึดเหนียว เพราะสังคมมนุษยยอม ี่ ่ เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ผูมีหลักศาสนายอมมีหลักความเชื่อที่มั่นคง เปHนเครื่องยึดเหนี่ยวไมใหออนไหวหลงใหลไปกับความเปลี่ยนแปลง ทําใหสังคมเปEนปOกแผน เพราะคนที่นับถือศาสนาเปHนคนมีเหตุผล มีใจกวางไววางใจเอื้อเฟ`aอเผื่อแผตอกัน รักใครปรองดองกัน สามัคคีกัน
  • 7. ลองมาทําข้อสอบ 1. องคJประกอบที่มีปรากฏอยูในศาสนาสําคัญในปPจจุบันคือขอใด ก. ศาสดาและนักบวช ข. รูปเคารพและศาสนสถาน ค. นักบวชและศาสนพิธี ง. ศาสนพิธีและหลักคําสอน 2. ขอใดคือแกนแทของศาสนา ก. การใหคําสอนทีเปHนแนวทางการดําเนินชีวิต ่ ข. การใหคําอธิบายความเปHนจริงสูงสุดของชีวตและโลก ิ ค. การใหคําอธิบายและคําสอนเกี่ยวกับความดีความชั่ว ง. การใหคําสอนเพือเปHนทีพึ่งทางใจใหพนจากความกลัว ่ ่
  • 8. 3. ศาสนาพุทธ จัดอยูในศาสนาประเภทใด ก. พหุเทวนิยม ข. เอกเทวนิยม ค. อเทวนิยม ง. เทวนิยม 4. จุดมุงหมายสําคัญของศาสนาทุกศาสนาคืออะไร ก. เนนการเขาใจหลักธรรม ข. สอนใหยึดมั่นในองคศาสดา ค. เนนการปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา ง. สอนใหศาสนิกชนของตนทําความดี 5. หลักคําสอนของแตละศาสนาแมจะมีรายละเอียดแตกตางกัน แตมี ลักษณะสําคัญบางประการรวมกัน ลักษณะดังกลาวคืออะไร ก. ความเขาใจชีวิตและพัฒนาชีวิต ข. ความยึดมั่นศรัทธาในองคศาสดา ค. ความยึดมั่นในความศักดิ์สิทธิ์ของศาสนา ง. ความเห็นวาชีวิตเปHนสิ่งที่ปราศจากคุณคา
  • 9. 6. ขอใดเหมาะสมที่สุดในการอยูรวมกันระหวางผูนับถือศาสนาตางกัน ก. ไมถือวาศาสนาเปHนเรื่องสําคัญในการดําเนินชีวิต ข. หลีกเลี่ยงการพูดคุยเรื่องศาสนากับเพื่อนตางศาสนา ค. ไมวิพากษวิจารณศาสนาอื่น ใหความสนใจเฉพาะศาสนาของตน ง. ไมลบหลูความคิดหลักในศาสนาอื่นโดยยังเชื่อมันในศาสนาของตน ่ 7. เพราะเหตุใดพระพุทธศาสนาจึงมีทฤษฎี และวิธีการที่เปEนสากล ก. เปHนศาสนาที่แพรหลายทั่วโลก ข. เปHนศาสนาทีมุงเอาชนะธรรมชาติ ่ ค. เปHนศาสนาทีมุงเนนความสะดวกสบายของมนุษย ่ ง. เปHนศาสนาทีมุงเนนความสันติสุขของมวลมนุษยชาติ ่ 8. “พระพุทธศาสนามีหลักคําสอนที่เปEนสากล” หมายความวาอยางไร ก. เปHนคําสอนที่สามารถพิสูจนได ข. เปHนคําสอนที่ตรงกันกับศาสนาอืน่ ค. เปHนคําสอนทีนาเชื่อถือเปHนอยางยิ่ง ่ ง. เปHนคําสอนที่มงประโยชนสุขแกคนทั่วไป ุ
  • 10. 9. ศาสนาในขอใดตอไปนี้ที่มีความแตกตางจากขออื่น ก. ศาสนาพราหมณ-ฮินดู ข. ศาสนายูดาห ค. ศาสนาอิสลาม ง. ศาสนาคริสต 10. คัมภีรJของศาสนาในขอใดที่มีความแตกตางจากคัมภีรJเลมอื่น ก. พระเวท ข. พระไตรป4ฎก ค. ไบเบิล ง. อัลกุรอาน 11. ขอใดคือจุดมุงหมายที่สําคัญของพิธีกรรมทางศาสนา ก. การสรางความขลังหรือความศักดิ์สิทธิ์ ข. การอบรมจิตใจศาสนิกชนใหเปHนอันหนึ่งอันเดียวกัน ค. การแสดงใหเห็นความแตกตางกับศาสนาอื่น ง. การทําใหเขาถึงหลักคําสอนของศาสนานั้น
  • 11. 12. ขอใดที่มีความสัมพันธJกันไมถูกตอง ก. พราหมณ-ฮินดู - ศิวลึงค ข. พระพุทธศาสนา - เสมาธรรมจักร ค. คริสต - ไมกางเขน ง. อิสลาม - พระจันทรเสี้ยว 13. ขอใดไมใชแนวคิดของศาสนาพุทธ ก. สอนใหอุทิศตนแกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ข. สอนใหพิสูจนคําบอกเลาแลวจึงเชื่อ ค. เชื่อวากรรมเปHนตัวกําหนดสรรพสิ่ง ง. หลักศีลธรรมเกิดจากการศึกษาของผูรู
  • 12. ข้อสอบสองข้อนี ตอบถูก 2 คําตอบ 14. พฤติกรรมของบุคคลใดตอไปนี้ที่เปEนไปตามหลักองคJประกอบที่สําคัญ ที่สุดของศาสนา ก. เมธินียึดหลักปฏิบติละชั่ว ทําดี มีจตใจบริสทธิ์ผองแผว ั ิ ุ ข. กาเซ็มทําละหมาดวันละ 5 ครั้งอยางสม่ําเสมอ ค. คริสตี้เสียสละวันหยุดสวนตัวเขาคอรสลดนาหนักเพื่อเตรียมตัวประกวดซุป d เปอรโมเดล ง. มาระตีสวดมนตขอพรพระวิษณุใหคุมครองใหรอดพนจากน้ําทวม 15.พระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตรJมีความคลายคลึงกันในประเด็นใดบาง ก. เนนหลักความเปHนจริงที่มอยูในธรรมชาติ ี ข. เนนประโยชนที่เกิดขึ้นในสังคมปจจุบัน ค. การตั้งสมมติฐานในอํานาจลีลับหรืออํานาจเหนือธรรมชาติ ้ ง. การสงเสริมการคนควาหาเหตุผลและการพิสจนดวยการลงมือปฏิบตจริง ู ั ิ
  • 14. พุทธประวัติ กําเนิดในประเทศอินเดีย เมื่อ 2500 ปfเศษมาแลว ศาสดา คือ พระพุทธเจา พระชนมมายุ 29 พรรษา ไดเสด็จออกบรรพชา พระองคทรงศึกษาและบําเพ็ญ ทุกขกริยาอยูนาน 6 ปf แตไมสําเร็จ จึงทรงเลิก และทรงแสวงหาสัจธรรม จนสามารถตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ เปHนพระสัมมาสัมพุทธเจา เมือพระชนมายุได 35 พรรษา โดยพระองคตรัสรูตามลําดับ คือ ่ - ปฐมยาม - ปุพเพนิวาสานุสติญาณ - ระลึกชาติแตหนหลังได - มัชฌิมยาม - จุตูปปาตญาณ - ความรูดุจตาทิพย - ปจฉิมยาม - อาสวักขยญาณ - ความรูอันเปHนเหตุใหสิ้นอาสวะกิเลสทั้งปวง พระสัมมาสัมพุทธจาทรงเผยแผหลักธรรมจนพระชนมายุ 80 พรรษาก็ดับขันธ ปรินิพพานที่เมืองกุสินารา
  • 15. สังเวชนียสถาน หมายถึงสถานที่ที่ทําใหเกิดความรูสึกระลึกถึงพระพุทธเจา เกิดความแชมชื่น เบิกบาน เกิดแรงบันดาลใจทีจะทําความดี เมือไดไปพบเห็น ่ ่ สังเวชนียสถาน มี 4 แหง คือ สถานที่ประสูติ : สวนลุมพินีวัน ประเทศเนปาล สถานที่ตรัสรู : พุทธคยามีชื่อเรียกอีกชือวาวัดมหาโพธิ์ ตั้งอยูทีจังหวัดคยา ่ ่ รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย หางจากริมฝkงแมน้ําเนรัญชรา 350 เมตร ในอดีต ตําบลทีตั้งพุทธคยามีชื่อวา อุรเวลาเสนานิคม ตอมา จึงเพี้ยนเปHน อุเรล ่ ุ ปจจุบัน ประเทศอินเดีย สถานที่แสดงปฐมเทศนา : สารนาถในสมัยพุทธกาล เรียกกันวา ป_าอิสิปตน มฤคทายวัน ประเทศอินเดีย สถานที่ปรินิพพาน : กุสินารา ตั้งอยูที่ตาบลมถากัวร อําเภอกุสินคร ํ รัฐอุตรประเทศ ประเทศอินเดีย
  • 16. ตนพระศรีมหาโพธิ์ ภายในปริมณฑลลุมพินีวัน ชาวพุทธนมัสการ เสาพระเจาอโศกมหาราช เครื่องหมายสถานที่พระพุทธเจาประสูติ ณ ลุมพินีวัน ประเทศเนปาล
  • 17. ตนพระศรีมหาโพธิ์ เหนือพระแทนวัชรอาสนพุทธบัลลังก สถานที่ตรัสรูของพระพุทธเจา พระสงฆ นมัสการพระมหาโพธิเจดีย สถานที่ตรัสรูขององค สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา พุทธสังเวชนียสถานที่สําคัญ ที่สุดของชาวพุทธ
  • 22. 16. บุคคลกลุมใดที่สรางระบบวรรณะให เกิดขึ้นในสมัยกอนพุทธกาล ก. ศูทร ข. แพศย ค. กษัตริย ง. พราหมณ 17. การแบงชนชั้นทางสังคมโดยใชระบบวรรณะในสมัยกอนพุทธกาล กอใหเกิดผลตามขอใด ก. เปHนประโยชนในการปกครอง ข. ทําใหทุกคนรูจักหนาที่ของตน ค. เปHนการทําลายสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของมนุษย ง. ทําใหบานเมืองไมเจริญกาวหนาเพราะมัวแตแยงชิงความเปHนใหญกัน 18. พระสิทธัตถะตรัสรูเปEนพระพุทธเจาดวยวิธีการใด ก. อดอาหาร ข. เขาญาณสมาบัติ ค. บําเพ็ญทุกรกิริยา ง. บําเพ็ญเพียรทางจิต
  • 23. 19. พระพุทธศาสนาไดประดิษฐานในดินแดน ใดเปEนแหงแรก ก. เมืองพาราณสี แควนกาสี ข. เมืองราชคฤห แควนมคธ ค. เมืองกุสินารา แควนมัลละ ง. เมืองกบิลพัสดุ แควนสักกะ 20. สถานที่ใด ไมเกี่ยวของ กับการตรัสรู ก. โคนตนนิโครธ ข. ริมฝkงแมน้ําอโนมา ค. ริมฝkงแมน้ําเนรัญชรา ง. ใตตนพระศรีมหาโพธิ์ 21. ใครเปEนพระสาวกองคJสุดทายของพระพุทธเจา ก. พระอานนท ข. พระสุภัททะ ค. พระสารีบุตร ง. พระอัญญาโกณฑัญญะ 22.พระพุทธเจาทรงแสดงธรรมครั้งแรกใหแกใคร ก. ปญจวัคคีย ข. ชฎิล 3 พี่นอง ค. พระเจาสุทโธทนะ ง. อาฬารดาบสและอุทกดาบส
  • 24. 23. การเกิดขึ้นของพระพุทธศาสนามีผลตอการปฏิรูปสังคมชมพูทวีป โดยตรงและโดยออมอยางไร ก. การลมสลายของชันวรรณะ ้ ข. การลมสลายของศาสนาอื่น ค. การเชือในอเทวนิยมคือไมเชือเรืองพระเจา ่ ่ ่ ง. การไมแบงชั้นวรรณะ การแกไขความทุกขของสังคม การชวยให สังคมเกิดสันติสุข 24. ขอใดกลาวถึงดินแดนชมพูทวีปไม ถูกตอง ก. เปHนดินแดนแหงตนหวา ข. เดิมเปHนที่อยูของพวกดราวิเดียน ค. เดิมเปHนที่อยูของพวกอารยันซึ่งเปHนชนผิวขาว ง. เปHนดินแดนที่มากไปดวยลัทธิความเชื่อและวัฒนธรรม
  • 25. 25. ขอใด ไมใช ความหมายของศรัทธาในพระพุทธศาสนา ก. ความเชื่อมั่นในพระรัตนตรัย ข. ความเชื่อมั่นในพระปญญาของพระพุทธเจา ค. ความเชือมั่นในกฎแหงเหตุและผลของการกระทําในวัฏสงสาร ่ ง. ความเชื่อมั่นในความเปHนอมตะของวิญญาณที่ตองคอยรับผลกรรม 26. ขอใดคือความหมายที่ถูกตองที่สดของศีลในพุทธศาสนา ุ ก. ความเครงครัดสํารวมระวัง ข. การงดเวนความชั่วทุกอยาง ค. การไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น ง. ขอหามไมใหลวงเกินผูอื่น 27. ขอใดคือลักษณะเดนที่สุดของพุทธศาสนา ก. การไมเชือเรืองพระเจา ่ ่ ข. การสอนเรืองกรรมในอดีต ่ ค. การสอนใหรักและเมตตากัน ง. การสอนใหมนุษยพึ่งพาตนเอง
  • 26. 28. ขอใดเปEนเอกลักษณJของศาสนาพุทธ ก. กรรม ข. ภาวนา ค. นรก – สวรรค ง. อนัตตา 29. คําสอนเรื่อง ชีวตเปEนทุกขJ ของ พระพุทธศาสนา หมายถึงขอใด ิ ก. ชีวิตมีปญหาอยูตลอดเวลา ข. รางกายตองเปลี่ยนแปลงเจ็บไขอยูเสมอ ค. ความทุกขเปHนขอเท็จจริงของชีวิต ง. จิตใจตองพบความเศราและเสียใจอยูเรื่อยๆ 30. คําสอนเรื่องกรรมในพุทธศาสนาสําคัญอยางไร ก. ทําใหคนเปHนคนดี ข. ทําใหเชื่อวากรรมพิสจนได ู ค. ทําใหคนกลัวนรกไมกลาทําชั่ว ง. ทําใหเราเขาใจวาเราคือผูลิขิตชีวิตเรา
  • 27. หลักธรรมพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามีหลักธรรม 3 ระดับเพื่อสอนใหชาวพุทธทําความดี ละเวนความชั่ว ชําระ จิตใจใหบริสุทธิ์ เรียกวา โอวาทปาติโมกข ซึ่งเปHนจริยธรรมของบุคคลในสังคมพิจารณาได •จริยธรรมขั้นพื้นฐานเพื่อการละความชั่ว จะเปHนขอปฏิบัติที่ควบคุมกาย วาจา ใจ ใหปกติ ไมกอใหเกิดทุกข โทษ แกตนและผูอื่น เบญจศีล คือ เวนจากการฆาสัตว ลักทรัพย ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ ดื่ม สุรา และของมึนเมา เบญจธรรม คือ มีเมตตากรุณา ประกอบอาชีพสุจริต สํารวมในกาม มีสัจจะ มี สติสัมปชัญญะและไมมัวเมาในอบายมุข •จริยธรรมระดับกลาง เพื่อการสรางความดี เปHนขอปฏิบัติที่ควบคุมไปถึงจิตใจเรียกวา กายสุจริต 3 คือ เวนจากการฆาสัตว ลักทรัพย และประพฤตผิดในกาม วจีสุจริต 4 คือ เวนจากการพูดเท็จ พูดสอเสียด พูดคําหยาบ และพูดเพอเจอ มโนสุจริต 3 คือ ไมโลภอยากไดของผูอื่น ไมคิดพยาบาทปองรายผูอื่นและมี ความเห็นถูกตองตามทํานองคลองธรรม
  • 28. จริยธรรมระดับสูงเพื่อการชําระจิตใจใหบริสุทธิ์ คือ อริยมรรคมีองค 8 ประการ เปHน หนทางดับทุกขที่แทจริงไดแก สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ สัมมาสังกัปปะ ความ ดําริชอบ สัมมาวาจา การเจรจาชอบ สัมมากัมมันตะ การกระทําชอบ สัมมา อาชีพวะ การเลี้ยงชีพชอบ สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ สัมมาสติ การระลึก ชอบ และ สัมมาสมาธิ การตั้งใจมั่นชอบ การฝpกจิตดวยอริยมรรคมีองค 8 นี้ ผูฝpกจิตไดจะสามารถดับกิเลสดับกองทุกข ไดสิ้นเชิง เรียกภาวะนี้วา การบรรลุ นิพพาน หลักธรรมที่ชาวพุทธควรรู อิทธิบาท 4 หลักธรรมที่นําสูความสําเร็จ ฉันทะ ความพอใจในการทํางาน ทํางานดวยความเต็มใจ มีใจรักที่จะทํางานให สําเร็จลุลวงไปดวยดี วิริยะ มีความเพียรพยายามทํางานใหสําเร็จ ดวยความอดทน ไมทอถอย จิตตะ มีความเอาใจใสตอการทํางาน เอาใจฝกใฝ]ที่จะทํา วิมังสา รูจักตริตรองพิจารณาเหตุผล ดวยสติปญญา เพื่อปรับปรุงแกไขและ ทํางานใหสําเร็จ
  • 29. ฆราวาสธรรม 4 หลักธรรม ขอปฏิบัติของผูครองเรือน 4 ประการคือ สัจจะ แปลวา ความซือสัตย ความจริงใจ ความซือตรงตอกัน ซึ่งถือวาเปHน ่ ่ พื้นฐานในการครองเรือน ทมะ แปลวา การขมใจ การฝpกฝนปรับปรุงตนเองใหเจริญกาวหนาดวย สติปญญาหมายถึง การบังคับจิตใจไมใหใฝ]สูงเกินไป และรูจักฝpกฝนตนเอง ไมใหถลําไปสูความชั่วหรือความผิดตางๆ ขันติ แปลวา ความอดทน หมายถึงความอดทนตอสิ่งไมดี อดทนตอความ ยากลําบาก โดยไมหวั่นไหว และไมทอถอย ความอบทนแบงได 4 ประการ อดทนตอความยากลําบาก อดทนตอความทุกขเวทนา อดทนตอความเจ็บ ใจ อดทนตออํานาจกิเลส จาคะ แปลวา ความเสียสละ หมายถึง การเสียสละความสุขความสบาย สวนตน พรอมทีจะรวมมือชวยเหลือ ไมคับแคนเห็นแกตัวหรือเอาแตใจตัวเอง ่ ความเสียสละในสวนนี้ทําได 2 วิธี เสียสละวัตถุ เสียสละอารมณ
  • 30. อริยสัจ 4 หมายถึง หลักความจริงอันประเสริฐ หรือหลักความจริงที่ทําใหคนเปHนผู ประเสริฐ ซึ่งเปHนหลักในการแกปญหาชีวิต 4 ประการ ทุกขJ หมายถึง ความไมสบายกายไมสบายใจ อันเนื่องมาจากสภาพที่ทนไดยาก คือ สภาวะที่บีบคั้นจิตใจ ความขัดแยง สมุทัย หมายถึง เหตุที่ทําใหเกิดความทุกข คือ สิ่งที่เปHนจุดเริ่มตนที่ทําใหเกิดทุกข แต สาเหตุที่แทจริงคือ ตัณหาหรือความตองการ 3 ประการ คือ กามตัณหา หมายถึง ความอยากได ภวตัณหา หมายถึง ความอยากเปHน วิภาวตัณหา หมายถึง ความ ไมอยากเปHน นิโรธ หมายถึง ความดับทุกข คือภาวะที่ตัณหา ดับสิ้นไป มรรค หมายถึง ขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข ซึ่งไดแก การเดินทางสายกลาง หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา มรรค ซึ่งมีสวนประกอบ 8 ประการคือ สัมมาทิฏฐิ-เห็นชอบ สัมมาสังกัปปะ-ดําริชอบ สัมมาวาจา-เจรจาชอบ สัมมากัมมันตะ-กระทําชอบ สัมมาอาชีวะ-เลี้ยงชีพชอบ สัมมาวายามะ- พยายามชอบ สัมมาสติ-ระลึก สัมมาสมาธิ-ตั้งจิตมั่นชอบ
  • 31. มรรค 8 นี้ รวมเรียกวา ไตรสิกขา ไดแก 1. ศีล คือ การสํารวมกาย วาจา ไดแก เจรจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ 2. สมาธิ คือ การฝpกฝนอบรมจิตใหมั่นคง ไดแก พยายามชอบ สติชอบ สมาธิชอบ 3. ปญญา คือ ความรูในการพิจารณาสภาวะตางๆ ตามความเปHนจิรง ไดแก เห็นชอบ และดําริชอบ ขันธJ ๕ คือ องคประกอบของชีวิตมนุษย ไดแก รูป ขันธ และนามขันธ มี 5 ประการ คือ 1. รูป คือ รางกาย 2. เวทนา คือ ความรูสึกที่เกิดจากสิ่งที่รับรู ไดแก สุข ทุกข เฉยๆ 3. สัญญา คือ การกําหนดหมายรูสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไดแก หวาน เค็ม แข็ง นิ่ม ดัง คอย เหม็น หอม สวย นารัก 4. สังขาร คือ สิ่งปรุงแตงหรือแรงจูงใจที่ทําใหมนุษยกระทําอยางใด ซึ่งเปHนขั้นตอนที่ก อใหเกิดพฤติกรรม 5. วิญญาณ คือ การรับรูผานประสาทสัมผัส คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
  • 32. ไตรลักษณJ (สามัญลักษณะ) หมายถึง ลักษณะทั่วไปในสิงทังปวงมี 3 ประการ ่ ้ คือ 1. อนิจจัง คือ ความไมเที่ยง 2. ทุกขตา คือ สภาวะที่ทนไมได 3. อนัตตา คือ ความไมใชตัวตน นิยาม 5 กําหนดอันแนนอน ความเปHนไปอันมีระเบียบแนนอนของธรรมชาติ ประกอบดวย 1. อุตุนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับอุณหภูมิ หรือปรากฏการณธรรมชาติตางๆ โดยเฉพาะ ดิน น้ํา อากาศ และฤดูกาล อันเปHนสิงแวดลอมสําหรับมนุษย) ่ 2. พีชนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการสืบพันธุมีพนธุกรรม เปHนตน) ั 3. จิตตนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับการทํางานของจิต) 4. กรรมนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย คือ กระบวนการใหผล ของการกระทํา) 5. ธรรมนิยาม (กฎธรรมชาติเกี่ยวกับความสัมพันธและอาการที่เปHนเหตุ เปHนผลแก กันแหงสิงทังหลาย) ่ ้
  • 33. ปฏิจจสมุปบาท สภาพอาศัยปจจัยเกิดขึ้น การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงมีขึ้น การที่ทุกขเกิดขึ้นเพราะ อาศัยปจจัยตอเนื่องกันมา หรือเรียกวา กฎอิทัปปจจยตา - อวิชชา (ความไมรู) - สังขาร (สภาพที่ปรุงแตง) - วิญญาณ (ความรูแจงอารมณ) - นามรูป (นามขันธกับรูปขันธ) - สฬายตนะ (อายตนะภายใน 6) - ผัสสะ (การกระทบของอายตนะภายใน 6 กับอารมณภายนอก - เวทนา (ความเสวยอารมณ ทุกข สุข ไมทุกขไมสุข) - ตัณหา (ความอยาก เชน รูป กลิ่น รส สัมผัส ชื่อเสียง ตําแหนง) - อุปาทาน (ความยึดมั่น ไดแก อุปาทาน 4) - ภพ (ภาวะชีวิต) ชาติ (ความเกิดแหงขันธทั้งหลายการไดอายตนะ) - ชรามรณะ (ความแกและความตาย)
  • 34. 31. การจัดกลุมธรรมในอริยสัจ 4 ขอใดไมถูกตอง ก. ทุกข – ขันธ5 – โลกธรรม8 ลองดูขอสอบกันบ้าง ้ ข. สมุทัย – นิวรณ5 – อุปทาน4 ค. นิโรธ – ปฏิจจสมุปบาท – กรรม12 ง. มรรค – อปริหานิยธรรม7 – มงคล 38 32. ขอใดคือคําตอบที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักคําสอนเรื่อง อริยสัจ4 ก. รูทุกข ละสมุทัย ทํานิโรธใหแจง ทํามรรคใหเกิดมี ข. ละทุกข รูสมุทัย ทํานิโรธใหเกิดมี ทํามรรคใหแจง ค. รูทุกข รูสมุทัย ทํานิโรธใหเกิดมี ทํามรรคใหแจง ง. ละทุกข ละสมุทัย ทํานิโรธใหแจง ทํามรรคใหเกิดมี
  • 35. 33. การรับรู รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ในขันธ5 คือขอใด ก. จิต ข. เวทนา ค. สังขาร ง. วิญญาณ 34. การตัดสินใจอพยพออกจากบานที่ถูกน้ําทวมไปอาศัยพักพิงตามศูนยอพยพของ ทางราชการ หรือเอกชนนั้น เป:นขั้นตอนใดของขันธ5 ก. เวทนาขันธ ข. สังขารขันธ ค. วิญญาณขันธ ง. รูปขันธ 35. พระพุทธเจาทรงสอนอริยสัจ4 ในวันใด ก. วันมาฆบูชา ข. วันวิสาขบูชา ค. วันอาสาฬหบูชา ง. วันจาตุรงคสันนิบาต 36. ขอใดบางที่เป:นเหตุตามหลักอริยสัจ4 (ตอบถูก2ขอ) ก. สมาพรกังวงใจที่โรงเรียนเป@ดเรียนชาเพราะกลัวเรียนไมทันเพื่อน ข. สมพรใชสติระงับความเครียดไมสรางทุกขใหกับตนเองในยามที่ประสบภัย ค. กษมพรยึดติดคานิยม K-POP จึงเลียนแบบการแตงกายตามนักรองเกาหลี ง. กชพรรองไหเสียใจกับการจากไปของนักนวัตกรโลกอยาง สตีฟ จIอบส
  • 36. 37. หลักคําสอนเรื่องขันธ5 เกียวของกับคําตอบขอใดบาง (2 คําตอบ) ่ ก. สังสารวัฏมีความเกียวของกับกฎแหงกรรม ่ ข. วิญญาณเป:นความรูสึกที่สัมผัสตอสิ่งตาง ๆ แลวเกิดสุขบางทุกขบาง ค. รูปขันธสามารถมองเห็นและสัมผัสไดเนื่องจากเกิดจากดินน้ําลมไฟ ง. สัญญาเป:นสิ่งที่สามารถบงบอกไดภายหลังการสัมผัส เชน รสเปรี้ยว 38. วิธีคิดแบบสามัญลักษณะคือการคิดแบบใด ก. มัชฌิมาปฏิปทา ข. ไตรลักษณ ค. อานาปานสติ ง. ปฏิจจสมุปบาท 39. ..ละชั่ว ทําดี มีจิตใจบริสุทธิ์.. เป:นหลักคําสอนที่เกี่ยวของกับวันใด ก. วันวิสาขบูชา ข. วันอาสาฬหบูชา ค. วันเขาพรรษา ง. วันมาฆบูชา
  • 37. 40. คําวา พุทธ มีความหมายอยางไร (ตอบ2ขอ) ก. ผูรูผูตื่น ข. ผูหลุดพน ค. ผูเบิกบาน ง. ผูมีปQญญา 41. ปฐมเทศนาของพระพุทธเจา ประกอบดวยหลักธรรมใดบาง (ตอบ2ขอ) ก. อริยสัจ4 ข. โอวาทปาฏิโมกข ค. มัชฌิมาปฏิปทา ง. อนันตลักขณสูตร 42. สามัญลักษณเป:นเรื่องที่เกี่ยวของกับคําตอบขอใด (ตอบ2ขอ) ก. ละชั่ว ทําดี มีจิตใจบริสุทธิ์ ข. สิ่งตาง ๆมีการเปลี่ยนแปลงไมสามารถรักษาสภาพเดิมได ค. เมือโลกเกิดไดโลกยอมดับไดหรือสิ่งตาง ๆ เมือมีเกิดตองมีดับ ่ ่ ง. อัตตาและอนัตตาเป:นสิ่งที่มีอยูในธรรมชาติและเป:นเหตุเป:นผล
  • 38. พรหมวิหาร หมายถึง ธรรมประจําใจอันประเสริฐ หรือหลักความประพฤติที่ ประเสริฐไดแก เมตตา หมายถึง ความรัก ความปรารถนาดีอยากใหผูอื่นเปHนสุขและมี ไมตรีจิตคิดที่เปHนประโยชนแกผูอื่นโดยทั่วหนา ไมวาจะเปHนมนุษยหรือสัตว กรุณา หมายถึง ความสงสารคิดชวยใหผูอื่นพนทุกข อาจจะชวยดวยกําลัง ทรัพย กําลังความคิด หรือกําลังกายแลวแตกรณี มุทิตา หมายถึง ความบันเทิงใจ หรือความเบิกบานใจ คือมีความยินดีเมื่อ ไดเห็น ไดยินผูอื่นไดดีมีความสุขความสบาย เราพลอยดีใจไปกับเขา อุเบกขา หมายถึง ความวางใจเปHนกลาง คือการทํางานโดยปราศอคติ วางตัวเปHนกลางไมลําเอียงเพราะรัก ชัง หลง หรือกลัว โดยพิจารณาวาใคร ทําดียอมไดดี ใครทําชั่วยอมไดรับชั่ว
  • 39. อุปาทาน 4 ความยึดมั่น ความถือมั่นดวยอํานาจกิเลส ความยึดติดอันเนืองมาแตตัณหา ่ ผูกพันเอาตัวตนเปHนที่ตั้ง ไดแก 1. กามุปาทาน ความยึดมั่นในกาม คือ รูป เสียง กลิ่น รส ที่นาใคร นาพอใจ 2. ทิฏqุปาทาน ความยึดมั่นในทิฏฐิหรือทฤษฎี คือ ความเห็น ลัทธิ หรือหลัก คําสอนตาง ๆ 3. สีลัพพตุปาทาน ความยึดมั่นในศีลและพรต คือ หลักความประพฤติ ขอปฏิบติ แบบแผน ระเบียบวิธี ขนบธรรมเนียมประเพณี ลัทธิพิธตางๆ ั ี กันไปอยางงมงาย 4. อัตตวาทุปาทาน ความยึดมั่นในวาทะวาตัวตน คือ ความถือหรือสําคัญ หมายอยู ในภายในวามีตวตน ที่จะได จะมี จะเปHน ั
  • 40. การบริหารจิตและการเจริญปPญญา การบริหารจิต หมายถึง การฝpกใหจิตมีคุณภาพ หมายถึง มีความ ดีงาม ออนโยน หนักแนน มั่นคง แข็งแกรง สงบรมเย็นมีความสุข การเจริญปPญญา คือ การฝpกใหรูจักคิด คิดใหเปHน เพื่อใหเกิด ปญญา ความรูแจงรูเทาทันกระแสโลก และกระแสธรรม การทําสมาธิ สมาธิ หมายถึง ความตั้งมั่น หรือแนวแน การรวม พลังจิต ความไมฟุAงซาน หรือการจัดระเบียบความคิดได สติ สมาธิ และปPญญา มีลักษณะเกื้อกูลกัน และมีความสัมพันธ กันอยางใกลชิด สติ คือ ความตั้งมั่น เปHนจุดเริ่ม แลวมีสมาธิ คือ มี จิตใจแนวแน และปญญา คือ การไตรตรองใหรอบคอบ
  • 41. ประเภทของสมาธิ ระดับของสมาธิแบงออกเปHน 3 ระดับ 1. ขณิกสมาธิ หมายถึง อาการทีจิตนิ่งสงบเพียงชั่วระยะเวลาสั้นๆ ่ 2. อุปจารสมาธิ หมายถึง สมาธิที่กําลังจะแนวแน แตยังไมถึงขั้นสงบจริงๆ 3. อัปปนาสมาธิ หมายถึง สมาธิที่แนวแนเขาสูความสงบจริงๆ จุดมุงหมายของสมาธิ 1. เพื่อความตั้งมั่นแหงสติสมปชัญญะ ั 2. เพืออยูเปHนสุขในปจจุบัน ่ 3. เพือไดฌานทัศนะ ่ 4. เพือทํากิเลสใหสิ้น ่
  • 42. อุปสรรคของสมาธิเกิดจากนิวรณ นิวรณJ เปHนชื่อเรียกความคิดนึกของคนเราที่เปHนอุปสรรคในการทําความดี แบงเปHน 5 ประเภท คือ 1. กามฉันทะ คือ ความพอใจ ความอยากในสิ่งทีปรารถนา แกไดดวยการ ่ พิจารณาความตองการแลวพยายามขมใจตนเอง 2. พยาบาท คือ ความโกรธแคนหรืออาฆาตพยาบาท แกดวยเมตตา 3. ถีนมิทธะ คือ ความเบือหนายเกียจคราน แกไดดวยการตั้งสติเพงไปที่ซง ่ ึ่ มีแสงสวางมากๆ 4. อุทธัจจกุกกุจจะ คือ ความฟุAงซานและรําคาญ แกไดดวยการคิดแตเรือง่ ของคุณงามความดีทเราไดทําไปแลวเพือใหเกิดความภูมิใจ ี่ ่ 5. วิจิกจฉา คือ ความลังเลสงสัย แกไดดวยการปลอยวางใหผานไปแลว ิ คอยหาขอยุตใหม ิ
  • 43. การเจริญปPญญา ปญญา คือ ความรูจริง รูทั่ว รูเทาทัน การเจริญหรือการพัฒนาปญญามี 3 วิธี คือ 1. สุตมยปญญา คือ ปญญาเกิดจากการฟงการอานการเขียน ซึ่งการพัฒนาปญญาดานนี้ ตองผานกระบวนการ ดังนี้ 1.1 ตองฟงมากจนเปHนพหูสูตร 1.2 นําความรูไปขยายหาเหตุผลใหกวางขวาง 1.3 สอบถามจากทานผูรู 1.4 บันทึกความจําไวเปHนหมวดหมู 2. จินตามยปญญา คือ ปญญาเกิดจากการคิด เปHนการนําเอาความรูหรือขอมูลที่ไดจาก การฟงมาไตรตรอง โดยผานกระบวนการ ดังนี้ 2.1 คิดอยางปราศจากฉันทาคติ ลําเอียงเพราะรักใครชอบพอ 2.2 คิดอยางปราศจากภยาคติ ลําเอียงเพราะขลาดกลัว เกรงใจ 2.3 คิดอยางปราศจากโมหาคติ ลําเอียงเพราะความหลง โงเขลา 2.4 คิดอยางปราศจากโทสาคติ ลําเอียงเพราะโกรธเกลียด
  • 44. 3. ภาวนามยปญญา คือ ปญญาอันเกิดจากการลงมือปฏิบติ เปHนการนํา ั ปญญาไปใชแกปญหา ภาวนามยปญญามีความหมาย 2 ระดับ คือ 3.1 ความหมายทั่วๆ ไป เปHนปญญาที่ใชแกปญหาในชีวิตประจําวัน 3.2 ความหมายทางพระพุทธศาสนา เปHนปญญาทีเกิดขึ้นโดยผานกระบวน ่ การดังนี้ 1) สมถภาวนา คือ การอบรมจิตใหเกิดสมาธิ 2) วิปสสนาภาวนา คือ การอบรมจิตใหเกิดปญญา
  • 45. สติปPฏฐาน ๔ ที่ตงของสติ การตั้งสติกําหนดพิจารณาสิ่งทังหลายใหรูเห็นตามความเปHนจ ั้ ้ ริง คือ ตามสิงนั้นๆ นับเปHนของมันเองมี 4 ประการ คือ ่ 1. กายานุปสสนาสติปฏฐาน (การตั้งสติกําหนดพิจารณากายใหรูเห็นตามเปHน จริงวา เปHนแตเพียงกาย ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา) จําแนกวิธีปฏิบัตไว ิ หลายอยาง คือ - อานาปานสติ กําหนดลมหายใจ 1, - อิริยาบถ กําหนดรูทันอิริยาบถ 1, - สัมปชัญญะ สรางสัมปชัญญะในการกระทําความเคลือนไหวทุกอยาง 1, ่ - ปฏิกูลมนสิการ พิจารณาสวนประกอบอันไมสะอาดทั้งหลายที่ประชุมเขาเปHน รางกายนี้ 1, - ธาตุมนสิการ พิจารณาเห็นรางกายของตนโดยสักวาเปHนธาตุแตละอยางๆ 1
  • 46. 2. เวทนานุปสสานสติปฏฐาน (การตั้งสติกําหนดพิจารณาเวทนาใหรูเห็นตาม เปHนจริงวา เปHนแตเพียงเวทนา ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา) คือ มีสติอยู พรอมดวยความรูชัดเวทนาอันเปHนสุข ก็ดี ทุกขก็ดี เฉยๆ ก็ดี ทั้งที่เปHน สามิสและเปHนนิรามิสตามทีเปHนอยูขณะนั้นๆ ่ 3. จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน (การตั้งสติกําหนดพิจารณาจิต ใหรูเห็นตาม เปHนจริงวา เปHนแตเพียงจิต ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา) คือ มีสติอยู พรอมดวยความรูชัดจิตของตนที่มีราคะ ไมมีราคะ มีโทสะ ไมมีโทสะ มีโมหะ ไมมีโมหะ เศราหมองหรือผองแผว ฟุAงซานหรือเปHนสมาธิ ฯลฯ อยางไรๆ ตามทีเปHนไปอยูในขณะนั้นๆ ่ 4. ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน (การตั้งสติกําหนดพิจารณาธรรมใหรูเห็นตาม เปHนจริงวาเปHนแตเพียงธรรม ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา) คือ มีสติอยู พรอมดวยความรูชัดธรรมทังหลาย ไดแก นิวรณ ๕ ขันธ ๕ อายตนะ ๑๒ ้ โพชฌงค ๗ อริยสัจ ๔ วาคืออะไร เปHนอยางไร มีในตนหรือไม เกิดขึ้น เจริญบริบูรณ และดับไดอยางไร เปHนตน ตามที่เปHนจริงของมันอยางนั้นๆ
  • 47. พระไตรปeฎก คือ คัมภีรของพระพุทธศาสนา ไตร แปลวา สาม ป4ฎก แปลวา ตะกราก็ได ไตรป4ฎกจึงแปลวา คัมภีรสามคัมภีร ไดแก พระวินัยป4ฎก พระสุต ตันตป4ฎก และพระอภิธรรมป4ฎก โครงสรางของพระไตรปeฎก แบงเปHน 3 สวนใหญๆ และแตละหมวดมีสาระ ดังนี้ 1. พระวินัยป4ฎก วาดวยสิกขาบทและบทบัญญัติตางๆ เกี่ยวกับภิกษุสงฆและภิกษุณี แบงเปHน 3 หมวด 2. พระสุตตันตป4ฎก วาดวยพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจา (มีของพระสาวกบาง บางสวน) ที่ตรัสแก ชนตางชั้น ตางกาละและโอกาส เปHนในรูปคํารอยแกว ลวนบาง ผสมรอยแกวกับรอยกรองบาง พระป4ฎกนี้มทั้งสิน 21000 พระธรรม ี ้ ขันธ โดยแบงออกเปHน 5 นิกาย 3. พระอภิธรรมป4ฎก วาดวยการอธิบายหลักธรรมตางๆ ในดานวิชาการลวนๆ ไม เกี่ยวกับเหตุการณและบุคคล ซึ่งหลักธรรมทีไดนําเอามาอธิบายมีอยูในสวนของ ่ พระสุตตันตป4ฎกนันเอง มี 42000 พระธรรมขันธ แบงเปHน 7 คัมภีร ่
  • 48. พุทธศาสนสุภาษิต จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิตที่ฝpกดีแลวนําสุขมาให นอุจฺจาวจํ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ บัณฑิตยอมไมแสดงอาการขึ้นๆ ลงๆ นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต คนที่ไมถูกนินทา ไมมีในโลก โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ ฆาความโกรธได ยอมอยูเปHนสุข ปฏิรูปการี ธุรวา อุฏฐาตา วินฺทเต ธนํ คนขยันเอาการเอางาน กระทําเหมาะสม ยอมหาทรัพยได วายเมถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา เกิดเปHนคนควรจะพยายามจนกวาจะประสบ ความสําเร็จ สนฺตุฏฐี ปรมํ ธนํ ความสันโดษเปHนทรัพยอยางยิ่ง อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก การเปHนหนี้เปHนทุกขในโลก ราชา มุขํ มนุสฺสานํ พระราชาเปHนประมุขของประชาชน สติ โลกสฺมิ ชาคโร สติเปHนเครื่องตื่นในโลก นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ สุขอื่นยิ่งกวาความสงบไมมี นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ นิพพานเปHนสุขอยางยิ่ง
  • 49. พุทธสาวก พุทธสาวิกา พระอัสสชิ พระสาวกผูดํารงตนอยาง “สมถะ” อริยาบทสํารวมและเปHนผูชักชวนใหพระสารีบุตร มาเปHนพระภิกษุ พระกีสาโคตมีเถรี ภิกษุณีผูทรงจีวรเศราหมอง พระนางมัลลิกา พุทธสาวิกาที่มีความมั่นคงในหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา หมอชีวก โกมารภัจ อุบาสกผูเลื่อมใสในบุคคล แพทยประจําพระองคพระพุทธเจาและภิกษุสงฆ พระอนุรุทธะ ผูไมเคยไดยินคําวา “ไมมี” เพราะยินดีในการใหทานและทิพยจักษุญาณ พระองคุลิมาล โจรกลับใจ หรือตนคด ปลายตรง พระธัมมทินนาเถรี ภิกษุณีผูไดรับการยกยองวาเปHนนักบรรยายธรรม หรือผูเปHนเลิศทางทรงธรรม จิตตคหบดี อุบาสกผูไดรับการยกยองในการแสดงธรรม พระอานนท พหูสูตรผูทรงจําพระธรรมวินัย พระปฏาจาราเถรี ภิกษุณีผูเปHนเลิศทางทรงพระวินยั จูฬสุภัททา สตรีนักเผยแผพระพุทธศาสนาชั้นนํา สุมนมาลาการ ผูยอมสละชีวิตเพือแลกกับการไดบูชาพระพุทธเจา ่
  • 50. ชาวพุทธตัวอยาง พระนาคเสน-พระยามิลินท การเปHนผูใฝ]รูและเปHนผูมีปฏิภาณในการตอบโตวาทะ สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) ผูแตกฉานในพระปริยัติธรรมและพระนักปกครองที่ยอดเยี่ยม พระอาจารยมั่น ภูริทตฺโต พระอาจารยใหญ ฝ]ายวิปสสนาธุระ สุชีพ ปุญญานุภาพ ผูเรียบเรียงพระไตรป4ฎกฉบับประชาชนและริเริ่มแตงนวนิยายอิงธรรมะ สมเด็จพระนารายณมหาราช มีพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาอยางมั่นคงและทรงอุปถัมภแกศาสนาอื่น พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ) พระนักเทศน นักปาฐกถาธรรม นักเขียนธรรมะระดับแนวหนาของ ประเทศ พระพรหมมังคลาจารย (ปญญานันทภิกขุ) พระนักเทศนเนื้อหาสมัยใหม ตรงไปตรงมาเนนธรรมะที่บริสุทธิ์ ดร.เอ็มเบดการ บัวบานที่อยูเหนือกาลเวลา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระมหากษัตริยที่ทรงออกผนวชและทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ในทุกดาน รวมทั้งสงเสริมการศึกษาของพระภิกษุสงฆ พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) พระวิปสสนาจารยทําอยางไรพูดอยางนั้น ผูทําใหดอกบัวบานในโลก ตะวันตก พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต) ปราชญทางพระพุทธศาสนาในโลกปจจุบัน ภูมิปญญาไทยกาวไกลสู ระดับสากล อนาคาริก ธรรมปาละ ผูพลิกฟ`aนพระพุทธศาสนาคืนใหแกแผนดินแม
  • 51. ชาดก เวสสันดรชาดก ทรงบําเพ็ญทานบารมี มโหสถชาดก มหาบัณฑิตผูมีปญญาเปHนเอก มหาชนกชาดก ทรงบําเพ็ญวิริยะบารมี นิกายสําคัญแบงแยกออกเปHน 2 นิกาย คือ 1. นิกายเถรวาท - ปฏิบัติตามคําสั่งสอนของพระพุทธเจาเดิม 2. นิกายอาจาริยวาท (มหายาน) - ดัดแปลงพระธรรมวินัยตามควร
  • 52. 43. ผูประสบภัยมักกลาววา ..บานนี้อยูมา30-40 ปfไมเคยเจอน้ําทวม แตน้ํามาทวมในปfนี้... ขอความดังกลาวนี้สอดคลองกับหลักไตรลักษณใด ก. อนิจจัง ข. อัตตา ค. ทุกขัง ง. อนัตตา 44. สมพรเปHนผูมีความขยันหมั่นเพียร ประหยัด เลี้ยงชีพตามกําลังทรัพย และคบเพื่อนที่ดี สมพรปฏิบัตตามหลักธรรมขอใด ิ ก. โลกธรรม ข. โภคอาทิยะ ค. ทิฏฐธัมมิกตถะ ง. อปริหานิยธรรม ั 45. ขอใด ไมถูกตอง เกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท ก. เปHนธรรมนิยาม ข. ชีวิตเปHนไปตามดวง ค. อวิชชาเปHนจุดเริมตนของกระบวนการเกิดความทุกขในชีวิตมนุษย ่ ง. เมือสิ่งนี้มี สิ่งนี้จงมี เมือสิ่งนี้ไมมี สิ่งนี้ก็ไมมี ่ ึ ่
  • 53. 46. พีชนิยามในนิยาม5 ของสมุทัย หมายถึงกฎธรรมชาติเรื่องใด ก. การสืบพันธุ ข. สิ่งไมมีชีวิต ค. สภาพแวดลอม ง. การทํางานของจิต 47. การที่ผูปกครองประเทศตัดสินใจดําเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยคํานึงถึง ความเห็นของคนสวนใหญ เป:นการดําเนินการตามหลักการใดในพระพุทธ ก. อัตตาธิปไตย ข. โลกาธิปไตย ค. ธรรมาธิปไตย ง. ประชาธิปไตย 48. การใชหลักโยนิโสมนสิการขอใด สามารถดับทุกขจากการหลงยึดติดในรูปกาย ไดมากที่สุด ก. การคิดพิจารณาหาเหตุปQจจัย ข. การคิดพิจารณาแยกแยะสวนประกอบ ค. การคิดพิจารณาแบบสามัญลักษณะ ง. การคิดพิจารณาเห็นคุณ-โทษและทางออก
  • 54. 49. การกําหนดลมหายใจเขา-ออก จัดอยูในสติปQฏฐานประเภทใด ก. กายานุปQสสนา ข. จิตตานุปQสสนา ค. ธัมมานุปQสสนา ง. เวทนานุปQสสนา 50. การมีสติกําหนดรูวาขันธ5 แตละอยางคือไร เกิดขึ้นไดอยางไร และดับไป ไดอยางไรนั้นอยูในสติปQฏฐานใด ก. กายานุปQสสนา ข. เวทนานุปQสสนา ค. จิตตานุปQสสนา ง. ธัมมานุปQสสนา 51. ธรรมใดสอนเรื่องความเพียร (2คําตอบ) ก. เบญจศีล ข. อริยวัฑฒิ ค. อปริหานิยธรรม ง. ทศพิธราชธรรม 52. ขอใดคือประโยชนที่บุคคลไดรับจากการบริหารจิตตามหลักสติปQฏฐาน(2 คําตอบ) ก. ทําใหระลึกชาติได ข. ทําใหเชือในบาปบุญคุณโทษ ่ ค. ทําใหรางกายแข็งแรงมีสขภาพดี ง. ทําใหมีศรัทธาในพระพุทธศาสนาเพิมขึ้น ุ ่
  • 55. 53. ผูปกครองประเทศควรยึดหลักใด สังคมจึงจะสงบสุขและมีสันติ (2 คําตอบ) ก. เบญจศีล ข. อริยวัฑฒิ ค. อปริหานิยธรรม ง. ทศพิธราชธรรม 54. ตนไมทีมีความเกี่ยวของกับวันวิสาขบูชา ไดแกตนไมอะไร (2 คําตอบ) ่ ก. ตนโพธิ์ ข. ตนสาละ ค. ตนประดู ง. ตนไทร 55. ขอใด ไมถูกตอง (2 คําตอบ) ก. พระไตรป@ฎกพัฒนามาจากพระธรรมวินัย ข. การบันทึกพระไตรป@ฎกเป:นลายลักษณอักษรครั้งแรกใชภาษามคธ ค. พระไตรป@ฎกไดรับการเผยแผไปยังประเทศตาง ๆ พรอมกับคณะพระธรรม ทูต ง. การสังคายนาพระไตรป@ฎกครั้งแรกทําในสมัยพุทธกาลโดยพระอานนทเป:น หัวหนา
  • 56. 56. การประกอบศาสนพิธีของบุคคลในขอใดตอไปนี้แตกตางจากบุคคลอื่น ก. สมบุญเป:นเจาภาพทอดกฐินที่วัดราษฎรนิยม ข. บุญชัยทําบุญถวายสังฆทานในวันครบรอบวันเกิด ค. กอบบุญแสดงตนเป:นพุทธมามกะกอนเดินทางไปศึกษาตอตางประเทศ ง. บุญมากถวายเทียนพรรษาและผาอาบน้ําฝนในเทศกาลเขาพรรษาที่ผานมา 57. หนาที่ที่สําคัญที่สุดของพุทธศาสนิกชนคือขอใด ก. รักษาศีล ข. ศึกษาพระไตรป@ฎก ค. เผยแผพระพุทธศาสนา ง. ทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา 58. ศาสนพิธีใดเป:นเรื่องของพระสงฆลวน ๆ ไมมีฆราวาสเกี่ยวของ ก. พิธีอุปสมบท ข. พิธีปวารณา ค. พิธีมหากฐิน ง. พิธีรักษาอุโบสถศีล
  • 57. 59. คําตอบขอใดตอไปนี้ ไมถูกตอง เกี่ยวกับเทศกาลสงกรานต ก. มีการประกอบพิธีกรรมอุทิศสวนกุศลใหบรรพชนที่เสียชีวิต ข. เป:นเทศกาลสงทายปVเกาตอนรับปVใหมของไทยในอดีต ค. มีการกอพระเจดียทรายซึ่งเป:นการขนทรายเขาวัด ง. คําวา สงกรานต มีความหมายวาการที่พระจันทรเคลื่อนยายจากราศีมีน เขาสูราศีเมษ 60. เทศกาลสําคัญทางพระพุทธศาสนาขอใดทีพุทธศาสนิกชนมีโอกาสไดแสดงความ ่ กตัญXูกตเวทีตอสิ่งตาง ๆ มากที่สุด ก. เขาพรรษา – สงกรานต ข. ทอดกฐิน – ออกพรรษา ค. ออกพรรษา – ลอยกระทง ง. ลอยกระทง – สงกรานต 61. ศาสนพิธใด ไมมี การเจาะจงพระภิกษุผรับ ี ู ก. ทอดกฐิน ข. ถวายผาอาบน้ําฝน ค. ถวายสังฆทาน ง. ถวายผาจํานําพรรษา
  • 58. 62. ขอใดตอไปนี้เป:นศาสนพิธีประเทศทานพิธี (2 คําตอบ) ก. การตักบาตรตอนเชา ข. การทอดกฐิน ค. การสมาทานศีล ง. การทําบุญอุทิศสวนกุศลใหผูเสียชีวิต 63. การทําบุญในงานมงคลเมื่อพระสงฆนั่งประจําอาสนะแลว เจาภาพจุดธูปเทียน บูชาพระ จะมีการอาราธนาใดบาง (2 คําตอบ) ก. อาราธนาศีล ข. อาราธนาพระสงฆ ค. อาราธนาพระธรรม ง. อาราธนาพระปริตร 64. เทศกาลสําคัญทางพระพุทธศาสนาเทศกาลใดบางที่พุทธบริษัทไดปฏิบัติตน เพื่อแสดงความกตัญXูตอธรรมชาติ (2 คําตอบ) ก. เขาพรรษา ข. ออกพรรษา ค. ลอยกระทง ง. ทอดกฐิน 65. พุทธสาวกและพุทธสาวิกาที่ไดรับยกยองในการบรรยายธรรมคือใคร ก. จุฬสุภัททา ข. พระปฏาจาราเถรี ค. จิตตคหบดี ง. พระธัมมทินนาเถรี
  • 59. ศาสนาพราหมณ-ฮินดู มีวิวัฒนาการ 3 สมัย คือ 1. สมัยพระเวท เริ่มแรก นับถือเทพเจาตาง ๆ 2. สมัยพราหมณ เกิดเทพ พระพรหม ผูสราง และความเชื่อตรีมูรติ 3. สมัยฮินดู เขาสูยุคใหม เชื่อในเรื่องการหลุดพน แบงออกเป:น 6 ลัทธิ(ทรรศนะ6) - นยายะ บรรลุปรมัตถโดยอาศัยการคิดอยางมีเหตุผลมีขั้นตอน - ไวเศษิกะ หลุดพนจากการเวียนวายตายเกิดดวยการแยะแยะสัจธรรม 9 อยาง - สางขยะ หากมนุษยแยกแยะสสารออกจากวิญญาณไดก็จะบรรลุโมกษะ - โยคะ เนนวิธีปฏิบัติใหหลุดพนโดยการดับทุกขทางจิต - มิมางสา การตีความพิธีกรรมและคัมภีรพระเวท - เวทานตะ การสืบคนหาพรหม มีอทธิพลตอพัฒนาการของศาสนาฮินดูมากที่สุด ิ
  • 60. คัมภีรในศาสนาพราหมณ-ฮินดู 1. คัมภีรศรุติ เป:นคัมภีรที่เกิดจากการรับฟQงมาจากโอษฐของพระเจา เชน คัมภีรพระเวท 2. คัมภีรสมฤติ เป:นคัมภีรที่มนุษยสรางขึ้นและจดจํา ถายทอดสืบตอ มา เชน คัมภีรธรรมศาสตร คัมภีรพระเวท ไดแก 1. ฤคเวท ออนวอนสรรเสริญเทพเจาตาง ๆ 2. ยชุรเวท คูมือพราหมณในการทําพิธี 3. สามเวท บทรอยกรองใชในพิธยญกรรม หรือถวายน้ําโสมแก ีั พระอินทร 4. อาถรรพเวท คัมภีรเกิดหลังสุด เรื่องเกี่ยวกับมนตคาถา พิธีแกเสนียด จัญไร เพื่อเป:นสิริมงคลแกตนเอง และนําผลรายไปสูผูอื่น
  • 61. นิกายสําคัญในศาสนาพราหมณ-ฮินดู 1. นิกายพรหม นับถือจงรักภักดีพระพรหม 2. นิกายไวษณพ นับถือจงรักภักดีตอพระวิษณุ หรือพระนารายณ 3. นิกายไศวะ นับถือจงรักภักดีตอพระศิวะ หรือพระอิศวร 4. นิกายศักติ นับถือจงรักภักดีพระเป:นเจาฝ[ายหญิง ไดแก พระสุรัสวดี พระอุมา พระลักษมี
  • 63. พระแมอุมาเทวี... เจ$าแมอุมา หรือ ปารวตี คือ พระนามแหงพระแมผูเป:นใหญในจักรวาล เป:นเทวี แหงอํานาจวาสนาและบารมีอันสูงสุด พระองค ทรงประทานยศถาบรรดาศักดิ์ และความเป:นใหญ พระแม่กาลี เทวีผูทรงมหิทธา ้ แกผูหมั่นบูชาตอพระองคอยางสม่ําเสมอ.
  • 64. พระแมลักษมี คือเทวีแหงความงดงาม ความร่ํารวย และความอุดมสมบูรณ พระองคมักประทานความสําเร็จใน การประกอบกิจการ การเจรจาตอรอง การทํามาคาขาย พระแมสรัสวดี เทวีแหงป(ญญาความรู$ การประกอบธุรกิจทุกสาขา ตลอดจนประทานโภคทรัพย ศิลปวิทยาการ การภาวนาและพิธีกรรม เงินทอง สมบัติ แกผูหมั่นบูชาพระองคและประกอบความดี อยูเป:นนิจ
  • 65. หลักธรรมในศาสนาพราหมณ-ฮินดู 1. หลักอาศรม4 – ขั้นตอนชีวิต หรือทางปฏิบติเพื่อยกระดับชีวิต ั 1.1 พรหมจารี – วัยแหงการศึกษาเลาเรียน 1.2 คฤหัสถ – วัยแหงการครองเรือน 1.3 วรปรัสถ – วัยแหงการปฏิบติศีลในป[า ั 1.4 สันยาสี – วัยแหงการหลุดพน 2. หลักปุรุษารถะ – หลักการดําเนินชีวิตที่ดี 2.1 ธรรมะ – ประพฤติปฏิบัตธรรม เขาใจชีวต เพื่อไปเกิดในสุคติภมิ ิ ิ ู 2.2 กามะ – เสริมสรางชีวิตใหมั่นคง เชน การประกอบอาชีพ แตงงาน 2.3 อรรถะ – แสวงหาความมั่นคงใหแกชีวิตดานตาง ๆ เชน การศึกษา 2.4 โมกษะ – ออกบําเพ็ญพรต เพื่อความหลุดพน
  • 66. 3. หลักปรมาตมันหรือโมกษะ – หนทางนําไปสูการหลุดพนจากการเวียน วายตายเกิด ไดแก 3.1 กรรมมรรค หรือกรรมโยคะ – ละกรรมที่จะทําใหเวียนวายตายเกิด 3.2 ภักติมรรค หรือภักติโยคะ – ความภักดีตอพระเจา 3.3 ราชมรรค หรือราชโยคะ – ทางแหงการฝกฝนอบรมจิตใหมั่นคง 3.4 ชญาณมรรค หรือชญาณโยคะ - ทางแหงปQญญาที่จะนําไปสูการ หลุดพน
  • 67. พิธีกรรมในศาสนาพราหมณ-ฮินดู 1. ระบบวรรณะ – การปฏิบัติตามกําเนิดวรรณะและหนาที่ตาม วรรณะของตน 2. พิธีสังสการ – พิธีกรรมที่ทําใหเกิดความบริสุทธิ์ เป:นพิธเกียวกับ ี ่ ขั้นตอนชีวิตตั้งแตเกิด เป:นพิธีประจําบานเฉพาะวรรณะพราหมณ กษัตริย แพศย 12 อยาง เชน ตั้งครรภ คลอดบุตร ตั้งชื่อเด็ก นําเด็ก ออกดูดวงอาทิตย ป^อนขาว โกนผม ตัดผม เริ่มการศึกษา แตงงาน 3. พิธีศราทธ – พิธีทําบุญอุทิศใหแกดวงวิญญาณบรรพบุรุษ มีการ ถวายขาวบิณฑ (กอนขาวสุก) 4. พิธีบูชาเทวดา – การสวดมนตบูชาพระเจา การไปนมัสการบําเพ็ญ กุศลในเทวาลัย และพิธีบูชาในวันศักดิสิทธิ์ ์