SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
รักษ์ศิลปากร กลุ่มที่ 74 ( CHEM CHEM II) วิชา มนุษย์กับการสร้างสรรค์ ( Man and Creativity ) มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
ที่มา ในปัจจุบันสังคมไทยได้มีการรณรงค์ให้มีการอนุรักษ์ทรัพยากรต่างๆมากมาย ไม่ว่าจะเป็นสิ่งแวดล้อม พลังงาน วัฒนธรรม ฯลฯ เพื่อให้คงอยู่ในสังคมต่อไป ซึ่งจะเห็นได้จากมีหน่วยงานต่างๆที่มีการเริ่มรณรงค์เกี่ยวกับเรื่องนี้มากขึ้น ดังนั้นทางกลุ่มของเราจึงนำแนวคิดเหล่านี้มาประยุกต์ใช้กับมหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งจะเห็นได้ว่ามหาวิทยาลัยศิลปากรของเราได้ก่อตั้งขึ้นมาเป็นเวลานานแล้ว และมีสถานที่ที่โดดเด่นมากมายที่เป็นที่รู้จักของทั้งนักศึกษาและบุคคลทั่วไป อีกทั้งยังเป็นสถานที่ที่ใช้ในการทำกิจกรรมต่างๆมากมาย โดยอาจจะไม่ได้คำนึงถึงผลที่จะตามมาของการใช้สถานที่นั้นๆ ในฐานะที่เราก็เป็นส่วนหนึ่งของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงอยากจะทราบความคิดเห็นของนักศึกษาส่วนใหญ่ในมหาวิทยาลัยศิลปากรแห่งนี้ว่าอยากจะอนุรักษ์สถานที่ใดในมหาวิทยาลัยแห่งนี้มากที่สุด จึงเป็นที่มาของหัวข้อ “รักษ์ศิลปากร”
กระบวนการทำงาน 1.อาจารย์มอบหมายงาน Final Project2.สมาชิกภายในกลุ่มปรึกษาและช่วยกันคิดหัวข้อที่จะใช้ในการทำงาน 3.นำเสนอหัวข้อต่างๆต่ออาจารย์ ซึ่งหัวข้อที่ได้คือ “รักษ์ศิลปากร” โดยทางกลุ่มของเราจะทำการสำรวจจากแบบสอบถามจำนวน 100 คน แบ่งเป็น 5 คณะ คณะละ 20 คน แล้วนำเสนอผลงานออกมาในรูปแบบ Power Point 4.ออกแบบรูปแบบแบบสอบถามเพื่อใช้ในการสำรวจ5.ส่งตัวอย่างแบบสอบถามให้อาจารย์ตรวจสอบความถูกต้องว่าสามารถนำมาใช้ได้หรือไม่
6.ทำการแก้ไขแบบสอบถามตามที่อาจารย์ได้เสนอแนะมา จนได้รูปแบบที่สามารถนำไปใช้ได้ คือทางกลุ่มของเราได้นำเสนอสถานที่จำนวน 10 สถานที่ ซึ่งมีความโดดเด่นในมหาวิทยาลัยศิลปากรแห่งนี้ โดยให้เลือกเพียงสถานที่เดียวที่คิดว่าอยากจะรักษ์มากที่สุด และมีช่องแสดงความคิดเห็นอื่นๆสำหรับสถานที่ที่นอกเหนือจากที่ทางกลุ่มเรากำหนดไว้ พร้อมเหตุผลของแต่ละบุคคล7.ทำการออกสำรวจทั้ง 5 คณะ (คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม,คณะเภสัชศาสตร์,คณะศึกษาศาสตร์,คณะวิทยาศาสตร์, คณะอักษรศาสตร์) โดยไม่ได้เจาะจงเพศและชั้นปี  พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือในการทำแบบสอบถามเป็นอย่างดี 8.สรุปผลการสำรวจ9.ทำรูปเล่มรายงานและPower Point10.นำเสนอผลงานต่ออาจารย์
สรุปผลการดำเนินงาน
เหตุผล/ข้อเสนอแนะ อันดับที่ 1สะพานสระแก้ว 	- เป็นสถานที่ที่เป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ 	- บรรยากาศดี 	- เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ 	- เป็นสถานที่ที่นักศึกษารู้จัก 	- เป็นสถานที่ที่สวยงามเหมาะแก่การถ่ายรูป หรือจัดกิจกรรมต่างๆได้มากมาย
อันดับที่ 2หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ - เป็นแหล่งที่รวบรวมความรู้หลายอย่างที่เป็นประโยชน์แก่นักศึกษา คณาจารย์ และบุคคลทั่วไป - เป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูลในการเรียน - เป็นสถานที่ที่สงบเหมาะแก่การอ่านหนังสือและทบทวนบทเรียน
อันดับที่ 3อนุสาวรีย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล - เป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงบุคคลที่ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ขึ้นมา - เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อถึงคณะศึกษาศาสตร์ - เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่เคารพนับถือของนักศึกษา
อันดับที่ 4ศาลหน้าคณะอักษรศาสตร์ - เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธ์ - เป็นที่เคารพบูชาของนักศึกษาและคณาจารย์ 	- เป็นสถานที่ที่ตั้งมานานแล้ว จึงไม่ควรรื้อถอนแต่ควรปรับปรุงรักษาไว้
อันดับที่ 5 ศาลาแปดเหลี่ยม - เป็นที่ที่สวยงาม - เป็นจุดเด่นหนึ่งในมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง สนามจันทร์ - เป็นสถานที่ที่ตั้งมานานหลายปีแล้ว - บรรยากาศดี นั่งสบาย
อันดับที่ 6อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล - อากาศเย็นสบายเหมาะแก่การไปนั่งอ่านหนังสือ - บริเวณชั้น 1 ของอาคารสามารถทำรายงานและปรึกษากันได้
อันดับที่ 7โรงอาหารเพชรรัตน - เป็นสถานที่ที่มีคนไปรับประทานอาหารจำนวนมากจึงควรมีการทำความสะอาด หรือรักษาให้ถูกสุขลักษณะ - เป็นสถานที่ที่ไม่เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา
อันดับที่ 8 Sport Complex - เป็นสถานที่ที่ใช้ทำกิจกรรมบ่อยครั้ง - มีบริเวณแคบ ไม่พอต่อความต้องการ
อันดับที่ 9 โรงอาหารสระแก้ว (ยูเนี่ยน) - เป็นสถานที่ที่มีขนาดเล็กไม่เหมาะแก่จำนวนนักศึกษา
อันดับที่ 10อาคารวัชรนาฏยสภา (A4) - มีสภาพทรุดโทรม ควรจะบำรุงรักษาเพื่อให้เป็นสถานที่ที่มีการแสดงละครเวทีให้คนรุ่นหลังได้ชมต่อไป
จำแนกตามเพศ
จำแนกตามชั้นปี
ภาคผนวก
รักษ์ศิลปากร 1.ข้อมูลเบื้องต้น คณะ  …………………………………………………… เพศ	(   ) ชาย	(   ) หญิง	ชั้นปีที่………. 2.แบบสอบถาม คุณอยากจะรักษ์ศิลปากรข้อใดมากที่สุด ( X )  อื่นๆ ………………………………………..... เหตุผล……………………………….……………………………………….………..…………..……………………………….
สมาชิกภายในกลุ่ม นางสาวกมลชนก 	อึ้งรัศมี		07520155	คณะวิทยาศาสตร์นางสาวจันจิรา	จรามรบูรพงศ์	07520168คณะวิทยาศาสตร์นางสาวสุภาพร	ว่องไวอมรเวช	07520247คณะวิทยาศาสตร์นายกรัสนัย	สุขโชคนำชัย 09521154คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯนายกฤตลักษณ์	อันเกตุ		09521155คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯนายกฤษณวรรธน์ผลประสาร09521156คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯนางสาวจิรภัทร	กุลปัญญาพินิจ	09521161คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯนายณัฐพล	บุญกอง		09521173	คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯนางสาวพรธีรา 	เจนจัดการกิจ	09521202คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯนางสาวสิรินภรณ์	เพ็งแพง		09521224	คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Professional Attire
Professional AttireProfessional Attire
Professional Attirecareercore
 
Business attire ppt
Business attire pptBusiness attire ppt
Business attire ppttelecomisttm
 
Corporate dressing etiquettes
Corporate dressing etiquettesCorporate dressing etiquettes
Corporate dressing etiquettesMoocs Engine
 
Dresscode gov't official and employees
Dresscode gov't official and employeesDresscode gov't official and employees
Dresscode gov't official and employeesAnna Marie Sia
 
Dress Code Men & Women
Dress Code   Men & WomenDress Code   Men & Women
Dress Code Men & WomenShirish Beke
 
Dress For Success
Dress For Success Dress For Success
Dress For Success aluthe
 

Destaque (6)

Professional Attire
Professional AttireProfessional Attire
Professional Attire
 
Business attire ppt
Business attire pptBusiness attire ppt
Business attire ppt
 
Corporate dressing etiquettes
Corporate dressing etiquettesCorporate dressing etiquettes
Corporate dressing etiquettes
 
Dresscode gov't official and employees
Dresscode gov't official and employeesDresscode gov't official and employees
Dresscode gov't official and employees
 
Dress Code Men & Women
Dress Code   Men & WomenDress Code   Men & Women
Dress Code Men & Women
 
Dress For Success
Dress For Success Dress For Success
Dress For Success
 

Semelhante a รักษ์ศิลปากร

เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)Kobwit Piriyawat
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมWanlapa Kst
 
ใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษาKrittamook Sansumdang
 
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้สมเกียรติ เพ็ชรมาก
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตรThanich Suwannabutr
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนKlangpanya
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddjaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้thanakorn
 
ตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
ตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
ตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41สำเร็จ นางสีคุณ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗jaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗jaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7tum521120935
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 

Semelhante a รักษ์ศิลปากร (20)

เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
ใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 พัฒนาเพื่อการศึกษา
 
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
 
Sociel
SocielSociel
Sociel
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
ตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
ตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
ตัวอย่าง บทที่1-2 การสำรวจทัศนคติหรือความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
 
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41แบบสอบถาม  ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ นักท่องเที่ยว หน้า 41
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
Cyber Education(Pongsak)
Cyber Education(Pongsak)Cyber Education(Pongsak)
Cyber Education(Pongsak)
 
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
 

Mais de Gu Arm Chem-Eng VI

รักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรรักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรGu Arm Chem-Eng VI
 
รักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรรักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรGu Arm Chem-Eng VI
 
รักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรรักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรGu Arm Chem-Eng VI
 
รักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรรักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรGu Arm Chem-Eng VI
 
รักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรรักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรGu Arm Chem-Eng VI
 

Mais de Gu Arm Chem-Eng VI (7)

งานFinal
งานFinalงานFinal
งานFinal
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
รักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรรักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากร
 
รักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรรักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากร
 
รักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรรักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากร
 
รักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรรักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากร
 
รักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากรรักษ์ศิลปากร
รักษ์ศิลปากร
 

รักษ์ศิลปากร

  • 1. รักษ์ศิลปากร กลุ่มที่ 74 ( CHEM CHEM II) วิชา มนุษย์กับการสร้างสรรค์ ( Man and Creativity ) มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
  • 2. ที่มา ในปัจจุบันสังคมไทยได้มีการรณรงค์ให้มีการอนุรักษ์ทรัพยากรต่างๆมากมาย ไม่ว่าจะเป็นสิ่งแวดล้อม พลังงาน วัฒนธรรม ฯลฯ เพื่อให้คงอยู่ในสังคมต่อไป ซึ่งจะเห็นได้จากมีหน่วยงานต่างๆที่มีการเริ่มรณรงค์เกี่ยวกับเรื่องนี้มากขึ้น ดังนั้นทางกลุ่มของเราจึงนำแนวคิดเหล่านี้มาประยุกต์ใช้กับมหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งจะเห็นได้ว่ามหาวิทยาลัยศิลปากรของเราได้ก่อตั้งขึ้นมาเป็นเวลานานแล้ว และมีสถานที่ที่โดดเด่นมากมายที่เป็นที่รู้จักของทั้งนักศึกษาและบุคคลทั่วไป อีกทั้งยังเป็นสถานที่ที่ใช้ในการทำกิจกรรมต่างๆมากมาย โดยอาจจะไม่ได้คำนึงถึงผลที่จะตามมาของการใช้สถานที่นั้นๆ ในฐานะที่เราก็เป็นส่วนหนึ่งของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยศิลปากร จึงอยากจะทราบความคิดเห็นของนักศึกษาส่วนใหญ่ในมหาวิทยาลัยศิลปากรแห่งนี้ว่าอยากจะอนุรักษ์สถานที่ใดในมหาวิทยาลัยแห่งนี้มากที่สุด จึงเป็นที่มาของหัวข้อ “รักษ์ศิลปากร”
  • 3. กระบวนการทำงาน 1.อาจารย์มอบหมายงาน Final Project2.สมาชิกภายในกลุ่มปรึกษาและช่วยกันคิดหัวข้อที่จะใช้ในการทำงาน 3.นำเสนอหัวข้อต่างๆต่ออาจารย์ ซึ่งหัวข้อที่ได้คือ “รักษ์ศิลปากร” โดยทางกลุ่มของเราจะทำการสำรวจจากแบบสอบถามจำนวน 100 คน แบ่งเป็น 5 คณะ คณะละ 20 คน แล้วนำเสนอผลงานออกมาในรูปแบบ Power Point 4.ออกแบบรูปแบบแบบสอบถามเพื่อใช้ในการสำรวจ5.ส่งตัวอย่างแบบสอบถามให้อาจารย์ตรวจสอบความถูกต้องว่าสามารถนำมาใช้ได้หรือไม่
  • 4. 6.ทำการแก้ไขแบบสอบถามตามที่อาจารย์ได้เสนอแนะมา จนได้รูปแบบที่สามารถนำไปใช้ได้ คือทางกลุ่มของเราได้นำเสนอสถานที่จำนวน 10 สถานที่ ซึ่งมีความโดดเด่นในมหาวิทยาลัยศิลปากรแห่งนี้ โดยให้เลือกเพียงสถานที่เดียวที่คิดว่าอยากจะรักษ์มากที่สุด และมีช่องแสดงความคิดเห็นอื่นๆสำหรับสถานที่ที่นอกเหนือจากที่ทางกลุ่มเรากำหนดไว้ พร้อมเหตุผลของแต่ละบุคคล7.ทำการออกสำรวจทั้ง 5 คณะ (คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม,คณะเภสัชศาสตร์,คณะศึกษาศาสตร์,คณะวิทยาศาสตร์, คณะอักษรศาสตร์) โดยไม่ได้เจาะจงเพศและชั้นปี พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือในการทำแบบสอบถามเป็นอย่างดี 8.สรุปผลการสำรวจ9.ทำรูปเล่มรายงานและPower Point10.นำเสนอผลงานต่ออาจารย์
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12. เหตุผล/ข้อเสนอแนะ อันดับที่ 1สะพานสระแก้ว - เป็นสถานที่ที่เป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ - บรรยากาศดี - เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ - เป็นสถานที่ที่นักศึกษารู้จัก - เป็นสถานที่ที่สวยงามเหมาะแก่การถ่ายรูป หรือจัดกิจกรรมต่างๆได้มากมาย
  • 13. อันดับที่ 2หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ - เป็นแหล่งที่รวบรวมความรู้หลายอย่างที่เป็นประโยชน์แก่นักศึกษา คณาจารย์ และบุคคลทั่วไป - เป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูลในการเรียน - เป็นสถานที่ที่สงบเหมาะแก่การอ่านหนังสือและทบทวนบทเรียน
  • 14. อันดับที่ 3อนุสาวรีย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล - เป็นสถานที่ที่ทำให้ระลึกถึงบุคคลที่ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ขึ้นมา - เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อถึงคณะศึกษาศาสตร์ - เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่เคารพนับถือของนักศึกษา
  • 15. อันดับที่ 4ศาลหน้าคณะอักษรศาสตร์ - เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธ์ - เป็นที่เคารพบูชาของนักศึกษาและคณาจารย์ - เป็นสถานที่ที่ตั้งมานานแล้ว จึงไม่ควรรื้อถอนแต่ควรปรับปรุงรักษาไว้
  • 16. อันดับที่ 5 ศาลาแปดเหลี่ยม - เป็นที่ที่สวยงาม - เป็นจุดเด่นหนึ่งในมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง สนามจันทร์ - เป็นสถานที่ที่ตั้งมานานหลายปีแล้ว - บรรยากาศดี นั่งสบาย
  • 17. อันดับที่ 6อาคารหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล - อากาศเย็นสบายเหมาะแก่การไปนั่งอ่านหนังสือ - บริเวณชั้น 1 ของอาคารสามารถทำรายงานและปรึกษากันได้
  • 18. อันดับที่ 7โรงอาหารเพชรรัตน - เป็นสถานที่ที่มีคนไปรับประทานอาหารจำนวนมากจึงควรมีการทำความสะอาด หรือรักษาให้ถูกสุขลักษณะ - เป็นสถานที่ที่ไม่เพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา
  • 19. อันดับที่ 8 Sport Complex - เป็นสถานที่ที่ใช้ทำกิจกรรมบ่อยครั้ง - มีบริเวณแคบ ไม่พอต่อความต้องการ
  • 20. อันดับที่ 9 โรงอาหารสระแก้ว (ยูเนี่ยน) - เป็นสถานที่ที่มีขนาดเล็กไม่เหมาะแก่จำนวนนักศึกษา
  • 21. อันดับที่ 10อาคารวัชรนาฏยสภา (A4) - มีสภาพทรุดโทรม ควรจะบำรุงรักษาเพื่อให้เป็นสถานที่ที่มีการแสดงละครเวทีให้คนรุ่นหลังได้ชมต่อไป
  • 23.
  • 24.
  • 26.
  • 27.
  • 29. รักษ์ศิลปากร 1.ข้อมูลเบื้องต้น คณะ …………………………………………………… เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง ชั้นปีที่………. 2.แบบสอบถาม คุณอยากจะรักษ์ศิลปากรข้อใดมากที่สุด ( X ) อื่นๆ ………………………………………..... เหตุผล……………………………….……………………………………….………..…………..……………………………….
  • 30. สมาชิกภายในกลุ่ม นางสาวกมลชนก อึ้งรัศมี 07520155 คณะวิทยาศาสตร์นางสาวจันจิรา จรามรบูรพงศ์ 07520168คณะวิทยาศาสตร์นางสาวสุภาพร ว่องไวอมรเวช 07520247คณะวิทยาศาสตร์นายกรัสนัย สุขโชคนำชัย 09521154คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯนายกฤตลักษณ์ อันเกตุ 09521155คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯนายกฤษณวรรธน์ผลประสาร09521156คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯนางสาวจิรภัทร กุลปัญญาพินิจ 09521161คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯนายณัฐพล บุญกอง 09521173 คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯนางสาวพรธีรา เจนจัดการกิจ 09521202คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯนางสาวสิรินภรณ์ เพ็งแพง 09521224 คณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ