SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 79
Baixar para ler offline
แนะนําอิสลามสําหรับผูสนใจ
 ‫א‬‫א‬
              E‫א‬F

                   ‫א‬
      ‫א‬‫א‬‫א‬‫א‬

                รวมรวมและตรวจทานโดย
          ทีมงานภาคภาษาไทย อิสลามเฮาส.คอม



                          จัดพิมพโดย
      สํานักงานความรวมมือเพื่อเผยแพรและสอนอิสลาม
         อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด ประเทศซาอุดิอาระเบีย


                      : ‫ﻣﻦ ﺇﺻﺪﺍﺭﺍﺕ‬
อนุญาตใหใชประโยชนจากหนังสือ โดยไมบิดเบือนหรือเปลี่ยนแปลงเนื้อหาเดิม
หากมีขอสงสัย คําแนะนําหรือแกขอผิดพลาดใดๆ กรุณาติดตอเราทางเว็บไซต :
www.islamhouse.com




                                  (4977)
                           ฮ.ศ.1427 - ค.ศ. 2006



              สํานักงานความรวมมือเพื่อเผยแพรและสอนอิสลาม
                อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด ประเทศซาอุดิอาระเบีย
                        โทร. +966-1-445 4900, 491 6065
                           www.islamhouse.com
‫ﻭﳛﻖ ﳌﻦ ﺷﺎﺀ ﺃﺧﺬ ﻣﺎ ﻳﺮﻳﺪ ﻣﻦ ﻫﺬﻩ ﺍﳌﺎﺩﺓ ﺑﺸﺮﻁ ﺍﻷﻣﺎﻧﺔ ﰲ ﺍﻟﻨﻘﻞ ﻭﻋﺪﻡ ﺍﻟﺘﻐﻴﲑ ﰲ‬
‫ﺍﻟﻨﺺ ﺍﳌﻨﻘﻮﻝ. ﻭﺍﷲ ﺍﳌﻮﻓﻖ. ﻭﺇﺫﺍ ﻛﺎﻥ ﻟﺪﻳﻚ ﺃﻱ ﺳﺆﺍﻝ ﺃﻭ ﺍﻗﺘﺮﺍﺡ ﺃﻭ ﺗﺼﺤﻴﺢ ﻳﺮﺟﻰ‬
                                                ‫ﻣﺮﺍﺳﻠﺘﻨﺎ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﻌﻨﻮﺍﻥ ﺍﻟﺘﺎﱄ:‬
                                                     ‫‪www.islamhouse.com‬‬
‫ ‬




                                           ‫ ‬

                                 ‫)7794(‬
                               ‫7241 ﻫـ‬



            ‫א‪‬א‪‬א‪‬‬
                    ‫‪ 445 4900W ‬ـ 5606 194‬
                   ‫‪‬א‪‬א‪www.islamhouse.comW‬‬
 ‫א‬‫א‬‫א‬

                               คํานํา

หนังสือเลมนี้ เปนหนังสือรวมเลมบทความแนะนําอิสลามสําหรับผูสนใจ
อิสลาม โดยคัดลอกมาจากงานเขียนของอาจารยบรรจง บินกาซัน และ
บทความที่แปลโดยอาจารยวิทยา วิเศษรัตน ซึ่งเผยแพรในเว็บไซต ไทย
อิสลามิค.คอม และ มุสลิมไทย.คอม
           บทความตางๆ ในหนังสือเลมนี้ สามารถใหคําชี้แจงเบื้องตนแก
ผูสนใจอิสลามตอประเด็นตางๆ ที่ควรรูเพื่อทําความเขาใจอิสลาม ซึ่งใช
วิธีการอธิบายอยางรัดกุมสั้นๆ ไมยื้ดเยื้อมากเกินไป อีกทั้งยังไดให
คําตอบในหลายประเด็นที่อาจจะเปนขอซักถามหรือความคลุมเครือของ
ผูที่มใชมุสลิม
       ิ
           ในนามทีมงานภาคภาษาไทยของเว็บไซต อิสลามเฮาส.คอม
ขอขอบคุณบุคคลทุกฝายที่มีสวนในการเผยแพรหนังสือเลมนี้ และหวัง
อยางยิ่งวาอัลลอฮฺจะทรงประทานผลตอบแทนและความเมตตาของ
พระองคแกทุกทานทั้งในโลกนี้และโลกหนา อามีน

                                                    อิสลามเฮาส.คอม
สารบัญ


ความหมายของอิสลาม                    7
พระเจามีจริงหรือไม ?              14
เรื่องราวของอิสลามโดยยอ            24
ลักษณะทัวไปของอิสลาม
          ่                         33
อิสลามกับชีวติ                      37
อิสลามคือระบอบชีวิตที่สมบูรณ       39
อิสลามและเปาหมายของชีวต  ิ         45
ทัศนะของอิสลามตอธรรมชาติ           50
อิสลามกับความตาย                    52
วันอาคิเราะฮฺ (วันปรโลก)            55
หลักศรัทธา 6 ประการ                 62
หลักปฏิบัติ 5 ประการ                66
การเขารับอิสลามหรือการเปนมุสลิม   77
ความหมายของอิสลาม



         อิ ส ลามแตกต า งกั บ ความศรั ท ธาชนิ ด อื่ น เริ่ ม จากที่ ชื่ อ ของ
ศาสนานี้ คือ "อิสลาม" ไมไดมาจากชื่อผูกอตั้ง เชน พุทธศาสนาและ
คริสตศาสนา หรือมาจากชื่อเผาพันธและเชื้อชาติ เชน ศาสนายิว หรือ
เกี่ยวของกับแผนดิน หรือชื่อของดินแดน เชน ศาสนาฮินดู
         ห นั ง สื อ ห ล า ย เ ล ม เ รี ย ก อิ ส ล า ม ว า “ศ า ส น า มุ หั ม มั ด ”
(Mohamadanism) คงรับมาจากตําราฝรั่ง หรือเรียกคนมุสลิมวา “พวก
มุหัมมัด” หรือที่บานเราเรียกวา “พวกแขก” นี่เปนความเขาใจผิด ความ
สั บ สนพวกนี้ มี อีก หลายเรื่ อ งหลายประเด็ น                 เป น เหตุ ใ ห ล ดทอน
ความหมายที่ถูกตองของอิสลามลงไป และทําใหอิสลามคลาดเคลื่อนไป
จากความเขาใจของบุคคลทั่วไป
         ในอิสลามนั้นถือวาใครที่ยอมรับอัลลอฮฺเปนผูสราง เปนผูเปน
เจาของทุกสรรพสิ่ง เขาก็สามารถที่จะเปน "มุสลิม" คนหนึ่งได ไมวาคน
นั้นจะมีเชื้อชาติใด เผาพันธุไหนก็ตาม
         สวน "อิสลาม" ชื่อที่ใชเรียกศรัทธานี้ถูกประทานมาจากอัลลอฮฺ
ผูทรงสราง ดังมีปรากฏอยูในอัล-กุรอาน คัมภีรที่พระองคประทานมาวา
       àMŠÅÊu‘uρ ©ÉLyϑ÷èÏΡ öΝä3ø‹n=tæ àMôϑoÿøCr&uρ öΝä3oΨƒÏŠ öΝä3s9 àMù=yϑø.r& tΠöθu‹ø9$#

                                                                4 $YΨƒÏŠ zΝ≈n=ó™M}$# ãΝä3s9

                                               7
ความวา "วันนี้ ฉันไดทําใหศาสนาของสูเจาครบครัน
       สําหรับสูเจาแลว และไดใหความโปรดปรานของฉัน
       ครบถ ว นแก สู เ จ า และฉั น ได พึ ง ใจ (เลื อ ก) อิ ส ลาม
       เปนศาสนาสําหรับสูเจา" (อัล-มาอิดะฮฺ 5:3)

แนวคิดพื้นฐาน
             แนวความคิดอิสลามขั้นพื้นฐาน ซึ่งหากถูกละเลยไป ก็จะไมมี
วันเขาใจอิสลามไดเลย นั่นคือ อิสลามถือวา สรรพสิ่งทั้งหลายถูกสราง
โดยผูเปนเจา ซึ่งอิสลามเรียกผูเปนเจาที่เที่ยงแทนี้ในภาษาอาหรับวา
“อัลลอฮฺ” เปนผูอภิบาล และผูทรงอํานาจสูงสุด และทุกสิ่งทุกอยาง
ดําเนินและเปนไปตามกฎของพระองค
             เบื้องหลังของสรรพสิ่ง จึงมีเจตจํานงหนึ่งบริหารจัดการมัน มี
อํานาจหนึ่งที่ขับเคลื่อนมัน มีกฎหนึ่งที่คอยกําหนดควบคุมมัน จักรวาล
ทั้งหมด จึงเปนสิ่งที่เชื่อฟงตอเจตจํานงของพระเจา ดวยเหตุจากการเชื่อ
ฟงและการยอมจํานนนี้ ทําใหจักรวาลดําเนินตอเนื่องไปไดในรูปแบบที่
ประสานกลมกลืนอยางสันติ
             เพราะฉะนั้นแนวคิดรากฐานของอิสลามจึงเริ่มจากเอกภาพของ
ผูเ ปน เจ า       นั่ น หมายความว า สรรพสิ่ ง และชีวิ ตต า งๆนั้ น มาจาก
แหลงกําเนิดเดียว และตางตกอยูภายใตการบริหารของอํานาจเดียว
ดํารงอยูทามกลางความเปนเอกภาพ ประสานกลมกลืนเขาดวยกันอยาง
ปราณีตงดงามยิ่ง

                                     8
นี่ คื อ แนวคิ ด หลั ก ซึ่ ง เป น แนวคิ ด ที่ ก อ ขึ้ น เป น ความเชื่ อ
อุดมการณ และระบอบอิสลามอื่นๆ ที่ถูกกลาวไวในอัล-กุรอานตลอดทั้ง
เลมก็วาได ดังตัวอยางปรากฏในอัล-กุรอานวา
       $Z)ø?u‘ $tFtΡ%Ÿ2 uÚö‘F{$#uρ ÏN≡uθ≈yϑ¡¡9$# ¨βr& (#ÿρãxx. t⎦⎪Ï%©!$# ttƒ óΟs9uρr&

       tβθãΖÏΒ÷σムŸξsùr& ( @c©yr >™ó©x« ¨≅ä. Ï™!$yϑø9$# z⎯ÏΒ $oΨù=yèy_uρ ( $yϑßγ≈oΨø)tFxsù

                                                                                         ∩⊂⊃∪

       ความวา "และบรรดาผูปฏิเสธศรัทธาเหลานั้นไมเห็น
       ดอกหรือวา แทจริงชั้นฟาทั้งหลายและแผนดินนั้นแต
       กอนนี้รวมติดเปนอันเดียวกัน แลวเราไดแยกมันทั้ง
       สองออกจากกัน และเราไดทําใหทุกสิ่งมีชีวิตมาจาก
       น้ํา ดังนั้นพวกเขาจะยังไมศรัทธาอีกหรือ" (อัล-อันบิ
       ยาอ 21:30)

       ĸöyèø9$# Éb>u‘ «!$# z⎯≈ysö6Ý¡sù 4 $s?y‰|¡xs9 ª!$# ωÎ) îπoλÎ;#u™ !$yϑÍκÏù tβ%x. öθs9

                                                                     ∩⊄⊄∪ tβθàÅÁtƒ $£ϑtã

       ความวา "หากในชั้ น ฟ า และแผ น ดิ น มีพ ระเจา หลาย
       องค นอกจากอัลลอฮฺแลว           ก็จะกอใหเกิดความ
       เสียหายอยางแนนอน อัลลอฮฺพระเจาแหงบัลลังกทรง
       บริสุทธิ์จากสิ่งที่พวกเขาเสกสรรปนแตงขึ้น" (อัล-อันบิ
       ยาอ 21:22)


                                                 9
Ç⎯≈uΗ÷q§9$# È,ù=yz †Îû 3“ts? $¨Β ( $]%$t7ÏÛ ;N≡uθ≈yϑy™ yìö7y™ t,n=y{ “Ï%©!$#

                     ∩⊂∪ 9‘θäÜèù ⎯ÏΒ 3“ts? ö≅yδ u|Çt7ø9$# ÆìÅ_ö‘$$sù ( ;Nâθ≈xs? ⎯ÏΒ

      ความวา "พระผูทรงสรางชั้นฟาทั้งเจ็ดเปนชั้นๆ เจาจะ
      ไมพบเห็นความบกพรองในการสรางของพระผูทรง
      กรุณาปรานี ดังนั้นเจาจงหันกลับมามองดูซิ เจาเห็น
      รอยราวหรือชองโหวบางไหม?" (อัล-มุลก 67:3)

       ฉะนั้น สรรพสิ่งและชีวิตในอิสลามจึงถูกเนนถึง "ความกลมกลืน"
กันบน "อํานาจเดียว" ทุกสิ่งเดินไปบน "การยอมจํานน" อยางสิ้นเชิงตอ
อํานาจนั้น
      >™ó©x« ⎯ÏiΒ βÎ)uρ 4 £⎯ÍκÏù ⎯tΒuρ ÞÚö‘F{$#uρ ßìö7¡¡9$# ßN≡uθ≈uΚ¡¡9$# ã&s! ßxÎm6|¡è@

      tβ%x. …絯ΡÎ) 3 öΝßγys‹Î6ó¡n@ tβθßγs)ø? ω ⎯Å3≈s9uρ ⎯Íνω÷Κpt¿2 ßxÎm7|¡ç„ ωÎ)
                                             s

                                                                ∩⊆⊆∪ #Y‘θàxî $¸ϑŠÎ=ym

      ความวา "ชั้นฟาทั้งเจ็ดและแผนดิน รวมทั้งสิ่งที่อยูใน
      นั้นลวนสดุดีสรรเสริญแดพระองค และไมมีสิ่งใดเวน
      แตจะสดุดีดวยการสรรเสริญพระองค แตวาพวกเจา
      ไมเขาใจคําสดุดีของพวกเขา แทจริงพระองคเปนผู
      ทรงเอ็นดู ผูทรงอภัยเสมอ" (อัล-อิสรออ 17:44)

      ÏN≡uθ≈yϑ¡¡9$# ’Îû ⎯tΒ zΝn=ó™r& ÿ…ã&s!uρ šχθäóö7tƒ «!$# Ç⎯ƒÏŠ uötósùr&

                   ∩∇⊂∪ šχθãèy_öムϵø‹s9Î)uρ $δöŸ2uρ $YãöθsÛ Ä⇓ö‘F{$#uρ

                                             10
ความวา "อื่นจากศาสนาของอัลลอฮฺกระนั้นหรือที่พวก
      เขาแสวงหา? และแดพระองคนั้น ผูที่อยูในชั้นฟา
      ทั้ ง หลายและแผ น ดิ น ได น อบน อ มให ทั้ ง ด ว ยการ
      สมัครใจและความจํายอม และยังพระองคนั้นพวกเขา
      จะถูกนํากลับไป" (อาล อิมรอน 3:83)

ความหมายของอิสลาม
         หลังจากที่ไดทําความเขาใจแนวคิดหลักของอิสลามแลว เรา
สามารถทํ า ความเข า ใจความหมายของอิ ส ลามได ทั น ที เพราะ
ความหมายของคําวา "อิสลาม" นั่น ผูกติดอยูกับแนวคิดขางตนนั่นเอง
         เริ่มจากความหมายดานภาษา คําวา "อิสลาม" มาจากรากศัพท
สามอักษร คือ ซีน, ลาม และมีม หมายถึง
         ก) ยอมจํานน ยอมรับ ยอมสยบ ใหแกสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เหนือกวา
ดังนั้นประโยคที่วา (อัสละมะ อัมเราะฮุ อิลา อัลลอฮฺ) จึงหมายถึง เขา
มอบหมายการงานของเขาไปยัง อั ลลอฮฺ หรื อเขายอมรั บเจตนารมณ
ของอัลลอฮฺโดยดุษฎี คําวา “อัสละมะ” ตัวเดียวกันนี้ยังหมายถึง เขา
มอบหมายตัวเขาไปสูเจตนารมณของอัลลอฮฺ หรือเขาเปนมุสลิม ก็ได
         ข) ปรองดองกับสิ่งอื่น หรือสรางสันติภาพ (โปรดดู Hans Wehr,
Dictionary of Modern Arabic Written, Wiesbadane : Harrassowitz
,1971p. 424-425.)
         ถาเขาใจความหมายทางภาษา ก็สามารถเขาใจความหมายทาง
หลักการไดไมยาก ความหมายอิสลามทางหลักการนั้นไดรับจากความ
                                   11
เขาใจที่มาจากอัล-กุรอาน อัซ-สุนนะฮฺ(คําสอนของทานศาสดา) และ
ความเขาใจอยางเอกฉันทของศิษ ยของทานศาสดาหรือที่ เรียกกันวา
บรรดาเศาะฮาบะฮฺ นั่นก็คือ อิสลามหมายถึงการยอมจํานน การออน
นอมและการเชื่อฟง ดังนั้น อิสลามคือระบอบที่ยืนหยัดอยูบนหลักการ
ยอมจํานน และเชื่อฟงตออัลลอฮฺ นี่คือสาเหตุที่มันถูกเรียกวาระบอบหรือ
แนวทางแหงอิสลาม
           และในอีกดานหนึ่ง คําวาอิสลาม คือ "สันติภาพ" หมายถึงผูใด
ตองการที่จะรับเอาสันติภาพที่แทจริงทั้งทางภายนอก และทางความรูสึก
ได ก็มีเพียงแตโดยวิธีการยอมจํานนและเชื่อฟงตออัลลอฮฺเทานั้น ตามที่
กลาวนี้ก็คือ ชีวิตที่เชื่อฟงอัลลอฮฺจะนํามาซึ่งสันติภาพของจิตใจ และจะ
ขยายสันติภาพไปสูดานอื่นๆ ของชีวิตตอไป
           เพราะฉะนั้น ทุกสิ่งทุกอยางที่ดําเนินไปตามเจตนารมณของผู
เปนเจาจึงเรียกไดวาไดเขาสูความเปนอิสลาม หรือเรียกเปนภาษา
อาหรับวา "มุสลิม" หมายถึง ผูหรือสิ่งที่ยอมจํานนตออัลลอฮฺและเปนผล
ใหผูหรือสิ่งนั้นดําเนินไปบนแนวทางแหงสันติ
           กล า ว ต า ม คว า ม ห ม า ย นี้ ก็ คื อ ทุ ก ส ร ร พ สิ่ ง เ ป นมุ ส ลิ ม
เพราะฉะนั้นการที่มนุษยคนใดเลือกเปนมุสลิม ก็คือมนุษยคนนั้นไดเลือก
วิ ถี ท างเดี ย วกั บ ทุ ก สรรพสิ่ ง ที่ ดํ า เนิ น และเคลื่ อ นไหวไปรอบๆ ตั ว เขา
นั่นเอง อัล-กุรอานจึงไดเรียกรองตอผูที่ศรัทธาตออัลลอฮฺใหเขาสู
สันติภาพนี้โดยพาตัวเองเขาสูสันติภาพทั้งระบอบ
               Zπ©ù!$Ÿ2 ÉΟù=Åb¡9$# ’Îû (#θè=äz÷Š$# (#θãΖtΒ#u™ š⎥⎪Ï%©!$# $y㕃r'¯≈tƒ

                                              12
ความวา "โอบรรดาผูศรัทธาจงเขาสูสันติภาพทั้งหมด"
      (อัล-บะเกาะเราะฮฺ 2:208)

         คําวา “ซิลมฺ” ที่แปลวาสันติภาพ ในที่นี้หมายถึง อิสลาม หรือ
การยอมจํานนตออัลลอฮฺในทุกแงทุกมุมของชีวิต เราจึงสามารถอธิบาย
ไดเชนกันวา อิสลามคือระบอบและแนวทางการดําเนินชีวิตที่ถูกประทาน
จากผูเปนเจาสูมุหัมมัดผูเปนศาสดาทานสุดทาย
         อิสลาม คือประมวลในสิ่งที่อัลลอฮฺประทานมาใหทุกแงทุกมุม
ของชีวิต ไมวาเปนหลักศรัทธา กฎหมาย การเมือง แนวทางเศรษฐกิจ
เปนตน ทั้งหมดนั้นถูกประทานมาเพื่อใหมนุษยทั้งหมดยอมรับ ยอม
จํานน และปฏิบัติตามนั่นเอง
         เพราะฉะนั้น อิสลามจึงเปนระบอบที่เข ามาเกี่ยวของกับชีวิ ต
ทั้งหมด อิสลามคือการใหคําตอบตอปญหาชีวิตทั้งหมดสามประเด็น นั่น
คือ เรามาจากไหน? เรามาทําไม? และเราจะไปไหน?
         คําตอบทั้งสามคําถามนี้อยูในเนื้อหาคําสอนทั้งหมดของอิสลาม
แลว




                                 13
พระเจามีจริงหรือไม ?



       ÏM≈uΗä>—à9$# Ÿ≅yèy_uρ uÚö‘F{$#uρ ÏN≡uθ≈yϑ¡¡9$# t,n=y{ “Ï%©!$# ¬! ߉ôϑptø:$#

                           ∩⊇∪ šχθä9ω÷ètƒ öΝÍκÍh5tÎ/ (#ρãxx. t⎦⎪Ï%©!$# ¢ΟèO ( u‘θ‘Ζ9$#uρ

       ความวา “มวลการสรรเสริญเปนสิทธิ์ของอัลลอฮฺผู
       บัง เกิ ด ชั้น ฟ า ทั้ ง หลายและแผ น ดิ น และทรงให เ กิ ด
       ความมื ด และแสงสว า ง แต แ ล ว บรรดาผู ที่ ป ฏิ เ สธ
       ศรัทธานั้นก็ยังให(สิ่งอื่น)เทาเทียมกับพระเจาของเขา
       อยู” (อัล-อันอาม 6:1)

          อัลลอฮฺไดทรงใหรสูล(ศาสดา, ศาสนทูต)ของพระองคชี้แจงแก
มนุษยทั้งหลายใหรูวาบรรดาสิ่งที่อยูเบื้องบนที่เรียกกันวาฟาและแผนดิน
ที่มนุษยและสัตวไดอยูอาศัยนั้นไมไดเกิดหรือมีขึ้นมาเอง หากแตอัลลอฮฺ
เปนผูบังเกิดขึ้นซึ่งนับเปนเรื่องใหญและสําคัญที่สุด แตพวกที่ดื้อดึงก็ยัง
ไม ย อมเชื่ อ ฟ ง ไม ย อมเคารพสั ก การะต อ พระองค ยั ง คงดื้ อ ดึ ง เคารพ
สักการะสิ่งอื่นเทาเทียมเสมอดวยพระองค
                   ∩⊇⊃⊇∪ ×Λ⎧Î=tæ >™ó©x« Èe≅ä3Î/ uθèδuρ ( &™ó©x« ¨≅ä. t,n=yzuρ




                                             14
ความว า “และพระองค ท รงให เ กิ ด ทุ ก ๆ สิ่ ง และ
      พระองคเปนผูทรงรอบรูในทุกๆ สิ่ง” (อัล-อันอาม
      6:101)

       อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทรงบังเกิดทุก ๆสิ่งที่มีอยูในพิภพรวมทั้งทองฟา
และแผ น ดิ น ด ว ยมหาอํ า นาจและความปรารถนาของพระองค และ
พระองคทรงรอบรูทุกๆ สิ่งอยางถวนถี่เพราะพระองคเปนผูทรงใหบังเกิด
      &™ó_x« Èe≅à2 ß,Î=≈yz ( uθèδ ωÎ) tµ≈s9Î) Iω ( öΝä3š/u‘ ª!$# ãΝà6Ï9≡sŒ

                            ∩⊇⊃⊄∪ ×≅‹Å2uρ &™ó©x« Èe≅ä. 4’n?tã uθèδuρ 4 çνρ߉ç6ôã$$sù

      ความวา “นั่นคืออัลลอฮฺผูเปนพระผูอภิบาลของสูเจา
      ทั้งหลาย ไมมีเจาใดๆ ที่ควรแกการกราบไหวสักการะ
      นอกจากพระองคผูทรงบังเกิดทุกๆ สิ่ง ดังนั้นสูเจา
      ทั้งหลายจงเคารพกราบไหวแดพระองค” (อัล-อันอาม
      6:102)

            ( ÇÚö‘F{$#uρ ÏN≡uθ≈yϑ¡¡9$# ÌÏÛ$sù A7x© «!$# ’Îûr& óΟßγè=ߙ①ôMs9$s% *

      ความวา “บรรดารสูลของพวกเขาไดกลาวถามวา ใน
      เรื่ อ งอั ล ลอฮฺ ผู ส ร า งฟ า และแผ น ดิ น นั้ น ยั ง จะมี ก าร
      เคลือบแคลงสงสัยอีกหรือ” (อิบรอฮีม 14:10)



                                         15
«!$# çöxî @,Î=≈yz ô⎯ÏΒ ö≅yδ 4 ö/ä3ø‹n=tæ «!$# |Myϑ÷èÏΡ (#ρãä.øŒ$# â¨$¨Ζ9$# $pκš‰r'¯≈tƒ

        4†¯Τr'sù ( uθèδ ωÎ) tµ≈s9Î) Iω 4 ÇÚö‘F{$#uρ Ï™!$yϑ¡¡9$# z⎯ÏiΒ Νä3è%ã—ötƒ

                                                                          ∩⊂∪ šχθä3sù÷σè?

        ความวา “มนุษยทั้งหลาย! จงรําลึกถึงความกรุณา
        เมตตาของอัลลอฮฺซึ่งอยูบนสูเจาทั้งหลาย (พึงคิดดูให
        ดี) จะมีหรือผูสรางอื่นจากอัลลอฮฺ? พระองคทรง
        ประทานปจจัย(ริสกี)ใหแกพวกสูเจาลงมาจากฟาและ
        ออกมาจากพื้นดิน ไมมีเจาอื่นใดที่ควรแกการเคารพ
        สั ก การะนอกจากพระองค (เมื่ อ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย า งได
        ประจักษแจงชัดแลว) สูเจายังถูกหลอกลวงให(เคารพ
        สิ่งอื่น)ไดอยางไรอีกเลา?” (ฟาฏิรฺ 35:3)

         โองการอั ลกุ ร อานทั้ ง หมดนี้ อั ล ลอฮฺ ไ ด ท รงแจ ง ให ม นุ ษ ย รู ว า
พระองคทรงเปนพระเจาองคเดียวที่ทรงสรางฟา แผนดิน และสิ่งตาง ๆที่
มีอยูในทองฟาและบนพื้นแผนดิน
         นอกจากคํ า บอกเล า ของพระองค แ ล ว มนุ ษ ย เ รายั ง สามารถ
คนควาหาองคพระผูบังเกิดไดดวยความคิดความอานของเราอีก เรื่อง
องคพระผูสรางนี้เมื่อเราพยายามใชสติปญญาคนควาแตเพียงผิวเผินก็
จะไดพ บประจัก ษพ ยาน แตถ า เรายิ่ ง คิดให ลึก ซึ้ ง ก็จะได พ บประจัก ษ
พยานอันกวางขวางยิ่งๆ ขึ้นไปทุกที


                                                  16
อัล-อุสตาซ อัช-ชัยค มุหัมมัด คอลีล ดิรอสไดเลาวา มีอาหรับ
ชาวเขาคนหนึ่งไดถูกถามวา “ทานรูจักพระเจาอภิบาลของทานได
อยางไร?” อาหรับผูนั้นไดตอบดวยคารมคมคายวา “อูฐตัวเมียมันบอก
แกเราวาตองมีอูฐตัวผูและรอยเทาที่ปรากฎอยูบนพื้นดินนั้นมัน
บอกแกเราวามีผูเดินผาน ดังนั้นทองฟาอันเต็มไปดวยหมูดาวและ
พื้นดินที่ปูลาดมันจะไมบอกแกเราบางหรือวามีผูสรางที่ทรงไวซึ่ง
ความสามารถและความรูอยางละเอียดรอบคอบ?!”
           ท า นอิ บ นุ กะษี ร ผู เ ชี่ ย วชาญในทางอธิ บ ายความหมายของ
อัลกุรอานไดเลาไวในหนังสือของทานวา มีชนกลุนหนึ่งซึ่งเปนพวกที่ไม
นับถือพระเจาไดมาหาทานอบู หะนีฟะฮฺ(อิมามหะนะฟ) ขอรองใหทาน
แสดงหลักฐานในเรื่องการมีพระเจาผูสรางใหแกพวกเขา ทานอบู
หะนีฟะฮฺก็ยินดีที่จะปฏิบัติตามคําขอรองแตทานพูดกับพวกเหลานั้นวา
“กอนอื่นฉันอยากเลาเรื่องแปลกประหลาดใหพวกทานฟงสักเรื่องหนึ่ง
สํ า หรั บ ตั ว ฉั น เองก็ ยั ง ฉงนใจอยู เ หมื อ นกั น เรื่ อ งมี ดั ง นี้ ฉั น ได ข า ว
ประหลาดวามีเรือสินคาลําหนึ่งภายในเรือไมมีคนอยูแมแตสักคนเดียว
กัปตันก็ไมมี นายทายก็ไมมี ชางเครื่องก็ไมมี ตลอดจนกลาสีลูกเรือ และ
กรรมกรแมแตเครื่องควบคุมใดๆ ก็ไมมีทั้งสิ้น แตเรือลํานี้ทํางานไดเองทุก
อยาง เชน เอาของลงเรือเอง พอสินคาเต็มลําแลวก็ออกแลนไปยังที่
หมาย เมื่อถึงแลว ก็ขนสินคาขึ้นเอง แลวก็แลนกลับมาขนสินคาลงอีก
เรื่องเปนเชนนี้ฉันใครอยากจะถามทานวาพวกทานเห็นอยางไรในเรื่องนี้?
มันจะเปนไปไดไหม ?” พวกแขกเหลานั้นก็ตอบวา “มันเปนเรื่องสุดวิสัยที่
จะเชื่อวาเปนความจริง เปนเรื่องเหลวไหลมากกวา”
                                              17
ทานอบู หะนีฟะฮฺจึงพูดกับพวกนั้นวา “เมื่อทานไมยอมเชื่อเรื่อง
เรือประหลาดลํานั้นแลว เหตุไฉนทานจึงจะไมยอมเชื่อวา พิภพอันกวาง
ใหญไพศาลเบื้องบนที่เต็มไปดวยจักรวาลเชน ดวงจันทร ดวงตะวันและ
ดวงดาวอย า งเหลื อ คณานั บ ทุ ก อย า งต า งหมุ น เวี ย นโคจรไปตาม
กฎเกณฑอยางเปนระเบียบเรียบรอยไดจังหวะปราศจากการผิดพลาด
ก า วก า ย ทางเบื้ อ งล า งก็ มี สิ่ ง ของสุ ด วิ สั ย ที่ จ ะคํ า นวณได ทุ ก ๆสิ่ ง ได
ดําเนินไปอยางเปนระเบียบเรียบรอยตามกําหนด เหตุใดทานจึงไมยอม
เชื่อวามีผูคอยจัดการ คอยบริหารควบคุมดูแล?”
            เมื่อทานอะบู หะนีฟะฮฺสงคําถามกลับไปเชนนั้นพวกที่ไมยอม
ศรัทธาในพระเจาเหลานั้นตางก็นิ่งอึ้ง ครุนคิดอยูสักครูหนึ่งก็ยอมจํานน
ตอเหตุผลวาพระเจาผูสรางนั้นมีแนนอนและยอมเขารับนับถืออิสลาม
ทันที
            ทั้งสองเรื่องนี้ถอดความจากหนังสือพิมพ “อัล-ฮัดยุน นะบะ
วีย” ของอัล-มัรฺหูม อัช-ชัยค หามิด อัล-ฟากี ซึ่งตีพิมพในประเทศอียิปต
     
            เรื่องแรก บอกใหรูวา เมื่อเราเห็นสิ่งของเราก็รูจักผูทําหรือผู
ประดิษฐหรือผูสราง เชน เราเห็นรถยนตเราก็รูวานายชางเปนผูประกอบ
ตัวรถ ชางกลเปนผูประดิษฐเครื่องยนต เมื่อเราเห็นเรือใบลําเล็กๆ เราก็รู
วาชางไมเปนผูตอเรือนั้น เมื่อเราหยิบเสื้อกางเกงขึ้นมาเราก็รูวาชางตัด
เสื้อเปนผูเย็บ เมื่อเราเห็นตึกหลังใหญมหึมาเราก็รูวาชางกอสรางเปน
ผูทํา เมื่อเราเห็นบานไมหลังงามหรือกระทอมหลังเล็กๆ เราก็รูวาชางไม


                                            18
เปนผูทํา เมื่อเราไดเห็นบานเมืองสวยงามมีถนนใหญๆ งามๆ มีตกรามสูง         ึ
ตระหงานและของอื่นๆ อีกหลายสิ่งหลายอยางเราก็รูวามนุษยเปนผูทํา
           มนุษยทุกคนแมแตเด็กก็ตองเชื่ออยางมั่นใจวาชางไมเปนผูตอ
เรื อ ทํ า บ า น ช า งกลและช า งเหล็ ก เป น ผู ทํ า รถยนต ช า งก อ สร า งเป น
ผูสรางตึก และชางเย็บเสื้อเปนผูเย็บเสื้อกางเกง ฯลฯ เราพากันเชื่อ ทั้งๆ
ที่เราไมเคยรูจกหรือไมเคยไดพบเห็นนายชางเหลานั้นเลยแมแตนอย
                  ั
           ทุกๆ คนจะไมยอมเชื่ออยางเด็ดขาดวาสิ่งของตางๆ เหลานั้น
เกิดขึ้นมาเองโดยไมมีผูสรางไมมีผูทําหรือผูประดิษฐ แมกานไมขีดไฟซึ่ง
เปนเศษไมเล็กๆ ที่ไมมีมูลคาอะไรเลยแมแตนอยเราก็ไมยอมเชื่อวามัน
เกิดหรือมีขึ้นมาเองโดยไมมีผูทํา
           ใครบอก ใครสั่งสอนหรือแนะนําใหมนุษยเชื่อมั่นอยางนั้น?
           สัญชาติญาณอันเกิดจากสติปญญาของเราเองเปนผูบอก แมจะ
เปนคนที่โงแสนโงสักปานใดก็จะไมยอมเชื่อวาสิ่งเหลานั้นเกิดหรือมีขึ้น
เองโดยไมมีผูสราง
           เมื่อสรุปแลวก็คงไดผลดังนี้ :-
                 1. มนุษยยอมเชื่อวาสิ่งของตางๆ เชนที่กลาวมาแลวจะ
                       เกิดหรือมีขึ้นมาเองโดยไมมีผูทํา ผูสราง หรือผูประดิษฐ
                       ไมไดอยางเด็ดขาด
                 2. มนุ ษ ย ย อมเชื่ อ สิ่ ง ที่ ไ ม เ คยพบไม เ คยเห็ น เชื่ อ โดย
                       จิตสํานึก


                                         19
เมื่อเปนเชนนี้ ก็เหตุไฉนเราจะไมยอมเชื่อวาสิ่งของอีกเปน
จํานวนมากมายกายกองเหลือคณานับ ที่นายชางตางๆ เหลานี้ทําไมได
เชน ดวงจันทร ดวงตะวัน ดวงดาว มนุษย สัตว ตนไม ตั้งแตขนาดใหญ
ที่สุดถึงขนาดเล็กที่สุด มองดวยตาเปลาไมเห็นตองใชกลองขยาย
ตลอดจนตัวพิภพ ทองฟา น้ํา และแผนดินตองมีผูสราง กลับไปเชื่อวา สิ่ง
เหลานั้นเกิดขึ้นมาเอง โดยไมมีผูสราง จะไมเปนการเขาใจที่งมงาย
เกินไปหรือ?
         ในเมื่อมนุษยทุกคนไมยอมเชื่อวากานไมขีดไฟเพียงกานเดียว
จะเกิดหรือมีข้ึนมาเองไมได อยางเด็ดขาด ทั้ง ๆ ที่การทํากานไมขีดไฟ
ไมใชงานละเอียดพิสดารอยางไร แมเด็กเล็กบางคน ก็สามารถจะเหลา
เศษไมเล็กๆ ใหมีลักษณะเปนเศษไมที่มีรูปสี่เหลี่ยมอยางกานไมขีดไฟได
สวนสิ่งของตาง ๆ ดังกลาวแลว ไดถูกสรางขึ้นอยางประณีตพิสดารเกิน
ภูมิปญญาของมนุษย แตกลับเขาใจหรือเชื่อวา เกิดขึ้นมาเองโดยไมมี
ผูสราง
         ปญญาชนผูเคารพตอเหตุผล เคารพตอความจริง ไมนาเขาใจ
อยางงมงายเชนนั้น ควรจะใชสติปญญาความรอบคอบคนหาผูสรางให
พบ ในเมื่อมั่นใจวาทุกๆ สิ่งตองมีผูทํา
         เรื่องที่สอง หมายถึงการควบคุมการบริหาร
         บรรดาสิ่งของตางๆ ที่เราใชที่เราเห็นตลอดจนกิจการตางๆ ตอง
มีผูควบคุม ผูรักษาและผูบริหาร เชนเราจะนําสิ่งของบางอยางไปยังที่
แหงหนึ่ง เรามีเรือเล็กๆ อยูลําหนึ่งเราจัดแจงเอาสิ่งของลงเรือแลวก็แก

                                  20
เชือกผูกเรือ เสือกเรือออกกลางแมน้ํา เรือลํานอยๆ ก็จะลองลอยไปตาม
สายน้ํ า ตามยถากรรม ในที่ สุ ด ทั้ ง เรื อ ทั้ ง ของและพายก็ จ ะอั น ตรธาน
หายไปโดยไมรวาไปอยูที่ใด
                ู
         หรือเราลงไปในเรือดวย เรามีความสามารถทําไดแตเพียงเอา
พายพุยน้ํา ไมเขาใจที่จะคัดหรือวาด ทั้งไมเขาใจทางเดินเรือพอลงเรือได
ก็จ้ําเอาๆ เรือก็ตะเปะตะปะหมุนไปหมุนมาชนนั่นชนนี่ ในที่สุดก็ไปไม
รอดหรืออาจจะถูกเรืออื่นชนลมในที่สุด
         เรามีรถยนตคันใหญโตสวยงาม มีเครื่องใชทันสมัยอยางพรอม
มูล เมื่อจะไปธุระยังที่แหงหนึ่งเราขึ้นไปนั่งบอกใหมันออกเดินมันก็ไม
ออก คอยแลวคอยเลารถก็ไมออกวิ่งหรือวาเราสตารทเครื่องเรียบรอย
แลวก็ลงจากรถปลอยใหรถออกวิ่งไปแตลําพังในที่สุดรถคันนั้นก็จะตอง
ไปชนอะไรพังพินาศไป
         หรือเราเปนผูขับเอง แตมีความรูเพียงหมุนพวงมาลัยใหรถหัน
ขวาหัน ซ า ยเท า นั้ น การเดิ น รถตามระเบี ย บของการจราจรไม มีค วาม
เขาใจเลย ในที่สุดรถของเราก็จะตองไปชนอะไรเขาหรือไมก็ถูกรถคันอื่น
ชนเอา หรื อ ว า ในขณะที่ ขั บ ไปนั้ น เครื่ อ งยนต เ กิ ด ขั ด ข อ งขึ้ น เราไม มี
ความรูในเรื่องเครื่องยนตเสียเลยจะเดินทางตอไปก็ไมไดจะกลับบานก็
ไมได
         มีโรงเรียนใหญแหงหนึ่งกําลังจะกาวหนามีนักเรียนนับจํานวน
เปนพันแตมีเหตุเกิดขึ้นทําใหตองขาดผูจัดการหรือผูบริหาร หรือวาได
ผูจดการมาใหมเปนผูที่ไมเคยบริหารกิจการของโรงเรียนมาเลย หรือวามี
    ั

                                         21
ภูมิความรูไมพอที่ จะควบคุมโรงเรี ยนได เมื่องานดํ าเนินไปโดยขาดผู
ควบคุมผูบริหารที่มีประสิทธิภาพไมพอ ความระส่ําระสาย ความอลเวงก็
จะเกิดขึ้น ในที่สุดโรงเรียนนั้นก็จะตองประสบกับความวิบัติ
         ยั ง มี อ ะไรอื่ น อี ก ในทํ า นองเดี ย วกั น นี้ อี ก มากมายนํ า มาเป น
อุทาหรณเพียงเทานี้ก็เขาใจพอแลว
         เรื่องปลีกยอยเล็กๆ นอยๆ เชนนี้ยังขาดผูบริหารผูควบคุมที่ทรง
ความรูความชํานาญไมได แลวสิ่งใหญๆ อันทรงสภาพลึกล้ําพิสดาร
มหั ศ จรรย อี ก มากหลายเหลื อ คณานั บ เราจะเชื่ อ ได อ ย า งไรว า ไม มี ผู
ควบคุมหรือผูบริหารที่ทรงไวซึ่งความสามารถความรอบรูอยางรอบคอบ?
เชนโลกที่เราอาศัยอยูทุกวันนี้ ขางบนมีดวงจันทร ดวงตะวันและดวงดาว
จํ า นวนมากหลาย ทุ ก อย า งโคจรไปตามกํ า หนดอย า งเป น ระเบี ย บ
เรียบรอยโดยปราศจากการสับสนกาวกายหรือเปลี่ยนแปลง
         ขางลางก็มีพื้นดินภูเขา แมน้ําลําคลอง ทะเล มนุษย สัตวและ
อะไรอื่ น ๆ อี ก มากมาย สุ ด ที่ จ ะคํ า นวณได ทุ ก ๆสิ่ ง ดํ า เนิ น ไปตาม
กฎเกณฑที่พระผูสรางไดวางไวอยางเปนระเบียบเรียบรอยสม่ําเสมอไมมี
การเปลี่ยนแปลง ทุกสิ่ งทุกอย างคงอยู ในสภาพเดิมตั้ งแตเ ริ่ มแรกจน
ตราบเทาทุกวันนี้!
         สรรพสิ่งทั้งหลายทั้งปวงทั้งเบื้องบนและเบื้องลางดังกลาว
แลวลวนแตเปนสิ่งมหัศจรรยลึกล้ําเกินสติปญญาของมนุษยจะ
เขาถึง หากขาดผูควบคุมดูแลรักษาและบริหารเสียแลวจะคงไวซึ่ง
ความเปนระเบียบเรียบรอยไดอยางไร? หรือวา ถาผูควบคุมบริหาร

                                       22
หยอนสมรรถภาพ ออนความสามารถปราศจากความรอบรูและความ
ละเอียดรอบคอบจะสามารถควบคุมสถานการณทุกดานใหดําเนินไป
เปนระเบียบไดอยางไร?
        เมื่อสรุปแลวก็คงไดผลดังนี้:-
        ทุกๆ สิ่งตองมีผูควบคุมรักษา และบริหาร ผูควบคุมตอง
เปนผูทรงไวซึ่งสมรรถภาพและความสามารถเหนือบรรดาสิ่งที่อยู
ในความควบคุมของตน




                             23
เรื่องราวของอิสลามโดยยอ



อิสลามคืออะไร?
        อิสลามมิใชศาสนาใหมแตอิสลามคือสัจธรรมเดียวกับที่พระผู
เปนเจาไดประทานมายังมนุษยชาติโดยผานทางบรรดานบี(ศาสนทูต)
ของพระองค สํ า หรั บ ประชากรหนึ่ ง ในห า ของโลกนั้ น อิ ส ลามเป น ทั้ ง
ศาสนาและแนวทางแหงชีวิตที่สมบูรณ มุสลิมปฎิบัติตามศาสนาแหง
ความสันติความเมตตาและการใหอภัย และสวนใหญไมมีสวนเกี่ยวของ
อันใดกับเหตุการณรุนแรงที่ไดเขามาเกี่ยวของกับความศรัทธาของพวก
เขา

มุสลิมคือใคร ?
           มุสลิมคือผูที่มีความศรัทธาในพระเจาองคเดียวคือ อัลลอฮฺ และ
ดําเนินชีวิตทุกยางกาวของเขาไปตามคําบัญชาของพระองค ผูคนจํานวน
นั บ พั น ล า นคนจากทุ ก เผ า พั น ธุ เ ชื้ อ ชาติ แ ละวั ฒ นธรรมทั่ ว โลกตั้ ง แต
ฟลิปปนสตอนใตไปจนถึงไนจีเรียไดถูกรวมเขาเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
โดยศาสนาอิสลาม ประมาณ 18% อาศัยอยูในโลกอาหรับ ประชาคม
มุสลิมที่ใหญท่ีสุดในโลกนั้นอยูในอินโดนีเซีย ประชากรสวนใหญของ
เอเซียและอาฟริกาเปนมุสลิม ในขณะที่ในสหภาพโซเวียต จีน อเมริกา

                                         24
เหนื อ อเมริ ก าใต แ ละยุ โ รปก็ มี มุ ส ลิ ม อาศั ย เป น ชนกลุ ม น อ ยอยู เ ป น
จํานวนมากพอสมควร

คนมุสลิมเชื่ออะไร?
         มุสลิมเชื่อในพระเจาองคเดียวคืออัลลอฮฺ เชื่อในทูตสวรรคที่
พระองคทรงสรางมา เชื่อในบรรดานบีตางๆ ที่พระองคไดทรงประทาน
ทางนํ า ผ า นมายั ง มนุ ษ ยชาติ เชื่ อ ในวั น แห ง การตั ด สิ น ตอบแทนการ
กระทําของแตละคน และเชื่อในอํานาจอันสมบูรณของพระเจาในการ
กําหนดชะตากรรมของมนุษยและชีวิตหลังความตาย มุสลิมเชื่อในสาย
โซแหงนบีที่เริ่มตนมาตั้งแตนบีอาดัม นบีนูหฺ(โนอาห) นบีอิบรอฮีม(อับรา
ฮัม) นบีอิสมาอีล นบีอิสฮาก(ไอแซค) นบียะอฺกูบ(จาคอบ) นบียูสุฟ(โย
เซฟ) นบีอัยยูบ นบีมูซา(โมเสส) นบีฮารูน(อารอน) นบีดาวูด(เดวิด) นบีสุ
ลัยมาน(โซโลมอน) นบีอิลยาส นบียูนุส นบียะหฺยา และนบีอีซา(เยซู) แต
ทางนํ า สุ ด ท า ยของพระเจ า ที่ ป ระทานมายั ง มนุ ษ ย แ ละเป น ทางนํ า
ตลอดไปของมนุษยนั้นไดถูกประทานผานมายังนบีมุหัมมัด โดยทูต
สวรรคที่มีช่อวา ญิบรีล
             ื

จะเปนมุสลิมไดอยางไร?
       คนที่ จ ะเป น มุ ส ลิ ม จะต อ งกล า วคํ า ปฏิ ญ าณว า “ลาอิ ล าฮะ
อิลลัลลอฮฺ มุหัมมะดุร รสูลุลลอฮฺ” ซึ่งมีความวา “ไมมีพระเจาอืนใด       ่
นอกจากอัลลอฮฺ และมุหัมมัดเปนศาสนทูตของอัลลอฮฺ” การกลาว

                                         25
คําประกาศดังกลาวนี้ผูศรัทธาไดประกาศวาตนเองมีความศรัทธาในนบี
ทั้งหมดของอัลลอฮฺและคัมภีรตางๆ ที่นบีเหลานั้นนํามา

“อิสลาม” หมายความวาอะไร ?
        คําวา “อิสลาม” ในภาษาอาหรับหมายถึง “การยอมจํานน” และ
ยังมีความหมายอีกอยางหนึ่งวา“สันติ” ดวยในคําสอนทางศาสนา
อิสลามหมายถึงการยอมจํานนตอพระประสงคของอัลลอฮฺ การเรียก
อิสลามวาศาสนามุหัมมัด จึงไมถูกตองเพราะมันทําใหเขาใจวามุสลิม
เคารพสักการะนบีมุหัมมัด
        คําวา“อัลลอฮฺ” เปนชื่อภาษาอาหรับที่ชาวอาหรับมุสลิมและชาว
อาหรับคริสเตียนใชเรียกพระเจา

ทําไมอิสลามจึงมักดูเปนศาสนาที่แปลก ?
         อิสลามอาจจะดูแปลกหรือดูเหมือนเปนศาสนาที่เครงคัดในโลก
สมั ย ใหม ที่ เ ป น เช น นี้ อ าจเป น เพราะศาสนาไม ไ ด มี อิ ท ธิ พ ลใน
ชีวิตประจําวันของชาวตะวันตกในปจจุบัน ในขณะที่มุสลิมถือวาศาสนา
เปนสิ่งสําคัญสูงสุดและไมไดแบงแยกชีวิตทางโลกและทางศาสนาออก
จากกัน คนมุสลิมเชื่อวากฏหมายของพระเจา (หรือที่เรียกวา ชะรีอะฮฺ)
จะตองไดรับการปฏิบัติตามอยางจริงจัง และนี่คือเหตุผลที่วาทําไมเรื่องที่
เกี่ยวของกับศาสนาจึงยังถือวาเปนเรื่องสําคัญ



                                     26
อิสลามและศาสนาคริสตมีที่มาตางกันหรือไม ?
           ไมแตกตางกันเลยทั้งอิสลาม คริสเตียน และแมแตศาสนา
ยูดายมีที่มาจากแหลงเดียวกันนั่นคือนบีอิบรอฮีม และนบีของทั้งสาม
ศาสนานี้ก็เปนลูกหลานโดยตรงจากลูกของทานนั่นคือ มุหัมมัด เปน
ลูก หลานจากเชื้ อ สายของนบี อิส มาอี ลลูก ชายคนโตของนบีอิบรอฮีม
สวนนบีมูซา(หรือโมเสส) และนบีอีซา(หรือพระเยซู) นั้นเปนลูกหลานที่
สืบเชื้อสายมาจากนบีอิสฮาก
         นบีอิบรอฮีมไดตั้งหลักแหลงในบริเวณที่ปจจุบันคือเมืองมักกะฮฺ
และไดสรางกะอฺบะฮฺขึ้นมา ซึ่งมุสลิมจะหันหนามาทางจุดนี้ทุกครั้งใน
เวลานมาซ

กะอฺบะฮฺคืออะไร ?
        กะอฺ บ ะฮฺ เ ป น สถานที่ สํ า หรั บ การแสดงความเคารพสั ก การะ
พระเจาซึ่งพระองคไดทรงบัญชาใหนบีอิบรอฮีมและอิสมาอีลสรางขึ้น
เมื่อประมาณ 4,000 ปกอนหนานี้ อาคารหลังนี้ถูกสรางดวยหินบน
สถานที่ที่หลายคนเชื่อวาเปนที่ตั้งของศาสนสถานดั้งเดิมที่อาดัมสรางขึ้น
พระเจาไดบัญชาอิบรอฮีมใหเรียกรองมนุษยชาติทุกคนใหมาเยี่ยมเยียน
สถานที่แหงนี้และเมื่อผูประกอบศาสนกิจไปที่นั่นในปจจุบันพวกเขาก็จะ
กลาววา “ขาพระองคมาอยูในที่แหงนี้แลวโอพระเจา” เพื่อเปนการ
ตอบสนองคําเรียกรองของทานนบีอิบรอฮีม



                                  27
มุหัมมัด คือใคร ?
             มุหัมมัด เกิดในมักกะฮฺเมื่อ ค.ศ.570 ซึ่งในตอนนั้นศาสนาคริสต
ยังไมไดถูกกอตั้งอยางสมบูรณในยุโรป เนื่องจากบิดาของทานเสียชีวิต
กอนที่ทานจะเกิดและมารดาของทานเสียชีวิตหลังจากที่ทานเกิดไดไม
นาน ทานจึงไดรับการเลี้ยงดูโดยลุงของทานซึ่งเปนคนในเผากุร็อยชฺที่
ไดรับการยกยอง เมื่อทานโตขึ้นเปนผูใหญทานเปนที่รูจักกันดีวาเปนผูมี
ความซื่อสัตย มีความกรุณาปรานี และมีความจริงใจจนคนทั่วไปในเวลา
นั้ น ต า งขอให ท า นเป น ผู ไ กล เ กลี่ ย กรณี พิ พ าทมากมายหลายครั้ ง นั ก
ประวัตศาสตรกลาววาทานเปนคนที่เยือกเย็นและใฝหาความสงบทางใจ
           ิ
              มุหัมมัด เปนคนที่ใฝใจในศาสนาและเกลียดชังความเสื่อม
ทรามของสังคมของทาน ดังนั้นทานจึงมักจะไปแสวงหาความสงบทาง
จิตใจอยูเปนประจําในถ้ํา หิรออ ใกลยอดภูเขาญะบัลนูรฺ (ขุนเขาแหง
รัศมี) ใกลเมืองมักกะฮฺ

ทานเปนนบีและศาสนทูตของพระเจาไดอยางไร ?
          เมื่อทานอายุได 40 ปขณะที่ทานนั่งสงบจิตใจอยูนั้นทานไดรับ
วจนะครั้งแรกจากพระเจาผานทางทูตสวรรคญิบรีลและวจนะนี้ไดถูก
ประทานมายังทานอยางตอเนื่องเปนเวลา 23 ปทางนํานี้เปนที่รูจักกันใน
ชื่อวา อัลกุรอาน
          เมื่ อ ท า นเริ่ ม อ า นวจนะที่ ท า นได ยิ น จากญิ บ รี ล และเผยแผ
สัจธรรมที่พระเจาทรงประทานแกทาน ทานและสาวกกลุมเล็ก ๆ ของ

                                       28
ทานก็ถูกตอตานและขมเหงซึ่งนับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น จนใน
ค.ศ. 622 พระเจาจึงไดทรงบัญชาใหทานอพยพจากนครมักกะฮฺ(เรียกวา
ฮิจญเราะฮฺ) ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของปฏิทินอิสลาม
        หลังจากนั้นอีกประมาณ 8 ป นบีมุหัมมัดและบรรดาสาวกของ
ทานก็สามารถกลับไปยังมักกะฮฺไดอีกครั้งหนึ่ง ทานไดใหอภัยศัตรูของ
ทานและไดทําใหอิสลามเปนศาสนาถาวรของคนในแผนดินนั้น กอน
หนาที่นบีมุหัมมัดจะเสียชีวิตเมื่ออายุได 63 ป อารเบียสวนใหญไดเปน
มุสลิม และภายในหนึ่งศตวรรษหลังจากการเสียชีวิตของทาน อิสลามก็
ไดแพรไปยังสเปนในตะวันตกและขยายไปจนถึงจีนในทางตะวันออก

การแผขยายของอิสลามมีผลตอโลกอยางไร ?
        เหตุ ผลสํ าคั ญประการหนึ่ ง ที่ ทํ าให อิสลามแพรขยายไปอย า ง
รวดเร็วและสงบก็คือความงายในหลักการอิสลาม เรียกรองเชิญชวน
มนุษยใหศรัทธาและเคารพสักการะพระเจาองคเดียวนั่นคือ อัลลอฮฺ
นอกจากนั้นแลวอิสลามยังสั่งสอนมนุษยใหใชสติปญญาและเหตุผลดวย
        ดังนั้นภายในเวลาไมก่ีปอารยธรรมอันยิ่งใหญและมหาวิทยาลัย
ตางๆ ก็เกิดขึ้นในแผนดินอิสลามเพราะทานนบีมุหัมมัดไดสอนวา
“การศึกษาหาความรูเปนหนาที่ของมุสลิมทุกคนทั้งชายและหญิง”
การผสมผสานกันระหวางแนวความคิดของตะวันออกและตะวันตก และ
แนวความคิดใหมกับความคิดเกาไดกอใหเกิดความเจริญกาวหนาอัน
ยิ่งใหญในวิชาการดานการแพทย คณิตศาสตร ฟสิกส ดาราศาสตร

                                  29
ภูมิศาสตร เกษตรกรรม ศิลปะ วรรณกรรม และประวัติศาสตร ระบบที่
สําคัญหลายระบบ เชนพีชคณิต ตัวเลขแบบอารบิค และแนวความคิดใน
การใชเลขศูนย (ซึ่งเปนความกาวหนาที่สําคัญในทางคณิตศาสตร) ได
ถูกถายทอดไปยังยุโรปในยุคกลางจากอิสลาม เครื่องมือที่สลับซับซอน
ซึ่ ง ทํ า ให นั ก เดิ น ทางชาวยุ โ รปสามารถค น พบสิ่ ง ต า งๆได นั้ น ได ถู ก
พัฒนาขึ้นจากมุสลิมเชนเครื่องมือบอกตําแหนงและแผนที่นําทางเปนตน

อัลกุรอาน คืออะไร ?
          อัลกุรอานคือบันทึกวจนะหรือดํารัสของอัลลอฮฺที่ทรงประทาน
ผานทางทูตสวรรคญิบรีลมายังนบีมุหัมมัด วจนะเหลานี้ทานนบีมุหัมมัด
ไดทองจําไวทุกถอยคํา หลังจากนั้นทานก็ไดถายทอดใหแกบรรดาสาวก
ของทา นไดจ ดจํ า ในขณะที่ ส าวกบางคนได บัน ทึ กไวเ ปน ลายลัก ษณ
อักษร ถอยคําเหลานี้ไดถูกตรวจสอบอยูตลอดเวลาในระหวางที่ทานนบี
ยังมีชีวิตอยู ในจํานวนถอยคําทั้งหมดของพระเจาที่แบงออกเปน 114
บทนั้น ไมมีวจนะหรือถอยคําใดถูกเปลี่ยนแปลงแมแตเพียงตัวอักษร
เดียวจนกระทั่งปจจุบันซึ่งนับเปนเวลาถึง 1,400 ปมาแลว ดังนั้นกุรอาน
จึงอยูในสภาพที่ครบถวนสมบูรณและถือเปนสิ่งมหัศจรรยที่ไดประทาน
แกทานนบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม

อัลกุรอานกลาวถึงอะไร ?
       อัลกุรอานซึ่งเปนวจนะของพระเจานั้นคือแหลงที่มาแหลงแรก
และแหลงเดียวของความศรัทธาและการปฏิบัติของมุสลิม อัลกุรอานพูด
                              30
ถึงทุกเรื่องที่เกี่ยวของกับเราในฐานะที่เปนมนุษย เชน วิทยปญญา ความ
เชื่อ การปฏิบัติศาสนกิจ และกฏหมาย แตหัวขอสําคัญของอัลกุรอานก็
คือความสัมพันธระหวางพระเจาและสิ่งที่พระองคทรงสรางขึ้นมา
           ในขณะเดียวกันอัลกุรอานก็ใหแนวทางเพื่อสังคมที่ยุติธรรม การ
ประพฤติปฏิบัติของมนุษยที่เหมาะสม และระบบเศรษฐกิจที่สมดุล

นอกจากอัลกุรอานแลวยังมีแหลงที่มาอื่น ๆ อีกไหม ?
          นอกจากอัลกุรอานแลว ยังมีแหล งที่มาอีกแหลงหนึ่ งนั่นก็คือ
“สุนนะฮฺ” หรือแบบอยางและคําสอนของนบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะ
ลั ย ฮิ วะสั ลลั ม ซึ่ ง ถื อเป น แหล ง ที่ ส องของที่ มาแห ง ความเชื่อ และการ
ปฏิบัติของมุสลิม คําบอกเลาถึงสุนนะฮฺ เรียกวา “หะดีษ” ดังนั้น การเชื่อ
ใน “สุนนะฮ” จึงเปนสวนหนึ่งของความศรัทธาแหงอิสลาม

ตัวอยางคําพูดของทานนบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม
          ทานนบีมุหัมมัด ไดกลาววา:
          “อัลลอฮฺไมทรงเมตตาแกคนที่ไมมีความเมตตาตอผูอื่น”
          “ใครที่กินจนอิ่มขณะที่เพื่อนบานของเขาไมมีอาหารกินนั้น เขา
มิใชผศรัทธา”
       ู
          “พอคาที่ซื่อสัตยนั้นจะไดอยูรวมกับบรรดานบีผูทรงคุณธรรม
และผูพลีชีวิตในการตอสูเพื่อศาสนา”
          “คนที่แข็งแรงนั้นมิใชคนที่ทําใหคนอื่นลมลงแตคนที่แข็งแรงนั้น
คือคนที่ควบคุมตัวเองไดในตอนที่โกรธ”
                                     31
“พระเจาไมไดตัดสินตรงที่รางกายและรูปรางแตพระองคจะทรง
ดูที่หัวใจและในการกระทําของทาน”
          “ชายคนหนึ่งเดินไปตามทางและรูสึกกระหายน้ําเมื่อมาถึงบอน้ํา
แหงหนึ่งเขาไดลงไปที่บอและดื่มน้ําจนอิ่ม แลวจึงขึ้นมาหลังจากนั้นเขา
ไดเห็นสุนัขตัวหนึ่งยืนหิวน้ําลิ้นหอยอยูมันพยายามที่จะเลียน้ําจากโคลน
เพื่อดับกระหาย เมื่อชายคนนั้นเห็นวาสุนัขรูสึกกระหายเหมือนกับเขา
ดังนั้นเขาจึงลงไปยังบอน้ําอีกครั้งหนึ่ง แลวเอารองเทาของเขาตักน้ําให
สุนัขดื่ม การทําเชนนี้ไดทําใหอัลลอฮฺทรงอภัยบาปแกเขา” ทานนบีไดถูก
ถามวา “โอทานศาสนทูตของอัลลอฮฺ เราจะไดรับรางวัลตอบแทนสําหรับ
ความกรุณาตอสัตวดวยหรือ?” ทานไดกลาววา“มีการตอบแทนสําหรับ
ความกรุณาตอสิ่งมีชีวิตทุกสิ่ง”
          จากบันทึกหะดีษของอัล-บุคอรีย, มุสลิม, อัต-ติรฺมิซีย และอัล-
บัยฮะกีย




                                  32
ลักษณะทั่วไปของอิสลาม



  1. อิสลาม ไมใชศาสนาที่เกิดใหม แตเปนศาสนาที่ตอเนื่องมาจาก
      ศาสนากอน ๆ
  2. นับถือยกยองบรรดานบีทั้งหลายทุก ๆ คนที่มากอนนบีมุหัมมัด
  3. เปนศาสนาที่นับถือพระเจาองคเดียวคืออัลลอฮฺ
  4. อํานาจทางกฎหมายหรือธรรมนูญสูงสุดมาจากพระผูเปนเจา
      องคเดียว เพราะฉะนั้นจึงไมมีบุคคลกลุมหนึ่งกลุมใดที่จะไดรับ
      ผลประโยชนจากกฎหมายนั้น ผลประโยชนทั้งหลายจะตองตก
      อยูกบประชาชนสวนใหญ โดยเฉพาะผูออนแอ หรือผูที่ยากไร
           ั
  5. เปนศาสนาแหงสันติภาพ เพราะอิสลามแปลวา สันติ
  6. มีการศรัทธา และมีการปฎิบติควบคูกันไป
                                  ั
  7. ในเรื่องศาสนกิจแลว ไมมีผูใดไดรับสิทธิพิเศษจากพระผูเปนเจา
      นอกจากผูที่ออนแอ
  8. เปนระบอบการปกครองและเปนธรรมนูญแหงชีวิต
  9. ไมมีนักบวช นักพรต และสมณะศักดิ์หรือชนชั้น
  10. ทุกๆ คน ตองทํามาหาเลี้ยงชีพ และใหเกียรติแกผูใชแรงงาน



                               33
11. ขอหามมีบทลงโทษ เช น ผู ที่ดื่มสุราจะไดรับการถู กเฆี่ย น 80
    ครั้ง และผูที่ผิดประเวณีจะไดรับการถูกเฆี่ยน 100 ครั้ง ผูที่ขโมย
    โดยสันดานจะถูกตัดมือ
12. สตรีมีสิทธิเทาเทียมชาย แตมีหนาที่แตกตางกัน และสตรีทุกคน
    ไดรับการตอบแทนตามผลงานที่ตัวเองไดขวนขวายไวอยางเทา
    เทียมกัน
13. พฤติกรรม หรือผลงานของมนุษยจะเปนเครื่องตัดสินวาใครจะ
    เปนผูที่พระเจาทรงรัก
14. อิสลามสอนใหมนุษยมีความเปนอยูอยางเรียบงาย ประณาม
    การสุรุยสุรายฟุมเฟอย
15. การเริ่ ม ศักราชใหม ห รือวั นป ใหม ของอิสลาม ไมไดนํา วันเกิ ด
    และวันสิ้นชีวิตของศาสดาหรือวันอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่อง
    สวนตัวของศาสดามากําหนดวันขึ้นปใหม แตวันปใหมได
    กําหนดเอาจากเหตุการณของการอพยพของทานศาสดา และ
    ประชาชน อพยพจากสภาพที่เลวรายไปสูสภาพที่ดีกวา(จาก
    เมืองมักกะฮฺไปยังเมืองมะดีนะฮฺในสมัยนั้น)
16. ทุก ๆ คนเกิดมาบริสุทธิ์ไมมีมลทินหรือบาปติดตัวมา ดังนันจึงไม
                                                               ้
    มีพิธีลางบาปในอิสลาม
17. ในอิสลามไมมีการกําหนดวันหมดอายุความของคดีใด ๆ ของ
    ผูกระทําความผิด ผูกระทําผิดจะพนผิดไปไดก็ตอเมื่อไดรับการ
    ตัดสินหรือมีการตกลงกันระหวางคูกรณี หรือมีการชดใช

                               34
คาเสียหาย เชน ฆาตรกรที่มีเจตนา จะพนผิดไปไดก็ตอเมื่อ
    ไดรับการตัดสิน ไมใชหลบหนีไป 20 ป แลวถือวาหมดอายุความ
    หรือพนผิด ซึ่งกรณีเชนนี้ไมมีความยุติธรรม
18. ความดี ความเลวของมนุษยมิไดเกิดขึ้นโดยสันดานแตเกิดขึ้น
    เพราะสิ่งแวดลอมและสังคมเปนตัวกําหนด แตก็ไมไดเปน
    กฎเกณฑเสมอไป แตสวนมากมักจะเปนเชนนั้น
19. อิสลามไมไดแยกการเมืองออกจากศาสนา เพราะศาสนาและ
    การเมืองนั้นเปนเนื้อเดียวกัน
20. ทุก ๆ อิริยาบทหรือความนึกคิดตางๆ ที่จะตองดําเนินไปตั้งแต
    เกิดจนกระทั่งตาย และตั้งแตตื่นนอนจนเขานอน อิสลามไดมีคํา
    สอนไวหมดแลว
21. ความดี ค วามชั่ ว ของมนุ ษ ย ไม ไ ด เ กิ ด ขึ้ น จากกรรมพั น ธุ
    เพราะฉะนั้นจึงถายทอดใหกันไมได
22. ในอิ ส ลามไม มี ผู วิ เ ศษและไม ไ ด ตั้ ง บุ ค คลใดให เ ป น สื่ อ กลาง
    ระหวางมนุษยกับพระผูเปนเจา มนุษยทุกๆ คนไมวาจะมีสภาพ
    ฐานะยากจน และจะมาจากชนชั้นใดก็ตาม ก็มีสิทธิที่จะเขาหา
    วิงวอนรองขอตอพระผูเปนเจาได โดยมิตองจางวานหรือให
    กํานัลแกผูใด เพื่อที่จะใหเขามาเปนสื่อตัวแทนให
23. เนื่องจากอิสลามไมมีระบบพระ ไมมีระบบสงฆ ไมมีสามเณร ไม
    มีแมชี ไมมีนักบวช นักพรต ไมมียศ ไมมีตําแหนง ไมมีการลาง
    บาป เพราะฉะนั้น มุสลิมทุกๆ คนตองอยูภายใตกฎหมาย

                                   35
ระเบียบขอบังคับของศาสนาเหมือนกันหมด ยกเวนเด็ก ผูเสีย
    สติ ผูออนแอ
             
24. ในอิสลามไมมีเครื่องแบบ หรือแบบฟอรมสําหรับสวมใส
25. เนนเรื่องประโยชนของสวนรวมเปนหลัก
26. คนที่ดีที่สุดในทรรศนะอิสลามนั้นไมใชคนชาติอาหรับ แตจะเปน
    คนชาติใดก็ไดที่มีความยําเกรงอัลลอฮฺ คือ คนๆ นั้น เปนคนที่มี
    จริยธรรม และคุณธรรมอันสูงสง
27. ในศาสนาอิสลามถือวา การเสพสิ่งมึนเมา การเลนการพนัน การ
    ประพฤติผิดในกาม การขโมยนั้น มีความผิดมากกวาการกิน
    เนื้อหมู
28. อิสลามสอนใหมนุษยเปนมือบนมิใชมือลาง (เปนผูใหมิใชเปนผู
    แบมือรับ)




                              36
อิสลามกับชีวิต



             อิสลามถือวาชีวิตมิใชเปนสิ่งที่เกิดขึ้นมาเอง แตเปนสิ่งที่อัลลอฮฺ
ทรงประทานใหแกมนุษย ดังนั้นมนุษยจึงมิไดเปนเจาของชีวิตที่แทจริง
หากแตอัลลอฮฺเทานั้นที่เปนเจาของมนุษย จะทําลายหรือทํารายชีวิตของ
ตนเองหรือชีวิตของคนอื่นไมไดยกเวนในกรณีที่อัลลอฮฺอนุมัติเชนการ
ประหารชีวิตฆาตกรตามคําพิพากษาของศาลเปนตน
             อิ ส ลามสอนว า มนุ ษ ย ถู ก ส ง มามี ชี วิ ต อยู บ นโลกนี้ เ ป น การ
ชั่วคราวและมีชีวิตที่แตกตางกันทั้งในดานความรูความสามารถ ฐานะ
และโอกาส ทั้งนี้เพื่อที่มนุษยจะไดมีความสัมพันธกัน แตสิ่งที่มนุษยจะ
ไดรับเหมือนกันคือการทดสอบจากอัลลอฮฺตลอดทั้งชีวิตวาเขาจะนึกถึง
และศรัทธาตอพระองคหรือไม การทดสอบนี้จะมีตั้งแตความกลัว ความ
หิว การสูญเสียทรัพยสิน ชีวิต พืชผล และอื่นๆ ในขณะที่บางคนจะถูก
ทดสอบดวยความมั่งคั่ง ร่ํารวย อํานาจ วาสนา บารมี จนถึงวาระสุดทาย
ทุ ก ชี วิ ต ก็ จ ะถู ก อั ล ลอฮฺ เ รี ย กกลั บ ไปฟ ง ผลการทดสอบในวั น แห ง การ
ตัดสิน
             นี่คือความจริงแหงชีวิต
             ดังนั้นยามใดที่มุสลิมตองประสบกับภัยพิบัติความหายนะความ
ทุ ก ข ย ากลํ า บากและการสู ญ เสี ย เขาจะต อ งอดทนอย า งถึ ง ที่ สุ ด และ

                                         37
ตระหนักวานั่นเปนการทดสอบจากอัลลอฮฺพรอมกับกลาววา “อินนา
ลิลลาฮิ วะอินนา อิลัยฮิรอญิอูน” (แทจริง เราเปนของอัลลอฮฺและยัง
พระองคที่เราตองคืนกลับ) เขาจะไมตีโพยตีพายหรือเอะอะโวยวายโทษ
นั่นโทษนี่ เพราะการทําเชนนี้มิไดทําอะไรใหดีขึ้นและตัวเขาเองก็จะไมได
พบกับความสงบขณะเดียวกันเขาก็จะตองไมสิ้นหวังในความเมตตาของ
พระเจาและจะตองดํารงนมาซและวิงวอนขอความชวยเหลือจากพระเจา
ตอไป
         เชนเดียวกัน ในยามที่ไดรับสิ่งที่ดีงามมุสลิมผูศรัทธาจะไมทะนง
ตนวาสิ่งเหลานั้นเปนเพราะความสามารถของเขาแตเพียงผูเดียวแตเขา
จะตระหนักวาความดีงามหรือความสําเร็จที่เขาไดรับนั้นเปนเพราะความ
โปรดปรานของอั ล ลอฮฺ ที่ ท รงประทานให แ ก เ ขาและเขาจะกล า วว า
“อัลฮัมดุลลิลลาฮฺ” (บรรดาการสรรเสริญเปนของอัลลอฮฺ) เพื่อเปนการ
ขอบคุณพระองค รวมทั้งแบงสรรเจือจานความโปรดปรานที่เขาไดรับ
ใหแกคนอื่นบาง




                                  38
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ
แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ

Th athkar assabah walmasaa
Th athkar assabah walmasaaTh athkar assabah walmasaa
Th athkar assabah walmasaaLoveofpeople
 
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ Islamic Invitation
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบKumobarick Achiroki
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasatiTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงพัน พัน
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddhaTongsamut vorasan
 

Semelhante a แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ (19)

Th athkar assabah walmasaa
Th athkar assabah walmasaaTh athkar assabah walmasaa
Th athkar assabah walmasaa
 
Pramote maolid
Pramote maolidPramote maolid
Pramote maolid
 
สะพานนรก
สะพานนรกสะพานนรก
สะพานนรก
 
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 
2222
22222222
2222
 
33333
3333333333
33333
 
33333
3333333333
33333
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
1กับ2
1กับ21กับ2
1กับ2
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 

แนะนำอิสลามสำหรับผู้สนใจ

  • 1. แนะนําอิสลามสําหรับผูสนใจ  ‫א‬‫א‬  E‫א‬F  ‫א‬  ‫א‬‫א‬‫א‬‫א‬ รวมรวมและตรวจทานโดย ทีมงานภาคภาษาไทย อิสลามเฮาส.คอม จัดพิมพโดย สํานักงานความรวมมือเพื่อเผยแพรและสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด ประเทศซาอุดิอาระเบีย : ‫ﻣﻦ ﺇﺻﺪﺍﺭﺍﺕ‬
  • 2.
  • 3. อนุญาตใหใชประโยชนจากหนังสือ โดยไมบิดเบือนหรือเปลี่ยนแปลงเนื้อหาเดิม หากมีขอสงสัย คําแนะนําหรือแกขอผิดพลาดใดๆ กรุณาติดตอเราทางเว็บไซต : www.islamhouse.com (4977) ฮ.ศ.1427 - ค.ศ. 2006 สํานักงานความรวมมือเพื่อเผยแพรและสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด ประเทศซาอุดิอาระเบีย โทร. +966-1-445 4900, 491 6065 www.islamhouse.com
  • 4. ‫ﻭﳛﻖ ﳌﻦ ﺷﺎﺀ ﺃﺧﺬ ﻣﺎ ﻳﺮﻳﺪ ﻣﻦ ﻫﺬﻩ ﺍﳌﺎﺩﺓ ﺑﺸﺮﻁ ﺍﻷﻣﺎﻧﺔ ﰲ ﺍﻟﻨﻘﻞ ﻭﻋﺪﻡ ﺍﻟﺘﻐﻴﲑ ﰲ‬ ‫ﺍﻟﻨﺺ ﺍﳌﻨﻘﻮﻝ. ﻭﺍﷲ ﺍﳌﻮﻓﻖ. ﻭﺇﺫﺍ ﻛﺎﻥ ﻟﺪﻳﻚ ﺃﻱ ﺳﺆﺍﻝ ﺃﻭ ﺍﻗﺘﺮﺍﺡ ﺃﻭ ﺗﺼﺤﻴﺢ ﻳﺮﺟﻰ‬ ‫ﻣﺮﺍﺳﻠﺘﻨﺎ ﻋﻠﻰ ﺍﻟﻌﻨﻮﺍﻥ ﺍﻟﺘﺎﱄ:‬ ‫‪www.islamhouse.com‬‬ ‫ ‬ ‫ ‬ ‫)7794(‬ ‫7241 ﻫـ‬ ‫א‪‬א‪‬א‪‬‬ ‫‪ 445 4900W ‬ـ 5606 194‬ ‫‪‬א‪‬א‪www.islamhouse.comW‬‬
  • 5.  ‫א‬‫א‬‫א‬ คํานํา หนังสือเลมนี้ เปนหนังสือรวมเลมบทความแนะนําอิสลามสําหรับผูสนใจ อิสลาม โดยคัดลอกมาจากงานเขียนของอาจารยบรรจง บินกาซัน และ บทความที่แปลโดยอาจารยวิทยา วิเศษรัตน ซึ่งเผยแพรในเว็บไซต ไทย อิสลามิค.คอม และ มุสลิมไทย.คอม บทความตางๆ ในหนังสือเลมนี้ สามารถใหคําชี้แจงเบื้องตนแก ผูสนใจอิสลามตอประเด็นตางๆ ที่ควรรูเพื่อทําความเขาใจอิสลาม ซึ่งใช วิธีการอธิบายอยางรัดกุมสั้นๆ ไมยื้ดเยื้อมากเกินไป อีกทั้งยังไดให คําตอบในหลายประเด็นที่อาจจะเปนขอซักถามหรือความคลุมเครือของ ผูที่มใชมุสลิม ิ ในนามทีมงานภาคภาษาไทยของเว็บไซต อิสลามเฮาส.คอม ขอขอบคุณบุคคลทุกฝายที่มีสวนในการเผยแพรหนังสือเลมนี้ และหวัง อยางยิ่งวาอัลลอฮฺจะทรงประทานผลตอบแทนและความเมตตาของ พระองคแกทุกทานทั้งในโลกนี้และโลกหนา อามีน อิสลามเฮาส.คอม
  • 6. สารบัญ ความหมายของอิสลาม 7 พระเจามีจริงหรือไม ? 14 เรื่องราวของอิสลามโดยยอ 24 ลักษณะทัวไปของอิสลาม ่ 33 อิสลามกับชีวติ 37 อิสลามคือระบอบชีวิตที่สมบูรณ 39 อิสลามและเปาหมายของชีวต ิ 45 ทัศนะของอิสลามตอธรรมชาติ 50 อิสลามกับความตาย 52 วันอาคิเราะฮฺ (วันปรโลก) 55 หลักศรัทธา 6 ประการ 62 หลักปฏิบัติ 5 ประการ 66 การเขารับอิสลามหรือการเปนมุสลิม 77
  • 7. ความหมายของอิสลาม อิ ส ลามแตกต า งกั บ ความศรั ท ธาชนิ ด อื่ น เริ่ ม จากที่ ชื่ อ ของ ศาสนานี้ คือ "อิสลาม" ไมไดมาจากชื่อผูกอตั้ง เชน พุทธศาสนาและ คริสตศาสนา หรือมาจากชื่อเผาพันธและเชื้อชาติ เชน ศาสนายิว หรือ เกี่ยวของกับแผนดิน หรือชื่อของดินแดน เชน ศาสนาฮินดู ห นั ง สื อ ห ล า ย เ ล ม เ รี ย ก อิ ส ล า ม ว า “ศ า ส น า มุ หั ม มั ด ” (Mohamadanism) คงรับมาจากตําราฝรั่ง หรือเรียกคนมุสลิมวา “พวก มุหัมมัด” หรือที่บานเราเรียกวา “พวกแขก” นี่เปนความเขาใจผิด ความ สั บ สนพวกนี้ มี อีก หลายเรื่ อ งหลายประเด็ น เป น เหตุ ใ ห ล ดทอน ความหมายที่ถูกตองของอิสลามลงไป และทําใหอิสลามคลาดเคลื่อนไป จากความเขาใจของบุคคลทั่วไป ในอิสลามนั้นถือวาใครที่ยอมรับอัลลอฮฺเปนผูสราง เปนผูเปน เจาของทุกสรรพสิ่ง เขาก็สามารถที่จะเปน "มุสลิม" คนหนึ่งได ไมวาคน นั้นจะมีเชื้อชาติใด เผาพันธุไหนก็ตาม สวน "อิสลาม" ชื่อที่ใชเรียกศรัทธานี้ถูกประทานมาจากอัลลอฮฺ ผูทรงสราง ดังมีปรากฏอยูในอัล-กุรอาน คัมภีรที่พระองคประทานมาวา àMŠÅÊu‘uρ ©ÉLyϑ÷èÏΡ öΝä3ø‹n=tæ àMôϑoÿøCr&uρ öΝä3oΨƒÏŠ öΝä3s9 àMù=yϑø.r& tΠöθu‹ø9$# 4 $YΨƒÏŠ zΝ≈n=ó™M}$# ãΝä3s9 7
  • 8. ความวา "วันนี้ ฉันไดทําใหศาสนาของสูเจาครบครัน สําหรับสูเจาแลว และไดใหความโปรดปรานของฉัน ครบถ ว นแก สู เ จ า และฉั น ได พึ ง ใจ (เลื อ ก) อิ ส ลาม เปนศาสนาสําหรับสูเจา" (อัล-มาอิดะฮฺ 5:3) แนวคิดพื้นฐาน แนวความคิดอิสลามขั้นพื้นฐาน ซึ่งหากถูกละเลยไป ก็จะไมมี วันเขาใจอิสลามไดเลย นั่นคือ อิสลามถือวา สรรพสิ่งทั้งหลายถูกสราง โดยผูเปนเจา ซึ่งอิสลามเรียกผูเปนเจาที่เที่ยงแทนี้ในภาษาอาหรับวา “อัลลอฮฺ” เปนผูอภิบาล และผูทรงอํานาจสูงสุด และทุกสิ่งทุกอยาง ดําเนินและเปนไปตามกฎของพระองค เบื้องหลังของสรรพสิ่ง จึงมีเจตจํานงหนึ่งบริหารจัดการมัน มี อํานาจหนึ่งที่ขับเคลื่อนมัน มีกฎหนึ่งที่คอยกําหนดควบคุมมัน จักรวาล ทั้งหมด จึงเปนสิ่งที่เชื่อฟงตอเจตจํานงของพระเจา ดวยเหตุจากการเชื่อ ฟงและการยอมจํานนนี้ ทําใหจักรวาลดําเนินตอเนื่องไปไดในรูปแบบที่ ประสานกลมกลืนอยางสันติ เพราะฉะนั้นแนวคิดรากฐานของอิสลามจึงเริ่มจากเอกภาพของ ผูเ ปน เจ า นั่ น หมายความว า สรรพสิ่ ง และชีวิ ตต า งๆนั้ น มาจาก แหลงกําเนิดเดียว และตางตกอยูภายใตการบริหารของอํานาจเดียว ดํารงอยูทามกลางความเปนเอกภาพ ประสานกลมกลืนเขาดวยกันอยาง ปราณีตงดงามยิ่ง 8
  • 9. นี่ คื อ แนวคิ ด หลั ก ซึ่ ง เป น แนวคิ ด ที่ ก อ ขึ้ น เป น ความเชื่ อ อุดมการณ และระบอบอิสลามอื่นๆ ที่ถูกกลาวไวในอัล-กุรอานตลอดทั้ง เลมก็วาได ดังตัวอยางปรากฏในอัล-กุรอานวา $Z)ø?u‘ $tFtΡ%Ÿ2 uÚö‘F{$#uρ ÏN≡uθ≈yϑ¡¡9$# ¨βr& (#ÿρãxx. t⎦⎪Ï%©!$# ttƒ óΟs9uρr& tβθãΖÏΒ÷σムŸξsùr& ( @c©yr >™ó©x« ¨≅ä. Ï™!$yϑø9$# z⎯ÏΒ $oΨù=yèy_uρ ( $yϑßγ≈oΨø)tFxsù ∩⊂⊃∪ ความวา "และบรรดาผูปฏิเสธศรัทธาเหลานั้นไมเห็น ดอกหรือวา แทจริงชั้นฟาทั้งหลายและแผนดินนั้นแต กอนนี้รวมติดเปนอันเดียวกัน แลวเราไดแยกมันทั้ง สองออกจากกัน และเราไดทําใหทุกสิ่งมีชีวิตมาจาก น้ํา ดังนั้นพวกเขาจะยังไมศรัทธาอีกหรือ" (อัล-อันบิ ยาอ 21:30) ĸöyèø9$# Éb>u‘ «!$# z⎯≈ysö6Ý¡sù 4 $s?y‰|¡xs9 ª!$# ωÎ) îπoλÎ;#u™ !$yϑÍκÏù tβ%x. öθs9 ∩⊄⊄∪ tβθàÅÁtƒ $£ϑtã ความวา "หากในชั้ น ฟ า และแผ น ดิ น มีพ ระเจา หลาย องค นอกจากอัลลอฮฺแลว ก็จะกอใหเกิดความ เสียหายอยางแนนอน อัลลอฮฺพระเจาแหงบัลลังกทรง บริสุทธิ์จากสิ่งที่พวกเขาเสกสรรปนแตงขึ้น" (อัล-อันบิ ยาอ 21:22) 9
  • 10. Ç⎯≈uΗ÷q§9$# È,ù=yz †Îû 3“ts? $¨Β ( $]%$t7ÏÛ ;N≡uθ≈yϑy™ yìö7y™ t,n=y{ “Ï%©!$# ∩⊂∪ 9‘θäÜèù ⎯ÏΒ 3“ts? ö≅yδ u|Çt7ø9$# ÆìÅ_ö‘$$sù ( ;Nâθ≈xs? ⎯ÏΒ ความวา "พระผูทรงสรางชั้นฟาทั้งเจ็ดเปนชั้นๆ เจาจะ ไมพบเห็นความบกพรองในการสรางของพระผูทรง กรุณาปรานี ดังนั้นเจาจงหันกลับมามองดูซิ เจาเห็น รอยราวหรือชองโหวบางไหม?" (อัล-มุลก 67:3) ฉะนั้น สรรพสิ่งและชีวิตในอิสลามจึงถูกเนนถึง "ความกลมกลืน" กันบน "อํานาจเดียว" ทุกสิ่งเดินไปบน "การยอมจํานน" อยางสิ้นเชิงตอ อํานาจนั้น >™ó©x« ⎯ÏiΒ βÎ)uρ 4 £⎯ÍκÏù ⎯tΒuρ ÞÚö‘F{$#uρ ßìö7¡¡9$# ßN≡uθ≈uΚ¡¡9$# ã&s! ßxÎm6|¡è@ tβ%x. …絯ΡÎ) 3 öΝßγys‹Î6ó¡n@ tβθßγs)ø? ω ⎯Å3≈s9uρ ⎯Íνω÷Κpt¿2 ßxÎm7|¡ç„ ωÎ) s ∩⊆⊆∪ #Y‘θàxî $¸ϑŠÎ=ym ความวา "ชั้นฟาทั้งเจ็ดและแผนดิน รวมทั้งสิ่งที่อยูใน นั้นลวนสดุดีสรรเสริญแดพระองค และไมมีสิ่งใดเวน แตจะสดุดีดวยการสรรเสริญพระองค แตวาพวกเจา ไมเขาใจคําสดุดีของพวกเขา แทจริงพระองคเปนผู ทรงเอ็นดู ผูทรงอภัยเสมอ" (อัล-อิสรออ 17:44) ÏN≡uθ≈yϑ¡¡9$# ’Îû ⎯tΒ zΝn=ó™r& ÿ…ã&s!uρ šχθäóö7tƒ «!$# Ç⎯ƒÏŠ uötósùr& ∩∇⊂∪ šχθãèy_öムϵø‹s9Î)uρ $δöŸ2uρ $YãöθsÛ Ä⇓ö‘F{$#uρ 10
  • 11. ความวา "อื่นจากศาสนาของอัลลอฮฺกระนั้นหรือที่พวก เขาแสวงหา? และแดพระองคนั้น ผูที่อยูในชั้นฟา ทั้ ง หลายและแผ น ดิ น ได น อบน อ มให ทั้ ง ด ว ยการ สมัครใจและความจํายอม และยังพระองคนั้นพวกเขา จะถูกนํากลับไป" (อาล อิมรอน 3:83) ความหมายของอิสลาม หลังจากที่ไดทําความเขาใจแนวคิดหลักของอิสลามแลว เรา สามารถทํ า ความเข า ใจความหมายของอิ ส ลามได ทั น ที เพราะ ความหมายของคําวา "อิสลาม" นั่น ผูกติดอยูกับแนวคิดขางตนนั่นเอง เริ่มจากความหมายดานภาษา คําวา "อิสลาม" มาจากรากศัพท สามอักษร คือ ซีน, ลาม และมีม หมายถึง ก) ยอมจํานน ยอมรับ ยอมสยบ ใหแกสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เหนือกวา ดังนั้นประโยคที่วา (อัสละมะ อัมเราะฮุ อิลา อัลลอฮฺ) จึงหมายถึง เขา มอบหมายการงานของเขาไปยัง อั ลลอฮฺ หรื อเขายอมรั บเจตนารมณ ของอัลลอฮฺโดยดุษฎี คําวา “อัสละมะ” ตัวเดียวกันนี้ยังหมายถึง เขา มอบหมายตัวเขาไปสูเจตนารมณของอัลลอฮฺ หรือเขาเปนมุสลิม ก็ได ข) ปรองดองกับสิ่งอื่น หรือสรางสันติภาพ (โปรดดู Hans Wehr, Dictionary of Modern Arabic Written, Wiesbadane : Harrassowitz ,1971p. 424-425.) ถาเขาใจความหมายทางภาษา ก็สามารถเขาใจความหมายทาง หลักการไดไมยาก ความหมายอิสลามทางหลักการนั้นไดรับจากความ 11
  • 12. เขาใจที่มาจากอัล-กุรอาน อัซ-สุนนะฮฺ(คําสอนของทานศาสดา) และ ความเขาใจอยางเอกฉันทของศิษ ยของทานศาสดาหรือที่ เรียกกันวา บรรดาเศาะฮาบะฮฺ นั่นก็คือ อิสลามหมายถึงการยอมจํานน การออน นอมและการเชื่อฟง ดังนั้น อิสลามคือระบอบที่ยืนหยัดอยูบนหลักการ ยอมจํานน และเชื่อฟงตออัลลอฮฺ นี่คือสาเหตุที่มันถูกเรียกวาระบอบหรือ แนวทางแหงอิสลาม และในอีกดานหนึ่ง คําวาอิสลาม คือ "สันติภาพ" หมายถึงผูใด ตองการที่จะรับเอาสันติภาพที่แทจริงทั้งทางภายนอก และทางความรูสึก ได ก็มีเพียงแตโดยวิธีการยอมจํานนและเชื่อฟงตออัลลอฮฺเทานั้น ตามที่ กลาวนี้ก็คือ ชีวิตที่เชื่อฟงอัลลอฮฺจะนํามาซึ่งสันติภาพของจิตใจ และจะ ขยายสันติภาพไปสูดานอื่นๆ ของชีวิตตอไป เพราะฉะนั้น ทุกสิ่งทุกอยางที่ดําเนินไปตามเจตนารมณของผู เปนเจาจึงเรียกไดวาไดเขาสูความเปนอิสลาม หรือเรียกเปนภาษา อาหรับวา "มุสลิม" หมายถึง ผูหรือสิ่งที่ยอมจํานนตออัลลอฮฺและเปนผล ใหผูหรือสิ่งนั้นดําเนินไปบนแนวทางแหงสันติ กล า ว ต า ม คว า ม ห ม า ย นี้ ก็ คื อ ทุ ก ส ร ร พ สิ่ ง เ ป นมุ ส ลิ ม เพราะฉะนั้นการที่มนุษยคนใดเลือกเปนมุสลิม ก็คือมนุษยคนนั้นไดเลือก วิ ถี ท างเดี ย วกั บ ทุ ก สรรพสิ่ ง ที่ ดํ า เนิ น และเคลื่ อ นไหวไปรอบๆ ตั ว เขา นั่นเอง อัล-กุรอานจึงไดเรียกรองตอผูที่ศรัทธาตออัลลอฮฺใหเขาสู สันติภาพนี้โดยพาตัวเองเขาสูสันติภาพทั้งระบอบ Zπ©ù!$Ÿ2 ÉΟù=Åb¡9$# ’Îû (#θè=äz÷Š$# (#θãΖtΒ#u™ š⎥⎪Ï%©!$# $y㕃r'¯≈tƒ 12
  • 13. ความวา "โอบรรดาผูศรัทธาจงเขาสูสันติภาพทั้งหมด" (อัล-บะเกาะเราะฮฺ 2:208) คําวา “ซิลมฺ” ที่แปลวาสันติภาพ ในที่นี้หมายถึง อิสลาม หรือ การยอมจํานนตออัลลอฮฺในทุกแงทุกมุมของชีวิต เราจึงสามารถอธิบาย ไดเชนกันวา อิสลามคือระบอบและแนวทางการดําเนินชีวิตที่ถูกประทาน จากผูเปนเจาสูมุหัมมัดผูเปนศาสดาทานสุดทาย อิสลาม คือประมวลในสิ่งที่อัลลอฮฺประทานมาใหทุกแงทุกมุม ของชีวิต ไมวาเปนหลักศรัทธา กฎหมาย การเมือง แนวทางเศรษฐกิจ เปนตน ทั้งหมดนั้นถูกประทานมาเพื่อใหมนุษยทั้งหมดยอมรับ ยอม จํานน และปฏิบัติตามนั่นเอง เพราะฉะนั้น อิสลามจึงเปนระบอบที่เข ามาเกี่ยวของกับชีวิ ต ทั้งหมด อิสลามคือการใหคําตอบตอปญหาชีวิตทั้งหมดสามประเด็น นั่น คือ เรามาจากไหน? เรามาทําไม? และเราจะไปไหน? คําตอบทั้งสามคําถามนี้อยูในเนื้อหาคําสอนทั้งหมดของอิสลาม แลว 13
  • 14. พระเจามีจริงหรือไม ? ÏM≈uΗä>—à9$# Ÿ≅yèy_uρ uÚö‘F{$#uρ ÏN≡uθ≈yϑ¡¡9$# t,n=y{ “Ï%©!$# ¬! ߉ôϑptø:$# ∩⊇∪ šχθä9ω÷ètƒ öΝÍκÍh5tÎ/ (#ρãxx. t⎦⎪Ï%©!$# ¢ΟèO ( u‘θ‘Ζ9$#uρ ความวา “มวลการสรรเสริญเปนสิทธิ์ของอัลลอฮฺผู บัง เกิ ด ชั้น ฟ า ทั้ ง หลายและแผ น ดิ น และทรงให เ กิ ด ความมื ด และแสงสว า ง แต แ ล ว บรรดาผู ที่ ป ฏิ เ สธ ศรัทธานั้นก็ยังให(สิ่งอื่น)เทาเทียมกับพระเจาของเขา อยู” (อัล-อันอาม 6:1) อัลลอฮฺไดทรงใหรสูล(ศาสดา, ศาสนทูต)ของพระองคชี้แจงแก มนุษยทั้งหลายใหรูวาบรรดาสิ่งที่อยูเบื้องบนที่เรียกกันวาฟาและแผนดิน ที่มนุษยและสัตวไดอยูอาศัยนั้นไมไดเกิดหรือมีขึ้นมาเอง หากแตอัลลอฮฺ เปนผูบังเกิดขึ้นซึ่งนับเปนเรื่องใหญและสําคัญที่สุด แตพวกที่ดื้อดึงก็ยัง ไม ย อมเชื่ อ ฟ ง ไม ย อมเคารพสั ก การะต อ พระองค ยั ง คงดื้ อ ดึ ง เคารพ สักการะสิ่งอื่นเทาเทียมเสมอดวยพระองค ∩⊇⊃⊇∪ ×Λ⎧Î=tæ >™ó©x« Èe≅ä3Î/ uθèδuρ ( &™ó©x« ¨≅ä. t,n=yzuρ 14
  • 15. ความว า “และพระองค ท รงให เ กิ ด ทุ ก ๆ สิ่ ง และ พระองคเปนผูทรงรอบรูในทุกๆ สิ่ง” (อัล-อันอาม 6:101) อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทรงบังเกิดทุก ๆสิ่งที่มีอยูในพิภพรวมทั้งทองฟา และแผ น ดิ น ด ว ยมหาอํ า นาจและความปรารถนาของพระองค และ พระองคทรงรอบรูทุกๆ สิ่งอยางถวนถี่เพราะพระองคเปนผูทรงใหบังเกิด &™ó_x« Èe≅à2 ß,Î=≈yz ( uθèδ ωÎ) tµ≈s9Î) Iω ( öΝä3š/u‘ ª!$# ãΝà6Ï9≡sŒ ∩⊇⊃⊄∪ ×≅‹Å2uρ &™ó©x« Èe≅ä. 4’n?tã uθèδuρ 4 çνρ߉ç6ôã$$sù ความวา “นั่นคืออัลลอฮฺผูเปนพระผูอภิบาลของสูเจา ทั้งหลาย ไมมีเจาใดๆ ที่ควรแกการกราบไหวสักการะ นอกจากพระองคผูทรงบังเกิดทุกๆ สิ่ง ดังนั้นสูเจา ทั้งหลายจงเคารพกราบไหวแดพระองค” (อัล-อันอาม 6:102) ( ÇÚö‘F{$#uρ ÏN≡uθ≈yϑ¡¡9$# ÌÏÛ$sù A7x© «!$# ’Îûr& óΟßγè=ߙ①ôMs9$s% * ความวา “บรรดารสูลของพวกเขาไดกลาวถามวา ใน เรื่ อ งอั ล ลอฮฺ ผู ส ร า งฟ า และแผ น ดิ น นั้ น ยั ง จะมี ก าร เคลือบแคลงสงสัยอีกหรือ” (อิบรอฮีม 14:10) 15
  • 16. «!$# çöxî @,Î=≈yz ô⎯ÏΒ ö≅yδ 4 ö/ä3ø‹n=tæ «!$# |Myϑ÷èÏΡ (#ρãä.øŒ$# â¨$¨Ζ9$# $pκš‰r'¯≈tƒ 4†¯Τr'sù ( uθèδ ωÎ) tµ≈s9Î) Iω 4 ÇÚö‘F{$#uρ Ï™!$yϑ¡¡9$# z⎯ÏiΒ Νä3è%ã—ötƒ ∩⊂∪ šχθä3sù÷σè? ความวา “มนุษยทั้งหลาย! จงรําลึกถึงความกรุณา เมตตาของอัลลอฮฺซึ่งอยูบนสูเจาทั้งหลาย (พึงคิดดูให ดี) จะมีหรือผูสรางอื่นจากอัลลอฮฺ? พระองคทรง ประทานปจจัย(ริสกี)ใหแกพวกสูเจาลงมาจากฟาและ ออกมาจากพื้นดิน ไมมีเจาอื่นใดที่ควรแกการเคารพ สั ก การะนอกจากพระองค (เมื่ อ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย า งได ประจักษแจงชัดแลว) สูเจายังถูกหลอกลวงให(เคารพ สิ่งอื่น)ไดอยางไรอีกเลา?” (ฟาฏิรฺ 35:3) โองการอั ลกุ ร อานทั้ ง หมดนี้ อั ล ลอฮฺ ไ ด ท รงแจ ง ให ม นุ ษ ย รู ว า พระองคทรงเปนพระเจาองคเดียวที่ทรงสรางฟา แผนดิน และสิ่งตาง ๆที่ มีอยูในทองฟาและบนพื้นแผนดิน นอกจากคํ า บอกเล า ของพระองค แ ล ว มนุ ษ ย เ รายั ง สามารถ คนควาหาองคพระผูบังเกิดไดดวยความคิดความอานของเราอีก เรื่อง องคพระผูสรางนี้เมื่อเราพยายามใชสติปญญาคนควาแตเพียงผิวเผินก็ จะไดพ บประจัก ษพ ยาน แตถ า เรายิ่ ง คิดให ลึก ซึ้ ง ก็จะได พ บประจัก ษ พยานอันกวางขวางยิ่งๆ ขึ้นไปทุกที 16
  • 17. อัล-อุสตาซ อัช-ชัยค มุหัมมัด คอลีล ดิรอสไดเลาวา มีอาหรับ ชาวเขาคนหนึ่งไดถูกถามวา “ทานรูจักพระเจาอภิบาลของทานได อยางไร?” อาหรับผูนั้นไดตอบดวยคารมคมคายวา “อูฐตัวเมียมันบอก แกเราวาตองมีอูฐตัวผูและรอยเทาที่ปรากฎอยูบนพื้นดินนั้นมัน บอกแกเราวามีผูเดินผาน ดังนั้นทองฟาอันเต็มไปดวยหมูดาวและ พื้นดินที่ปูลาดมันจะไมบอกแกเราบางหรือวามีผูสรางที่ทรงไวซึ่ง ความสามารถและความรูอยางละเอียดรอบคอบ?!” ท า นอิ บ นุ กะษี ร ผู เ ชี่ ย วชาญในทางอธิ บ ายความหมายของ อัลกุรอานไดเลาไวในหนังสือของทานวา มีชนกลุนหนึ่งซึ่งเปนพวกที่ไม นับถือพระเจาไดมาหาทานอบู หะนีฟะฮฺ(อิมามหะนะฟ) ขอรองใหทาน แสดงหลักฐานในเรื่องการมีพระเจาผูสรางใหแกพวกเขา ทานอบู หะนีฟะฮฺก็ยินดีที่จะปฏิบัติตามคําขอรองแตทานพูดกับพวกเหลานั้นวา “กอนอื่นฉันอยากเลาเรื่องแปลกประหลาดใหพวกทานฟงสักเรื่องหนึ่ง สํ า หรั บ ตั ว ฉั น เองก็ ยั ง ฉงนใจอยู เ หมื อ นกั น เรื่ อ งมี ดั ง นี้ ฉั น ได ข า ว ประหลาดวามีเรือสินคาลําหนึ่งภายในเรือไมมีคนอยูแมแตสักคนเดียว กัปตันก็ไมมี นายทายก็ไมมี ชางเครื่องก็ไมมี ตลอดจนกลาสีลูกเรือ และ กรรมกรแมแตเครื่องควบคุมใดๆ ก็ไมมีทั้งสิ้น แตเรือลํานี้ทํางานไดเองทุก อยาง เชน เอาของลงเรือเอง พอสินคาเต็มลําแลวก็ออกแลนไปยังที่ หมาย เมื่อถึงแลว ก็ขนสินคาขึ้นเอง แลวก็แลนกลับมาขนสินคาลงอีก เรื่องเปนเชนนี้ฉันใครอยากจะถามทานวาพวกทานเห็นอยางไรในเรื่องนี้? มันจะเปนไปไดไหม ?” พวกแขกเหลานั้นก็ตอบวา “มันเปนเรื่องสุดวิสัยที่ จะเชื่อวาเปนความจริง เปนเรื่องเหลวไหลมากกวา” 17
  • 18. ทานอบู หะนีฟะฮฺจึงพูดกับพวกนั้นวา “เมื่อทานไมยอมเชื่อเรื่อง เรือประหลาดลํานั้นแลว เหตุไฉนทานจึงจะไมยอมเชื่อวา พิภพอันกวาง ใหญไพศาลเบื้องบนที่เต็มไปดวยจักรวาลเชน ดวงจันทร ดวงตะวันและ ดวงดาวอย า งเหลื อ คณานั บ ทุ ก อย า งต า งหมุ น เวี ย นโคจรไปตาม กฎเกณฑอยางเปนระเบียบเรียบรอยไดจังหวะปราศจากการผิดพลาด ก า วก า ย ทางเบื้ อ งล า งก็ มี สิ่ ง ของสุ ด วิ สั ย ที่ จ ะคํ า นวณได ทุ ก ๆสิ่ ง ได ดําเนินไปอยางเปนระเบียบเรียบรอยตามกําหนด เหตุใดทานจึงไมยอม เชื่อวามีผูคอยจัดการ คอยบริหารควบคุมดูแล?” เมื่อทานอะบู หะนีฟะฮฺสงคําถามกลับไปเชนนั้นพวกที่ไมยอม ศรัทธาในพระเจาเหลานั้นตางก็นิ่งอึ้ง ครุนคิดอยูสักครูหนึ่งก็ยอมจํานน ตอเหตุผลวาพระเจาผูสรางนั้นมีแนนอนและยอมเขารับนับถืออิสลาม ทันที ทั้งสองเรื่องนี้ถอดความจากหนังสือพิมพ “อัล-ฮัดยุน นะบะ วีย” ของอัล-มัรฺหูม อัช-ชัยค หามิด อัล-ฟากี ซึ่งตีพิมพในประเทศอียิปต  เรื่องแรก บอกใหรูวา เมื่อเราเห็นสิ่งของเราก็รูจักผูทําหรือผู ประดิษฐหรือผูสราง เชน เราเห็นรถยนตเราก็รูวานายชางเปนผูประกอบ ตัวรถ ชางกลเปนผูประดิษฐเครื่องยนต เมื่อเราเห็นเรือใบลําเล็กๆ เราก็รู วาชางไมเปนผูตอเรือนั้น เมื่อเราหยิบเสื้อกางเกงขึ้นมาเราก็รูวาชางตัด เสื้อเปนผูเย็บ เมื่อเราเห็นตึกหลังใหญมหึมาเราก็รูวาชางกอสรางเปน ผูทํา เมื่อเราเห็นบานไมหลังงามหรือกระทอมหลังเล็กๆ เราก็รูวาชางไม 18
  • 19. เปนผูทํา เมื่อเราไดเห็นบานเมืองสวยงามมีถนนใหญๆ งามๆ มีตกรามสูง ึ ตระหงานและของอื่นๆ อีกหลายสิ่งหลายอยางเราก็รูวามนุษยเปนผูทํา มนุษยทุกคนแมแตเด็กก็ตองเชื่ออยางมั่นใจวาชางไมเปนผูตอ เรื อ ทํ า บ า น ช า งกลและช า งเหล็ ก เป น ผู ทํ า รถยนต ช า งก อ สร า งเป น ผูสรางตึก และชางเย็บเสื้อเปนผูเย็บเสื้อกางเกง ฯลฯ เราพากันเชื่อ ทั้งๆ ที่เราไมเคยรูจกหรือไมเคยไดพบเห็นนายชางเหลานั้นเลยแมแตนอย ั ทุกๆ คนจะไมยอมเชื่ออยางเด็ดขาดวาสิ่งของตางๆ เหลานั้น เกิดขึ้นมาเองโดยไมมีผูสรางไมมีผูทําหรือผูประดิษฐ แมกานไมขีดไฟซึ่ง เปนเศษไมเล็กๆ ที่ไมมีมูลคาอะไรเลยแมแตนอยเราก็ไมยอมเชื่อวามัน เกิดหรือมีขึ้นมาเองโดยไมมีผูทํา ใครบอก ใครสั่งสอนหรือแนะนําใหมนุษยเชื่อมั่นอยางนั้น? สัญชาติญาณอันเกิดจากสติปญญาของเราเองเปนผูบอก แมจะ เปนคนที่โงแสนโงสักปานใดก็จะไมยอมเชื่อวาสิ่งเหลานั้นเกิดหรือมีขึ้น เองโดยไมมีผูสราง เมื่อสรุปแลวก็คงไดผลดังนี้ :- 1. มนุษยยอมเชื่อวาสิ่งของตางๆ เชนที่กลาวมาแลวจะ เกิดหรือมีขึ้นมาเองโดยไมมีผูทํา ผูสราง หรือผูประดิษฐ ไมไดอยางเด็ดขาด 2. มนุ ษ ย ย อมเชื่ อ สิ่ ง ที่ ไ ม เ คยพบไม เ คยเห็ น เชื่ อ โดย จิตสํานึก 19
  • 20. เมื่อเปนเชนนี้ ก็เหตุไฉนเราจะไมยอมเชื่อวาสิ่งของอีกเปน จํานวนมากมายกายกองเหลือคณานับ ที่นายชางตางๆ เหลานี้ทําไมได เชน ดวงจันทร ดวงตะวัน ดวงดาว มนุษย สัตว ตนไม ตั้งแตขนาดใหญ ที่สุดถึงขนาดเล็กที่สุด มองดวยตาเปลาไมเห็นตองใชกลองขยาย ตลอดจนตัวพิภพ ทองฟา น้ํา และแผนดินตองมีผูสราง กลับไปเชื่อวา สิ่ง เหลานั้นเกิดขึ้นมาเอง โดยไมมีผูสราง จะไมเปนการเขาใจที่งมงาย เกินไปหรือ? ในเมื่อมนุษยทุกคนไมยอมเชื่อวากานไมขีดไฟเพียงกานเดียว จะเกิดหรือมีข้ึนมาเองไมได อยางเด็ดขาด ทั้ง ๆ ที่การทํากานไมขีดไฟ ไมใชงานละเอียดพิสดารอยางไร แมเด็กเล็กบางคน ก็สามารถจะเหลา เศษไมเล็กๆ ใหมีลักษณะเปนเศษไมที่มีรูปสี่เหลี่ยมอยางกานไมขีดไฟได สวนสิ่งของตาง ๆ ดังกลาวแลว ไดถูกสรางขึ้นอยางประณีตพิสดารเกิน ภูมิปญญาของมนุษย แตกลับเขาใจหรือเชื่อวา เกิดขึ้นมาเองโดยไมมี ผูสราง ปญญาชนผูเคารพตอเหตุผล เคารพตอความจริง ไมนาเขาใจ อยางงมงายเชนนั้น ควรจะใชสติปญญาความรอบคอบคนหาผูสรางให พบ ในเมื่อมั่นใจวาทุกๆ สิ่งตองมีผูทํา เรื่องที่สอง หมายถึงการควบคุมการบริหาร บรรดาสิ่งของตางๆ ที่เราใชที่เราเห็นตลอดจนกิจการตางๆ ตอง มีผูควบคุม ผูรักษาและผูบริหาร เชนเราจะนําสิ่งของบางอยางไปยังที่ แหงหนึ่ง เรามีเรือเล็กๆ อยูลําหนึ่งเราจัดแจงเอาสิ่งของลงเรือแลวก็แก 20
  • 21. เชือกผูกเรือ เสือกเรือออกกลางแมน้ํา เรือลํานอยๆ ก็จะลองลอยไปตาม สายน้ํ า ตามยถากรรม ในที่ สุ ด ทั้ ง เรื อ ทั้ ง ของและพายก็ จ ะอั น ตรธาน หายไปโดยไมรวาไปอยูที่ใด ู หรือเราลงไปในเรือดวย เรามีความสามารถทําไดแตเพียงเอา พายพุยน้ํา ไมเขาใจที่จะคัดหรือวาด ทั้งไมเขาใจทางเดินเรือพอลงเรือได ก็จ้ําเอาๆ เรือก็ตะเปะตะปะหมุนไปหมุนมาชนนั่นชนนี่ ในที่สุดก็ไปไม รอดหรืออาจจะถูกเรืออื่นชนลมในที่สุด เรามีรถยนตคันใหญโตสวยงาม มีเครื่องใชทันสมัยอยางพรอม มูล เมื่อจะไปธุระยังที่แหงหนึ่งเราขึ้นไปนั่งบอกใหมันออกเดินมันก็ไม ออก คอยแลวคอยเลารถก็ไมออกวิ่งหรือวาเราสตารทเครื่องเรียบรอย แลวก็ลงจากรถปลอยใหรถออกวิ่งไปแตลําพังในที่สุดรถคันนั้นก็จะตอง ไปชนอะไรพังพินาศไป หรือเราเปนผูขับเอง แตมีความรูเพียงหมุนพวงมาลัยใหรถหัน ขวาหัน ซ า ยเท า นั้ น การเดิ น รถตามระเบี ย บของการจราจรไม มีค วาม เขาใจเลย ในที่สุดรถของเราก็จะตองไปชนอะไรเขาหรือไมก็ถูกรถคันอื่น ชนเอา หรื อ ว า ในขณะที่ ขั บ ไปนั้ น เครื่ อ งยนต เ กิ ด ขั ด ข อ งขึ้ น เราไม มี ความรูในเรื่องเครื่องยนตเสียเลยจะเดินทางตอไปก็ไมไดจะกลับบานก็ ไมได มีโรงเรียนใหญแหงหนึ่งกําลังจะกาวหนามีนักเรียนนับจํานวน เปนพันแตมีเหตุเกิดขึ้นทําใหตองขาดผูจัดการหรือผูบริหาร หรือวาได ผูจดการมาใหมเปนผูที่ไมเคยบริหารกิจการของโรงเรียนมาเลย หรือวามี ั 21
  • 22. ภูมิความรูไมพอที่ จะควบคุมโรงเรี ยนได เมื่องานดํ าเนินไปโดยขาดผู ควบคุมผูบริหารที่มีประสิทธิภาพไมพอ ความระส่ําระสาย ความอลเวงก็ จะเกิดขึ้น ในที่สุดโรงเรียนนั้นก็จะตองประสบกับความวิบัติ ยั ง มี อ ะไรอื่ น อี ก ในทํ า นองเดี ย วกั น นี้ อี ก มากมายนํ า มาเป น อุทาหรณเพียงเทานี้ก็เขาใจพอแลว เรื่องปลีกยอยเล็กๆ นอยๆ เชนนี้ยังขาดผูบริหารผูควบคุมที่ทรง ความรูความชํานาญไมได แลวสิ่งใหญๆ อันทรงสภาพลึกล้ําพิสดาร มหั ศ จรรย อี ก มากหลายเหลื อ คณานั บ เราจะเชื่ อ ได อ ย า งไรว า ไม มี ผู ควบคุมหรือผูบริหารที่ทรงไวซึ่งความสามารถความรอบรูอยางรอบคอบ? เชนโลกที่เราอาศัยอยูทุกวันนี้ ขางบนมีดวงจันทร ดวงตะวันและดวงดาว จํ า นวนมากหลาย ทุ ก อย า งโคจรไปตามกํ า หนดอย า งเป น ระเบี ย บ เรียบรอยโดยปราศจากการสับสนกาวกายหรือเปลี่ยนแปลง ขางลางก็มีพื้นดินภูเขา แมน้ําลําคลอง ทะเล มนุษย สัตวและ อะไรอื่ น ๆ อี ก มากมาย สุ ด ที่ จ ะคํ า นวณได ทุ ก ๆสิ่ ง ดํ า เนิ น ไปตาม กฎเกณฑที่พระผูสรางไดวางไวอยางเปนระเบียบเรียบรอยสม่ําเสมอไมมี การเปลี่ยนแปลง ทุกสิ่ งทุกอย างคงอยู ในสภาพเดิมตั้ งแตเ ริ่ มแรกจน ตราบเทาทุกวันนี้! สรรพสิ่งทั้งหลายทั้งปวงทั้งเบื้องบนและเบื้องลางดังกลาว แลวลวนแตเปนสิ่งมหัศจรรยลึกล้ําเกินสติปญญาของมนุษยจะ เขาถึง หากขาดผูควบคุมดูแลรักษาและบริหารเสียแลวจะคงไวซึ่ง ความเปนระเบียบเรียบรอยไดอยางไร? หรือวา ถาผูควบคุมบริหาร 22
  • 23. หยอนสมรรถภาพ ออนความสามารถปราศจากความรอบรูและความ ละเอียดรอบคอบจะสามารถควบคุมสถานการณทุกดานใหดําเนินไป เปนระเบียบไดอยางไร? เมื่อสรุปแลวก็คงไดผลดังนี้:- ทุกๆ สิ่งตองมีผูควบคุมรักษา และบริหาร ผูควบคุมตอง เปนผูทรงไวซึ่งสมรรถภาพและความสามารถเหนือบรรดาสิ่งที่อยู ในความควบคุมของตน 23
  • 24. เรื่องราวของอิสลามโดยยอ อิสลามคืออะไร? อิสลามมิใชศาสนาใหมแตอิสลามคือสัจธรรมเดียวกับที่พระผู เปนเจาไดประทานมายังมนุษยชาติโดยผานทางบรรดานบี(ศาสนทูต) ของพระองค สํ า หรั บ ประชากรหนึ่ ง ในห า ของโลกนั้ น อิ ส ลามเป น ทั้ ง ศาสนาและแนวทางแหงชีวิตที่สมบูรณ มุสลิมปฎิบัติตามศาสนาแหง ความสันติความเมตตาและการใหอภัย และสวนใหญไมมีสวนเกี่ยวของ อันใดกับเหตุการณรุนแรงที่ไดเขามาเกี่ยวของกับความศรัทธาของพวก เขา มุสลิมคือใคร ? มุสลิมคือผูที่มีความศรัทธาในพระเจาองคเดียวคือ อัลลอฮฺ และ ดําเนินชีวิตทุกยางกาวของเขาไปตามคําบัญชาของพระองค ผูคนจํานวน นั บ พั น ล า นคนจากทุ ก เผ า พั น ธุ เ ชื้ อ ชาติ แ ละวั ฒ นธรรมทั่ ว โลกตั้ ง แต ฟลิปปนสตอนใตไปจนถึงไนจีเรียไดถูกรวมเขาเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยศาสนาอิสลาม ประมาณ 18% อาศัยอยูในโลกอาหรับ ประชาคม มุสลิมที่ใหญท่ีสุดในโลกนั้นอยูในอินโดนีเซีย ประชากรสวนใหญของ เอเซียและอาฟริกาเปนมุสลิม ในขณะที่ในสหภาพโซเวียต จีน อเมริกา 24
  • 25. เหนื อ อเมริ ก าใต แ ละยุ โ รปก็ มี มุ ส ลิ ม อาศั ย เป น ชนกลุ ม น อ ยอยู เ ป น จํานวนมากพอสมควร คนมุสลิมเชื่ออะไร? มุสลิมเชื่อในพระเจาองคเดียวคืออัลลอฮฺ เชื่อในทูตสวรรคที่ พระองคทรงสรางมา เชื่อในบรรดานบีตางๆ ที่พระองคไดทรงประทาน ทางนํ า ผ า นมายั ง มนุ ษ ยชาติ เชื่ อ ในวั น แห ง การตั ด สิ น ตอบแทนการ กระทําของแตละคน และเชื่อในอํานาจอันสมบูรณของพระเจาในการ กําหนดชะตากรรมของมนุษยและชีวิตหลังความตาย มุสลิมเชื่อในสาย โซแหงนบีที่เริ่มตนมาตั้งแตนบีอาดัม นบีนูหฺ(โนอาห) นบีอิบรอฮีม(อับรา ฮัม) นบีอิสมาอีล นบีอิสฮาก(ไอแซค) นบียะอฺกูบ(จาคอบ) นบียูสุฟ(โย เซฟ) นบีอัยยูบ นบีมูซา(โมเสส) นบีฮารูน(อารอน) นบีดาวูด(เดวิด) นบีสุ ลัยมาน(โซโลมอน) นบีอิลยาส นบียูนุส นบียะหฺยา และนบีอีซา(เยซู) แต ทางนํ า สุ ด ท า ยของพระเจ า ที่ ป ระทานมายั ง มนุ ษ ย แ ละเป น ทางนํ า ตลอดไปของมนุษยนั้นไดถูกประทานผานมายังนบีมุหัมมัด โดยทูต สวรรคที่มีช่อวา ญิบรีล ื จะเปนมุสลิมไดอยางไร? คนที่ จ ะเป น มุ ส ลิ ม จะต อ งกล า วคํ า ปฏิ ญ าณว า “ลาอิ ล าฮะ อิลลัลลอฮฺ มุหัมมะดุร รสูลุลลอฮฺ” ซึ่งมีความวา “ไมมีพระเจาอืนใด ่ นอกจากอัลลอฮฺ และมุหัมมัดเปนศาสนทูตของอัลลอฮฺ” การกลาว 25
  • 26. คําประกาศดังกลาวนี้ผูศรัทธาไดประกาศวาตนเองมีความศรัทธาในนบี ทั้งหมดของอัลลอฮฺและคัมภีรตางๆ ที่นบีเหลานั้นนํามา “อิสลาม” หมายความวาอะไร ? คําวา “อิสลาม” ในภาษาอาหรับหมายถึง “การยอมจํานน” และ ยังมีความหมายอีกอยางหนึ่งวา“สันติ” ดวยในคําสอนทางศาสนา อิสลามหมายถึงการยอมจํานนตอพระประสงคของอัลลอฮฺ การเรียก อิสลามวาศาสนามุหัมมัด จึงไมถูกตองเพราะมันทําใหเขาใจวามุสลิม เคารพสักการะนบีมุหัมมัด คําวา“อัลลอฮฺ” เปนชื่อภาษาอาหรับที่ชาวอาหรับมุสลิมและชาว อาหรับคริสเตียนใชเรียกพระเจา ทําไมอิสลามจึงมักดูเปนศาสนาที่แปลก ? อิสลามอาจจะดูแปลกหรือดูเหมือนเปนศาสนาที่เครงคัดในโลก สมั ย ใหม ที่ เ ป น เช น นี้ อ าจเป น เพราะศาสนาไม ไ ด มี อิ ท ธิ พ ลใน ชีวิตประจําวันของชาวตะวันตกในปจจุบัน ในขณะที่มุสลิมถือวาศาสนา เปนสิ่งสําคัญสูงสุดและไมไดแบงแยกชีวิตทางโลกและทางศาสนาออก จากกัน คนมุสลิมเชื่อวากฏหมายของพระเจา (หรือที่เรียกวา ชะรีอะฮฺ) จะตองไดรับการปฏิบัติตามอยางจริงจัง และนี่คือเหตุผลที่วาทําไมเรื่องที่ เกี่ยวของกับศาสนาจึงยังถือวาเปนเรื่องสําคัญ 26
  • 27. อิสลามและศาสนาคริสตมีที่มาตางกันหรือไม ? ไมแตกตางกันเลยทั้งอิสลาม คริสเตียน และแมแตศาสนา ยูดายมีที่มาจากแหลงเดียวกันนั่นคือนบีอิบรอฮีม และนบีของทั้งสาม ศาสนานี้ก็เปนลูกหลานโดยตรงจากลูกของทานนั่นคือ มุหัมมัด เปน ลูก หลานจากเชื้ อ สายของนบี อิส มาอี ลลูก ชายคนโตของนบีอิบรอฮีม สวนนบีมูซา(หรือโมเสส) และนบีอีซา(หรือพระเยซู) นั้นเปนลูกหลานที่ สืบเชื้อสายมาจากนบีอิสฮาก นบีอิบรอฮีมไดตั้งหลักแหลงในบริเวณที่ปจจุบันคือเมืองมักกะฮฺ และไดสรางกะอฺบะฮฺขึ้นมา ซึ่งมุสลิมจะหันหนามาทางจุดนี้ทุกครั้งใน เวลานมาซ กะอฺบะฮฺคืออะไร ? กะอฺ บ ะฮฺ เ ป น สถานที่ สํ า หรั บ การแสดงความเคารพสั ก การะ พระเจาซึ่งพระองคไดทรงบัญชาใหนบีอิบรอฮีมและอิสมาอีลสรางขึ้น เมื่อประมาณ 4,000 ปกอนหนานี้ อาคารหลังนี้ถูกสรางดวยหินบน สถานที่ที่หลายคนเชื่อวาเปนที่ตั้งของศาสนสถานดั้งเดิมที่อาดัมสรางขึ้น พระเจาไดบัญชาอิบรอฮีมใหเรียกรองมนุษยชาติทุกคนใหมาเยี่ยมเยียน สถานที่แหงนี้และเมื่อผูประกอบศาสนกิจไปที่นั่นในปจจุบันพวกเขาก็จะ กลาววา “ขาพระองคมาอยูในที่แหงนี้แลวโอพระเจา” เพื่อเปนการ ตอบสนองคําเรียกรองของทานนบีอิบรอฮีม 27
  • 28. มุหัมมัด คือใคร ? มุหัมมัด เกิดในมักกะฮฺเมื่อ ค.ศ.570 ซึ่งในตอนนั้นศาสนาคริสต ยังไมไดถูกกอตั้งอยางสมบูรณในยุโรป เนื่องจากบิดาของทานเสียชีวิต กอนที่ทานจะเกิดและมารดาของทานเสียชีวิตหลังจากที่ทานเกิดไดไม นาน ทานจึงไดรับการเลี้ยงดูโดยลุงของทานซึ่งเปนคนในเผากุร็อยชฺที่ ไดรับการยกยอง เมื่อทานโตขึ้นเปนผูใหญทานเปนที่รูจักกันดีวาเปนผูมี ความซื่อสัตย มีความกรุณาปรานี และมีความจริงใจจนคนทั่วไปในเวลา นั้ น ต า งขอให ท า นเป น ผู ไ กล เ กลี่ ย กรณี พิ พ าทมากมายหลายครั้ ง นั ก ประวัตศาสตรกลาววาทานเปนคนที่เยือกเย็นและใฝหาความสงบทางใจ ิ มุหัมมัด เปนคนที่ใฝใจในศาสนาและเกลียดชังความเสื่อม ทรามของสังคมของทาน ดังนั้นทานจึงมักจะไปแสวงหาความสงบทาง จิตใจอยูเปนประจําในถ้ํา หิรออ ใกลยอดภูเขาญะบัลนูรฺ (ขุนเขาแหง รัศมี) ใกลเมืองมักกะฮฺ ทานเปนนบีและศาสนทูตของพระเจาไดอยางไร ? เมื่อทานอายุได 40 ปขณะที่ทานนั่งสงบจิตใจอยูนั้นทานไดรับ วจนะครั้งแรกจากพระเจาผานทางทูตสวรรคญิบรีลและวจนะนี้ไดถูก ประทานมายังทานอยางตอเนื่องเปนเวลา 23 ปทางนํานี้เปนที่รูจักกันใน ชื่อวา อัลกุรอาน เมื่ อ ท า นเริ่ ม อ า นวจนะที่ ท า นได ยิ น จากญิ บ รี ล และเผยแผ สัจธรรมที่พระเจาทรงประทานแกทาน ทานและสาวกกลุมเล็ก ๆ ของ 28
  • 29. ทานก็ถูกตอตานและขมเหงซึ่งนับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น จนใน ค.ศ. 622 พระเจาจึงไดทรงบัญชาใหทานอพยพจากนครมักกะฮฺ(เรียกวา ฮิจญเราะฮฺ) ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของปฏิทินอิสลาม หลังจากนั้นอีกประมาณ 8 ป นบีมุหัมมัดและบรรดาสาวกของ ทานก็สามารถกลับไปยังมักกะฮฺไดอีกครั้งหนึ่ง ทานไดใหอภัยศัตรูของ ทานและไดทําใหอิสลามเปนศาสนาถาวรของคนในแผนดินนั้น กอน หนาที่นบีมุหัมมัดจะเสียชีวิตเมื่ออายุได 63 ป อารเบียสวนใหญไดเปน มุสลิม และภายในหนึ่งศตวรรษหลังจากการเสียชีวิตของทาน อิสลามก็ ไดแพรไปยังสเปนในตะวันตกและขยายไปจนถึงจีนในทางตะวันออก การแผขยายของอิสลามมีผลตอโลกอยางไร ? เหตุ ผลสํ าคั ญประการหนึ่ ง ที่ ทํ าให อิสลามแพรขยายไปอย า ง รวดเร็วและสงบก็คือความงายในหลักการอิสลาม เรียกรองเชิญชวน มนุษยใหศรัทธาและเคารพสักการะพระเจาองคเดียวนั่นคือ อัลลอฮฺ นอกจากนั้นแลวอิสลามยังสั่งสอนมนุษยใหใชสติปญญาและเหตุผลดวย ดังนั้นภายในเวลาไมก่ีปอารยธรรมอันยิ่งใหญและมหาวิทยาลัย ตางๆ ก็เกิดขึ้นในแผนดินอิสลามเพราะทานนบีมุหัมมัดไดสอนวา “การศึกษาหาความรูเปนหนาที่ของมุสลิมทุกคนทั้งชายและหญิง” การผสมผสานกันระหวางแนวความคิดของตะวันออกและตะวันตก และ แนวความคิดใหมกับความคิดเกาไดกอใหเกิดความเจริญกาวหนาอัน ยิ่งใหญในวิชาการดานการแพทย คณิตศาสตร ฟสิกส ดาราศาสตร 29
  • 30. ภูมิศาสตร เกษตรกรรม ศิลปะ วรรณกรรม และประวัติศาสตร ระบบที่ สําคัญหลายระบบ เชนพีชคณิต ตัวเลขแบบอารบิค และแนวความคิดใน การใชเลขศูนย (ซึ่งเปนความกาวหนาที่สําคัญในทางคณิตศาสตร) ได ถูกถายทอดไปยังยุโรปในยุคกลางจากอิสลาม เครื่องมือที่สลับซับซอน ซึ่ ง ทํ า ให นั ก เดิ น ทางชาวยุ โ รปสามารถค น พบสิ่ ง ต า งๆได นั้ น ได ถู ก พัฒนาขึ้นจากมุสลิมเชนเครื่องมือบอกตําแหนงและแผนที่นําทางเปนตน อัลกุรอาน คืออะไร ? อัลกุรอานคือบันทึกวจนะหรือดํารัสของอัลลอฮฺที่ทรงประทาน ผานทางทูตสวรรคญิบรีลมายังนบีมุหัมมัด วจนะเหลานี้ทานนบีมุหัมมัด ไดทองจําไวทุกถอยคํา หลังจากนั้นทานก็ไดถายทอดใหแกบรรดาสาวก ของทา นไดจ ดจํ า ในขณะที่ ส าวกบางคนได บัน ทึ กไวเ ปน ลายลัก ษณ อักษร ถอยคําเหลานี้ไดถูกตรวจสอบอยูตลอดเวลาในระหวางที่ทานนบี ยังมีชีวิตอยู ในจํานวนถอยคําทั้งหมดของพระเจาที่แบงออกเปน 114 บทนั้น ไมมีวจนะหรือถอยคําใดถูกเปลี่ยนแปลงแมแตเพียงตัวอักษร เดียวจนกระทั่งปจจุบันซึ่งนับเปนเวลาถึง 1,400 ปมาแลว ดังนั้นกุรอาน จึงอยูในสภาพที่ครบถวนสมบูรณและถือเปนสิ่งมหัศจรรยที่ไดประทาน แกทานนบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม อัลกุรอานกลาวถึงอะไร ? อัลกุรอานซึ่งเปนวจนะของพระเจานั้นคือแหลงที่มาแหลงแรก และแหลงเดียวของความศรัทธาและการปฏิบัติของมุสลิม อัลกุรอานพูด 30
  • 31. ถึงทุกเรื่องที่เกี่ยวของกับเราในฐานะที่เปนมนุษย เชน วิทยปญญา ความ เชื่อ การปฏิบัติศาสนกิจ และกฏหมาย แตหัวขอสําคัญของอัลกุรอานก็ คือความสัมพันธระหวางพระเจาและสิ่งที่พระองคทรงสรางขึ้นมา ในขณะเดียวกันอัลกุรอานก็ใหแนวทางเพื่อสังคมที่ยุติธรรม การ ประพฤติปฏิบัติของมนุษยที่เหมาะสม และระบบเศรษฐกิจที่สมดุล นอกจากอัลกุรอานแลวยังมีแหลงที่มาอื่น ๆ อีกไหม ? นอกจากอัลกุรอานแลว ยังมีแหล งที่มาอีกแหลงหนึ่ งนั่นก็คือ “สุนนะฮฺ” หรือแบบอยางและคําสอนของนบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะ ลั ย ฮิ วะสั ลลั ม ซึ่ ง ถื อเป น แหล ง ที่ ส องของที่ มาแห ง ความเชื่อ และการ ปฏิบัติของมุสลิม คําบอกเลาถึงสุนนะฮฺ เรียกวา “หะดีษ” ดังนั้น การเชื่อ ใน “สุนนะฮ” จึงเปนสวนหนึ่งของความศรัทธาแหงอิสลาม ตัวอยางคําพูดของทานนบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ทานนบีมุหัมมัด ไดกลาววา: “อัลลอฮฺไมทรงเมตตาแกคนที่ไมมีความเมตตาตอผูอื่น” “ใครที่กินจนอิ่มขณะที่เพื่อนบานของเขาไมมีอาหารกินนั้น เขา มิใชผศรัทธา” ู “พอคาที่ซื่อสัตยนั้นจะไดอยูรวมกับบรรดานบีผูทรงคุณธรรม และผูพลีชีวิตในการตอสูเพื่อศาสนา” “คนที่แข็งแรงนั้นมิใชคนที่ทําใหคนอื่นลมลงแตคนที่แข็งแรงนั้น คือคนที่ควบคุมตัวเองไดในตอนที่โกรธ” 31
  • 32. “พระเจาไมไดตัดสินตรงที่รางกายและรูปรางแตพระองคจะทรง ดูที่หัวใจและในการกระทําของทาน” “ชายคนหนึ่งเดินไปตามทางและรูสึกกระหายน้ําเมื่อมาถึงบอน้ํา แหงหนึ่งเขาไดลงไปที่บอและดื่มน้ําจนอิ่ม แลวจึงขึ้นมาหลังจากนั้นเขา ไดเห็นสุนัขตัวหนึ่งยืนหิวน้ําลิ้นหอยอยูมันพยายามที่จะเลียน้ําจากโคลน เพื่อดับกระหาย เมื่อชายคนนั้นเห็นวาสุนัขรูสึกกระหายเหมือนกับเขา ดังนั้นเขาจึงลงไปยังบอน้ําอีกครั้งหนึ่ง แลวเอารองเทาของเขาตักน้ําให สุนัขดื่ม การทําเชนนี้ไดทําใหอัลลอฮฺทรงอภัยบาปแกเขา” ทานนบีไดถูก ถามวา “โอทานศาสนทูตของอัลลอฮฺ เราจะไดรับรางวัลตอบแทนสําหรับ ความกรุณาตอสัตวดวยหรือ?” ทานไดกลาววา“มีการตอบแทนสําหรับ ความกรุณาตอสิ่งมีชีวิตทุกสิ่ง” จากบันทึกหะดีษของอัล-บุคอรีย, มุสลิม, อัต-ติรฺมิซีย และอัล- บัยฮะกีย 32
  • 33. ลักษณะทั่วไปของอิสลาม 1. อิสลาม ไมใชศาสนาที่เกิดใหม แตเปนศาสนาที่ตอเนื่องมาจาก ศาสนากอน ๆ 2. นับถือยกยองบรรดานบีทั้งหลายทุก ๆ คนที่มากอนนบีมุหัมมัด 3. เปนศาสนาที่นับถือพระเจาองคเดียวคืออัลลอฮฺ 4. อํานาจทางกฎหมายหรือธรรมนูญสูงสุดมาจากพระผูเปนเจา องคเดียว เพราะฉะนั้นจึงไมมีบุคคลกลุมหนึ่งกลุมใดที่จะไดรับ ผลประโยชนจากกฎหมายนั้น ผลประโยชนทั้งหลายจะตองตก อยูกบประชาชนสวนใหญ โดยเฉพาะผูออนแอ หรือผูที่ยากไร ั 5. เปนศาสนาแหงสันติภาพ เพราะอิสลามแปลวา สันติ 6. มีการศรัทธา และมีการปฎิบติควบคูกันไป ั 7. ในเรื่องศาสนกิจแลว ไมมีผูใดไดรับสิทธิพิเศษจากพระผูเปนเจา นอกจากผูที่ออนแอ 8. เปนระบอบการปกครองและเปนธรรมนูญแหงชีวิต 9. ไมมีนักบวช นักพรต และสมณะศักดิ์หรือชนชั้น 10. ทุกๆ คน ตองทํามาหาเลี้ยงชีพ และใหเกียรติแกผูใชแรงงาน 33
  • 34. 11. ขอหามมีบทลงโทษ เช น ผู ที่ดื่มสุราจะไดรับการถู กเฆี่ย น 80 ครั้ง และผูที่ผิดประเวณีจะไดรับการถูกเฆี่ยน 100 ครั้ง ผูที่ขโมย โดยสันดานจะถูกตัดมือ 12. สตรีมีสิทธิเทาเทียมชาย แตมีหนาที่แตกตางกัน และสตรีทุกคน ไดรับการตอบแทนตามผลงานที่ตัวเองไดขวนขวายไวอยางเทา เทียมกัน 13. พฤติกรรม หรือผลงานของมนุษยจะเปนเครื่องตัดสินวาใครจะ เปนผูที่พระเจาทรงรัก 14. อิสลามสอนใหมนุษยมีความเปนอยูอยางเรียบงาย ประณาม การสุรุยสุรายฟุมเฟอย 15. การเริ่ ม ศักราชใหม ห รือวั นป ใหม ของอิสลาม ไมไดนํา วันเกิ ด และวันสิ้นชีวิตของศาสดาหรือวันอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่อง สวนตัวของศาสดามากําหนดวันขึ้นปใหม แตวันปใหมได กําหนดเอาจากเหตุการณของการอพยพของทานศาสดา และ ประชาชน อพยพจากสภาพที่เลวรายไปสูสภาพที่ดีกวา(จาก เมืองมักกะฮฺไปยังเมืองมะดีนะฮฺในสมัยนั้น) 16. ทุก ๆ คนเกิดมาบริสุทธิ์ไมมีมลทินหรือบาปติดตัวมา ดังนันจึงไม ้ มีพิธีลางบาปในอิสลาม 17. ในอิสลามไมมีการกําหนดวันหมดอายุความของคดีใด ๆ ของ ผูกระทําความผิด ผูกระทําผิดจะพนผิดไปไดก็ตอเมื่อไดรับการ ตัดสินหรือมีการตกลงกันระหวางคูกรณี หรือมีการชดใช 34
  • 35. คาเสียหาย เชน ฆาตรกรที่มีเจตนา จะพนผิดไปไดก็ตอเมื่อ ไดรับการตัดสิน ไมใชหลบหนีไป 20 ป แลวถือวาหมดอายุความ หรือพนผิด ซึ่งกรณีเชนนี้ไมมีความยุติธรรม 18. ความดี ความเลวของมนุษยมิไดเกิดขึ้นโดยสันดานแตเกิดขึ้น เพราะสิ่งแวดลอมและสังคมเปนตัวกําหนด แตก็ไมไดเปน กฎเกณฑเสมอไป แตสวนมากมักจะเปนเชนนั้น 19. อิสลามไมไดแยกการเมืองออกจากศาสนา เพราะศาสนาและ การเมืองนั้นเปนเนื้อเดียวกัน 20. ทุก ๆ อิริยาบทหรือความนึกคิดตางๆ ที่จะตองดําเนินไปตั้งแต เกิดจนกระทั่งตาย และตั้งแตตื่นนอนจนเขานอน อิสลามไดมีคํา สอนไวหมดแลว 21. ความดี ค วามชั่ ว ของมนุ ษ ย ไม ไ ด เ กิ ด ขึ้ น จากกรรมพั น ธุ เพราะฉะนั้นจึงถายทอดใหกันไมได 22. ในอิ ส ลามไม มี ผู วิ เ ศษและไม ไ ด ตั้ ง บุ ค คลใดให เ ป น สื่ อ กลาง ระหวางมนุษยกับพระผูเปนเจา มนุษยทุกๆ คนไมวาจะมีสภาพ ฐานะยากจน และจะมาจากชนชั้นใดก็ตาม ก็มีสิทธิที่จะเขาหา วิงวอนรองขอตอพระผูเปนเจาได โดยมิตองจางวานหรือให กํานัลแกผูใด เพื่อที่จะใหเขามาเปนสื่อตัวแทนให 23. เนื่องจากอิสลามไมมีระบบพระ ไมมีระบบสงฆ ไมมีสามเณร ไม มีแมชี ไมมีนักบวช นักพรต ไมมียศ ไมมีตําแหนง ไมมีการลาง บาป เพราะฉะนั้น มุสลิมทุกๆ คนตองอยูภายใตกฎหมาย 35
  • 36. ระเบียบขอบังคับของศาสนาเหมือนกันหมด ยกเวนเด็ก ผูเสีย สติ ผูออนแอ  24. ในอิสลามไมมีเครื่องแบบ หรือแบบฟอรมสําหรับสวมใส 25. เนนเรื่องประโยชนของสวนรวมเปนหลัก 26. คนที่ดีที่สุดในทรรศนะอิสลามนั้นไมใชคนชาติอาหรับ แตจะเปน คนชาติใดก็ไดที่มีความยําเกรงอัลลอฮฺ คือ คนๆ นั้น เปนคนที่มี จริยธรรม และคุณธรรมอันสูงสง 27. ในศาสนาอิสลามถือวา การเสพสิ่งมึนเมา การเลนการพนัน การ ประพฤติผิดในกาม การขโมยนั้น มีความผิดมากกวาการกิน เนื้อหมู 28. อิสลามสอนใหมนุษยเปนมือบนมิใชมือลาง (เปนผูใหมิใชเปนผู แบมือรับ) 36
  • 37. อิสลามกับชีวิต อิสลามถือวาชีวิตมิใชเปนสิ่งที่เกิดขึ้นมาเอง แตเปนสิ่งที่อัลลอฮฺ ทรงประทานใหแกมนุษย ดังนั้นมนุษยจึงมิไดเปนเจาของชีวิตที่แทจริง หากแตอัลลอฮฺเทานั้นที่เปนเจาของมนุษย จะทําลายหรือทํารายชีวิตของ ตนเองหรือชีวิตของคนอื่นไมไดยกเวนในกรณีที่อัลลอฮฺอนุมัติเชนการ ประหารชีวิตฆาตกรตามคําพิพากษาของศาลเปนตน อิ ส ลามสอนว า มนุ ษ ย ถู ก ส ง มามี ชี วิ ต อยู บ นโลกนี้ เ ป น การ ชั่วคราวและมีชีวิตที่แตกตางกันทั้งในดานความรูความสามารถ ฐานะ และโอกาส ทั้งนี้เพื่อที่มนุษยจะไดมีความสัมพันธกัน แตสิ่งที่มนุษยจะ ไดรับเหมือนกันคือการทดสอบจากอัลลอฮฺตลอดทั้งชีวิตวาเขาจะนึกถึง และศรัทธาตอพระองคหรือไม การทดสอบนี้จะมีตั้งแตความกลัว ความ หิว การสูญเสียทรัพยสิน ชีวิต พืชผล และอื่นๆ ในขณะที่บางคนจะถูก ทดสอบดวยความมั่งคั่ง ร่ํารวย อํานาจ วาสนา บารมี จนถึงวาระสุดทาย ทุ ก ชี วิ ต ก็ จ ะถู ก อั ล ลอฮฺ เ รี ย กกลั บ ไปฟ ง ผลการทดสอบในวั น แห ง การ ตัดสิน นี่คือความจริงแหงชีวิต ดังนั้นยามใดที่มุสลิมตองประสบกับภัยพิบัติความหายนะความ ทุ ก ข ย ากลํ า บากและการสู ญ เสี ย เขาจะต อ งอดทนอย า งถึ ง ที่ สุ ด และ 37
  • 38. ตระหนักวานั่นเปนการทดสอบจากอัลลอฮฺพรอมกับกลาววา “อินนา ลิลลาฮิ วะอินนา อิลัยฮิรอญิอูน” (แทจริง เราเปนของอัลลอฮฺและยัง พระองคที่เราตองคืนกลับ) เขาจะไมตีโพยตีพายหรือเอะอะโวยวายโทษ นั่นโทษนี่ เพราะการทําเชนนี้มิไดทําอะไรใหดีขึ้นและตัวเขาเองก็จะไมได พบกับความสงบขณะเดียวกันเขาก็จะตองไมสิ้นหวังในความเมตตาของ พระเจาและจะตองดํารงนมาซและวิงวอนขอความชวยเหลือจากพระเจา ตอไป เชนเดียวกัน ในยามที่ไดรับสิ่งที่ดีงามมุสลิมผูศรัทธาจะไมทะนง ตนวาสิ่งเหลานั้นเปนเพราะความสามารถของเขาแตเพียงผูเดียวแตเขา จะตระหนักวาความดีงามหรือความสําเร็จที่เขาไดรับนั้นเปนเพราะความ โปรดปรานของอั ล ลอฮฺ ที่ ท รงประทานให แ ก เ ขาและเขาจะกล า วว า “อัลฮัมดุลลิลลาฮฺ” (บรรดาการสรรเสริญเปนของอัลลอฮฺ) เพื่อเปนการ ขอบคุณพระองค รวมทั้งแบงสรรเจือจานความโปรดปรานที่เขาไดรับ ใหแกคนอื่นบาง 38