SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 17
Baixar para ler offline
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 1

เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557
ของ ส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล ศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ
จัดทาโดย พันเอก ดร.สุชาต จันทรวงศ์
วันที่ 1 พ.ย.2556
สารบัญ
หัวข้อ
หน้า
กล่าวนา...................................................................................................................... ............................... 1
แผนการปฏิบัติงานส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล ประจาปีงบประมาณ 2557.......................... 3
ข้อกาหนดในปฏิบัติงานสาหรับการปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release.................................................. 4
ความต้องการพื้นที่สุ่มตรวจในการสารวจทางเทคนิค............................................................................ 4
วิธีการตรวจสอบและประเมินผลพื้นที่ปลอดภัยจากทุ่นระเบิด (QC).................................................... 5
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการเกี่ยวกับ “การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release”.................................. 8
วิธีการสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย (Snake Walker Random)..................................................................... 8
แนวทางการเลือกพื้นที่ในการสุ่มตรวจ................................................................................................................... 10
ใครควรรับผิดชอบ..................................................................................................................................... 14
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากทุ่นระเบิด....................................................................... 15
กล่าวนา
ในปีงบประมาณ 2555 ศทช่ ได้เริ่มนาวิธีการกวาดล้างและเกกบกู้ทุ่นระเบิดด้วยวิธีการใหม่ที่ .
การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี “ เรียกว่าLand Release ”มาใช้เป็นปีแรก ซึ่งวิธีการนี้เป็นวิธีการที่ประเทศต่างๆ ที่
เป็นรัฐภาคีอนุสัญญาออตตาวาให้การยอมรับและนามาใช้ สามารถปรับลดพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิด
(CHA) ให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยได้รวดเรกว และประหยัดทรัพยากร การดาเนินการในปีแรกของ ศทช ่ นี้ ยังไม่.
สามารถดาเนิ นการปร ับลดพื้น ที่อัน ตรายให้ เป็นพื้นที่ปลอดภัยได้อย่างเตกมประสิทธิภาพ เนื่องจากหน่ว ย
ปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมในประเทศไทย กาลังอยู่ในขั้นศึกษาเรียนรู้กระบวนการ ในปีงบประมาณ
2555 จึงสามารถปรับลดพื้นที่อันตรายที่ได้รับการยืนยันว่ามีทุ่นระเบิด (CHA) ให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยได้เพียง
16.22 ตร.กม. (16,222,391 ตร.ม.(
ในปีงบประมาณ 2556 ซึ่งเป็นปีที่ 2 ศทช่. ได้เน้นเรื่องการอบรมกระบวนการและเทคนิค
วิธีการการปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release ให้แก่ นปท.1-4 และหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดภาคเอกชน/
องค์กรที่ไม่ใช่ของรัฐ ต่างๆ จนสามารถปรับลดพื้นที่อันตรายที่ ได้รับการยืนยันว่ามีทุ่นระเบิด (CHA) ให้เป็น
พื้นที่ปลอดภัย และทาการส่งมอบคืนให้แก่ผู้ใช้ประโยชน์ได้จานวนทั้งสิ้น 36.36 ตร.กม.(36,369,398 ตร.ม.(
ผลการปฏิบัติงานสาคัญในปีงบประมาณ 2556 ที่ผ่านมา สามารถสรุปได้ดังนี้
นวัตกรรมทีได้รับการพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานด้านการปรับลดพื้นที่ ด้วยวิธี Land
่
Release ได้แก่
1. พื้นที่ที่มีความลาดชันเกินกว่า 60 องศา สามารถปรับลดพื้นที่ให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยได้เลย
หากไม่มีข้อมูลข่าวสารว่ามีการใช้พื้นที่นี้ในการสู้รบหรือมีการวางสนามทุ่นระเบิดตามหลักนิยมของคู่สงคราม
2. การสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย (Snake Walker Random : SWR) ใช้ในการตรวจสอบและ
ประเมินผลพื้นที่ปลอดภัย (QC) สาหรับพื้นทีที่ถูกปรับลดด้วยวิธีการสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS)
่
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 2

3. การสุ่มแบบกึ่งมีระเบียบ ใช้สุ่มในพื้นที่ป่าโปร่งถึงปานกลาง มีร่องรอยการใช้เส้นทางใน
พื้นทีปรากฏให้เหกน
่
4. การสุ่มแบบไร้ระเบียบ ใช้สุ่มในพื้นที่ป่าค่อนข้างหนาแน่น ทีร่องรอยการใช้เส้นทางใน
พื้นที่น้อยหรือไม่มีเลย
ด้านการนาร่องโครงการใหม่
ในปีงบประมาณ 2556 ได้มีการดาเนินการนาร่อง 2 โครงการ ได้แก่
1. โครงการติดตามและประเมินผลด้านการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่น
ระเบิด (MRE monitoring)
2. โครงการการประเมินค่าหลังการกวาดล้าง (PCA) ในพื้นที่ที่ส่งมอบและประกาศรับรอง
เป็นพื้นที่ปลอดภัยแล้ว
ปัญหาของพื้นที่อันตรายที่ได้รับการยืนยันว่ามีทุ่นระเบิด (CHA)
พื้นที่ CHA ที่หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมไม่สามารถเข้าไปดาเนินการปรับลด
พื้นที่ได้ พบสาเหตุหลัก คือ
1. ปัญหาเรื่องแผนที่ที่ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านยึดถือคนละฉบับ การระบุเส้นเขต
แดนไม่ตรงกัน ก่อให้เกิดพื้นที่ทับซ้อน
2. ปัญหาเรื่องแผนที่ของประเทศไทยที่ระบุเส้ นเขตแดน ไม่ตรงกับการแบ่งเขตแดนทาง
กายภาพในพื้นที่จริง
3. ปัญหาเรื่องการปักปันเขตแดนที่ยังไม่มีการตกลงจากทั้งสองฝ่ายโดยชัดเจน จึงก่อให้เกิด
พื้นที่อ้างสิทธิ์
4. ปัญหาเรื่องความไม่ปลอดภัยในพื้นที่ เนื่องจากมีการลักลอบกระทาการที่ผิดกฎหมาย เช่น
การตัดไม้พะยูง และยาเสพติด
การแก้ไขปัญหาในเบื้องต้น ศทช.่ ได้ดาเนินการปรับขอบเขตพื้นที่ CHA ที่หน่วยไม่สามารถเข้า
ไปดาเนินการได้ ขึ้นใหม่ แล้วใส่รหัสตัวอักษรภาษาอังกฤษต่อท้ายหมายเลข CHA นั้นๆ โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. CHA ที่ลงท้ายด้วย /BP (ย่อมาจาก Border line Problem) หมายถึง CHA นี้มีปัญหา
เรื่องเขตแดนที่ยังไม่ชัดเจน หรือมีปัญหาเรื่องพื้นที่อ้างสิทธิ์
2. CHA ที่ลงท้ายด้วย /MP (ย่อมาจาก Map Problem) หมายถึง CHA นี้มีปัญหาเรื่อง
แผนที่ ซึ่งอาจหมายถึงการยึ ดถือแผนที่คนละฉบับ หรือแผนที่ที่ไม่ส อดคล้ องกับสภาพความเป็นจริงทาง
กายภาพในพื้นที่
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 3

แผนการปฏิบัติงานส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล ประจาปีงบประมาณ 2557
การปฏิบัติงานของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล (สปป.่( ในปีงบประมาณ 2557
สามารถสรุปแผนที่สาคัญได้ ดังนี้
1. จัดคณะดาเนินการตรวจสอบและประเมินผลพื้นที่ปลอดภัย จากทุ่นระเบิด (QC) ตามที่
หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมต่างๆ ได้รายงานการปลดปล่อยพื้นที่อันตรายให้เป็นพื้นที่ปลอดภัย
(Released area report)
2. การพัฒนาเทคนิคและวิธีการเกี่ยวกับ “การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release”
3. ตรวจสอบการประกันคุณภาพการปฏิบัติงาน (Quality Assurance : QA) ของหน่วย
ปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมต่างๆ ในประเทศไทย ทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการปฏิบัติงาน
4. ติดตามประเมิน ผลการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด (Mine
Risk Education Monitoring : MRE Monitor) ของหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมต่างๆ
5. การติดตามและกากับดูแลความช่วยเหลือที่ผู้ประสบภัยจากทุ่นระเบิด พึงได้รับ (Victim
Assistance Monitoring : VA Monitor)
6. การประเมินค่าหลังการกวาดล้าง (Post Clearance Assessment : PCA) ในพื้นที่ที่ส่ง
มอบและประกาศรับรองเป็นพื้นที่ปลอดภัยแล้ว
7. การจัดทาระเบียบปฏิบัติประจาภาคสนาม (Standing Operating Procedures : SOP)
ของ ศทช.่ ใหม่ให้สอดคล้องกับ NMAS เพื่อให้หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิด ด้านมนุษยธรรมในประเทศไทย
ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ
8. การออกใบรับรองให้แก่องค์กรปฏิบัติการทุ่นระเบิดในประเทศไทย
9. การวางแผนและจั ด ท าแผนการปฏิ บั ติ ง านด้ า นปรั บ ลดพื้ น ที่ อั น ตรายจากทุ่ น ระเบิ ด
การรายงานความก้าวหน้าของงาน ให้เป็นมาตรฐาน สามารถควบคุมการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
10. งานด้านอื่นๆ ได้แก่ การจัดการความรู้ขององค์กร , การปรับปรุงและพัฒนาพิพิธภัณฑ์
ทุ่นระเบิดแห่งชาติ, การประชุมคณะอนุกรรมการด้านการกวาดล้างและเกกบกู้ทุ่นระเบิด
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 4

ข้อกาหนดในปฏิบัติงานสาหรับการปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release
ความต้องการพื้นทีสมตรวจในการสารวจทางเทคนิค
่ ุ่
ในปีงบประมาณ 2557 กาหนดให้หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมต่างๆ ที่ปฏิบัติงาน
อยู่ในประเทศไทย ให้ใช้อัตราร้อยละของความต้องการพื้นที่สุ่มตรวจในการสารวจทางเทคนิค ตามที่กาหนดใน
ตารางที่ 1
ตารางที่ 1 อัตราร้อยละของความต้องการพื้นที่สุ่มตรวจในการสารวจทางเทคนิค
(Technical Survey Sampling)
เครื่องมือที่ใช้
วิธีการสุ่ม
ความต้องการพื้นที่สุ่มตรวจ (อัตราร้อยละของพื้นที่(
ผลการแบ่งพื้นที่จากการสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS)
Limited TS
Normal TS
Increase TS Extensive TS
(LTS)
(NMTS)
(ITS)
(ETS)
เครื่องจักร
มีเป้าหมาย
10
20
30
40
เป็นระเบียบ
20
30
40
50
คน
มีเป้าหมาย
5
10
20
30
เป็นระเบียบ
10
20
30
40
สุนัข
มีเป้าหมาย
7.5
15
25
35
เป็นระเบียบ
15
25
35
45
หมายเหตุ :
1. วิธีการสุ่มแบบเป็นระเบียบ หมายรวมถึง วิธีการสุ่มแบบกึ่งมีระเบียบและการสุ่มแบบไร้ระเบียบด้วย
2. พื้นที่การสุ่มต้องเท่ากับหรือไม่น้อยกว่าจานวน % ที่กาหนดไว้
คาอธิบายประกอบการใช้ตารางที่ 11
1. การสารวจทางเทคนิคแบบจากัด (Limited Technical Survey : LTS) หมายถึง แบบของ
การสารวจทางเทคนิคที่น้อยที่สุดปกติใช้เพื่อยืนยันเมื่อไม่มีทุ่นระเบิดในพื้นที่
2. การสารวจทางเทคนิคแบบปกติ (Normal Technical Survey : NMTS) หมายถึง การ
สารวจทางเทคนิคที่มีความละเอียดมากกว่า ปกติใช้เมื่อระดับของข้อมูลข่าวสารมีไม่เพียงพอหรือเมื่อความ
เชื่อมั่นในข้อมูลข่าวสารที่ว่าไม่มีทุ่นระเบิดในบางพื้นที่นั้นมีไม่เพียงพอ
3. การสารวจทางเทคนิคแบบเพิ่มขยาย (Increase Technical Survey : ITS) หมายถึง การ
สารวจทางเทคนิคที่มีความลึกซึ้งพอสมควร ปกติใช้เพื่อยืนยันการปรากฏอยู่ของทุ่นระเบิด , เมื่อระดับของ
ข้อมูลข่าวสารมีไม่เพียงพออย่างชัดเจน หรือเมื่อความเชื่อมั่นในข้อมูลข่าวสารที่ว่าไม่มี ทุ่นระเบิดในบางพื้นที่
นั้นมีต่า

1

ศูนย์ปฏิบติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ. (2556). มาตรฐานการปฏิบัตการทุ่นระเบิดแห่งชาติ .กรุงเทพ่ : ศูนย์ปฏิบัติการทุ่น
ั
ิ
ระเบิดแห่งชาติ .หน้า 9-23
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 5

4. การสารวจทางเทคนิคแบบเข้มข้น (Extensive Technical Survey : ITS) หมายถึง การ
สารวจทางเทคนิคที่มีความลึกซึ้งมากที่สุด ปกติใช้เมื่อหลักฐานของทุ่นระเบิด , นั้นเด่นชัดมาก แต่เป็นการยาก
ในการระบุขอบเขตต่างๆให้น่าเชื่อถือ
วิธีการตรวจสอบและประเมินผลพื้นที่ปลอดภัยจากทุ่นระเบิด (QC)
ในการสุ่มตรวจพื้นที่ที่หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมได้รายงานเสรกจสิ้นภารกิจแล้ว
คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามประเมินผลพื้นที่ปลอดภัย ของ ศทช.่ จะใช้วิธีการสุ่มตรวจในพื้นที่ ดังนี้
1. พื้นที่ที่ปรับลดด้วยวิธีการสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS) ใช้วิธีการสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย
(Snake Walker Random) โดยกาหนดขนาดพื้นที่ที่ต้องการการสุ่มตรวจขั้นต่า โดยประยุกต์จากตาราง
สาเรกจรูปในการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Yamane2 ที่ระดับความเชื่อมั่น 99% ยอมให้เกิดค่าความ
คลาดเคลื่อนได้ 5% ดังแสดงไว้ในตารางที่ 2
ตารางที่ 2 ตารางการสุ่มตรวจพื้นที่ที่ปรับลดด้วยวิธีการสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS)
ของคณะกรรมการ่ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99%
ขนาดพื้นที่ที่ปรับลดด้วยวิธี
ขนาดพื้นที่การสุ่มตรวจไม่น้อยกว่า (ตร.ม.(
การสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (ตร.ม.(
ค่าความคลาดเคลื่อนได้ 5%
474
 1,000
1,001 - 1,500
563
1,501 - 2,000
621
2,001 - 2,500
662
2,501 - 3,000
692
3,001 - 3,500
716
3,501 - 4,000
735
4,001 - 4,500
750
4,501 - 5,000
763
5,001 - 6,000
783
6,001 - 7,000
798
7,001 - 8,000
809
8,001 - 9,000
818
9,001 - 10,000
826
10,001 - 15,000
849
15,000 - 20,000
861
20,001 - 25,000
869
25,001 - 50,000
884
50,001 - 100,000
892
100,001 900
2

วรรณี แกมเกตุ. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพ่ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า
286
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 6

2. พื้นที่ที่ปรับลดด้วยการสารวจทางเทคนิค (TS) คณะกรรมการ่ จะใช้ตารางการสุ่มตรวจ
พื้นที่ที่ปรับลดด้วยการสารวจทางเทคนิค ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3
ตารางที่ 3 ตารางการสุ่มตรวจพื้นที่ที่ปรับลดด้วยการสารวจทางเทคนิค (TS) ของคณะกรรมการ่
เครื่องมือที่ใช้
ระดับการ Limited TS Normal TS Increased TS Extensive TS
สุ่มตรวจ
(LTS)
(Norm)
(ITS)
(ETS)
เครื่องตรวจค้น มี DHA

0.5%

1%

2%

3%

ปกติ

1%

2%

4%

6%

รัดกุม

1.5%

3%

6%

9%

ย่อ

2%

4%

6%

8%

ปกติ

4%

8%

12%

16%

รัดกุม

ไม่มี
DHA

ย่อ

6%

12%

18%

24%

คาอธิบายประกอบตารางที่ 3
การสุ่มตรวจระดับย่อ
คือ มีความเชื่อมั่นในพยานหลักฐาน การปฏิบัติของหน่วยมีความ
รับผิดชอบ มีความชานาญและประสบการณ์สูง
การสุ่มตรวจระดับปกติ คือ พอเชื่อมั่นในพยานหลักฐานและการปฏิบัติของหน่วยมีความ
รับผิดชอบ มีความชานาญและประสบการณ์ระดับปานกลาง
การสุ่มตรวจระดับรัดกุม คือ ไม่ค่อยมีความเชื่อมั่นในพยานหลักฐานและการปฏิบัติของหน่วย
มีความรับผิดชอบ มีความชานาญและประสบการณ์ค่อนข้างต่า พบข้อบกพร่องบ่อย
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 7

3. พื้นที่ที่ปรับลดด้วยการกวาดล้าง (Clearance) ใช้ตารางการสุ่มตรวจตามตารางที่ 4
ตารางที่ 4 ตารางการสุ่มตรวจพื้นที่ที่ปรับลดด้วยการกวาดล้าง (Clearance)
ขนาดพื้นที่ DHA ที่กวาดล้าง
(ตร.ม.(

ประเภทการใช้ประโยชน์
พื้นที่

LU 1
ไม่เกิน 500
LU 2
LU 3
LU 1
501 – 1,500
LU 2
LU 3
LU 1
1,501 – 3,000
LU 2
LU 3
LU 1
3,001 – 5,000
LU 2
LU 3
LU 1
5,001 – 8,000
LU 2
LU 3
LU 1
8,001 – 15,000
LU 2
LU 3
LU 1
15,001 – 40,000
LU 2
LU 3
LU 1
LU 2
40,001 – 200,000
LU 3
-พบโลหะน้าหนัก 25 กรัม ต่อ 1 ตารางเมตรขึ้นไป ไม่ผ่านการประเมินผล
-พบทุ่นระเบิดหรือUXO ไม่ผ่านการประเมินผล

ระดับการสุมตรวจ (ตร.ม.(
่
ระดับย่อ
ระดับปกติ
ระดับรัดกุม
349
281
230
495
362
279
588
419
318
625
439
331
636
444
333
665
461
345
676
467
349
684
472
352

387
306
249
588
405
308
714
474
354
765
499
369
783
505
372
822
526
386
839
533
390
851
539
394

449
333
270
802
460
342
1,024
544
396
1,126
576
414
1,172
585
418
1,246
610
434
1,283
620
439
1,307
627
443

คาอธิบายประกอบตารางที่ 4
ประเภทการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ (Land Used : LU)
1. LU1 หมายถึง พื้นที่อยู่อาศัยและสัญจรหรืออยู่ใกล้หรืออยู่ในเขตชุมชน
2. LU2 หมายถึง พื้นที่ห่างไกลชุมชน ราษฎรใช้ประโยชน์ไม่มากนัก หรือใช้ประโยชน์ในการเกษตรหรือเลี้ยง
สัตว์หรือเป็นเขตป่าชุมชน
3. LU3 หมายถึง พื้นที่ป่าสงวน,อุทยานแห่งชาติหรือพื้นที่ซึ่งไม่มีราษฎรเข้าใช้ประโยชน์
ระดับการสุ่มตรวจ เหมือนคาอธิบายประกอบท้ายตารางที่ 3
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 8

การพัฒนาเทคนิคและวิธีการเกี่ยวกับ “การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release”
พันเอก ดร.สุชาต จันทรวงศ์
1 พ.ย.2556

วิธีการสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย (Snake Walker Random)
ความเป็นมา
ในการปรับลดพื้นที่อันตรายด้วยวิธี Land Release ในขั้นต้นจะมีการเข้าสารวจพื้นที่อันตรายที่ได้รับ
การยื นยัน (CHA) ด้วยวิธีการสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS) หลังจากนั้นจะนาข้อมูลข่าวสารที่ได้จาก
แหล่ งข่าวและประชาชนในพื้น ที่ รวมทั้งการเข้าส ารวจพื้นที่ทางกายภาพแล้ ว นาแบ่งมาเป็นพื้นที่ย่อยๆ
ต่อจากนั้นจึงนามากรอกใน Scoring Table พื้นที่ CHA กกจะสามารถแบ่งพื้นที่ย่อยๆ เหล่านั้นให้เป็นสีต่างๆ
ตามที่กาหนดไว้ใน NMAS ดังภาพตัวอย่างที่แสดงไว้ด้านล่าง

วิธีการสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย (Snake Walker Random)
หลังจากการทาการ NTS แล้วกรอกข้อมูลใน Scoring Table หากพื้นที่ย่อยใดปรากฏว่าเป็น
พื้นที่สีเขียวเข้ม (Land Release) หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดสามารถปรับลดเป็นพื้นที่ปลอดภัยจากทุ่นระเบิด
ได้เลย และเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่ามีความปลอดภัย สปป.่ โดย พันเอกสุชาต จันทรวงศ์ จึงได้คิดค้นวิธีการ
สุ่มตรวจแบบงูเลื้อย (Snake Walker Random) ขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสาหรับคณะกรรมการตรวจสอบและ
ประเมินผลพื้นที่ปลอดภัย (QC Team) สุ่มตรวจพื้นที่ที่จะปรับลด (Land Release) เพื่อพิสูจน์ทราบความ
ปลอดภัยในพื้นที่นั้นอีกครั้ง ก่อนที่จะส่งมอบและประกาศรับรองเป็นพื้นที่ปลอดภัยต่อไป
การสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย (Snake Walker Random) คณะกรรมการ่ จะเดินทางด้วยเท้าใน
พื้นที่ที่จะปรับลด (Land Release) โดยจะเดินไปตามเส้นทางใดๆ กกได้ตามที่คณะกรรมการ่ จะพิจารณา
เพราะสมมติฐานกกคือ หากหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิด มั่นใจว่ามีความปลอดภัยจริง คณะกรรมการ่ กกสามารถ
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 9

เดินทางในพื้นที่นั้นได้อย่างปลอดภัยเช่นเดียวกัน ตัวอย่างเส้นทางการสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย ได้แสดงไว้ภาพ
ด้านล่างนี้

ในการเลือกเส้นทางเดินของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลพื้นที่ปลอดภัย นั้น คณะ
กรรมการ่ ใช้ข้อพิจารณาตัดสินใจเลือกเส้นทางเดินด้วยความน่าจะเป็น (Probability) โดยมีตัวแบบทาง
ความคิด ดังนี้

SWR = P (TRIP ∩ DO)
SWR = Snake Walker Random (การสุ่มแบบงูเลื้อย(
P = Probability (ความน่าจะเป็น(
T =Terrain (ลักษณะภูมิประเทศ(
R = Route (เส้นทางที่มีอยู่(
I = Information (ข้อมูลข่าวสาร,ประวัติพื้นที(่
P = People (การใช้ประโยชน์พื้นที่ของประชาชน(
D = Doctrine (หลักนิยมการรบของคู่สงคราม(
O = OCOKA ลักษณะพื้นที่ทางยุทธวิธีห(รือการพิจารณาภูมิประเทศทางทหาร( ได้แก่
 O : OBSERVATION & FIELD OF FIRE : การตรวจการ และพื้นการยิง
 C : COVER & CONCEALMENT : การกาบัง และซ่อนพราง
 O : OBSTACLE : เครื่องกีดขวาง
 K : KEY TERRAIN : ภูมิประเทศสาคัญ
 A : AVENUR OF APPROACH : แนวทางการเคลื่อนที่
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 10

แนวทางการเลือกพื้นที่ในการสุ่มตรวจ
หัวใจสาคัญประการหนึ่งของการปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release นั้น คือการเลือกพื้นที่ใน
สุ่มตรวจ หากสามารถเลือกพื้นที่การสุ่มตรวจได้อย่างมีคุณภาพ เป็นตัวแทนของพื้นที่นั้นๆ ได้แท้จริงแล้ว จะ
ให้ทามีความเชื่อมั่นว่าพื้นที่นั้นมีความปลอดภัยสูง
คาถามมีอยู่ว่า หากผลการสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS) ระบุออกมาว่า พื้นที่ A มีขนาด
1,000 ตร.ม. เป็นพื้นที่ที่ต้องการการสารวจทางเทคนิคแบบปกติ (Normal Technical Survey : NMTS) โดย
ใช้อัตราการสุ่มตรวจร้อยละ 20 พื้นที่ นั้นหมายถึงผู้ปฏิบัติงานต้องทาการสุ่มตรวจในพื้นที่ A นี้ ให้ได้พื้นที่
อย่างน้อย 200 ตร.ม. ซึ่งพื้นที่ 200 ตร.ม.ที่เลือกนั้น จะต้องเป็นตัวแทนพื้นที่ 1,000 ตร.ม. ได้อย่างแท้จริง
หากเทียบกับการวิจัย ประชากรในการวิจัย กกคือ พื้นที่ 1,000 ตร.ม. กลุ่มตัวอย่าง กกคือ พื้นที่
200 ตร.ม. นั้นเอง ดังนั้นการเลือกกลุ่มอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากรที่แท้จริง จะทาให้งานวิจัยมีความ
ถูกต้องแม่นยา (Accuracy)
วิธีการสุ่มตัวอย่างในงานวิจัย จาแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ การสุ่มตัวอย่างโดยไม่
อาศัยหลักความน่าจะเป็น (Nonprobability sampling) และการสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็น
(Probability sampling) โดยสามารถแยกได้ดังนี้3
1. การสุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัยหลักความน่าจะเป็น (Nonprobability sampling) การสุ่ม
ตัวอย่างในลักษณะนี้ ที่เป็นที่ยอมรับและนิยมใช้กัน มีดังนี้
1.1. การเลือกตัวอย่างโดยบังเอิญ (Accident Sampling)
1.2. การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
1.3. การเลือกตัวอย่างแบบกาหนดโควตา (Quota Sampling)
1.4. การเลือกตัวอย่างแบบก้อนหิมะ (Snowball Sampling)
2. การสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็น (Probability sampling) การสุ่มตัวอย่าง
ในลักษณะนี้ ที่เป็นที่ยอมรับและนิยมใช้กัน มีดังนี้
2.1. การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling)
2.2. การสุ่มตัวอย่างอย่างมีระบบ (Systematic Random Sampling)
2.3. การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling)
2.4. การสุ่มตัวอย่างแบบยกกลุ่ม (Cluster Random Sampling)
2.5. การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling)
จากวิธีการสุ่มตัวอย่างที่กล่าวมา ทาให้เกิดแนวคิดที่ว่า พื้นที่ 200 ตร.ม. ที่ผู้ปฏิบัติงานต้องเลือก
เพื่อสุ่มตรวจนั้น จะเลือกใช้การสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีใดที่มีประสิทธิภาพและมีความน่าเชื่อถือมากที่สุดต่อการ
ปรับลดพื้นที่ทุ่นระเบิดในพื้นที่ A

3

วรรณี แกมเกตุ. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพ่ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า
228-300.
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 11

จากภาพด้านบน ภาพพื้นที่เดียวกัน ใช้วิธีการสุ่มตรวจพื้นที่แตกต่างกัน แต่ได้พื้นที่สุ่มตรวจร้อย
ละ 20 เท่ากัน มีคาถามว่า แล้วจะใช้อะไรเป็นตัววัดว่า วิธีใดที่มีคุณภาพ มีการยอมรับ และมีความน่าเชื่อถือ
มากที่สุด
ปั จ จั ย ที่ ผู้ ป ฏิ บั ติ งานควรจะน ามาพิ จ ารณาว่ า จะเลื อ กใช้ วิ ธี การสุ่ ม ตัว อย่ า งแบบไหน น่ า จะ
ประกอบด้วย (ดูภาพด้านล่างประกอบ(
1. ข้อมูลข่าวสารเริ่มแรกที่ผู้ปฏิบัติงานใช้ในการแบ่งพื้นที่ CHA ออกเป็นพื้นที่ย่อยในขั้นการ
สารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS) ขั้นนี้จึงเป็นขั้นที่สาคัญที่สุดของกระบวนการการปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land
Release การแบ่งพื้นที่ CHA ออกเป็นพื้นที่ย่อย อาจสามารถประยุกต์ใช้ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น
(Stratified Random Sampling) มาช่วยได้
2. ในขั้นตอนการเลือกพื้นที่สุ่ม ตรวจในพื้นที่ย่อยแต่ละพื้นที่ของพื้นที่ CHA นั้น การเลือก
พื้นที่สุ่มตรวจเพื่อให้มีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับและมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด ควรใช้ความน่าจะเป็นของข้อมูล
ต่างๆ เช่น ลักษณะภูมิประเทศ เส้นทางที่มีอยู่ ข้อมูล ข่าวสารของพื้นที่ การใช้ประโยชน์พื้นที่ของประชาชน
หลั กนิย มของคู่ส งคราม ลั กษณะพื้น ที่ทางยุทธวิธี การพิจารณาภูมิประเทศทางทหาร ่ล่ มาพิจารณา
ทบทวนอีกครั้งอย่างมีคุณภาพ ภายใต้กรอบแนวคิดที่ว่า “ทบทวนความน่าจะเป็นของข้อมูลที่มี ด้วยเทคนิค
และวิธีการคุณภาพ แล้วนาไปใช้ในการเลือกพื้นที่ที่จะสุ่มตรวจ ซึ่งจะทาให้พื้นที่สุ่มตรวจนั้น มีคุณภาพ
ตามไปด้วย” โดยใช้ตัวแบบทางความคิดดังนี้
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 12

P(TRIP ∩ DO) + Q

QRS

Q = Quality (คุณภาพ(
RS = Random Sample (การสุ่มตัวอย่าง(
P = Probability (ความน่าจะเป็น(
T =Terrain (ลักษณะภูมิประเทศ(
R = Route (เส้นทางที่มีอยู่(
I = Information (ข้อมูลข่าวสาร,ประวัติพื้นที(่
P = People (การใช้ประโยชน์พื้นที่ของประชาชน(
D = Doctrine (หลักนิยมการรบของคู่สงคราม(
O = OCOKA (ลักษณะพื้นที่ทางยุทธวิธีหรือการพิจาณาภูมิประเทศทางทหาร( ได้แก่
 O : OBSERVATION & FIELD OF FIRE : การตรวจการ และพื้นการยิง
 C : COVER & CONCEALMENT : การกาบัง และซ่อนพราง
 O : OBSTACLE : เครื่องกีดขวาง
 K : KEY TERRAIN : ภูมิประเทศสาคัญ
 A : AVENUR OF APPROACH : แนวทางการเคลื่อนที่
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 13

บทสรุป
ในพื้นที่ 1 แห่ง หากผู้ปฏิบัติงานใช้วิธีการเลือกพื้นที่สุ่มตรวจอย่างมีคุณภาพ ตามที่ได้กล่าว
มาแล้ว ในพื้นที่นั้นอาจเกิดวิธีการสุ่มตรวจ หลาหลายรูปแบบผสมผสานกัน ดังภาพที่แสดงไว้ด้านล่าง การ
ทบทวนข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่อีกครั้ง ก่อนที่ผู้ปฏิบัติงานจะตัดสินในเลือกพื้นที่ที่จะทาการสุ่มตรวจจึงเป็น
หัวใจสาคัญ เพื่อให้พื้นที่ที่เลือกสุ่มตรวจนั้น เป็นที่ยอมรับ มีความน่าเชื่อถือ และเป็นตัวแทนที่แท้จริงของ
พื้นที่ทั้งหมด ก่อให้เกิดความมั่นใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน คณะกรรมการตรวจสอบ่ และผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งปวง ในการ
ยืนยันว่าพื้นที่นี้ปลอดภัยจากทุ่นระเบิดจริง สามารถส่งมอบพื้นที่ให้แก่ราษฎรหรือผู้ที่ใช้ประโยชน์ต่อไป
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 14

ใครควรรับผิดชอบ?
เหตุการณ์จาลองนี้ดัดแปลงมาจาก Allen Prak, J.D.,Managing Partner (Cambodia) (9 May 2013) เพื่อให้เข้ากับ
สถานการณ์ ในประเทศไทย

จอห์นและแคทเธอรีน เป็นนักท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ทั้งสองคนชอบเที่ยวในชนบทห่างไกลไปตาม
หมู่บ้าน ตามแนวชายแดนของประเทศต่างๆทั้งสองเคยประสบอุบัติเหตุจากทุ่นระเบิดที่ตกค้าง จากการสู้รบ
ในพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลกมาแล้วถึง 2 ครั้ง ทาให้ขาข้างขวาของจอห์น และขาข้างซ้ายของแคทเธอรีนต้องขาด
กลายเป็นคนพิการใส่ขาเทียม จนถึงทุกวันนี้ แต่จอห์นและแคทเธอรีน กกยังชอบท่องเที่ยวอยู่เช่นเดิม
เมื่อกลางเดือน มกราคม พ.ศ. 2555 จอห์นและแคทเธอรีน ต้องการมาเที่ยวในหมู่ บ้านแห่งหนึ่งในเขต
อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ ติดกับชายแดนประเทศกัมพูชา หมู่บ้านแห่งนี้ ทางรถยนต์เข้าไปไม่ถึง ไกด์ที่พามา
แนะนาและวางแผนว่า ต้องใช้เกวียนเป็นพาหนะ เดินทางผ่านทุ่งนาถึงจะถึงหมู่บ้านแห่งนี้ จอห์นและแคทเธอ
รีน ถามว่าพื้นที่นี้ปลอดภัยหรือไม่ กลัวว่าจะมีทุ่นระเบิดตกค้างอยู่ อาจเกิดอันตราย เหมือนประสบการณ์ใน
อดีตที่ผ่านมาถึง 2 ครั้ง
ไกด์ตอบว่าพื้นที่แห่งนี้สมัยก่อนมีการสู้รบ และมีทุ่นระเบิดตกค้างอยู่ แต่ทางหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้าน
มนุษยธรรมที่ 3
ได้ดาเนินการเกกบกู้และกวาดล้างไปหมดแล้ว และศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ
กกประกาศ รับรองเป็นพื้นที่ปลอดภัย และส่งมอบพื้นที่ให้กับประชาชนในหมู่บ้านใช้ประโยชน์เป็นที่ เรียบร้อย
แล้วเช่นกัน จึงขอยืนยันว่า "พื้นที่นี้ปลอดภัยจากทุ่นระเบิด" ผู้ใหญ่บ้านและคนขับเกวียน ซึ่งเป็น คนใน
หมู่บ้านกกยืนยั นว่าเป็นเช่นนั้นจริง และทุ่งนาที่จะเดินทางผ่ านนี้ ได้ผ่านการทานามาแล้ วถึง 4 ฤดูกาล
จึงมั่นใจได้ว่ามีความปลอดภัย
จอห์นและแคทเธอรีนยอมเชื่อ จึงได้ตัดสินใจเดินทางด้วยเกวียนผ่านทุ่งนาแห่งนั้น
ทันใดนั้น ล้อเกวียนวิ่งไปเหยียบบนรากไม้ของต้นไม้ใหญ่แห่งหนึ่ง ทาให้ UXO ที่ฝังอยู่ใต้รากไม้เกิดระเบิดขึ้น
จอห์น, แคทเธอรีน, ไกด์ และคนขับเกวียน ได้รับบาดเจ็บสาหัส
แบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่มถกแถลงกันโดยอิสระ (15 นาที)
 กลุ่มที่ 1 จอห์นและแคทเธอรีน ผู้บาดเจกบ ต้องการฟ้องร้องผู้รับผิดชอบได้แก่ หน่วยปฏิบัติการทุ่น
ระเบิดด้านมนุษยธรรมที่ 3, ศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ และผู้ใหญ่บ้าน พวกเขาควรจะ
ฟ้องร้องด้วยข้อหาอะไรบ้าง
 กลุ่มที่ 2 ถ้าคุณเป็นผู้บังคับหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมที่ 3 คุณจะปกป้องตัวเองให้พ้น
ผิดจากเหตุการณ์ ดังกล่าวได้อย่างไร
 กลุ่มที่ 3 ถ้าคุณเป็นหัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ คุณจะปกป้องตัวเองให้พ้นจากความ
รับผิดชอบต่อเหตุการณ์ ดังกล่าวได้อย่างไร
 กลุ่มที่ 4 ถ้าคุณเป็นผู้ใหญ่บ้าน คุณจะแก้ตัวเรื่องนี้ว่าอย่างไร และจะป้องกันอย่างไรเพื่อไม่ให้
เหตุการณ์ เช่นนี้เกิดขึ้น อีกในอนาคต
แต่ละกลุ่มนาเสนอ 8 นาที ?????
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 15

การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากทุ่นระเบิด
พันเอก ดร.สุชาต จันทรวงศ์
1 พ.ย.2556
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด (Mine Risk Education : MRE)4
หมายถึง กิจกรรมที่พยายามลดความเสี่ยงที่จะเกิดการบาดเจกบและเสียชีวิตจากทุ่นระเบิด/สรรพาวุธระเบิดที่
ยังไม่ระเบิด โดยเพิ่มความตระหนักและส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมใน “กลุ่มเสี่ยง” ให้อยู่ในระดับที่
สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้อย่างปลอดภัย
กิจ กรรมที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรม สามารถแบ่งได้ออกเป็น 3
กิจกรรมใหญ่ๆ ได้แก่
1. กิจกรรมการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
2. กิจกรรมการกวาดล้างและเกกบกู้ทุ่นระเบิด
3. กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากทุ่นระเบิด
ในทัศนะของผู้เขียนแล้ว กิจกรรมการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด ถือ
เป็นกิจกรรมที่สาคัญที่สุด เพราะกิจกรรมนี้ คือ การป้องกันมนุษย์ไม่ให้เกิดการบาดเจกบหรือเสียชีวิตจากทุ่น
ระเบิด หากกิจกรรมนี้สัมฤทธิ์ผล กลุ่มเสี่ยงมีความตะหนัก การบาดเจกบหรือเสียชีวิตกกจะไม่เกิดขึ้น กิจกรรม
การช่ว ยเหลื อ ผู้ ป ระสบภั ย กก จ ะไม่ เ กิด ขึ้ น เช่ นกั น ส่ ว นการกวาดล้ า งและเกก บ กู้ทุ่ น ระเบิ ดกก เ ป็ นเรื่ องของ
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะที่ได้รับการฝึกอบรมมาดีแล้ว มีการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐาน ย่อมไม่ก่อให้เกิดความสูญเสีย
ใด
ประเทศไทยให้ความสาคัญในเรื่องการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด นี้
น้อยมาก สังเกตได้จากงบประมาณที่ได้รับ และโครงสร้างการจัดหน่วยของหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้าน
มนุษยธรรมต่างๆ ทั้งของภาครัฐบาล เอกชน และองค์กรที่ไม่ใช่ของรัฐบาล ที่แทบจะไม่มีชุดปฏิบัติงานด้า น
MRE เลย หรือมีกเพียงแค่เป็นชุดเลกกๆ 4-5 คน ภายในองค์กรเท่านั้น
ก
ในคณะอนุกรรมการด้านการแจ้งเตือน ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชน เป็นอนุกรรมการ
่ 1 ใน 5 คณะ ซึ่งแต่งตั้งโดยนายกรัฐมนตรี มีอธิบดีกรมการปกครองหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน
คณะอนุกรรมการ่ และผู้บริหารของหน่วยงานต่างๆ จากหลายกระทรวงร่วมเป็นคณะอนุกรรมการ คณะ
กรรมอนุกรรมการ่ ชุดนี้ ปัจจุบัน ไม่มีการเคลื่อนไหวตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เหตุเพราะขาดการส่งมอบ
งานต่อให้แก่ผู้ที่เข้ามาดารงตาแหน่งใหม่เมื่อมีการโยกย้ายสับเปลี่ยน การปฏิบัติงานจึงขาดความต่อเนื่อง
กิจกรรมการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด จึงมาตกหนักอยู่ที่ศูนย์ปฏิบัติการทุ่น
ระเบิดแห่งชาติ (ศทช.่( และหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรม (นปท.( ที่ 1-4 แต่เพียงองค์กรเดียว
กิจกรรมเกี่ยวกับการแจ้งเตือน่ ที่ ศทช.่ และ นปท.1-4 รับผิดชอบ เป็นไปในรูปแบบเดิมๆ ที่
เคยปฏิบัติต่อๆ กันมาขาดการประเมิน และติดตามผลว่ากิจกรรมดังกล่าวบรรลุตามความมุ่งหมายหรือไม่
ตัวชี้วัดประการหนึ่งที่เหกนได้ชัดกกคือ จานวนผู้ที่ประสบภัยจากทุ่นระเบิดในปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.2555-

4

ศูนย์ปฏิบติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ. (2556). มาตรฐานการปฏิบัตการทุ่นระเบิดแห่งชาติ .กรุงเทพ่ : ศูนย์ปฏิบัติการทุ่น
ั
ิ
ระเบิดแห่งชาติ .หน้า 26-4
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 16

ก.ย.2556) ที่ผ่านมามีจานวนถึง 20 คน5 แยกเป็นบาดเจกบ 19 คน เสียชีวิต 1 คน หลังดูย้อนหลังไปอีก 2 ปี กก
จะพบว่า ปีงบประมาณ 2555 มีผู้ประสบภัยจากทุ่นระเบิด จานวน 13 คน และปีงบประมาณ 2554 จานวน
23 คน
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิดนี้ มีองค์ประกอบที่สาคัญกกคือ 1) ผู้ส่ง
สาร 2) วิธีการส่งสาร 3) ผู้รับสาร 4) ผลที่เกิดขึ้น
ผู้ส่งสาร ต้องรู้และเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า เนื้อหาที่เราต้องการส่ง ถึงผู้รับสารคืออะไร และรู้ว่า
ผู้รับสารเป็นใคร กลุ่มใด ควรมีการสร้างและออกแบบเนื้อหา (Content Design) ให้เหมาะสมกับผู้รับสาร
วิธีการส่งสาร มีหลากหลายวิธี ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เช่น การบรรยาย การจัดนิทรรศการ การ
ติดป้ายแจ้งเตือน การออกประกาศ เป็นต้น วิธีการส่งสารต้องมีการออกแบบ (Communication Design)
เช่นเดียวกัน ต้องสามารถเข้าถึงผู้รับสารได้โดยตรง และสามารถเข้าใจเนื้อหาได้ถ่องแท้
ผู้รับสาร คือ กลุ่มเสี่ยงที่อาจเกิด การบาดเจกบและเสียชีวิตจากทุ่นระเบิด และสรรพาวุธระเบิดที่
ยังไม่ระเบิดที่อยู่ในพื้นที่ CHA ซึ่งเกี่ยวข้องกับคนหลายกลุ่ม ผู้ส่งสารต้องแยกแยะและคัดกรองให้ออกว่า ผู้รับ
สารมีกลุ่มใดบ้าง เลือกเนื้อหาในสารที่ส่งและวิธีการส่งสาร ให้เหมาะสมกับผู้รับสารในกลุ่มนั้นๆ
ผลที่เกิดขึ้น หากผลที่เกิดขึ้นกับผู้รับสารเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของเนื้อหาที่ ผู้ส่งสารต้องการกก
ถือว่าสาเรกจ แต่หากไม่เป็นไปตามที่ต้องการ ผู้ส่งสารต้องมีการทบทวนเรื่องของเนื้อหาและวิธีการส่งสารเสีย
ใหม่ เพือให้มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม
่
องค์ป ระกอบการแจ้ งเตือนและให้ ความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากทุ่นระเบิด แสดงไว้ตามภาพ
ด้านล่าง

5

ส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล. (2556). รายงานผลงานของส่วนประสานการปฏิบติและประเมินผล ประจาปี
ั
งบประมาณ 2556 . กรุงเทพ่ : ศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ. หน้า 49-50
เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 17

บทสรุป
งานการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด นับว่าเป็นงานที่ท้าทาย เพราะ
เป็นงานที่สาคัญที่สุดที่จะป้องกันไม่ให้มนุษย์ต้องได้รับบาดเจ็บหรือสูญเสียชีวิตจากภัยของทุ่นระเบิด การ
ออกแบบเนื้อหา (Content design) ควรให้มีความเหมาะสมกับกลุ่มของผู้รับสาร (กลุ่มเป้าหมาย( ซึ่งจะเป็น
สิ่งดึงดูดใจให้เขาเหล่านั้นเขามารับสาร และทาความเข้าใจกับมัน ในปัจจุบันเนื้อหาที่ปรากฏให้เหกน ทั่วไป
ได้แก่ แผ่นพับ แผ่นชาร์ต รูปภาพ แบบจาลองทุ่นระเบิด ข้อความประชาสัมพันธ์ ข้อความแจ้งเตือน แผนที่
แสดงขอบเขตและที่ตั้งของพื้นที่อันตราย เป็นต้น
สาหรั บ วิธีการส่งสารหรื อช่องทางการส่ งสาร ควรจะต้องมีการออกแบบ (Communication
design) เช่นเดียวกัน วิธีการส่งสารที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ การบรรยายให้ความรู้ การจัดนิทรรศการ การ
ประชุ ม หมู่ บ้ า น ชุ ม ชน การปฐมนิ เ ทศเจ้ าหน้ า ที่ ท หาร ต ารวจ ป่ า ไม้ ที่ เ ข้ า ปฏิ บั ติใ หม่ ใ นพื้ น ที่ คั ด เอ้ า ท์
ประชาสัมพันธ์ตามแหล่งชุมชน หรือชุมทางคมนาคม ป้ายแจ้งเตือนในพื้นที่ ป้ายแสดงแผนที่ตั้งหรือขอบเขต
ของพื้นที่อันตราย เป็นต้น
วิธีการส่งสาร (ช่องทาง( ควรจะต้องมีการออกแบบ (Communication Design) ที่ดีเพื่อ
สามารถส่งสารให้เข้าถึงผู้รับสารได้โดยตรง ทีขอแนะนาเพิ่มเติมให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติงานด้าน MRE ในฐานะผู้ส่งสาร
่
ได้ ล องพิจ ารณาน ามาใช้ เช่น สื่ อมวลชนท้ องถิ่ น หนัง สื อพิ มพ์ ท้อ งถิ่น นั กจั ดรายการวิท ยุชุม ชน สถานี
วิทยุกระจายเสียงของกรมประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ สถานีโทรทัศน์เคเบิลทีวีในท้องถิ่น หอกระจายข่าวของ
หมู่บ้าน สานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด ศูนย์แจ้งเตือนภัยของท้องถิ่น และการใช้เครือ ข่ายสังคมออนไลน์
เช่น Facebook LINE และการสร้างเวกบบลกอก เป็นต้น

********************************************
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
ส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล ศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ
ศูนย์บัญชาการทางทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย
183 ถ.สรงประภา แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กทม.10210
โทร.0-2929-2112 โทรสาร. 0-2929-2121
อีเมล์ : oce_tmac@hotmail.com
FB : www.facebook.com/COED.TMAC

Mais conteúdo relacionado

Mais de สถาบันราชบุรีศึกษา

วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆสถาบันราชบุรีศึกษา
 
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่ 2014
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่  2014การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่  2014
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่ 2014สถาบันราชบุรีศึกษา
 
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิดการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิดสถาบันราชบุรีศึกษา
 
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014สถาบันราชบุรีศึกษา
 
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556 ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556 สถาบันราชบุรีศึกษา
 
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชน
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชนสถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชน
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชนสถาบันราชบุรีศึกษา
 
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556สถาบันราชบุรีศึกษา
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯสถาบันราชบุรีศึกษา
 

Mais de สถาบันราชบุรีศึกษา (20)

วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
 
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...
การวิจัยการประเมินผลกระทบจากพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิดที่เหลืออยู...
 
แนะนำการรายงานตามที่กำหนดไว้ใน Nmas
แนะนำการรายงานตามที่กำหนดไว้ใน Nmasแนะนำการรายงานตามที่กำหนดไว้ใน Nmas
แนะนำการรายงานตามที่กำหนดไว้ใน Nmas
 
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่ 2014
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่  2014การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่  2014
การพัฒนาเทคนิคและวิธีการปรับลดพื้นที่ 2014
 
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิดการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด
 
การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land release 2014
การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land release 2014การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land release 2014
การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land release 2014
 
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014
การปฏิบัติงานเก็บกู้ทุ่นระเบิดในประเทศไทย 2014
 
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556 ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556
ผลงาน TMAC ด้านการกวาดล้างฯ ปีงบประมาณ 2556
 
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชน
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชนสถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชน
สถานการณ์ทุ่นระเบิดในประเทศไทยสำหรับสื่อมวลชน
 
ประชุมประจำเดือน สปป. 1 ก.ค.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 1 ก.ค.2556ประชุมประจำเดือน สปป. 1 ก.ค.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 1 ก.ค.2556
 
ประชุมประจำเดือน สปป. 26 เม.ย.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 26 เม.ย.2556ประชุมประจำเดือน สปป. 26 เม.ย.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 26 เม.ย.2556
 
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556
การจัดทำยุทธศาสตร์การดำเนินงานทุ่นระเบิดเพื่อมนุษยธรรม พ.ศ.2557 2561 28032556
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
แผนงาน สปป ปี 2556 13 มี.ค.2556
แผนงาน สปป ปี 2556 13 มี.ค.2556แผนงาน สปป ปี 2556 13 มี.ค.2556
แผนงาน สปป ปี 2556 13 มี.ค.2556
 
ประชุมประจำเดือน สปป. 22 ก.พ.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 22 ก.พ.2556ประชุมประจำเดือน สปป. 22 ก.พ.2556
ประชุมประจำเดือน สปป. 22 ก.พ.2556
 
C.การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี land release (full)
C.การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี land release (full)C.การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี land release (full)
C.การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี land release (full)
 
สรุปผลการ QC อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์
สรุปผลการ QC อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์สรุปผลการ QC อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์
สรุปผลการ QC อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์
 
การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี land release
การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี land releaseการปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี land release
การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี land release
 
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
ศักยภาพลุ่มน้ำแม่กลองและกลยุทธ์ในการจัดการฯ
 
ศักยภาพของลุ่มน้ำแม่กลอง
ศักยภาพของลุ่มน้ำแม่กลองศักยภาพของลุ่มน้ำแม่กลอง
ศักยภาพของลุ่มน้ำแม่กลอง
 

เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจำปีงบประมาณ 2557

  • 1. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 1 เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของ ส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล ศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ จัดทาโดย พันเอก ดร.สุชาต จันทรวงศ์ วันที่ 1 พ.ย.2556 สารบัญ หัวข้อ หน้า กล่าวนา...................................................................................................................... ............................... 1 แผนการปฏิบัติงานส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล ประจาปีงบประมาณ 2557.......................... 3 ข้อกาหนดในปฏิบัติงานสาหรับการปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release.................................................. 4 ความต้องการพื้นที่สุ่มตรวจในการสารวจทางเทคนิค............................................................................ 4 วิธีการตรวจสอบและประเมินผลพื้นที่ปลอดภัยจากทุ่นระเบิด (QC).................................................... 5 การพัฒนาเทคนิคและวิธีการเกี่ยวกับ “การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release”.................................. 8 วิธีการสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย (Snake Walker Random)..................................................................... 8 แนวทางการเลือกพื้นที่ในการสุ่มตรวจ................................................................................................................... 10 ใครควรรับผิดชอบ..................................................................................................................................... 14 การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากทุ่นระเบิด....................................................................... 15 กล่าวนา ในปีงบประมาณ 2555 ศทช่ ได้เริ่มนาวิธีการกวาดล้างและเกกบกู้ทุ่นระเบิดด้วยวิธีการใหม่ที่ . การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี “ เรียกว่าLand Release ”มาใช้เป็นปีแรก ซึ่งวิธีการนี้เป็นวิธีการที่ประเทศต่างๆ ที่ เป็นรัฐภาคีอนุสัญญาออตตาวาให้การยอมรับและนามาใช้ สามารถปรับลดพื้นที่อันตรายที่ยืนยันว่ามีทุ่นระเบิด (CHA) ให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยได้รวดเรกว และประหยัดทรัพยากร การดาเนินการในปีแรกของ ศทช ่ นี้ ยังไม่. สามารถดาเนิ นการปร ับลดพื้น ที่อัน ตรายให้ เป็นพื้นที่ปลอดภัยได้อย่างเตกมประสิทธิภาพ เนื่องจากหน่ว ย ปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมในประเทศไทย กาลังอยู่ในขั้นศึกษาเรียนรู้กระบวนการ ในปีงบประมาณ 2555 จึงสามารถปรับลดพื้นที่อันตรายที่ได้รับการยืนยันว่ามีทุ่นระเบิด (CHA) ให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยได้เพียง 16.22 ตร.กม. (16,222,391 ตร.ม.( ในปีงบประมาณ 2556 ซึ่งเป็นปีที่ 2 ศทช่. ได้เน้นเรื่องการอบรมกระบวนการและเทคนิค วิธีการการปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release ให้แก่ นปท.1-4 และหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดภาคเอกชน/ องค์กรที่ไม่ใช่ของรัฐ ต่างๆ จนสามารถปรับลดพื้นที่อันตรายที่ ได้รับการยืนยันว่ามีทุ่นระเบิด (CHA) ให้เป็น พื้นที่ปลอดภัย และทาการส่งมอบคืนให้แก่ผู้ใช้ประโยชน์ได้จานวนทั้งสิ้น 36.36 ตร.กม.(36,369,398 ตร.ม.( ผลการปฏิบัติงานสาคัญในปีงบประมาณ 2556 ที่ผ่านมา สามารถสรุปได้ดังนี้ นวัตกรรมทีได้รับการพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานด้านการปรับลดพื้นที่ ด้วยวิธี Land ่ Release ได้แก่ 1. พื้นที่ที่มีความลาดชันเกินกว่า 60 องศา สามารถปรับลดพื้นที่ให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยได้เลย หากไม่มีข้อมูลข่าวสารว่ามีการใช้พื้นที่นี้ในการสู้รบหรือมีการวางสนามทุ่นระเบิดตามหลักนิยมของคู่สงคราม 2. การสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย (Snake Walker Random : SWR) ใช้ในการตรวจสอบและ ประเมินผลพื้นที่ปลอดภัย (QC) สาหรับพื้นทีที่ถูกปรับลดด้วยวิธีการสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS) ่
  • 2. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 2 3. การสุ่มแบบกึ่งมีระเบียบ ใช้สุ่มในพื้นที่ป่าโปร่งถึงปานกลาง มีร่องรอยการใช้เส้นทางใน พื้นทีปรากฏให้เหกน ่ 4. การสุ่มแบบไร้ระเบียบ ใช้สุ่มในพื้นที่ป่าค่อนข้างหนาแน่น ทีร่องรอยการใช้เส้นทางใน พื้นที่น้อยหรือไม่มีเลย ด้านการนาร่องโครงการใหม่ ในปีงบประมาณ 2556 ได้มีการดาเนินการนาร่อง 2 โครงการ ได้แก่ 1. โครงการติดตามและประเมินผลด้านการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่น ระเบิด (MRE monitoring) 2. โครงการการประเมินค่าหลังการกวาดล้าง (PCA) ในพื้นที่ที่ส่งมอบและประกาศรับรอง เป็นพื้นที่ปลอดภัยแล้ว ปัญหาของพื้นที่อันตรายที่ได้รับการยืนยันว่ามีทุ่นระเบิด (CHA) พื้นที่ CHA ที่หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมไม่สามารถเข้าไปดาเนินการปรับลด พื้นที่ได้ พบสาเหตุหลัก คือ 1. ปัญหาเรื่องแผนที่ที่ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านยึดถือคนละฉบับ การระบุเส้นเขต แดนไม่ตรงกัน ก่อให้เกิดพื้นที่ทับซ้อน 2. ปัญหาเรื่องแผนที่ของประเทศไทยที่ระบุเส้ นเขตแดน ไม่ตรงกับการแบ่งเขตแดนทาง กายภาพในพื้นที่จริง 3. ปัญหาเรื่องการปักปันเขตแดนที่ยังไม่มีการตกลงจากทั้งสองฝ่ายโดยชัดเจน จึงก่อให้เกิด พื้นที่อ้างสิทธิ์ 4. ปัญหาเรื่องความไม่ปลอดภัยในพื้นที่ เนื่องจากมีการลักลอบกระทาการที่ผิดกฎหมาย เช่น การตัดไม้พะยูง และยาเสพติด การแก้ไขปัญหาในเบื้องต้น ศทช.่ ได้ดาเนินการปรับขอบเขตพื้นที่ CHA ที่หน่วยไม่สามารถเข้า ไปดาเนินการได้ ขึ้นใหม่ แล้วใส่รหัสตัวอักษรภาษาอังกฤษต่อท้ายหมายเลข CHA นั้นๆ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. CHA ที่ลงท้ายด้วย /BP (ย่อมาจาก Border line Problem) หมายถึง CHA นี้มีปัญหา เรื่องเขตแดนที่ยังไม่ชัดเจน หรือมีปัญหาเรื่องพื้นที่อ้างสิทธิ์ 2. CHA ที่ลงท้ายด้วย /MP (ย่อมาจาก Map Problem) หมายถึง CHA นี้มีปัญหาเรื่อง แผนที่ ซึ่งอาจหมายถึงการยึ ดถือแผนที่คนละฉบับ หรือแผนที่ที่ไม่ส อดคล้ องกับสภาพความเป็นจริงทาง กายภาพในพื้นที่
  • 3. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 3 แผนการปฏิบัติงานส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล ประจาปีงบประมาณ 2557 การปฏิบัติงานของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล (สปป.่( ในปีงบประมาณ 2557 สามารถสรุปแผนที่สาคัญได้ ดังนี้ 1. จัดคณะดาเนินการตรวจสอบและประเมินผลพื้นที่ปลอดภัย จากทุ่นระเบิด (QC) ตามที่ หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมต่างๆ ได้รายงานการปลดปล่อยพื้นที่อันตรายให้เป็นพื้นที่ปลอดภัย (Released area report) 2. การพัฒนาเทคนิคและวิธีการเกี่ยวกับ “การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release” 3. ตรวจสอบการประกันคุณภาพการปฏิบัติงาน (Quality Assurance : QA) ของหน่วย ปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมต่างๆ ในประเทศไทย ทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการปฏิบัติงาน 4. ติดตามประเมิน ผลการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด (Mine Risk Education Monitoring : MRE Monitor) ของหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมต่างๆ 5. การติดตามและกากับดูแลความช่วยเหลือที่ผู้ประสบภัยจากทุ่นระเบิด พึงได้รับ (Victim Assistance Monitoring : VA Monitor) 6. การประเมินค่าหลังการกวาดล้าง (Post Clearance Assessment : PCA) ในพื้นที่ที่ส่ง มอบและประกาศรับรองเป็นพื้นที่ปลอดภัยแล้ว 7. การจัดทาระเบียบปฏิบัติประจาภาคสนาม (Standing Operating Procedures : SOP) ของ ศทช.่ ใหม่ให้สอดคล้องกับ NMAS เพื่อให้หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิด ด้านมนุษยธรรมในประเทศไทย ยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ 8. การออกใบรับรองให้แก่องค์กรปฏิบัติการทุ่นระเบิดในประเทศไทย 9. การวางแผนและจั ด ท าแผนการปฏิ บั ติ ง านด้ า นปรั บ ลดพื้ น ที่ อั น ตรายจากทุ่ น ระเบิ ด การรายงานความก้าวหน้าของงาน ให้เป็นมาตรฐาน สามารถควบคุมการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 10. งานด้านอื่นๆ ได้แก่ การจัดการความรู้ขององค์กร , การปรับปรุงและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ ทุ่นระเบิดแห่งชาติ, การประชุมคณะอนุกรรมการด้านการกวาดล้างและเกกบกู้ทุ่นระเบิด
  • 4. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 4 ข้อกาหนดในปฏิบัติงานสาหรับการปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release ความต้องการพื้นทีสมตรวจในการสารวจทางเทคนิค ่ ุ่ ในปีงบประมาณ 2557 กาหนดให้หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมต่างๆ ที่ปฏิบัติงาน อยู่ในประเทศไทย ให้ใช้อัตราร้อยละของความต้องการพื้นที่สุ่มตรวจในการสารวจทางเทคนิค ตามที่กาหนดใน ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 อัตราร้อยละของความต้องการพื้นที่สุ่มตรวจในการสารวจทางเทคนิค (Technical Survey Sampling) เครื่องมือที่ใช้ วิธีการสุ่ม ความต้องการพื้นที่สุ่มตรวจ (อัตราร้อยละของพื้นที่( ผลการแบ่งพื้นที่จากการสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS) Limited TS Normal TS Increase TS Extensive TS (LTS) (NMTS) (ITS) (ETS) เครื่องจักร มีเป้าหมาย 10 20 30 40 เป็นระเบียบ 20 30 40 50 คน มีเป้าหมาย 5 10 20 30 เป็นระเบียบ 10 20 30 40 สุนัข มีเป้าหมาย 7.5 15 25 35 เป็นระเบียบ 15 25 35 45 หมายเหตุ : 1. วิธีการสุ่มแบบเป็นระเบียบ หมายรวมถึง วิธีการสุ่มแบบกึ่งมีระเบียบและการสุ่มแบบไร้ระเบียบด้วย 2. พื้นที่การสุ่มต้องเท่ากับหรือไม่น้อยกว่าจานวน % ที่กาหนดไว้ คาอธิบายประกอบการใช้ตารางที่ 11 1. การสารวจทางเทคนิคแบบจากัด (Limited Technical Survey : LTS) หมายถึง แบบของ การสารวจทางเทคนิคที่น้อยที่สุดปกติใช้เพื่อยืนยันเมื่อไม่มีทุ่นระเบิดในพื้นที่ 2. การสารวจทางเทคนิคแบบปกติ (Normal Technical Survey : NMTS) หมายถึง การ สารวจทางเทคนิคที่มีความละเอียดมากกว่า ปกติใช้เมื่อระดับของข้อมูลข่าวสารมีไม่เพียงพอหรือเมื่อความ เชื่อมั่นในข้อมูลข่าวสารที่ว่าไม่มีทุ่นระเบิดในบางพื้นที่นั้นมีไม่เพียงพอ 3. การสารวจทางเทคนิคแบบเพิ่มขยาย (Increase Technical Survey : ITS) หมายถึง การ สารวจทางเทคนิคที่มีความลึกซึ้งพอสมควร ปกติใช้เพื่อยืนยันการปรากฏอยู่ของทุ่นระเบิด , เมื่อระดับของ ข้อมูลข่าวสารมีไม่เพียงพออย่างชัดเจน หรือเมื่อความเชื่อมั่นในข้อมูลข่าวสารที่ว่าไม่มี ทุ่นระเบิดในบางพื้นที่ นั้นมีต่า 1 ศูนย์ปฏิบติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ. (2556). มาตรฐานการปฏิบัตการทุ่นระเบิดแห่งชาติ .กรุงเทพ่ : ศูนย์ปฏิบัติการทุ่น ั ิ ระเบิดแห่งชาติ .หน้า 9-23
  • 5. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 5 4. การสารวจทางเทคนิคแบบเข้มข้น (Extensive Technical Survey : ITS) หมายถึง การ สารวจทางเทคนิคที่มีความลึกซึ้งมากที่สุด ปกติใช้เมื่อหลักฐานของทุ่นระเบิด , นั้นเด่นชัดมาก แต่เป็นการยาก ในการระบุขอบเขตต่างๆให้น่าเชื่อถือ วิธีการตรวจสอบและประเมินผลพื้นที่ปลอดภัยจากทุ่นระเบิด (QC) ในการสุ่มตรวจพื้นที่ที่หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมได้รายงานเสรกจสิ้นภารกิจแล้ว คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามประเมินผลพื้นที่ปลอดภัย ของ ศทช.่ จะใช้วิธีการสุ่มตรวจในพื้นที่ ดังนี้ 1. พื้นที่ที่ปรับลดด้วยวิธีการสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS) ใช้วิธีการสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย (Snake Walker Random) โดยกาหนดขนาดพื้นที่ที่ต้องการการสุ่มตรวจขั้นต่า โดยประยุกต์จากตาราง สาเรกจรูปในการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Yamane2 ที่ระดับความเชื่อมั่น 99% ยอมให้เกิดค่าความ คลาดเคลื่อนได้ 5% ดังแสดงไว้ในตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ตารางการสุ่มตรวจพื้นที่ที่ปรับลดด้วยวิธีการสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS) ของคณะกรรมการ่ ที่ระดับความเชื่อมั่น 99% ขนาดพื้นที่ที่ปรับลดด้วยวิธี ขนาดพื้นที่การสุ่มตรวจไม่น้อยกว่า (ตร.ม.( การสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (ตร.ม.( ค่าความคลาดเคลื่อนได้ 5% 474  1,000 1,001 - 1,500 563 1,501 - 2,000 621 2,001 - 2,500 662 2,501 - 3,000 692 3,001 - 3,500 716 3,501 - 4,000 735 4,001 - 4,500 750 4,501 - 5,000 763 5,001 - 6,000 783 6,001 - 7,000 798 7,001 - 8,000 809 8,001 - 9,000 818 9,001 - 10,000 826 10,001 - 15,000 849 15,000 - 20,000 861 20,001 - 25,000 869 25,001 - 50,000 884 50,001 - 100,000 892 100,001 900 2 วรรณี แกมเกตุ. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพ่ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 286
  • 6. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 6 2. พื้นที่ที่ปรับลดด้วยการสารวจทางเทคนิค (TS) คณะกรรมการ่ จะใช้ตารางการสุ่มตรวจ พื้นที่ที่ปรับลดด้วยการสารวจทางเทคนิค ดังแสดงไว้ในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ตารางการสุ่มตรวจพื้นที่ที่ปรับลดด้วยการสารวจทางเทคนิค (TS) ของคณะกรรมการ่ เครื่องมือที่ใช้ ระดับการ Limited TS Normal TS Increased TS Extensive TS สุ่มตรวจ (LTS) (Norm) (ITS) (ETS) เครื่องตรวจค้น มี DHA 0.5% 1% 2% 3% ปกติ 1% 2% 4% 6% รัดกุม 1.5% 3% 6% 9% ย่อ 2% 4% 6% 8% ปกติ 4% 8% 12% 16% รัดกุม ไม่มี DHA ย่อ 6% 12% 18% 24% คาอธิบายประกอบตารางที่ 3 การสุ่มตรวจระดับย่อ คือ มีความเชื่อมั่นในพยานหลักฐาน การปฏิบัติของหน่วยมีความ รับผิดชอบ มีความชานาญและประสบการณ์สูง การสุ่มตรวจระดับปกติ คือ พอเชื่อมั่นในพยานหลักฐานและการปฏิบัติของหน่วยมีความ รับผิดชอบ มีความชานาญและประสบการณ์ระดับปานกลาง การสุ่มตรวจระดับรัดกุม คือ ไม่ค่อยมีความเชื่อมั่นในพยานหลักฐานและการปฏิบัติของหน่วย มีความรับผิดชอบ มีความชานาญและประสบการณ์ค่อนข้างต่า พบข้อบกพร่องบ่อย
  • 7. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 7 3. พื้นที่ที่ปรับลดด้วยการกวาดล้าง (Clearance) ใช้ตารางการสุ่มตรวจตามตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ตารางการสุ่มตรวจพื้นที่ที่ปรับลดด้วยการกวาดล้าง (Clearance) ขนาดพื้นที่ DHA ที่กวาดล้าง (ตร.ม.( ประเภทการใช้ประโยชน์ พื้นที่ LU 1 ไม่เกิน 500 LU 2 LU 3 LU 1 501 – 1,500 LU 2 LU 3 LU 1 1,501 – 3,000 LU 2 LU 3 LU 1 3,001 – 5,000 LU 2 LU 3 LU 1 5,001 – 8,000 LU 2 LU 3 LU 1 8,001 – 15,000 LU 2 LU 3 LU 1 15,001 – 40,000 LU 2 LU 3 LU 1 LU 2 40,001 – 200,000 LU 3 -พบโลหะน้าหนัก 25 กรัม ต่อ 1 ตารางเมตรขึ้นไป ไม่ผ่านการประเมินผล -พบทุ่นระเบิดหรือUXO ไม่ผ่านการประเมินผล ระดับการสุมตรวจ (ตร.ม.( ่ ระดับย่อ ระดับปกติ ระดับรัดกุม 349 281 230 495 362 279 588 419 318 625 439 331 636 444 333 665 461 345 676 467 349 684 472 352 387 306 249 588 405 308 714 474 354 765 499 369 783 505 372 822 526 386 839 533 390 851 539 394 449 333 270 802 460 342 1,024 544 396 1,126 576 414 1,172 585 418 1,246 610 434 1,283 620 439 1,307 627 443 คาอธิบายประกอบตารางที่ 4 ประเภทการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ (Land Used : LU) 1. LU1 หมายถึง พื้นที่อยู่อาศัยและสัญจรหรืออยู่ใกล้หรืออยู่ในเขตชุมชน 2. LU2 หมายถึง พื้นที่ห่างไกลชุมชน ราษฎรใช้ประโยชน์ไม่มากนัก หรือใช้ประโยชน์ในการเกษตรหรือเลี้ยง สัตว์หรือเป็นเขตป่าชุมชน 3. LU3 หมายถึง พื้นที่ป่าสงวน,อุทยานแห่งชาติหรือพื้นที่ซึ่งไม่มีราษฎรเข้าใช้ประโยชน์ ระดับการสุ่มตรวจ เหมือนคาอธิบายประกอบท้ายตารางที่ 3
  • 8. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 8 การพัฒนาเทคนิคและวิธีการเกี่ยวกับ “การปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release” พันเอก ดร.สุชาต จันทรวงศ์ 1 พ.ย.2556 วิธีการสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย (Snake Walker Random) ความเป็นมา ในการปรับลดพื้นที่อันตรายด้วยวิธี Land Release ในขั้นต้นจะมีการเข้าสารวจพื้นที่อันตรายที่ได้รับ การยื นยัน (CHA) ด้วยวิธีการสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS) หลังจากนั้นจะนาข้อมูลข่าวสารที่ได้จาก แหล่ งข่าวและประชาชนในพื้น ที่ รวมทั้งการเข้าส ารวจพื้นที่ทางกายภาพแล้ ว นาแบ่งมาเป็นพื้นที่ย่อยๆ ต่อจากนั้นจึงนามากรอกใน Scoring Table พื้นที่ CHA กกจะสามารถแบ่งพื้นที่ย่อยๆ เหล่านั้นให้เป็นสีต่างๆ ตามที่กาหนดไว้ใน NMAS ดังภาพตัวอย่างที่แสดงไว้ด้านล่าง วิธีการสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย (Snake Walker Random) หลังจากการทาการ NTS แล้วกรอกข้อมูลใน Scoring Table หากพื้นที่ย่อยใดปรากฏว่าเป็น พื้นที่สีเขียวเข้ม (Land Release) หน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดสามารถปรับลดเป็นพื้นที่ปลอดภัยจากทุ่นระเบิด ได้เลย และเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่ามีความปลอดภัย สปป.่ โดย พันเอกสุชาต จันทรวงศ์ จึงได้คิดค้นวิธีการ สุ่มตรวจแบบงูเลื้อย (Snake Walker Random) ขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสาหรับคณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินผลพื้นที่ปลอดภัย (QC Team) สุ่มตรวจพื้นที่ที่จะปรับลด (Land Release) เพื่อพิสูจน์ทราบความ ปลอดภัยในพื้นที่นั้นอีกครั้ง ก่อนที่จะส่งมอบและประกาศรับรองเป็นพื้นที่ปลอดภัยต่อไป การสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย (Snake Walker Random) คณะกรรมการ่ จะเดินทางด้วยเท้าใน พื้นที่ที่จะปรับลด (Land Release) โดยจะเดินไปตามเส้นทางใดๆ กกได้ตามที่คณะกรรมการ่ จะพิจารณา เพราะสมมติฐานกกคือ หากหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิด มั่นใจว่ามีความปลอดภัยจริง คณะกรรมการ่ กกสามารถ
  • 9. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 9 เดินทางในพื้นที่นั้นได้อย่างปลอดภัยเช่นเดียวกัน ตัวอย่างเส้นทางการสุ่มตรวจแบบงูเลื้อย ได้แสดงไว้ภาพ ด้านล่างนี้ ในการเลือกเส้นทางเดินของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลพื้นที่ปลอดภัย นั้น คณะ กรรมการ่ ใช้ข้อพิจารณาตัดสินใจเลือกเส้นทางเดินด้วยความน่าจะเป็น (Probability) โดยมีตัวแบบทาง ความคิด ดังนี้ SWR = P (TRIP ∩ DO) SWR = Snake Walker Random (การสุ่มแบบงูเลื้อย( P = Probability (ความน่าจะเป็น( T =Terrain (ลักษณะภูมิประเทศ( R = Route (เส้นทางที่มีอยู่( I = Information (ข้อมูลข่าวสาร,ประวัติพื้นที(่ P = People (การใช้ประโยชน์พื้นที่ของประชาชน( D = Doctrine (หลักนิยมการรบของคู่สงคราม( O = OCOKA ลักษณะพื้นที่ทางยุทธวิธีห(รือการพิจารณาภูมิประเทศทางทหาร( ได้แก่  O : OBSERVATION & FIELD OF FIRE : การตรวจการ และพื้นการยิง  C : COVER & CONCEALMENT : การกาบัง และซ่อนพราง  O : OBSTACLE : เครื่องกีดขวาง  K : KEY TERRAIN : ภูมิประเทศสาคัญ  A : AVENUR OF APPROACH : แนวทางการเคลื่อนที่
  • 10. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 10 แนวทางการเลือกพื้นที่ในการสุ่มตรวจ หัวใจสาคัญประการหนึ่งของการปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release นั้น คือการเลือกพื้นที่ใน สุ่มตรวจ หากสามารถเลือกพื้นที่การสุ่มตรวจได้อย่างมีคุณภาพ เป็นตัวแทนของพื้นที่นั้นๆ ได้แท้จริงแล้ว จะ ให้ทามีความเชื่อมั่นว่าพื้นที่นั้นมีความปลอดภัยสูง คาถามมีอยู่ว่า หากผลการสารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS) ระบุออกมาว่า พื้นที่ A มีขนาด 1,000 ตร.ม. เป็นพื้นที่ที่ต้องการการสารวจทางเทคนิคแบบปกติ (Normal Technical Survey : NMTS) โดย ใช้อัตราการสุ่มตรวจร้อยละ 20 พื้นที่ นั้นหมายถึงผู้ปฏิบัติงานต้องทาการสุ่มตรวจในพื้นที่ A นี้ ให้ได้พื้นที่ อย่างน้อย 200 ตร.ม. ซึ่งพื้นที่ 200 ตร.ม.ที่เลือกนั้น จะต้องเป็นตัวแทนพื้นที่ 1,000 ตร.ม. ได้อย่างแท้จริง หากเทียบกับการวิจัย ประชากรในการวิจัย กกคือ พื้นที่ 1,000 ตร.ม. กลุ่มตัวอย่าง กกคือ พื้นที่ 200 ตร.ม. นั้นเอง ดังนั้นการเลือกกลุ่มอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากรที่แท้จริง จะทาให้งานวิจัยมีความ ถูกต้องแม่นยา (Accuracy) วิธีการสุ่มตัวอย่างในงานวิจัย จาแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ อาศัยหลักความน่าจะเป็น (Nonprobability sampling) และการสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็น (Probability sampling) โดยสามารถแยกได้ดังนี้3 1. การสุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัยหลักความน่าจะเป็น (Nonprobability sampling) การสุ่ม ตัวอย่างในลักษณะนี้ ที่เป็นที่ยอมรับและนิยมใช้กัน มีดังนี้ 1.1. การเลือกตัวอย่างโดยบังเอิญ (Accident Sampling) 1.2. การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 1.3. การเลือกตัวอย่างแบบกาหนดโควตา (Quota Sampling) 1.4. การเลือกตัวอย่างแบบก้อนหิมะ (Snowball Sampling) 2. การสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็น (Probability sampling) การสุ่มตัวอย่าง ในลักษณะนี้ ที่เป็นที่ยอมรับและนิยมใช้กัน มีดังนี้ 2.1. การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) 2.2. การสุ่มตัวอย่างอย่างมีระบบ (Systematic Random Sampling) 2.3. การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) 2.4. การสุ่มตัวอย่างแบบยกกลุ่ม (Cluster Random Sampling) 2.5. การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) จากวิธีการสุ่มตัวอย่างที่กล่าวมา ทาให้เกิดแนวคิดที่ว่า พื้นที่ 200 ตร.ม. ที่ผู้ปฏิบัติงานต้องเลือก เพื่อสุ่มตรวจนั้น จะเลือกใช้การสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีใดที่มีประสิทธิภาพและมีความน่าเชื่อถือมากที่สุดต่อการ ปรับลดพื้นที่ทุ่นระเบิดในพื้นที่ A 3 วรรณี แกมเกตุ. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพ่ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 228-300.
  • 11. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 11 จากภาพด้านบน ภาพพื้นที่เดียวกัน ใช้วิธีการสุ่มตรวจพื้นที่แตกต่างกัน แต่ได้พื้นที่สุ่มตรวจร้อย ละ 20 เท่ากัน มีคาถามว่า แล้วจะใช้อะไรเป็นตัววัดว่า วิธีใดที่มีคุณภาพ มีการยอมรับ และมีความน่าเชื่อถือ มากที่สุด ปั จ จั ย ที่ ผู้ ป ฏิ บั ติ งานควรจะน ามาพิ จ ารณาว่ า จะเลื อ กใช้ วิ ธี การสุ่ ม ตัว อย่ า งแบบไหน น่ า จะ ประกอบด้วย (ดูภาพด้านล่างประกอบ( 1. ข้อมูลข่าวสารเริ่มแรกที่ผู้ปฏิบัติงานใช้ในการแบ่งพื้นที่ CHA ออกเป็นพื้นที่ย่อยในขั้นการ สารวจที่ไม่ใช่ทางเทคนิค (NTS) ขั้นนี้จึงเป็นขั้นที่สาคัญที่สุดของกระบวนการการปรับลดพื้นที่ด้วยวิธี Land Release การแบ่งพื้นที่ CHA ออกเป็นพื้นที่ย่อย อาจสามารถประยุกต์ใช้ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) มาช่วยได้ 2. ในขั้นตอนการเลือกพื้นที่สุ่ม ตรวจในพื้นที่ย่อยแต่ละพื้นที่ของพื้นที่ CHA นั้น การเลือก พื้นที่สุ่มตรวจเพื่อให้มีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับและมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด ควรใช้ความน่าจะเป็นของข้อมูล ต่างๆ เช่น ลักษณะภูมิประเทศ เส้นทางที่มีอยู่ ข้อมูล ข่าวสารของพื้นที่ การใช้ประโยชน์พื้นที่ของประชาชน หลั กนิย มของคู่ส งคราม ลั กษณะพื้น ที่ทางยุทธวิธี การพิจารณาภูมิประเทศทางทหาร ่ล่ มาพิจารณา ทบทวนอีกครั้งอย่างมีคุณภาพ ภายใต้กรอบแนวคิดที่ว่า “ทบทวนความน่าจะเป็นของข้อมูลที่มี ด้วยเทคนิค และวิธีการคุณภาพ แล้วนาไปใช้ในการเลือกพื้นที่ที่จะสุ่มตรวจ ซึ่งจะทาให้พื้นที่สุ่มตรวจนั้น มีคุณภาพ ตามไปด้วย” โดยใช้ตัวแบบทางความคิดดังนี้
  • 12. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 12 P(TRIP ∩ DO) + Q QRS Q = Quality (คุณภาพ( RS = Random Sample (การสุ่มตัวอย่าง( P = Probability (ความน่าจะเป็น( T =Terrain (ลักษณะภูมิประเทศ( R = Route (เส้นทางที่มีอยู่( I = Information (ข้อมูลข่าวสาร,ประวัติพื้นที(่ P = People (การใช้ประโยชน์พื้นที่ของประชาชน( D = Doctrine (หลักนิยมการรบของคู่สงคราม( O = OCOKA (ลักษณะพื้นที่ทางยุทธวิธีหรือการพิจาณาภูมิประเทศทางทหาร( ได้แก่  O : OBSERVATION & FIELD OF FIRE : การตรวจการ และพื้นการยิง  C : COVER & CONCEALMENT : การกาบัง และซ่อนพราง  O : OBSTACLE : เครื่องกีดขวาง  K : KEY TERRAIN : ภูมิประเทศสาคัญ  A : AVENUR OF APPROACH : แนวทางการเคลื่อนที่
  • 13. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 13 บทสรุป ในพื้นที่ 1 แห่ง หากผู้ปฏิบัติงานใช้วิธีการเลือกพื้นที่สุ่มตรวจอย่างมีคุณภาพ ตามที่ได้กล่าว มาแล้ว ในพื้นที่นั้นอาจเกิดวิธีการสุ่มตรวจ หลาหลายรูปแบบผสมผสานกัน ดังภาพที่แสดงไว้ด้านล่าง การ ทบทวนข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่อีกครั้ง ก่อนที่ผู้ปฏิบัติงานจะตัดสินในเลือกพื้นที่ที่จะทาการสุ่มตรวจจึงเป็น หัวใจสาคัญ เพื่อให้พื้นที่ที่เลือกสุ่มตรวจนั้น เป็นที่ยอมรับ มีความน่าเชื่อถือ และเป็นตัวแทนที่แท้จริงของ พื้นที่ทั้งหมด ก่อให้เกิดความมั่นใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน คณะกรรมการตรวจสอบ่ และผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งปวง ในการ ยืนยันว่าพื้นที่นี้ปลอดภัยจากทุ่นระเบิดจริง สามารถส่งมอบพื้นที่ให้แก่ราษฎรหรือผู้ที่ใช้ประโยชน์ต่อไป
  • 14. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 14 ใครควรรับผิดชอบ? เหตุการณ์จาลองนี้ดัดแปลงมาจาก Allen Prak, J.D.,Managing Partner (Cambodia) (9 May 2013) เพื่อให้เข้ากับ สถานการณ์ ในประเทศไทย จอห์นและแคทเธอรีน เป็นนักท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ทั้งสองคนชอบเที่ยวในชนบทห่างไกลไปตาม หมู่บ้าน ตามแนวชายแดนของประเทศต่างๆทั้งสองเคยประสบอุบัติเหตุจากทุ่นระเบิดที่ตกค้าง จากการสู้รบ ในพื้นที่ต่างๆ ทั่วโลกมาแล้วถึง 2 ครั้ง ทาให้ขาข้างขวาของจอห์น และขาข้างซ้ายของแคทเธอรีนต้องขาด กลายเป็นคนพิการใส่ขาเทียม จนถึงทุกวันนี้ แต่จอห์นและแคทเธอรีน กกยังชอบท่องเที่ยวอยู่เช่นเดิม เมื่อกลางเดือน มกราคม พ.ศ. 2555 จอห์นและแคทเธอรีน ต้องการมาเที่ยวในหมู่ บ้านแห่งหนึ่งในเขต อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ ติดกับชายแดนประเทศกัมพูชา หมู่บ้านแห่งนี้ ทางรถยนต์เข้าไปไม่ถึง ไกด์ที่พามา แนะนาและวางแผนว่า ต้องใช้เกวียนเป็นพาหนะ เดินทางผ่านทุ่งนาถึงจะถึงหมู่บ้านแห่งนี้ จอห์นและแคทเธอ รีน ถามว่าพื้นที่นี้ปลอดภัยหรือไม่ กลัวว่าจะมีทุ่นระเบิดตกค้างอยู่ อาจเกิดอันตราย เหมือนประสบการณ์ใน อดีตที่ผ่านมาถึง 2 ครั้ง ไกด์ตอบว่าพื้นที่แห่งนี้สมัยก่อนมีการสู้รบ และมีทุ่นระเบิดตกค้างอยู่ แต่ทางหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้าน มนุษยธรรมที่ 3 ได้ดาเนินการเกกบกู้และกวาดล้างไปหมดแล้ว และศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ กกประกาศ รับรองเป็นพื้นที่ปลอดภัย และส่งมอบพื้นที่ให้กับประชาชนในหมู่บ้านใช้ประโยชน์เป็นที่ เรียบร้อย แล้วเช่นกัน จึงขอยืนยันว่า "พื้นที่นี้ปลอดภัยจากทุ่นระเบิด" ผู้ใหญ่บ้านและคนขับเกวียน ซึ่งเป็น คนใน หมู่บ้านกกยืนยั นว่าเป็นเช่นนั้นจริง และทุ่งนาที่จะเดินทางผ่ านนี้ ได้ผ่านการทานามาแล้ วถึง 4 ฤดูกาล จึงมั่นใจได้ว่ามีความปลอดภัย จอห์นและแคทเธอรีนยอมเชื่อ จึงได้ตัดสินใจเดินทางด้วยเกวียนผ่านทุ่งนาแห่งนั้น ทันใดนั้น ล้อเกวียนวิ่งไปเหยียบบนรากไม้ของต้นไม้ใหญ่แห่งหนึ่ง ทาให้ UXO ที่ฝังอยู่ใต้รากไม้เกิดระเบิดขึ้น จอห์น, แคทเธอรีน, ไกด์ และคนขับเกวียน ได้รับบาดเจ็บสาหัส แบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่มถกแถลงกันโดยอิสระ (15 นาที)  กลุ่มที่ 1 จอห์นและแคทเธอรีน ผู้บาดเจกบ ต้องการฟ้องร้องผู้รับผิดชอบได้แก่ หน่วยปฏิบัติการทุ่น ระเบิดด้านมนุษยธรรมที่ 3, ศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ และผู้ใหญ่บ้าน พวกเขาควรจะ ฟ้องร้องด้วยข้อหาอะไรบ้าง  กลุ่มที่ 2 ถ้าคุณเป็นผู้บังคับหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรมที่ 3 คุณจะปกป้องตัวเองให้พ้น ผิดจากเหตุการณ์ ดังกล่าวได้อย่างไร  กลุ่มที่ 3 ถ้าคุณเป็นหัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ คุณจะปกป้องตัวเองให้พ้นจากความ รับผิดชอบต่อเหตุการณ์ ดังกล่าวได้อย่างไร  กลุ่มที่ 4 ถ้าคุณเป็นผู้ใหญ่บ้าน คุณจะแก้ตัวเรื่องนี้ว่าอย่างไร และจะป้องกันอย่างไรเพื่อไม่ให้ เหตุการณ์ เช่นนี้เกิดขึ้น อีกในอนาคต แต่ละกลุ่มนาเสนอ 8 นาที ?????
  • 15. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 15 การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากทุ่นระเบิด พันเอก ดร.สุชาต จันทรวงศ์ 1 พ.ย.2556 การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด (Mine Risk Education : MRE)4 หมายถึง กิจกรรมที่พยายามลดความเสี่ยงที่จะเกิดการบาดเจกบและเสียชีวิตจากทุ่นระเบิด/สรรพาวุธระเบิดที่ ยังไม่ระเบิด โดยเพิ่มความตระหนักและส่งเสริมการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมใน “กลุ่มเสี่ยง” ให้อยู่ในระดับที่ สามารถใช้ชีวิตอยู่ได้อย่างปลอดภัย กิจ กรรมที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรม สามารถแบ่งได้ออกเป็น 3 กิจกรรมใหญ่ๆ ได้แก่ 1. กิจกรรมการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด 2. กิจกรรมการกวาดล้างและเกกบกู้ทุ่นระเบิด 3. กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากทุ่นระเบิด ในทัศนะของผู้เขียนแล้ว กิจกรรมการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด ถือ เป็นกิจกรรมที่สาคัญที่สุด เพราะกิจกรรมนี้ คือ การป้องกันมนุษย์ไม่ให้เกิดการบาดเจกบหรือเสียชีวิตจากทุ่น ระเบิด หากกิจกรรมนี้สัมฤทธิ์ผล กลุ่มเสี่ยงมีความตะหนัก การบาดเจกบหรือเสียชีวิตกกจะไม่เกิดขึ้น กิจกรรม การช่ว ยเหลื อ ผู้ ป ระสบภั ย กก จ ะไม่ เ กิด ขึ้ น เช่ นกั น ส่ ว นการกวาดล้ า งและเกก บ กู้ทุ่ น ระเบิ ดกก เ ป็ นเรื่ องของ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะที่ได้รับการฝึกอบรมมาดีแล้ว มีการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐาน ย่อมไม่ก่อให้เกิดความสูญเสีย ใด ประเทศไทยให้ความสาคัญในเรื่องการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด นี้ น้อยมาก สังเกตได้จากงบประมาณที่ได้รับ และโครงสร้างการจัดหน่วยของหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้าน มนุษยธรรมต่างๆ ทั้งของภาครัฐบาล เอกชน และองค์กรที่ไม่ใช่ของรัฐบาล ที่แทบจะไม่มีชุดปฏิบัติงานด้า น MRE เลย หรือมีกเพียงแค่เป็นชุดเลกกๆ 4-5 คน ภายในองค์กรเท่านั้น ก ในคณะอนุกรรมการด้านการแจ้งเตือน ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชน เป็นอนุกรรมการ ่ 1 ใน 5 คณะ ซึ่งแต่งตั้งโดยนายกรัฐมนตรี มีอธิบดีกรมการปกครองหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน คณะอนุกรรมการ่ และผู้บริหารของหน่วยงานต่างๆ จากหลายกระทรวงร่วมเป็นคณะอนุกรรมการ คณะ กรรมอนุกรรมการ่ ชุดนี้ ปัจจุบัน ไม่มีการเคลื่อนไหวตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เหตุเพราะขาดการส่งมอบ งานต่อให้แก่ผู้ที่เข้ามาดารงตาแหน่งใหม่เมื่อมีการโยกย้ายสับเปลี่ยน การปฏิบัติงานจึงขาดความต่อเนื่อง กิจกรรมการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด จึงมาตกหนักอยู่ที่ศูนย์ปฏิบัติการทุ่น ระเบิดแห่งชาติ (ศทช.่( และหน่วยปฏิบัติการทุ่นระเบิดด้านมนุษยธรรม (นปท.( ที่ 1-4 แต่เพียงองค์กรเดียว กิจกรรมเกี่ยวกับการแจ้งเตือน่ ที่ ศทช.่ และ นปท.1-4 รับผิดชอบ เป็นไปในรูปแบบเดิมๆ ที่ เคยปฏิบัติต่อๆ กันมาขาดการประเมิน และติดตามผลว่ากิจกรรมดังกล่าวบรรลุตามความมุ่งหมายหรือไม่ ตัวชี้วัดประการหนึ่งที่เหกนได้ชัดกกคือ จานวนผู้ที่ประสบภัยจากทุ่นระเบิดในปีงบประมาณ 2556 (ต.ค.2555- 4 ศูนย์ปฏิบติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ. (2556). มาตรฐานการปฏิบัตการทุ่นระเบิดแห่งชาติ .กรุงเทพ่ : ศูนย์ปฏิบัติการทุ่น ั ิ ระเบิดแห่งชาติ .หน้า 26-4
  • 16. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 16 ก.ย.2556) ที่ผ่านมามีจานวนถึง 20 คน5 แยกเป็นบาดเจกบ 19 คน เสียชีวิต 1 คน หลังดูย้อนหลังไปอีก 2 ปี กก จะพบว่า ปีงบประมาณ 2555 มีผู้ประสบภัยจากทุ่นระเบิด จานวน 13 คน และปีงบประมาณ 2554 จานวน 23 คน การแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิดนี้ มีองค์ประกอบที่สาคัญกกคือ 1) ผู้ส่ง สาร 2) วิธีการส่งสาร 3) ผู้รับสาร 4) ผลที่เกิดขึ้น ผู้ส่งสาร ต้องรู้และเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า เนื้อหาที่เราต้องการส่ง ถึงผู้รับสารคืออะไร และรู้ว่า ผู้รับสารเป็นใคร กลุ่มใด ควรมีการสร้างและออกแบบเนื้อหา (Content Design) ให้เหมาะสมกับผู้รับสาร วิธีการส่งสาร มีหลากหลายวิธี ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เช่น การบรรยาย การจัดนิทรรศการ การ ติดป้ายแจ้งเตือน การออกประกาศ เป็นต้น วิธีการส่งสารต้องมีการออกแบบ (Communication Design) เช่นเดียวกัน ต้องสามารถเข้าถึงผู้รับสารได้โดยตรง และสามารถเข้าใจเนื้อหาได้ถ่องแท้ ผู้รับสาร คือ กลุ่มเสี่ยงที่อาจเกิด การบาดเจกบและเสียชีวิตจากทุ่นระเบิด และสรรพาวุธระเบิดที่ ยังไม่ระเบิดที่อยู่ในพื้นที่ CHA ซึ่งเกี่ยวข้องกับคนหลายกลุ่ม ผู้ส่งสารต้องแยกแยะและคัดกรองให้ออกว่า ผู้รับ สารมีกลุ่มใดบ้าง เลือกเนื้อหาในสารที่ส่งและวิธีการส่งสาร ให้เหมาะสมกับผู้รับสารในกลุ่มนั้นๆ ผลที่เกิดขึ้น หากผลที่เกิดขึ้นกับผู้รับสารเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของเนื้อหาที่ ผู้ส่งสารต้องการกก ถือว่าสาเรกจ แต่หากไม่เป็นไปตามที่ต้องการ ผู้ส่งสารต้องมีการทบทวนเรื่องของเนื้อหาและวิธีการส่งสารเสีย ใหม่ เพือให้มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม ่ องค์ป ระกอบการแจ้ งเตือนและให้ ความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากทุ่นระเบิด แสดงไว้ตามภาพ ด้านล่าง 5 ส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล. (2556). รายงานผลงานของส่วนประสานการปฏิบติและประเมินผล ประจาปี ั งบประมาณ 2556 . กรุงเทพ่ : ศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ. หน้า 49-50
  • 17. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ประจาปีงบประมาณ 2557 ของส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล 17 บทสรุป งานการแจ้งเตือนและให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของทุ่นระเบิด นับว่าเป็นงานที่ท้าทาย เพราะ เป็นงานที่สาคัญที่สุดที่จะป้องกันไม่ให้มนุษย์ต้องได้รับบาดเจ็บหรือสูญเสียชีวิตจากภัยของทุ่นระเบิด การ ออกแบบเนื้อหา (Content design) ควรให้มีความเหมาะสมกับกลุ่มของผู้รับสาร (กลุ่มเป้าหมาย( ซึ่งจะเป็น สิ่งดึงดูดใจให้เขาเหล่านั้นเขามารับสาร และทาความเข้าใจกับมัน ในปัจจุบันเนื้อหาที่ปรากฏให้เหกน ทั่วไป ได้แก่ แผ่นพับ แผ่นชาร์ต รูปภาพ แบบจาลองทุ่นระเบิด ข้อความประชาสัมพันธ์ ข้อความแจ้งเตือน แผนที่ แสดงขอบเขตและที่ตั้งของพื้นที่อันตราย เป็นต้น สาหรั บ วิธีการส่งสารหรื อช่องทางการส่ งสาร ควรจะต้องมีการออกแบบ (Communication design) เช่นเดียวกัน วิธีการส่งสารที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ การบรรยายให้ความรู้ การจัดนิทรรศการ การ ประชุ ม หมู่ บ้ า น ชุ ม ชน การปฐมนิ เ ทศเจ้ าหน้ า ที่ ท หาร ต ารวจ ป่ า ไม้ ที่ เ ข้ า ปฏิ บั ติใ หม่ ใ นพื้ น ที่ คั ด เอ้ า ท์ ประชาสัมพันธ์ตามแหล่งชุมชน หรือชุมทางคมนาคม ป้ายแจ้งเตือนในพื้นที่ ป้ายแสดงแผนที่ตั้งหรือขอบเขต ของพื้นที่อันตราย เป็นต้น วิธีการส่งสาร (ช่องทาง( ควรจะต้องมีการออกแบบ (Communication Design) ที่ดีเพื่อ สามารถส่งสารให้เข้าถึงผู้รับสารได้โดยตรง ทีขอแนะนาเพิ่มเติมให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติงานด้าน MRE ในฐานะผู้ส่งสาร ่ ได้ ล องพิจ ารณาน ามาใช้ เช่น สื่ อมวลชนท้ องถิ่ น หนัง สื อพิ มพ์ ท้อ งถิ่น นั กจั ดรายการวิท ยุชุม ชน สถานี วิทยุกระจายเสียงของกรมประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ สถานีโทรทัศน์เคเบิลทีวีในท้องถิ่น หอกระจายข่าวของ หมู่บ้าน สานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัด ศูนย์แจ้งเตือนภัยของท้องถิ่น และการใช้เครือ ข่ายสังคมออนไลน์ เช่น Facebook LINE และการสร้างเวกบบลกอก เป็นต้น ******************************************** สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ส่วนประสานการปฏิบัติและประเมินผล ศูนย์ปฏิบัติการทุ่นระเบิดแห่งชาติ ศูนย์บัญชาการทางทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย 183 ถ.สรงประภา แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กทม.10210 โทร.0-2929-2112 โทรสาร. 0-2929-2121 อีเมล์ : oce_tmac@hotmail.com FB : www.facebook.com/COED.TMAC