SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 12
Baixar para ler offline
ใบความรู้ท่ี 1

เรื่อง หลักการสร้างหนังสั้น

การเขียน Storyboard
Posted on 21/06/2011 by oilnatnarin




          การเขียนสตอรี่บอร์ดเป็นขั้นตอนของการเตรียมการนาเสนอข้อความ ภาพ รวมทั้ง สื่อในรูปของ
มัลติมีเดียต่างๆ ลงในกระดาษ เพื่อให้การนาเสนอข้อความ และสื่อในรูปแบบต่างๆ เหล่านี้เป็นไปอย่าง
เหมาะสมบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ต่อไป ขณะที่ผังงานนาเสนอลาดับ และขั้นตอนของการตัดสินใจ สตอรี่บอร์ด
นาเสนอเนื้อหา และลักษณะของการนาเสนอ ขั้นตอนการสร้างสตอรี่บอร์ดรวมไปถึงการเขียนสคริปต์ (ซึ่ง
สคริปต์ในที่นี้ คือ เนื้อหา) ที่ผู้ใช้จะได้เห็นบนหน้าจอซึ่งได้แก่ เนื้อหา ข้อมูล คาถาม ผลป้อนกลับ คาแนะนา
คาชี้แจง ข้อความเรียกความสนใจ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ
      Storyboard คือ การสร้างภาพให้เห็นลาดับขั้นตอนตามเนื้อเรื่องที่ต้องการ โดยเฉพาะการสร้าง
          ภาพเคลื่อนไหว
      รายละเอียดที่ควรมีใน Storyboard ได้แก่ คาอธิบายแต่ละสื่อที่ใช้ (ข้อความ รูปภาพ
          ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดิโอ)
การจัดทา Storyboard
        ตัวอย่างเช่นในหัวข้อ Presentations จากโฟลว์ชาร์ตก็เป็นการแจงแจงรายละเอียดลงไปว่าในส่วนนี้
ประกอบด้วยภาพ ข้อความ ภาพเครื่องไหว มีเสียงหรือเพลงประกอบหรือไม่ และมีการเรียงลาดับการทางาน
อย่างไร มีการวางหน้าจออย่างไรรวมทั้งการกาหนดแหล่งของข้อมูล เช่น ภาพและเสียงว่าได้มาอย่างไรจาก
แหล่งไหน
การเตรียมข้อมูลสาหรับ Storyboard
          ข้อมูลสาหรับ Storyboard อาจมีทั้งภาพ เสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว (Animation Movies) หรือ
อื่นๆ ซึ่งจะต้องมีการจัดเตรียมขึ้นมาก่อนที่จะนาไปใส่โปรแกรม มีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องดังนี้
      การจัดเตรียมภาพสาหรับโปรแกรม
   การจัดเตรียมเสียง
      สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation File)
      ตัวอย่าง Storyboard

ข้อปฏิบัติในการจัดทา Story Board
1. พิมพ์ Story Board Template ลงบนกระดาษ A4 ขนาดตัวอักษร 16 เท่านั้น




2. วาดภาพและลงสีแนวความคิดของท่านลงในช่องจานวนไม่น้อยกว่า 16 ช่อง แต่ไม่เกิน 32 ช่อง โดยแต่ละ
ช่องจะต้องเป็นภาพที่สื่อแนวความคิดสร้างสรรค์และสอดคล้องกับหัวข้อการแข่งขัน เพื่อให้คณะกรรมการ
     ได้เข้าใจลักษณะการดาเนินเรื่อง
3. เขียนคาบรรยายของแต่ละภาพลงในช่อง “ภาพ” และคาบรรยายเสียงของแต่ละภาพลงในช่อง “เสียง”
4. ห้ามไม่ให้พิมพ์ภาพจากผลงานที่สาเร็จแล้วมาตัดแปะลงบนช่องดังกล่าว
วิธีการเขียน Story Board
          Storyboard คือการเขียนกรอบแสดงเรื่องราวที่สมบูรณ์ของภาพยนตร์หรือหนังแต่ละเรื่อง โดยมี
การแสดงรายละเอียดที่จะปรากฏในแต่ละฉากหรือแต่ละหน้าจอ เช่น ข้อความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว
เสียงดนตรี เสียงพูด และแต่ละอย่างนั้นมีลาดับของการปรากฏ ว่าอะไรจะปรากฏขึ้นก่อน หลัง อะไรจะ
ปรากฏพร้อมกัน เป็นการออกแบบอย่างละเอียดในแต่ละหน้าจอก่อนที่จะลงมือสร้างเอนิเมชันหรือหนังขึ้นมา
จริงๆ
การทา Storyboard
          การทา story board เป็นการสร้างตารางขึ้นมาเพื่อร่างภาพลงไป ตามลาดับขั้นตอนของเรื่องตั้งแต่
ต้นจนจบเพื่อให้ทุกๆฝ่ายสามารถ มองเห็นภาพรวมของงานที่จะลงมือทาได้ล่วงหน้า ซึ่งหากมีข้อที่ต้อง
แก้ไขใดๆเกิดขึ้นก็สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ สามารถปรับปรุง การทา Storyboard ใหม่ได้ การทา
Storyboard นั้นโดยหลักแล้วจะเป็นต้นแบบของการนาไปสร้างภาพจริง และเป็นตัวกาหนดในการ
ทางานอื่นๆไปด้วยเช่น เสียงพากย์ เสียงดนตรี เสียงประกอบอื่นๆ special effect จึงเป็นการร่างภาพ พร้อม
กับการระบุรายละเอียดที่ จาเป็นต้องทาลงไป.

ตัวอย่าง Storyboard




ตัวอย่างการเตรียมเรื่อง/บท

               บทภาพยนตร์แอนิเมชั่น ความยาว 4 นาที
               เรื่องสามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่ ตอน แขนกุด หูขาด ตาบอด
               เขียนบทโดย คมกฤช มานนท์
ลาดับ                               เหตุการณ์
                              1                หนูสามตัวกาลังรุมแย่งข้าวโพดกัน
                              2                แมวแดงใหญ่แอบซุ่มดูอยู่
                              3                หนูสามตัวลงมือลงไม้กันเข้าแล้ว

           สิ่งแรกที่เราจะต้องทาในการสร้างภาพยนตร์ เรื่องที่เราทาจะเป็นอย่างไรนั้นขึนอยู่กับวัตถุประสงค์ว่า
                                                                                      ้
เราจะนาเอาไปใช้ในโอกาสอะไร เช่นอาจจะทาเพื่อฉายทางโทรทัศน์ ฉายทางเว็ปไซต์ หรือในโรงภาพยนตร์
เนื้อเรื่องที่ดีก็คือต้องตอบสนองวัตถุประสงค์นั้นๆได้นั่นเอง ซึ่งจะคานึงถึงความสั้น-ยาว ของเรื่องด้วย และพอ
เราได้เนื้อเรื่องแล้วก็บันทึกเอาไว้แล้วเขียนออกมาเป็นบทภาพยนตร์ซึ่งวิธีการเขียนบทภาพยนตร์นั้นมีหลาย
แบบ ในที่นี้ขอยกตัวอย่างการเขียนบทที่ใช้ในการทาเอนิเมชั่นเรื่องสามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่ จะเป็น
ลักษณะที่ประยุกต์ขึ้นใช้ใหม่ เพราะเป็นหนังใบ้ คือตัวการ์ตูนไม่พูดอะไร ดังนั้นตรงช่องลาดับเรื่องราวสามารถ
เปลี่ยนให้เป็นเสียงได้การออกแบบตัวละคร




         การออกแบบตัวละครเป็นขั้นตอนของสร้างตัวละครขึ้นมาตามเนื้อเรื่องที่เราสร้างขึ้น โดยตัวละครใดๆ
ก็ตาม ถ้าเราระบายสีดาลงไปในตัวละครนั้นทั้งตัวซึ่งจะทาให้มองเห็นแต่โครงร่างเท่านั้น หากตัวละครตัวนั้นดู
โดดเด่นและมีบุคลิกที่สามารถจดจาได้ง่าย นั่นละที่เรียกว่าตัวละครที่ดี นอกจากนี้ยังมีสิ่งที่เราต้องคานึงถึงอีก
มากมายเช่นความสวยงาม และสิ่งหนึ่งที่ทาเมื่อลงมือออกแบบสามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่คือ เรียบง่าย และ
มีบุคลิกภาพเฉพาะที่เป็นตัว นั่นเป็นเพราะเชื่อว่ามันจะช่วยทาให้ขั้นตอนการลงมือวาดจริงนั้นจะดาเนินไปได้
อย่างราบรื่น ซึ่งก็เป็นเช่นนันจริงๆ และสาหรับภาพประกอบด้านบนคือสามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่ในร่างแรก
                             ้
ก่อนที่จะพัฒนาขัดเกลาแบบจนได้ตัวจริง
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Story board)
        หลายคนอาจจะกลัวว่า ตัวเองวาดรูปไม่เก่งแล้วจะวาดสตอรี่บอร์ดไม่ได้ ไม่เป็นความจริงเลย เพราะ
การวาดสตอรี่บอร์ดเป็นเพียงรูปที่วาดง่ายๆ ก็ได้ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อถ่ายทอดไอเดีย (Idea) หรือความคิดว่า
ภาพควรออกมาอย่างรบนจอภาพยนตร์
        การเขียนสตอรี่บอร์ด แตกต่างจากการวาดภาพการ์ตูน หรือภาพที่เน้นความสวยงามแบบศิลปะ เป็น
การร่างภาพอย่างคร่าวๆ เท่านั้น วัตถุประสงค์เพื่อนาไปสร้างเป็นภาพเคลื่อนไหว เช่น ภาพยนตร์ การ์ตูน
โฆษณา สารคดี เป็นต้น โดยคานึงถึงมุมกล้อง อาจมีบทสนทนาหรือไม่มีบทสนทนาก็ได้

ความหมายของสตอรี่บอร์ด (Story Board)
          สตอรี่บอร์ดคือ การเขียนภาพนิ่งเพื่อสร้างเป็นภาพเคลื่อนไหวในรูปของสื่อมัลติมีเดีย (Multimedia)
หรือสื่อประสม หมายถึงสื่อหลายแบบ เป็นการใช้สื่อในหลายรูปแบบ ทั้งข้อความ เสียง รูปภาพหรือ
ภาพเคลื่อนไหว เพื่อกาหนดแนวทางให้ทีมผู้ผลิตเกิดความเข้าใจไปในแนวทางเดียวกันในการถ่ายทาเป็น
ภาพเคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ภาพยนตร์ ภาพยนตร์โฆษณา ภาพยนตร์สั้น ภาพยนตร์การ์ตูน ภาพยนตร์
สารคดี หรือแม้แต่การทาผลงาน โดยแสดงออกถึงความต่อเนื่องของการเล่าเรื่อง จุดประสงค์ของสตอรี่บอร์ด
คือ เพื่อการเล่าเรื่อง ลาดับเรื่อง มุมกล้อง ภาพไม่จาเป็นต้องละเอียดมาก แค่บอกองค์ประกอบสาคัญได้ ตา
แหน่งตัวละครที่สัมพันธ์กับฉากและตัวละครอื่นๆ มุมกล้อง แสงเงา เป็นการ สเก็ตซ์ภาพของเฟรม (Shot)
ต่างๆ จากบท เหมือนการ์ตูนและวาดตัวละครเป็นวงกลม สี่เหลี่ยม ฉากเป็นสี่เหลี่ยม การสร้างสตอรี่บอร์ดจะ
ช่วยให้ Producer และผู้กากับได้เห็นภาพของรายการที่จะถ่ายทาเป็นรูปธรรมชัดเจนขึ้นได้ในแต่ละเฟรมที่จะ
ดาเนินการ
ส่วนประกอบของสตอรี่บอร์ด
         สตอรี่บอร์ด ประกอบด้วยชุดของภาพ Sketches ของ shot ต่างๆ พร้อมคาบรรยายหรือบทสนทนา
ในเรื่อง อาจเขียนเรื่องย่อและบทก่อน รือ Sketches ภาพก่อน แล้วจึงใส่คาบรรยายที่จาเป็นลงไป สิ่งสาคัญที่
ต้องพิจารณาคือ ภาพและเสียงต้องให้ไปด้วยกัน ได้ อาจมีบทสนทนาหรือไม่มีบทสนทนาก็ได้ หรืออาจมีบท
บรรยายหรือไม่มีบทบรรยายก็ได้ โดยมีเสียงประกอบด้วยเสียงได้แก่ เสียงดนตรี เสียงธรรมชาติหรือเสียงอื่น ๆ
สาหรับการผลิตรายการที่สั้นๆ อย่างภาพยนตร์โฆษณา สามารถทาโดยใช้สตอรี่บอร์ดเป็นหลัก มิต้องเขียนบท
หรือเขียนสคริปต์ขึ้นมา
ตัวอย่าง Storyboard




ความรู้พื้นฐานก่อนเขียนสตอรี่บอร์ด
ก่อนเขียนสตอรี่บอร์ดจะต้องศึกษาการเขียนเรื่อง บทบรรยาย (Notation) รวมทั้งมุมกล้องให้เข้าใจ
ก่อน จึงจะสามารถเขียนสตอรี่บอร์ดได้
ศิลปะการเล่าเรื่อง ศิลปะการเล่าเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นนิทาน นิยาย ละครหรือภาพยนตร์ ล้วนแต่มีรากฐานแบบ
เดียวกัน นั่นคือการเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นของมนุษย์หรือสัตว์ หรือแม้แต่อะไรก็ตามที่เกิดขึ้นช่วงเวลาใดเวลา
หนึ่ง ณ สถานที่ใดที่หนหนึ่งเสมอ ฉะนั้น องค์ประกอบที่สาคัญที่ขาดไม่ได้คือ ตัวละคร สถานที่และเวลา สิ่ง
สาคัญในการเขียนบทหนังสั้นก็คือ การเริ่มค้นหาวัตถุดิบหรือแรงบันดาลใจ ให้ได้ว่า เราอยากจะพูด จะนา
เสนอเรื่องเกี่ยวกับอะไร ตัวเราเองมีแนวความคิดเกี่ยวกับเรื่องนันๆ อย่างไร ซึ่งแรงบันดาลใจในการเขียนบทที่
                                                                 ้
เราสามารถนามาใช้ในก็คือ ตัวละคร แนวความคิดและเหตุการณ์ ควรจะมองหาวัตถุดิบในการสร้างเรื่องให้
แคบอยู่ในสิ่งที่เรารู้สึก รู้จริง เพราะคนทาหนังสั้นมักจะทาเรื่องที่ไกลตัว หรือไม่กไกลเกินจนทาให้เราไม่
                                                                                   ็
สามารถจากัดขอบเขตได้
การเขียนเรื่องสั้น 3
การเขียนเรื่องสั้น ต้องให้กระชับ ตัวละครมีบทสนทนาไม่มาก เทคนิคการเขียนเรื่องสั้น มีดังนี้
1. ต้องมีการระบายสภาพและบรรยากาศ (Local Color) หมายถึงการพรรณนาภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อนา
ความคิดของผู้อ่านให้ซาบซึ้งในท้องเรื่อง ให้เห็นฉากที่เราวาดด้วย ตัวอักษรนันต้องชัดเจน
                                                                               ้
2. การวางโครงเรื่อง (Plot) มีการเริ่มนาเรื่องจนถึงปลายยอดเรื่อง หรือที่เรียกว่า ไคลแมกซ์ (Climax) และจบ
เรื่องลงโดยเร็ว ให้ผู้อ่านโล่งใจ เข้าใจและสะเทือนใจ หรือเป็นแบบสองซ้อนเหตุการณ์
3. การจัดตัวละครและให้บทบาท เป็นตัวละครที่สาคัญในเรื่อง เพื่อแสดงลักษณะนิสัยอย่างหนึ่งอย่างใด
ก่อให้เกิดเรื่องราวขึ้น
4. การบรรยายเรื่อง แบบการมีตัวตนที่เข้าไปอยู่ในตัวเรื่อง และการเป็นบุรุษที่สาม ได้แก่ ตัวละครแสดง
บทบาทของตนเอง เป็นวิธีที่ดีที่สุด
5. การเปิดเรื่อง อาจทาได้โดยการให้ตัวละครพูดกัน การบรรยายตัวละคร การวางฉากและการบรรยายตัว
ละครประกอบ การบรรยายพฤติกรรมและตัวละคร
6. บทเจรจา หรือคาพูดของตัวละคร ต้องเขียนให้เป็นภาษามนุษย์พูดกัน และต้องให้เหมาะกับบทบาทและ
เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับตัวละคร
7. ต้องมีความแน่น คือพูดให้ตรงไปตรงมา เข้าใจง่าย ใช้คาไม่ฟุ่มเฟือย
8. การตั้งชื่อตัวละคร ควรให้ชื่อที่ใกล้เคียงกับชื่อคนจริงๆ ส่วนชื่อเรื่องก็ควงเป็นข้อความที่ก่อให้เกิดความ
อยากอ่าน ใช้คาสั้นๆ แต่ให้น่าทึ่ง
9. การทาบท คือการบรรยายให้ตัวละครแสดงบทบาทเช่นเดียวกับการแสดงละคร ต้องพรรณนาถึงกิริยา
ท่าทาง อาการราพึงราพัน เป็นต้น
การทาสตอรี่บอร์ด
          การทาสตอรี่บอร์ดเป็นการสร้างตารางขึ้นมาเพื่อร่างภาพลงไปตามลาดับขั้นตอนของเรื่องตั้งแต่ต้นจน
จบ เพื่อให้ทุกๆฝ่ายสามารถมองเห็นภาพรวมของงานที่จะลงมือทาได้ล่วงหน้า ซึ่งหากมีข้อที่ต้องแก้ไขใดๆ
เกิดขึ้นก็สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ และทาสตอรี่บอร์ดใหม่ได้ การทาสตอรี่บอร์ดนั้นโดยหลักแล้ว จะเป็น
ต้นแบบของการนาไปสร้างภาพจริง และเป็นตัวกาหนดในการทางานอื่นๆ ไปด้วยเช่น เสียงพากย์ เสียงดนตรี
เสียงประกอบอื่นๆ special effect จึงเป็นการร่างภาพ พร้อมกับการระบุรายละเอียดที่จาเป็นต้องทาลงไป 4
หลักการเขียนสตอรี่บอร์ด
         รูปแบบของสตอรี่บอร์ด จะประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนเสียงกับส่วนภาพ โดยปกติการเขียนสตอรี่
บอร์ด 24 เฟรม คือภาพ 24 ภาพ เมื่อถ่ายทาเป็นภาพยนตร์ใช้เวลา 1 นาที ถ้าเป็นภาพยนตร์โฆษณา ในเวลา
30 วินาที ต้องเขียน 12 เฟรม การเขียนบทบรรยายจะเป็นส่วนสนับสนุนการนาเสนอภาพ มิใช่การนาเสนอบท
บรรยายนั้น ความยาวของคาบรรยายมีหลักการในการจัดทา 3 ประการคือ
1. ต้องเหมาะสมกับลักษณะของผู้ชม
2. ต้องมีความยาวพอที่จะครอบคลุมวัตถุประสงค์ที่กาหนด
3. ต้องให้สั้นที่สุดเท่าที่จะทาได้
         สาหรับรายการที่ใช้การบรรยายแบบ “Voice Over” ควรมีภาพของผู้บรรยายปรากฏขึ้นในตอนเริ่ม
รายการก่อน จะทาให้รายการดูเป็นกันเองมากขึ้น และถ้ารายการยาวมาก ควรให้ผู้บรรยายมากกว่า 1 คน จะ
ทาให้ลดความเบื่อหน่ายจาเจของรายการลงได้ เสียงบรรยายไม่จาเป็นต้องมีอยู่ตลอด ควรทิ้งช่วงโดยใช้ดนตรี
และเสียงอื่นประกอบด้วย
สิ่งสาคัญที่อยู่ในสตอรี่บอร์ด ประกอบด้วย
1. Subject หรือ Character ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่หรือตัวการ์ตูน และที่สาคัญคือ พวกเขากา
ลังเคลื่อนไหวอย่างไร
2. กล้อง ทั้งในเรื่องของขนาดภาพ มุมภาพและการเคลื่อนกล้อง
3. เสียง การพูดกันระหว่างตัวละคร มีเสียงประกอบหรือเสียงดนตรีอย่างไร
วิธีการเขียนสตอรี่บอร์ด
         สตอรี่บอร์ด (Story board) คือการเขียนกรอบแสดงเรื่องราวที่สมบูรณ์ของภาพยนตร์หรือหนังแต่
ละเรื่อง โดยมีการแสดงรายละเอียดที่จะปรากฏในแต่ละฉากหรือแต่ละหน้าจอ เช่น ข้อความ ภาพ
ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี เสียงพูดและแต่ละอย่างนั้นมีลาดับของการปรากฏ ว่าอะไรจะปรากฏขึ้นก่อน-หลัง
อะไรจะปรากฏพร้อมกัน เป็นการออกแบบอย่างละเอียดในแต่ละหน้าจอก่อนที่จะลงมือสร้างเอนิเมชันหรือ
หนังขึ้นมาจริงๆ
                   ตัวอย่างการเตรียมเรื่อง/ บท
                   บทภาพยนตร์แอนิเมชั่น ความยาว 4 นาที เรื่องสามหนูกับหนึ่งแมว
                   แดงใหญ่ ตอน แขนกุด หูขาด ตาบอด เขียนบทโดย คมกฤช มานนท์
                            ลาดับ                           เหตุการณ์
                              1               หนูสามตัวกาลังรุมแย่งข้าวโพดกัน
                              2               แมวแดงใหญ่แอบซุ่มดูอยู่
                              3               หนูสามตัวลงมือลงไม้กันเข้าแล้ว

           สิ่งแรกที่เราจะต้องทาในการสร้างภาพยนตร์ เรื่องที่เราทาจะเป็นอย่างไรนั้นขึนอยู่กับวัตถุประสงค์ว่า
                                                                                    ้
เราจะนาเอาไปใช้ในโอกาสอะไร เช่นอาจจะทาเพื่อฉายทางโทรทัศน์ หรือทางเว็ปไซต์ เนื้อเรื่องที่ดีควร
ตอบสนองวัตถุประสงค์นั้นๆซึ่งจะคานึงถึงความสั้น-ยาว ของเรื่องด้วย และเมื่อได้เนื้อเรื่องแล้ว ก็บันทึกไว้ แล้ว
เขียนออกมาเป็นบทภาพยนตร์ ซึ่งวิธีการเขียนบทภาพยนตร์มีหลายแบบ เช่น การเขียนบทที่ใช้ในการทาแอนิ
เมชั่นเรื่อง สามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่ จะเป็นลักษณะที่ประยุกต์ขึ้นใช้ใหม่ เพราะเป็นหนังใบ้ คือตัวการ์ตูน
ไม่พูดอะไร ดังนั้นตรงช่องลาดับเรื่องราวสามารถเปลี่ยนให้เป็นเสียงได้
การออกแบบตัวละคร




         การออกแบบตัวละครเป็นขั้นตอนของสร้างตัวละครขึ้นมาตามเนื้อเรื่องที่เราสร้างขึ้น โดยตัวละครใดๆ
ก็ตาม ถ้าระบายสีดาลงไปในตัวละครนั้นทั้งตัวซึ่งจะทาให้มองเห็นแต่โครงร่างเท่านั้น หากตัวละครตัวนั้นดูโดด
เด่นและมีบุคลิกที่สามารถจดจาได้ง่าย นั่นละที่เรียกว่าตัวละครที่ดี
         นอกจากนี้ยังมีสิ่งที่เราต้องคานึงถึงอีกมากมายเช่นความสวยงาม และสิ่งหนึ่งที่ทาเมื่อลงมือออกแบบ
สามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่คือ เรียบง่าย และมีบุคลิกภาพเฉพาะที่เป็นตัว นั่นเป็นเพราะเชื่อว่ามันจะช่วยทา
ให้ขั้นตอนการลงมือวาดจริงนั้นจะดาเนินไปได้อย่างราบรื่น ซึ่งก็เป็นเช่นนันจริงๆ และสาหรับภาพประกอบ
                                                                       ้
ด้านบนคือสามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่ในร่างแรกก่อนที่จะพัฒนาขัดเกลาแบบจนได้ตัวจริง

ที่มา http://province.m-culture.go.th/trat/storyboard2553/2.pdf


ศัพท์ที่ใช้ในโปรแกรมการสร้างหนังสั้น
motion picture: ภาพยนตร์
a movie: ภาพยนตร์
newsreel: ภาพยนตร์ข่าว
documentary film: ภาพยนตร์สารคดี
literary film: ภาพยนตร์ที่สร้างจากวรรณกรรม
sound film: ภาพยนตร์เสียง
3-D(=three.dimensional)                  3 มิติ
picture: ภาพ
cinemascope: ภาพยนตร์จอกว้าง
opera: อุปรากร
movie theatre: โรงภาพยนตร์
trailer: ภาพยนตร์ตัวอย่าง
premiere: การแสดงรอบปฐมทัศน์
copy: การทาสาเนา
plot:โครงเรื่อง
comedy: ภาพยนตร์ตลก
thriller: ภาพยนตร์แนวตื่นเต้นระทึกขวัญ
back stall: ที่นั่งแถวหลัง
audience: ผู้ชม
film star: ดาราภาพยนตร์
film actress: นักแสดงหญิง
director: ผู้กากับ
character actor: ตัวละครที่ชานาญในการแสดงเป็นบุคคลประเภทต่างๆ
classic music: เพลงคลาสสิก
a film adopted from a literary work:ภาพยนตร์ที่ดัดแปลงเค้าโครงเรื่องมาจากวรรณกรรม
seats sold out: ที่นั่งเต็ม
a full house: โรงภาพยนตร์ที่จุผู้ชมเต็มโรง
film: ภาพยนตร์
picture: รูปภาพ
silent picture(movie): ภาพยนตร์เงียบ
cartoon:       การ์ตูน
musical film: ภาพยนตร์เพลง
Technicolour: ระบบการถ่ายภาพยนตร์โดยการใช้แม่สีเป็นหลัก
screen: จอภาพยนตร์
shorter feature: ภาพยนตร์สั้น
first run film: ภาพยนตร์ที่ออกฉายเป็นครั้งแรก
projector:        เครื่องฉายภาพยนตร์
scenario: บทภาพยนตร์
synopsis: เรื่องย่อ
tragedy: ภาพยนตร์แนวโศก
front stall: ที่นั่งแถวหน้า
dress circle: แถวที่นั่งเป็นวงกลมหรือโค้งในโรงละครหรือโรงภาพยนตร์
movie fan: แฟนภาพยนตร์
film actor: ดาราภาพยนตร์ชาย
producer: ผู้อานวยการสร้างภาพยนตร์
film critic: นักวิจารณ์ภาพยนตร์
pop music: เพลงป๊อบ
jazz music: เพลงแจ๊ส
black and white picture; ภาพขาว-ดา
to book in advance: จองล่วงหน้า
to have a good (bad) reception:ได้รับความสนใจอย่างมาก (ได้รับความสนใจน้อยมาก)
western: ตะวันตก

http://sinothai.youth.cn/yyxx/xxzw/200709/t20070924_594226.htm
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอJaturapad Pratoom
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำPannathat Champakul
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordSamorn Tara
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)Rachabodin Suwannakanthi
 
ตัวอย่างอย่างโครงเรื่อง ผ้าป่าข้าวเปลือก
ตัวอย่างอย่างโครงเรื่อง ผ้าป่าข้าวเปลือกตัวอย่างอย่างโครงเรื่อง ผ้าป่าข้าวเปลือก
ตัวอย่างอย่างโครงเรื่อง ผ้าป่าข้าวเปลือกณัฐพล บัวพันธ์
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสารวัชรพล เที่ยงปา
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Mais procurados (20)

การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
ใบงานที่ 1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อวิดีโอ
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
 
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybordใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
ใบความรู้ที่่ 3.2 บทสคริปต์-storybord
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอระบบดิจิทัลเบื้องต้น (Basic Digital Video Production)
 
ตัวอย่างอย่างโครงเรื่อง ผ้าป่าข้าวเปลือก
ตัวอย่างอย่างโครงเรื่อง ผ้าป่าข้าวเปลือกตัวอย่างอย่างโครงเรื่อง ผ้าป่าข้าวเปลือก
ตัวอย่างอย่างโครงเรื่อง ผ้าป่าข้าวเปลือก
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพ
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 

Semelhante a ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น

โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาmelody_fai
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาJar 'zzJuratip
 
Week1 screenplay
Week1 screenplayWeek1 screenplay
Week1 screenplaymonkeychoc
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานsa_jaimun
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาAungkana Na Na
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาAungkana Na Na
 
คู่มือการใช้ Marvin
คู่มือการใช้ Marvinคู่มือการใช้ Marvin
คู่มือการใช้ Marvinkruood
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4JoyCe Zii Zii
 

Semelhante a ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น (20)

ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น2
 
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้นขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
 
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้นขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
ขั้นตอนในการถ่ายภาพยนตร์สั้น
 
Storyboard
StoryboardStoryboard
Storyboard
 
การเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้นการเขียนบทหนังสั้น
การเขียนบทหนังสั้น
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
Week1 screenplay
Week1 screenplayWeek1 screenplay
Week1 screenplay
 
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงานใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
ใบความรู้ 5.2การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
คู่มือการใช้ Marvin
คู่มือการใช้ Marvinคู่มือการใช้ Marvin
คู่มือการใช้ Marvin
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
อาร์ตไดเรกเตอร์
อาร์ตไดเรกเตอร์อาร์ตไดเรกเตอร์
อาร์ตไดเรกเตอร์
 
Storyboard
StoryboardStoryboard
Storyboard
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
Marwin
MarwinMarwin
Marwin
 
Marwin
MarwinMarwin
Marwin
 
Blog writing
Blog writingBlog writing
Blog writing
 

Mais de chaiwat vichianchai

ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderchaiwat vichianchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกchaiwat vichianchai
 
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิกเรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิกchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier proใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier prochaiwat vichianchai
 
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)chaiwat vichianchai
 
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนคำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนchaiwat vichianchai
 
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)chaiwat vichianchai
 
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58chaiwat vichianchai
 
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558chaiwat vichianchai
 

Mais de chaiwat vichianchai (20)

ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
 
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
 
ใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ render
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
 
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
 
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
 
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิกเรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
 
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier proใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
 
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
 
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนคำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
 
ส่วนที่ ๔
ส่วนที่  ๔ส่วนที่  ๔
ส่วนที่ ๔
 
ส่วนที่ ๓
ส่วนที่  ๓ส่วนที่  ๓
ส่วนที่ ๓
 
ส่วนที่ ๒
ส่วนที่  ๒ส่วนที่  ๒
ส่วนที่ ๒
 
ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑
 
ปก
ปกปก
ปก
 
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
 
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
 
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น

  • 1. ใบความรู้ท่ี 1 เรื่อง หลักการสร้างหนังสั้น การเขียน Storyboard Posted on 21/06/2011 by oilnatnarin การเขียนสตอรี่บอร์ดเป็นขั้นตอนของการเตรียมการนาเสนอข้อความ ภาพ รวมทั้ง สื่อในรูปของ มัลติมีเดียต่างๆ ลงในกระดาษ เพื่อให้การนาเสนอข้อความ และสื่อในรูปแบบต่างๆ เหล่านี้เป็นไปอย่าง เหมาะสมบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ต่อไป ขณะที่ผังงานนาเสนอลาดับ และขั้นตอนของการตัดสินใจ สตอรี่บอร์ด นาเสนอเนื้อหา และลักษณะของการนาเสนอ ขั้นตอนการสร้างสตอรี่บอร์ดรวมไปถึงการเขียนสคริปต์ (ซึ่ง สคริปต์ในที่นี้ คือ เนื้อหา) ที่ผู้ใช้จะได้เห็นบนหน้าจอซึ่งได้แก่ เนื้อหา ข้อมูล คาถาม ผลป้อนกลับ คาแนะนา คาชี้แจง ข้อความเรียกความสนใจ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ  Storyboard คือ การสร้างภาพให้เห็นลาดับขั้นตอนตามเนื้อเรื่องที่ต้องการ โดยเฉพาะการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว  รายละเอียดที่ควรมีใน Storyboard ได้แก่ คาอธิบายแต่ละสื่อที่ใช้ (ข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดิโอ) การจัดทา Storyboard ตัวอย่างเช่นในหัวข้อ Presentations จากโฟลว์ชาร์ตก็เป็นการแจงแจงรายละเอียดลงไปว่าในส่วนนี้ ประกอบด้วยภาพ ข้อความ ภาพเครื่องไหว มีเสียงหรือเพลงประกอบหรือไม่ และมีการเรียงลาดับการทางาน อย่างไร มีการวางหน้าจออย่างไรรวมทั้งการกาหนดแหล่งของข้อมูล เช่น ภาพและเสียงว่าได้มาอย่างไรจาก แหล่งไหน การเตรียมข้อมูลสาหรับ Storyboard ข้อมูลสาหรับ Storyboard อาจมีทั้งภาพ เสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว (Animation Movies) หรือ อื่นๆ ซึ่งจะต้องมีการจัดเตรียมขึ้นมาก่อนที่จะนาไปใส่โปรแกรม มีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องดังนี้  การจัดเตรียมภาพสาหรับโปรแกรม
  • 2. การจัดเตรียมเสียง  สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation File)  ตัวอย่าง Storyboard ข้อปฏิบัติในการจัดทา Story Board 1. พิมพ์ Story Board Template ลงบนกระดาษ A4 ขนาดตัวอักษร 16 เท่านั้น 2. วาดภาพและลงสีแนวความคิดของท่านลงในช่องจานวนไม่น้อยกว่า 16 ช่อง แต่ไม่เกิน 32 ช่อง โดยแต่ละ
  • 3. ช่องจะต้องเป็นภาพที่สื่อแนวความคิดสร้างสรรค์และสอดคล้องกับหัวข้อการแข่งขัน เพื่อให้คณะกรรมการ ได้เข้าใจลักษณะการดาเนินเรื่อง 3. เขียนคาบรรยายของแต่ละภาพลงในช่อง “ภาพ” และคาบรรยายเสียงของแต่ละภาพลงในช่อง “เสียง” 4. ห้ามไม่ให้พิมพ์ภาพจากผลงานที่สาเร็จแล้วมาตัดแปะลงบนช่องดังกล่าว วิธีการเขียน Story Board Storyboard คือการเขียนกรอบแสดงเรื่องราวที่สมบูรณ์ของภาพยนตร์หรือหนังแต่ละเรื่อง โดยมี การแสดงรายละเอียดที่จะปรากฏในแต่ละฉากหรือแต่ละหน้าจอ เช่น ข้อความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี เสียงพูด และแต่ละอย่างนั้นมีลาดับของการปรากฏ ว่าอะไรจะปรากฏขึ้นก่อน หลัง อะไรจะ ปรากฏพร้อมกัน เป็นการออกแบบอย่างละเอียดในแต่ละหน้าจอก่อนที่จะลงมือสร้างเอนิเมชันหรือหนังขึ้นมา จริงๆ การทา Storyboard การทา story board เป็นการสร้างตารางขึ้นมาเพื่อร่างภาพลงไป ตามลาดับขั้นตอนของเรื่องตั้งแต่ ต้นจนจบเพื่อให้ทุกๆฝ่ายสามารถ มองเห็นภาพรวมของงานที่จะลงมือทาได้ล่วงหน้า ซึ่งหากมีข้อที่ต้อง แก้ไขใดๆเกิดขึ้นก็สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ สามารถปรับปรุง การทา Storyboard ใหม่ได้ การทา Storyboard นั้นโดยหลักแล้วจะเป็นต้นแบบของการนาไปสร้างภาพจริง และเป็นตัวกาหนดในการ ทางานอื่นๆไปด้วยเช่น เสียงพากย์ เสียงดนตรี เสียงประกอบอื่นๆ special effect จึงเป็นการร่างภาพ พร้อม กับการระบุรายละเอียดที่ จาเป็นต้องทาลงไป. ตัวอย่าง Storyboard ตัวอย่างการเตรียมเรื่อง/บท บทภาพยนตร์แอนิเมชั่น ความยาว 4 นาที เรื่องสามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่ ตอน แขนกุด หูขาด ตาบอด เขียนบทโดย คมกฤช มานนท์
  • 4. ลาดับ เหตุการณ์ 1 หนูสามตัวกาลังรุมแย่งข้าวโพดกัน 2 แมวแดงใหญ่แอบซุ่มดูอยู่ 3 หนูสามตัวลงมือลงไม้กันเข้าแล้ว สิ่งแรกที่เราจะต้องทาในการสร้างภาพยนตร์ เรื่องที่เราทาจะเป็นอย่างไรนั้นขึนอยู่กับวัตถุประสงค์ว่า ้ เราจะนาเอาไปใช้ในโอกาสอะไร เช่นอาจจะทาเพื่อฉายทางโทรทัศน์ ฉายทางเว็ปไซต์ หรือในโรงภาพยนตร์ เนื้อเรื่องที่ดีก็คือต้องตอบสนองวัตถุประสงค์นั้นๆได้นั่นเอง ซึ่งจะคานึงถึงความสั้น-ยาว ของเรื่องด้วย และพอ เราได้เนื้อเรื่องแล้วก็บันทึกเอาไว้แล้วเขียนออกมาเป็นบทภาพยนตร์ซึ่งวิธีการเขียนบทภาพยนตร์นั้นมีหลาย แบบ ในที่นี้ขอยกตัวอย่างการเขียนบทที่ใช้ในการทาเอนิเมชั่นเรื่องสามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่ จะเป็น ลักษณะที่ประยุกต์ขึ้นใช้ใหม่ เพราะเป็นหนังใบ้ คือตัวการ์ตูนไม่พูดอะไร ดังนั้นตรงช่องลาดับเรื่องราวสามารถ เปลี่ยนให้เป็นเสียงได้การออกแบบตัวละคร การออกแบบตัวละครเป็นขั้นตอนของสร้างตัวละครขึ้นมาตามเนื้อเรื่องที่เราสร้างขึ้น โดยตัวละครใดๆ ก็ตาม ถ้าเราระบายสีดาลงไปในตัวละครนั้นทั้งตัวซึ่งจะทาให้มองเห็นแต่โครงร่างเท่านั้น หากตัวละครตัวนั้นดู โดดเด่นและมีบุคลิกที่สามารถจดจาได้ง่าย นั่นละที่เรียกว่าตัวละครที่ดี นอกจากนี้ยังมีสิ่งที่เราต้องคานึงถึงอีก มากมายเช่นความสวยงาม และสิ่งหนึ่งที่ทาเมื่อลงมือออกแบบสามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่คือ เรียบง่าย และ มีบุคลิกภาพเฉพาะที่เป็นตัว นั่นเป็นเพราะเชื่อว่ามันจะช่วยทาให้ขั้นตอนการลงมือวาดจริงนั้นจะดาเนินไปได้ อย่างราบรื่น ซึ่งก็เป็นเช่นนันจริงๆ และสาหรับภาพประกอบด้านบนคือสามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่ในร่างแรก ้ ก่อนที่จะพัฒนาขัดเกลาแบบจนได้ตัวจริง
  • 5. การเขียนสตอรี่บอร์ด (Story board) หลายคนอาจจะกลัวว่า ตัวเองวาดรูปไม่เก่งแล้วจะวาดสตอรี่บอร์ดไม่ได้ ไม่เป็นความจริงเลย เพราะ การวาดสตอรี่บอร์ดเป็นเพียงรูปที่วาดง่ายๆ ก็ได้ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อถ่ายทอดไอเดีย (Idea) หรือความคิดว่า ภาพควรออกมาอย่างรบนจอภาพยนตร์ การเขียนสตอรี่บอร์ด แตกต่างจากการวาดภาพการ์ตูน หรือภาพที่เน้นความสวยงามแบบศิลปะ เป็น การร่างภาพอย่างคร่าวๆ เท่านั้น วัตถุประสงค์เพื่อนาไปสร้างเป็นภาพเคลื่อนไหว เช่น ภาพยนตร์ การ์ตูน โฆษณา สารคดี เป็นต้น โดยคานึงถึงมุมกล้อง อาจมีบทสนทนาหรือไม่มีบทสนทนาก็ได้ ความหมายของสตอรี่บอร์ด (Story Board) สตอรี่บอร์ดคือ การเขียนภาพนิ่งเพื่อสร้างเป็นภาพเคลื่อนไหวในรูปของสื่อมัลติมีเดีย (Multimedia) หรือสื่อประสม หมายถึงสื่อหลายแบบ เป็นการใช้สื่อในหลายรูปแบบ ทั้งข้อความ เสียง รูปภาพหรือ ภาพเคลื่อนไหว เพื่อกาหนดแนวทางให้ทีมผู้ผลิตเกิดความเข้าใจไปในแนวทางเดียวกันในการถ่ายทาเป็น ภาพเคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ภาพยนตร์ ภาพยนตร์โฆษณา ภาพยนตร์สั้น ภาพยนตร์การ์ตูน ภาพยนตร์ สารคดี หรือแม้แต่การทาผลงาน โดยแสดงออกถึงความต่อเนื่องของการเล่าเรื่อง จุดประสงค์ของสตอรี่บอร์ด คือ เพื่อการเล่าเรื่อง ลาดับเรื่อง มุมกล้อง ภาพไม่จาเป็นต้องละเอียดมาก แค่บอกองค์ประกอบสาคัญได้ ตา แหน่งตัวละครที่สัมพันธ์กับฉากและตัวละครอื่นๆ มุมกล้อง แสงเงา เป็นการ สเก็ตซ์ภาพของเฟรม (Shot) ต่างๆ จากบท เหมือนการ์ตูนและวาดตัวละครเป็นวงกลม สี่เหลี่ยม ฉากเป็นสี่เหลี่ยม การสร้างสตอรี่บอร์ดจะ ช่วยให้ Producer และผู้กากับได้เห็นภาพของรายการที่จะถ่ายทาเป็นรูปธรรมชัดเจนขึ้นได้ในแต่ละเฟรมที่จะ ดาเนินการ ส่วนประกอบของสตอรี่บอร์ด สตอรี่บอร์ด ประกอบด้วยชุดของภาพ Sketches ของ shot ต่างๆ พร้อมคาบรรยายหรือบทสนทนา ในเรื่อง อาจเขียนเรื่องย่อและบทก่อน รือ Sketches ภาพก่อน แล้วจึงใส่คาบรรยายที่จาเป็นลงไป สิ่งสาคัญที่ ต้องพิจารณาคือ ภาพและเสียงต้องให้ไปด้วยกัน ได้ อาจมีบทสนทนาหรือไม่มีบทสนทนาก็ได้ หรืออาจมีบท บรรยายหรือไม่มีบทบรรยายก็ได้ โดยมีเสียงประกอบด้วยเสียงได้แก่ เสียงดนตรี เสียงธรรมชาติหรือเสียงอื่น ๆ สาหรับการผลิตรายการที่สั้นๆ อย่างภาพยนตร์โฆษณา สามารถทาโดยใช้สตอรี่บอร์ดเป็นหลัก มิต้องเขียนบท หรือเขียนสคริปต์ขึ้นมา ตัวอย่าง Storyboard ความรู้พื้นฐานก่อนเขียนสตอรี่บอร์ด
  • 6. ก่อนเขียนสตอรี่บอร์ดจะต้องศึกษาการเขียนเรื่อง บทบรรยาย (Notation) รวมทั้งมุมกล้องให้เข้าใจ ก่อน จึงจะสามารถเขียนสตอรี่บอร์ดได้ ศิลปะการเล่าเรื่อง ศิลปะการเล่าเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นนิทาน นิยาย ละครหรือภาพยนตร์ ล้วนแต่มีรากฐานแบบ เดียวกัน นั่นคือการเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้นของมนุษย์หรือสัตว์ หรือแม้แต่อะไรก็ตามที่เกิดขึ้นช่วงเวลาใดเวลา หนึ่ง ณ สถานที่ใดที่หนหนึ่งเสมอ ฉะนั้น องค์ประกอบที่สาคัญที่ขาดไม่ได้คือ ตัวละคร สถานที่และเวลา สิ่ง สาคัญในการเขียนบทหนังสั้นก็คือ การเริ่มค้นหาวัตถุดิบหรือแรงบันดาลใจ ให้ได้ว่า เราอยากจะพูด จะนา เสนอเรื่องเกี่ยวกับอะไร ตัวเราเองมีแนวความคิดเกี่ยวกับเรื่องนันๆ อย่างไร ซึ่งแรงบันดาลใจในการเขียนบทที่ ้ เราสามารถนามาใช้ในก็คือ ตัวละคร แนวความคิดและเหตุการณ์ ควรจะมองหาวัตถุดิบในการสร้างเรื่องให้ แคบอยู่ในสิ่งที่เรารู้สึก รู้จริง เพราะคนทาหนังสั้นมักจะทาเรื่องที่ไกลตัว หรือไม่กไกลเกินจนทาให้เราไม่ ็ สามารถจากัดขอบเขตได้ การเขียนเรื่องสั้น 3 การเขียนเรื่องสั้น ต้องให้กระชับ ตัวละครมีบทสนทนาไม่มาก เทคนิคการเขียนเรื่องสั้น มีดังนี้ 1. ต้องมีการระบายสภาพและบรรยากาศ (Local Color) หมายถึงการพรรณนาภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อนา ความคิดของผู้อ่านให้ซาบซึ้งในท้องเรื่อง ให้เห็นฉากที่เราวาดด้วย ตัวอักษรนันต้องชัดเจน ้ 2. การวางโครงเรื่อง (Plot) มีการเริ่มนาเรื่องจนถึงปลายยอดเรื่อง หรือที่เรียกว่า ไคลแมกซ์ (Climax) และจบ เรื่องลงโดยเร็ว ให้ผู้อ่านโล่งใจ เข้าใจและสะเทือนใจ หรือเป็นแบบสองซ้อนเหตุการณ์ 3. การจัดตัวละครและให้บทบาท เป็นตัวละครที่สาคัญในเรื่อง เพื่อแสดงลักษณะนิสัยอย่างหนึ่งอย่างใด ก่อให้เกิดเรื่องราวขึ้น 4. การบรรยายเรื่อง แบบการมีตัวตนที่เข้าไปอยู่ในตัวเรื่อง และการเป็นบุรุษที่สาม ได้แก่ ตัวละครแสดง บทบาทของตนเอง เป็นวิธีที่ดีที่สุด 5. การเปิดเรื่อง อาจทาได้โดยการให้ตัวละครพูดกัน การบรรยายตัวละคร การวางฉากและการบรรยายตัว ละครประกอบ การบรรยายพฤติกรรมและตัวละคร 6. บทเจรจา หรือคาพูดของตัวละคร ต้องเขียนให้เป็นภาษามนุษย์พูดกัน และต้องให้เหมาะกับบทบาทและ เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับตัวละคร 7. ต้องมีความแน่น คือพูดให้ตรงไปตรงมา เข้าใจง่าย ใช้คาไม่ฟุ่มเฟือย 8. การตั้งชื่อตัวละคร ควรให้ชื่อที่ใกล้เคียงกับชื่อคนจริงๆ ส่วนชื่อเรื่องก็ควงเป็นข้อความที่ก่อให้เกิดความ อยากอ่าน ใช้คาสั้นๆ แต่ให้น่าทึ่ง 9. การทาบท คือการบรรยายให้ตัวละครแสดงบทบาทเช่นเดียวกับการแสดงละคร ต้องพรรณนาถึงกิริยา ท่าทาง อาการราพึงราพัน เป็นต้น การทาสตอรี่บอร์ด การทาสตอรี่บอร์ดเป็นการสร้างตารางขึ้นมาเพื่อร่างภาพลงไปตามลาดับขั้นตอนของเรื่องตั้งแต่ต้นจน จบ เพื่อให้ทุกๆฝ่ายสามารถมองเห็นภาพรวมของงานที่จะลงมือทาได้ล่วงหน้า ซึ่งหากมีข้อที่ต้องแก้ไขใดๆ เกิดขึ้นก็สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ และทาสตอรี่บอร์ดใหม่ได้ การทาสตอรี่บอร์ดนั้นโดยหลักแล้ว จะเป็น ต้นแบบของการนาไปสร้างภาพจริง และเป็นตัวกาหนดในการทางานอื่นๆ ไปด้วยเช่น เสียงพากย์ เสียงดนตรี เสียงประกอบอื่นๆ special effect จึงเป็นการร่างภาพ พร้อมกับการระบุรายละเอียดที่จาเป็นต้องทาลงไป 4
  • 7. หลักการเขียนสตอรี่บอร์ด รูปแบบของสตอรี่บอร์ด จะประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนเสียงกับส่วนภาพ โดยปกติการเขียนสตอรี่ บอร์ด 24 เฟรม คือภาพ 24 ภาพ เมื่อถ่ายทาเป็นภาพยนตร์ใช้เวลา 1 นาที ถ้าเป็นภาพยนตร์โฆษณา ในเวลา 30 วินาที ต้องเขียน 12 เฟรม การเขียนบทบรรยายจะเป็นส่วนสนับสนุนการนาเสนอภาพ มิใช่การนาเสนอบท บรรยายนั้น ความยาวของคาบรรยายมีหลักการในการจัดทา 3 ประการคือ 1. ต้องเหมาะสมกับลักษณะของผู้ชม 2. ต้องมีความยาวพอที่จะครอบคลุมวัตถุประสงค์ที่กาหนด 3. ต้องให้สั้นที่สุดเท่าที่จะทาได้ สาหรับรายการที่ใช้การบรรยายแบบ “Voice Over” ควรมีภาพของผู้บรรยายปรากฏขึ้นในตอนเริ่ม รายการก่อน จะทาให้รายการดูเป็นกันเองมากขึ้น และถ้ารายการยาวมาก ควรให้ผู้บรรยายมากกว่า 1 คน จะ ทาให้ลดความเบื่อหน่ายจาเจของรายการลงได้ เสียงบรรยายไม่จาเป็นต้องมีอยู่ตลอด ควรทิ้งช่วงโดยใช้ดนตรี และเสียงอื่นประกอบด้วย สิ่งสาคัญที่อยู่ในสตอรี่บอร์ด ประกอบด้วย 1. Subject หรือ Character ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่หรือตัวการ์ตูน และที่สาคัญคือ พวกเขากา ลังเคลื่อนไหวอย่างไร 2. กล้อง ทั้งในเรื่องของขนาดภาพ มุมภาพและการเคลื่อนกล้อง 3. เสียง การพูดกันระหว่างตัวละคร มีเสียงประกอบหรือเสียงดนตรีอย่างไร วิธีการเขียนสตอรี่บอร์ด สตอรี่บอร์ด (Story board) คือการเขียนกรอบแสดงเรื่องราวที่สมบูรณ์ของภาพยนตร์หรือหนังแต่ ละเรื่อง โดยมีการแสดงรายละเอียดที่จะปรากฏในแต่ละฉากหรือแต่ละหน้าจอ เช่น ข้อความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี เสียงพูดและแต่ละอย่างนั้นมีลาดับของการปรากฏ ว่าอะไรจะปรากฏขึ้นก่อน-หลัง อะไรจะปรากฏพร้อมกัน เป็นการออกแบบอย่างละเอียดในแต่ละหน้าจอก่อนที่จะลงมือสร้างเอนิเมชันหรือ หนังขึ้นมาจริงๆ ตัวอย่างการเตรียมเรื่อง/ บท บทภาพยนตร์แอนิเมชั่น ความยาว 4 นาที เรื่องสามหนูกับหนึ่งแมว แดงใหญ่ ตอน แขนกุด หูขาด ตาบอด เขียนบทโดย คมกฤช มานนท์ ลาดับ เหตุการณ์ 1 หนูสามตัวกาลังรุมแย่งข้าวโพดกัน 2 แมวแดงใหญ่แอบซุ่มดูอยู่ 3 หนูสามตัวลงมือลงไม้กันเข้าแล้ว สิ่งแรกที่เราจะต้องทาในการสร้างภาพยนตร์ เรื่องที่เราทาจะเป็นอย่างไรนั้นขึนอยู่กับวัตถุประสงค์ว่า ้ เราจะนาเอาไปใช้ในโอกาสอะไร เช่นอาจจะทาเพื่อฉายทางโทรทัศน์ หรือทางเว็ปไซต์ เนื้อเรื่องที่ดีควร ตอบสนองวัตถุประสงค์นั้นๆซึ่งจะคานึงถึงความสั้น-ยาว ของเรื่องด้วย และเมื่อได้เนื้อเรื่องแล้ว ก็บันทึกไว้ แล้ว เขียนออกมาเป็นบทภาพยนตร์ ซึ่งวิธีการเขียนบทภาพยนตร์มีหลายแบบ เช่น การเขียนบทที่ใช้ในการทาแอนิ เมชั่นเรื่อง สามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่ จะเป็นลักษณะที่ประยุกต์ขึ้นใช้ใหม่ เพราะเป็นหนังใบ้ คือตัวการ์ตูน ไม่พูดอะไร ดังนั้นตรงช่องลาดับเรื่องราวสามารถเปลี่ยนให้เป็นเสียงได้
  • 8. การออกแบบตัวละคร การออกแบบตัวละครเป็นขั้นตอนของสร้างตัวละครขึ้นมาตามเนื้อเรื่องที่เราสร้างขึ้น โดยตัวละครใดๆ ก็ตาม ถ้าระบายสีดาลงไปในตัวละครนั้นทั้งตัวซึ่งจะทาให้มองเห็นแต่โครงร่างเท่านั้น หากตัวละครตัวนั้นดูโดด เด่นและมีบุคลิกที่สามารถจดจาได้ง่าย นั่นละที่เรียกว่าตัวละครที่ดี นอกจากนี้ยังมีสิ่งที่เราต้องคานึงถึงอีกมากมายเช่นความสวยงาม และสิ่งหนึ่งที่ทาเมื่อลงมือออกแบบ สามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่คือ เรียบง่าย และมีบุคลิกภาพเฉพาะที่เป็นตัว นั่นเป็นเพราะเชื่อว่ามันจะช่วยทา ให้ขั้นตอนการลงมือวาดจริงนั้นจะดาเนินไปได้อย่างราบรื่น ซึ่งก็เป็นเช่นนันจริงๆ และสาหรับภาพประกอบ ้ ด้านบนคือสามหนูกับหนึ่งแมวแดงใหญ่ในร่างแรกก่อนที่จะพัฒนาขัดเกลาแบบจนได้ตัวจริง ที่มา http://province.m-culture.go.th/trat/storyboard2553/2.pdf ศัพท์ที่ใช้ในโปรแกรมการสร้างหนังสั้น motion picture: ภาพยนตร์ a movie: ภาพยนตร์ newsreel: ภาพยนตร์ข่าว documentary film: ภาพยนตร์สารคดี literary film: ภาพยนตร์ที่สร้างจากวรรณกรรม sound film: ภาพยนตร์เสียง 3-D(=three.dimensional) 3 มิติ picture: ภาพ cinemascope: ภาพยนตร์จอกว้าง opera: อุปรากร movie theatre: โรงภาพยนตร์ trailer: ภาพยนตร์ตัวอย่าง
  • 9. premiere: การแสดงรอบปฐมทัศน์ copy: การทาสาเนา plot:โครงเรื่อง comedy: ภาพยนตร์ตลก thriller: ภาพยนตร์แนวตื่นเต้นระทึกขวัญ back stall: ที่นั่งแถวหลัง audience: ผู้ชม film star: ดาราภาพยนตร์ film actress: นักแสดงหญิง director: ผู้กากับ character actor: ตัวละครที่ชานาญในการแสดงเป็นบุคคลประเภทต่างๆ classic music: เพลงคลาสสิก a film adopted from a literary work:ภาพยนตร์ที่ดัดแปลงเค้าโครงเรื่องมาจากวรรณกรรม seats sold out: ที่นั่งเต็ม a full house: โรงภาพยนตร์ที่จุผู้ชมเต็มโรง film: ภาพยนตร์ picture: รูปภาพ silent picture(movie): ภาพยนตร์เงียบ cartoon: การ์ตูน musical film: ภาพยนตร์เพลง Technicolour: ระบบการถ่ายภาพยนตร์โดยการใช้แม่สีเป็นหลัก screen: จอภาพยนตร์ shorter feature: ภาพยนตร์สั้น first run film: ภาพยนตร์ที่ออกฉายเป็นครั้งแรก projector: เครื่องฉายภาพยนตร์
  • 10. scenario: บทภาพยนตร์ synopsis: เรื่องย่อ tragedy: ภาพยนตร์แนวโศก front stall: ที่นั่งแถวหน้า dress circle: แถวที่นั่งเป็นวงกลมหรือโค้งในโรงละครหรือโรงภาพยนตร์ movie fan: แฟนภาพยนตร์ film actor: ดาราภาพยนตร์ชาย producer: ผู้อานวยการสร้างภาพยนตร์ film critic: นักวิจารณ์ภาพยนตร์ pop music: เพลงป๊อบ jazz music: เพลงแจ๊ส black and white picture; ภาพขาว-ดา to book in advance: จองล่วงหน้า to have a good (bad) reception:ได้รับความสนใจอย่างมาก (ได้รับความสนใจน้อยมาก) western: ตะวันตก http://sinothai.youth.cn/yyxx/xxzw/200709/t20070924_594226.htm