SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทปฏิบัติการทดลองที่ 2
                                 โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก
                                  เรื่อง เนื้อเยื่อชั้นตาง ๆ ของราก

                      เรื่อง การศึกษาเนื้อเยื่อชั้นตาง ๆ ของรากพืชดอกตัดตามขวาง

จุดประสงคการเรียนรู : นักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆตอไปนี้ได
       1. ทําการทดลองเพื่อศึกษาลักษณะของเนื้อเยือชั้นตาง ๆ ของรากพืชดอกได
                                                   ่
       2. เพื่อฝกทักษะการใชกลองจุลทรรศนแบบใชแสงในการศึกษาลักษณะของเนื้อเยื่อชันตาง ๆ
                                                                                    ้
           ของรากพืชดอก
       3. บอกลักษณะของเนื้อเยื่อแตละบริเวณของเนื้อเยื่อชั้นตาง ๆ ของรากพืชดอก
       4. เปรียบเทียบเนือเยื่อชั้นตาง ๆ ของรากพืชใบเลี้ยงเดียวกับรากพืชใบเลี้ยงคู
                        ้                                    ่

หลักการ / ทฤษฎี
            สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีเซลลเปนองคประกอบพื้นฐาน กลุมเซลลที่ทํางานรวมกัน เรียกวา เนื้อเยื่อ
(Tissue ) เนื้อเยื่อของพืช (Plant tissue) เมือแบงตามลักษณะของเซลลวามีการแบงตัวหรือไม
                                                  ่
แยกไดเปน 2 ชนิด คือ เนื้อเยื่อเจริญ (Meristematic tissue หรือ Meristem) และ เนือเยื่อถาวร
                                                                                       ้
(Permanent tissue) เนื้อเยื่อถาวร(Permanent tissue) เปนเนื้อเยื่อที่เกิดจากการแบงเซลลของเนื้อเยื่อ
เจริญ และไดมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางและสวนประกอบของเซลลเพื่อทําหนาที่ตามแตละชนิด เชน
เนื้อเยื่อลําเลียงน้ํา แรธาตุ เนือเยื่อลําเลียงอาหาร เนื้อเยื่อถาวร แยกออกเปน 2 ประเภท คือ เนื้อเยือ
                                  ้                                                                  ่
ถาวรเชิงเดี่ยว (simple permanent tissue) เปนเนื้อเยื่อถาวรที่เปนเซลลชนิดเดียวกัน เชน เอพิเดอรมส   ิ
(epidermis) พาเรงไคมา(parenchyma) คอเลงไคมา(collenchyma) สเกลอเลงไคมา (sclerenchyma)
เนื้อเยื่อถาวรเชิงซอน (complex permanent tissue) เปนเนื้อเยื่อถาวรที่เปนเซลลหลายชนิดมารวมกัน
เพื่อทําหนาที่รวมกัน เชน ทอลําเลียงน้ํา (xylem) ทอลําเลียงอาหาร (phloem)
                   
            ขอแตกตางของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลียงคูรากพืชใบเลี้ยงเดียว ( monocot ) ทั่วไปจะ
                                                                ้                ่
ไมมี Secondary growth มีเซลล epidermis ทําหนาที่โดยตลอด เซลล endodermis และ pericycle ชัดเจน
มี xylem arch แบบ poly archไมมี vascular cambiumไมมี medullary ray Pith มีขนาดกวาง รากพืชใบ
เลี้ยงคู ( dicot) ทั่วไปจะมีSecondarygrowth มีPeriderm แบงเปนชั้น cork, cork cambium,phelloderm
ชั้น Cortex เห็นไมชัด Vascular tissue เห็นชั้น pericycle ไมคอยชัด xylem มี 1 – 4 arch มี vascular
cambium มี medullary ray เนื่องจากมี secondary growth Pithไมมีหรือมีขนาดเล็ก
อุปกรณ / เครื่องมือและสารเคมี
        1. ตนกลาของตน ถั่วแดง ถั่วเขียว หรือ ถั่วดํา และตนกลาขาวโพด
        2. กลองจุลทรรศน                            1 กลอง
        3. สไลด และกระจกปดสไลด                    2 ชุด
        4. กระจกนาฬิกา                               1 อัน
        5. ใบมีดโกน                                  1 ใบ
        6. หลอดหยด                                   1 หลอด
        7. พูกันเล็ก ๆ หรือเข็มเขี่ยเชือ
                                        ้            1 อัน
        8. บีกเกอรขนาดตาง ๆ                        1 – 2 ใบ
        9. กระดาษเยื่อ                               1 มวน
       10. สีซาฟรานีน หรือ สีผสมอาหารสีแดงเขมขน 1% หรือ สียอมจากกะหล่ําปลีแดง
                                                                     
       11. น้ําสะอาด

วิธีการทดลอง
1. นํารากพืชใบเลี้ยงคู เชนรากถั่ว และรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เชนรากขาวโพด ลางใหสะอาด ตัดรากพืชที่
   สมบูรณมาแชนําไวประมาณ 5-6 ราก
2.ใชใบมีดโกนตัดรากตามขวางเปนแผนบาง ๆ (ตามรูป) แชน้ําสีซาฟรานีน ในจานเพาะเชื้อ หรือ
   ภาชนะอืน แยกเปนจานละชนิด
             ่
3.ใชพูกันเลือกชิ้นสวนที่บางและสมบูรณที่สุด ซึ่งยอมสีแลว จํานวน 3 – 4 แผนวางลงบนหยดน้ําบน
    แผน สไลด แลวปดดวยกระจกปดสไลด ระวังอยาใหมีฟองอากาศ เช็ดนําที่ลนออกใหแหง
4. นําสไลดไปตรวจดูดวยกลองจุลทรรศน เลือกศึกษาชิ้นเนื้อเยื่อที่บางและสมบูรณที่สุด โดยเริ่มที่เลนส
   ใกลวัตถุกําลังขยายต่ําและปานกลางตามลําดับ
5. บันทึกภาพแสดงลักษณะโครงสรางภายในของรากพืชใบเลี้ยงคูและพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเปรียบเทียบกัน




                                        วิธีตัดรากพืชตามขวาง
คําถามกอนการทดลอง

1. นักเรียนทราบหรือไมวาเนื้อเยื่อชั้นตางๆ ของรากประกอบดวยเนื้อเยื่อถาวรอะไรบาง
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
2. นักเรียนคิดวาเนื้อเยื่อชั้นตางๆ ของรากพืชใบเลี้ยงเดียวกับรากพืชใบเลี้ยงคู เหมือนกันหรือตางกัน
                                                                                      ่
อยางไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
รายงานผลการทดลองบทปฏิบัติการที่ 1
                             เรื่อง การศึกษาเนื้อเยื่อชั้นตาง ๆ ของรากตัดตามขวางของพืชดอก

วัน /เดือน / ป .............................................. กลุมที่ ........................ เวลาที่ใช .......................... ชั่วโมง

ชื่อสมาชิกในกลุม
1. .............................................................................................................
2. .............................................................................................................
3. .............................................................................................................
4. .............................................................................................................
5. .............................................................................................................

วัตถุประสงค
1. .............................................................................................................
2. .............................................................................................................
3. .............................................................................................................
4. ............................................................................................................

ผลการทดลอง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
สรุปผลการทดลอง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

อภิปรายผลการทดลอง
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
คําถามหลังการทดลอง

1. กลุมเซลลแตละบริเวณของราก มีลักษณะเหมือนกันหรือไม อยางไร
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

2. แสดงแผนภาพโครงสรางภายในรากของพืชใบเลี้ยงคูกับรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และตําแหนงเนื้อเยือ
                                                                                                                                                          ่
   บริเวณตาง ๆ พรอมชี้บง ในแต ละสวน
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

3. หนาที่ของราก
  1……………………………………………………………………
  2……………………………………………………………………
  3. ………………………………………………………………….

4. นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้อยางไร
 .............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................................
ใบความรูที่ 1
                                โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก
                                 เรื่อง โครงสรางภายในของราก

  สาระสําคัญ
                                               ราก ( Root )
            รากโดยทั่วไปเกิดมาจากสวนกลางของใบเลี้ยง ( Hypocotyl ) ของเอมบริโอ ซึ่งเรียกวาราก
แรกเกิด ( radicle ) และงอกออกจากเมล็ดเรียกวารากแกว ( primary root หรือ tap root ) ซึ่งสามารถแตก
กิ่งกานสาขาออกไปไดอกเปนรากแขนง ( secondary root )ถาคิดจากการกําเนิดตะมีราก 2 ชนิด คือราก
                         ี
แกวและรากพิเศษ ( adventitious root ) โดยรากแกวเกิดจาก embryo และมีสาขาเปนรากแขนงเกิดจาก
pericycle ของรากเดิม สวนรากพิเศษทีเ่ กิดจากสวนอืน ๆ ของพืช เชน ลําตน ใบ หรือสวนอื่น ๆ ของ
                                                  ่
รากที่แก ซึ่งในสวนนี้รากที่เกิดจากพวกแคลลลัส ( callus ) ของกิ่งที่ปกชํานับวามีความสําคัญมาก รากที่
เจริญมาจาก embryo จะมีระบบราก 2 ประเภทคือ
1.ระบบรากแกว ( primary root system ) : มีรากแกวเปนหลักมีขนาดใหญกวารากอื่น ๆ อาจมี
รากแขนง แตกออกมาจาก pericycle ของรากแกว พบในพืชใบเลี้ยงคู
2.ระบบรากฝอย ( fibrous root system) : มักประกอบดวยรากทีมีขนาดใกลเคียงกันเปนเสนเล็ก ๆ
                                                                      ่
แผออกโดยรอบพบในพืชใบเลี้ยงเดียว    ่

  โครงสรางภายในของรากตัดตามขวาง (เรียงจากนอกสุดเขาดานใน)
  1. เอพิเดอรมิส (epidermis) อยูดานนอกสุดทําหนาที่ปองกันเนื้อเยื่อที่อยูดานในสวนใหญ
                                                          
  ประกอบดวยเซลลเรียงผิวแถวเดียวเปนเซลลที่มีแวคิวโอลขนาดใหญ ผนังเซลลบางเซลลแตละเซลล
  เรียงชิดกัน ไมมีชองวางระหวางเซลล เซลลชั้นเอพิเดอรมิสบางเซลลเปลี่ยนไปเปนเซลลผิวราก
  2. คอรเทกซ (cortex) เปนบริเวณที่ประกอบดวยเซลลหลายเซลลอยูระหวางเอพิเดอรมิสและเนื้อเยื่อ
  ลําเลียง สวนใหญเปนเซลลพาเรงคิมาที่ทําหนาที่สะสมน้ํากับอาหาร ดานในสุดของคอรเทกซ มักเห็น
  เซลลเรียงเปนแถว เรียก เอนโดเดอรมิส (endodermis) มีเซลลคลายพาเรงคิมาแตที่ผนังเซลลมีลักษณะ
  พิเศษ มีสารซูเบอรินสะสมเปนแถบเล็กๆ เรียกวา แคสพาเรียนสตริน เมื่อเซลลแกขึ้นมีการพอกของ
  สารลิกนินใหผนังเซลลหนาขึ้นกวาเดิม แตเซลลในชวงนีไมมีแคสพาเรียนสตริพ จึงเปนผนังเซลลที่บาง
                                                            ้
  3. สตีล (stele) เปนเซลลที่อยูถัดจากชันเอนโดเดอรมิสเขาไปประกอบเนื้อเยื่อสําคัญ ไดแก
                                          ้
             3.1 เพริไซเคิล (pericycle) ประกอบดวยเซลลพาเรงคิมา วงโดยรอบ อาจมีชั้นเดียวหรือ
หลายชั้นแลวแตชนิดพืชเซลลบริเวณนี้อาจเปลี่ยนแปลงเปนเซลลเนื้อเยื่อที่เจริญเพื่อเปนที่เกิดรากแขนง
ภาพที่ 1 การจัดเรียงเนื้อเยื่อชั้นตาง ๆ ภายในรากของพืชดอก
พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เชน ขาวโพด บริเวณกลางสุดของรากหรือไสในของราก แทนทีจะเปนเนื้อเยื่อของ
                                                                                  ่
ไซเลมอาจจะพบเนื้อเยื่อของพาเรนไคมาอยูเปนบริเวณกวาง เรียกวา บริเวณ พิธ (pith)
พืชใบเลี้ยงคู บริเวณเซลลมีการเจริญเติบโตเต็มที่ อาจมีการเจริญเติบโตขั้นที่2 ทําใหพืชมีขนาดใหญ
ขึ้นโดยมีการแบงเซลลของเนื้อเยื่อเจริญ คือ วาสคิวลารแคมเบียม หรือแคมเบียมทอลําเลียง แบงตัว
เซลลที่เกิดขึ้นไดใหมทางดานในเจริญเปนเนื้อเยื่อขั้นที่ 2 ดังนั้นเซลลหางจากแคมเบียมจะเปนเซลลที่มี
                                                                          
อายุมากกวาเซลลที่อยูใกลกบ แคมเบียม บริเวณตรงกลางรากดานในสุดจึงเปนเนื้อเยือไซเลมที่มีอายุ
                             ั                                                       ่
มากที่สุด สําหรับรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว สวนใหญจะไมพบการเจริญเติบโตขั้นที่2

                          ขอแตกตางของรากพืชใบเลี้ยงเดียวและพืชใบเลี้ยงคู
                                                         ่
รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ( monocot ) ทั่วไปจะไมมี Secondary growth มีเซลล epidermis ทําหนาที่โดย
ตลอด เซลล endodermis และ pericycle ชัดเจน มี xylem arch แบบ poly archไมมี vascular cambiumไม
มี medullary ray Pith มีขนาดกวาง
รากพืชใบเลี้ยงคู ( dicot) ทั่วไปจะมีSecondarygrowth มีPeriderm แบงเปนชั้น cork, cork
cambium,phelloderm ชั้น Cortex เห็นไมชด Vascular tissue เห็นชัน pericycle ไมคอยชัด xylem มี 1 –
                                          ั                      ้
4 arch มี vascular cambium มี medullary ray เนื่องจากมี secondary growth Pithไมมหรือมีขนาดเล็ก
                                                                                   ี




       ภาพที่ 2 เปรียบเทียบการเรียงตัวของเนื้อเยื่อชันตาง ๆของรากพืชใบเลี้ยงเดียวกับใบเลี้ยงคู
                                                     ้                          ่
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก

More Related Content

What's hot

รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5Nattayaporn Dokbua
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์Yuporn Tugsila
 
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...KalyakornWongchalard
 
[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืชprachabumrung
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7chunkidtid
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...BhuritNantajeewarawa
 
วิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วย
วิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วยวิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วย
วิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วยjamjuree_ben
 
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6คงศักดิ์ วิเวกวิน
 
ไม้อัดจากไม้ในท้องถิ่น
ไม้อัดจากไม้ในท้องถิ่นไม้อัดจากไม้ในท้องถิ่น
ไม้อัดจากไม้ในท้องถิ่นTanadol Intachan
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืชprachabumrung
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentKo Kung
 

What's hot (19)

001 3
001 3001 3
001 3
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
 
[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช
 
Plantcollection
PlantcollectionPlantcollection
Plantcollection
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
 
วิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วย
วิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วยวิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วย
วิจัยการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ่มกล้วย
 
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
แนวข้อสอบo-netการงานอาชีพและเทคโนโลยีประถม6
 
ไม้อัดจากไม้ในท้องถิ่น
ไม้อัดจากไม้ในท้องถิ่นไม้อัดจากไม้ในท้องถิ่น
ไม้อัดจากไม้ในท้องถิ่น
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช
 
Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
 

Viewers also liked

Brozura transfer technologii_kamil_krc_el.verze
Brozura transfer technologii_kamil_krc_el.verzeBrozura transfer technologii_kamil_krc_el.verze
Brozura transfer technologii_kamil_krc_el.verzeKamil Krč
 
5x5x5 Pie Lesson and Lab
5x5x5 Pie Lesson and Lab5x5x5 Pie Lesson and Lab
5x5x5 Pie Lesson and LabRachael Mann
 
blogueandoconlasnetbook
blogueandoconlasnetbookblogueandoconlasnetbook
blogueandoconlasnetbookLaura Broilo
 
Department for Education Fellowship Application
Department for Education Fellowship ApplicationDepartment for Education Fellowship Application
Department for Education Fellowship ApplicationKevin P. Hudson
 
Lms mi prezi
Lms mi preziLms mi prezi
Lms mi preziNeli Jake
 
Dobrich
DobrichDobrich
Dobrichniod
 
Hdca full paper presenter view latest
Hdca full paper presenter view latestHdca full paper presenter view latest
Hdca full paper presenter view latesttendayi marovah
 
Visualising possible scenarios with ENDS (Electronic Nicotine Delivery Systems)
Visualising possible scenarios with ENDS (Electronic Nicotine Delivery Systems)Visualising possible scenarios with ENDS (Electronic Nicotine Delivery Systems)
Visualising possible scenarios with ENDS (Electronic Nicotine Delivery Systems)UCT ICO
 
扶青團經營建議方針
扶青團經營建議方針扶青團經營建議方針
扶青團經營建議方針mrJim Note
 
Sosiaalisten yritysten toimintaympäristön_nykytila_yritysten_johtohekilöiden_...
Sosiaalisten yritysten toimintaympäristön_nykytila_yritysten_johtohekilöiden_...Sosiaalisten yritysten toimintaympäristön_nykytila_yritysten_johtohekilöiden_...
Sosiaalisten yritysten toimintaympäristön_nykytila_yritysten_johtohekilöiden_...lansisuomenhelmet
 

Viewers also liked (15)

Pediatric feeding
Pediatric feedingPediatric feeding
Pediatric feeding
 
Brozura transfer technologii_kamil_krc_el.verze
Brozura transfer technologii_kamil_krc_el.verzeBrozura transfer technologii_kamil_krc_el.verze
Brozura transfer technologii_kamil_krc_el.verze
 
5x5x5 Pie Lesson and Lab
5x5x5 Pie Lesson and Lab5x5x5 Pie Lesson and Lab
5x5x5 Pie Lesson and Lab
 
blogueandoconlasnetbook
blogueandoconlasnetbookblogueandoconlasnetbook
blogueandoconlasnetbook
 
Barranquilla
BarranquillaBarranquilla
Barranquilla
 
Department for Education Fellowship Application
Department for Education Fellowship ApplicationDepartment for Education Fellowship Application
Department for Education Fellowship Application
 
Greci anew
Greci anewGreci anew
Greci anew
 
Lms mi prezi
Lms mi preziLms mi prezi
Lms mi prezi
 
Dobrich
DobrichDobrich
Dobrich
 
κειμενο γιορτής
κειμενο γιορτήςκειμενο γιορτής
κειμενο γιορτής
 
Seo shiksha
Seo shikshaSeo shiksha
Seo shiksha
 
Hdca full paper presenter view latest
Hdca full paper presenter view latestHdca full paper presenter view latest
Hdca full paper presenter view latest
 
Visualising possible scenarios with ENDS (Electronic Nicotine Delivery Systems)
Visualising possible scenarios with ENDS (Electronic Nicotine Delivery Systems)Visualising possible scenarios with ENDS (Electronic Nicotine Delivery Systems)
Visualising possible scenarios with ENDS (Electronic Nicotine Delivery Systems)
 
扶青團經營建議方針
扶青團經營建議方針扶青團經營建議方針
扶青團經營建議方針
 
Sosiaalisten yritysten toimintaympäristön_nykytila_yritysten_johtohekilöiden_...
Sosiaalisten yritysten toimintaympäristön_nykytila_yritysten_johtohekilöiden_...Sosiaalisten yritysten toimintaympäristön_nykytila_yritysten_johtohekilöiden_...
Sosiaalisten yritysten toimintaympäristön_nykytila_yritysten_johtohekilöiden_...
 

Similar to เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก

โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยาDarika Kanhala
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกRatarporn Ritmaha
 
E portfollio-looktal
E portfollio-looktalE portfollio-looktal
E portfollio-looktalLooktal Love
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 

Similar to เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก (20)

โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
ชีววิทยา
ชีววิทยาชีววิทยา
ชีววิทยา
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
E portfollio
E portfollioE portfollio
E portfollio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
E portfollio-looktal
E portfollio-looktalE portfollio-looktal
E portfollio-looktal
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 

More from Biobiome

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำBiobiome
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทยBiobiome
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
BiodiversityBiobiome
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มขBiobiome
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มขBiobiome
 
3 ปี 52
3 ปี 523 ปี 52
3 ปี 52Biobiome
 

More from Biobiome (20)

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
Onet 05
Onet 05Onet 05
Onet 05
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
05 e
05 e05 e
05 e
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Science50
Science50Science50
Science50
 
Pat2 52-1
Pat2 52-1Pat2 52-1
Pat2 52-1
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มข
 
07 bio มข
07 bio มข07 bio มข
07 bio มข
 
3 ปี 52
3 ปี 523 ปี 52
3 ปี 52
 
72 pat2
72 pat272 pat2
72 pat2
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 

เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก

  • 1. บทปฏิบัติการทดลองที่ 2 โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก เรื่อง เนื้อเยื่อชั้นตาง ๆ ของราก เรื่อง การศึกษาเนื้อเยื่อชั้นตาง ๆ ของรากพืชดอกตัดตามขวาง จุดประสงคการเรียนรู : นักเรียนมีความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆตอไปนี้ได 1. ทําการทดลองเพื่อศึกษาลักษณะของเนื้อเยือชั้นตาง ๆ ของรากพืชดอกได ่ 2. เพื่อฝกทักษะการใชกลองจุลทรรศนแบบใชแสงในการศึกษาลักษณะของเนื้อเยื่อชันตาง ๆ ้ ของรากพืชดอก 3. บอกลักษณะของเนื้อเยื่อแตละบริเวณของเนื้อเยื่อชั้นตาง ๆ ของรากพืชดอก 4. เปรียบเทียบเนือเยื่อชั้นตาง ๆ ของรากพืชใบเลี้ยงเดียวกับรากพืชใบเลี้ยงคู ้ ่ หลักการ / ทฤษฎี สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีเซลลเปนองคประกอบพื้นฐาน กลุมเซลลที่ทํางานรวมกัน เรียกวา เนื้อเยื่อ (Tissue ) เนื้อเยื่อของพืช (Plant tissue) เมือแบงตามลักษณะของเซลลวามีการแบงตัวหรือไม ่ แยกไดเปน 2 ชนิด คือ เนื้อเยื่อเจริญ (Meristematic tissue หรือ Meristem) และ เนือเยื่อถาวร ้ (Permanent tissue) เนื้อเยื่อถาวร(Permanent tissue) เปนเนื้อเยื่อที่เกิดจากการแบงเซลลของเนื้อเยื่อ เจริญ และไดมีการเปลี่ยนแปลงรูปรางและสวนประกอบของเซลลเพื่อทําหนาที่ตามแตละชนิด เชน เนื้อเยื่อลําเลียงน้ํา แรธาตุ เนือเยื่อลําเลียงอาหาร เนื้อเยื่อถาวร แยกออกเปน 2 ประเภท คือ เนื้อเยือ ้ ่ ถาวรเชิงเดี่ยว (simple permanent tissue) เปนเนื้อเยื่อถาวรที่เปนเซลลชนิดเดียวกัน เชน เอพิเดอรมส ิ (epidermis) พาเรงไคมา(parenchyma) คอเลงไคมา(collenchyma) สเกลอเลงไคมา (sclerenchyma) เนื้อเยื่อถาวรเชิงซอน (complex permanent tissue) เปนเนื้อเยื่อถาวรที่เปนเซลลหลายชนิดมารวมกัน เพื่อทําหนาที่รวมกัน เชน ทอลําเลียงน้ํา (xylem) ทอลําเลียงอาหาร (phloem)  ขอแตกตางของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลียงคูรากพืชใบเลี้ยงเดียว ( monocot ) ทั่วไปจะ ้ ่ ไมมี Secondary growth มีเซลล epidermis ทําหนาที่โดยตลอด เซลล endodermis และ pericycle ชัดเจน มี xylem arch แบบ poly archไมมี vascular cambiumไมมี medullary ray Pith มีขนาดกวาง รากพืชใบ เลี้ยงคู ( dicot) ทั่วไปจะมีSecondarygrowth มีPeriderm แบงเปนชั้น cork, cork cambium,phelloderm ชั้น Cortex เห็นไมชัด Vascular tissue เห็นชั้น pericycle ไมคอยชัด xylem มี 1 – 4 arch มี vascular cambium มี medullary ray เนื่องจากมี secondary growth Pithไมมีหรือมีขนาดเล็ก
  • 2. อุปกรณ / เครื่องมือและสารเคมี 1. ตนกลาของตน ถั่วแดง ถั่วเขียว หรือ ถั่วดํา และตนกลาขาวโพด 2. กลองจุลทรรศน 1 กลอง 3. สไลด และกระจกปดสไลด 2 ชุด 4. กระจกนาฬิกา 1 อัน 5. ใบมีดโกน 1 ใบ 6. หลอดหยด 1 หลอด 7. พูกันเล็ก ๆ หรือเข็มเขี่ยเชือ ้ 1 อัน 8. บีกเกอรขนาดตาง ๆ 1 – 2 ใบ 9. กระดาษเยื่อ 1 มวน 10. สีซาฟรานีน หรือ สีผสมอาหารสีแดงเขมขน 1% หรือ สียอมจากกะหล่ําปลีแดง  11. น้ําสะอาด วิธีการทดลอง 1. นํารากพืชใบเลี้ยงคู เชนรากถั่ว และรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว เชนรากขาวโพด ลางใหสะอาด ตัดรากพืชที่ สมบูรณมาแชนําไวประมาณ 5-6 ราก 2.ใชใบมีดโกนตัดรากตามขวางเปนแผนบาง ๆ (ตามรูป) แชน้ําสีซาฟรานีน ในจานเพาะเชื้อ หรือ ภาชนะอืน แยกเปนจานละชนิด ่ 3.ใชพูกันเลือกชิ้นสวนที่บางและสมบูรณที่สุด ซึ่งยอมสีแลว จํานวน 3 – 4 แผนวางลงบนหยดน้ําบน แผน สไลด แลวปดดวยกระจกปดสไลด ระวังอยาใหมีฟองอากาศ เช็ดนําที่ลนออกใหแหง 4. นําสไลดไปตรวจดูดวยกลองจุลทรรศน เลือกศึกษาชิ้นเนื้อเยื่อที่บางและสมบูรณที่สุด โดยเริ่มที่เลนส ใกลวัตถุกําลังขยายต่ําและปานกลางตามลําดับ 5. บันทึกภาพแสดงลักษณะโครงสรางภายในของรากพืชใบเลี้ยงคูและพืชใบเลี้ยงเดี่ยวเปรียบเทียบกัน วิธีตัดรากพืชตามขวาง
  • 3. คําถามกอนการทดลอง 1. นักเรียนทราบหรือไมวาเนื้อเยื่อชั้นตางๆ ของรากประกอบดวยเนื้อเยื่อถาวรอะไรบาง .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 2. นักเรียนคิดวาเนื้อเยื่อชั้นตางๆ ของรากพืชใบเลี้ยงเดียวกับรากพืชใบเลี้ยงคู เหมือนกันหรือตางกัน ่ อยางไร .............................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................
  • 4. รายงานผลการทดลองบทปฏิบัติการที่ 1 เรื่อง การศึกษาเนื้อเยื่อชั้นตาง ๆ ของรากตัดตามขวางของพืชดอก วัน /เดือน / ป .............................................. กลุมที่ ........................ เวลาที่ใช .......................... ชั่วโมง ชื่อสมาชิกในกลุม 1. ............................................................................................................. 2. ............................................................................................................. 3. ............................................................................................................. 4. ............................................................................................................. 5. ............................................................................................................. วัตถุประสงค 1. ............................................................................................................. 2. ............................................................................................................. 3. ............................................................................................................. 4. ............................................................................................................ ผลการทดลอง ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................
  • 5. สรุปผลการทดลอง ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... อภิปรายผลการทดลอง ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................
  • 6. คําถามหลังการทดลอง 1. กลุมเซลลแตละบริเวณของราก มีลักษณะเหมือนกันหรือไม อยางไร ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 2. แสดงแผนภาพโครงสรางภายในรากของพืชใบเลี้ยงคูกับรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และตําแหนงเนื้อเยือ  ่ บริเวณตาง ๆ พรอมชี้บง ในแต ละสวน ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. 3. หนาที่ของราก 1…………………………………………………………………… 2…………………………………………………………………… 3. …………………………………………………………………. 4. นักเรียนจะสรุปผลการทดลองนี้อยางไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 7. ใบความรูที่ 1 โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก เรื่อง โครงสรางภายในของราก สาระสําคัญ ราก ( Root ) รากโดยทั่วไปเกิดมาจากสวนกลางของใบเลี้ยง ( Hypocotyl ) ของเอมบริโอ ซึ่งเรียกวาราก แรกเกิด ( radicle ) และงอกออกจากเมล็ดเรียกวารากแกว ( primary root หรือ tap root ) ซึ่งสามารถแตก กิ่งกานสาขาออกไปไดอกเปนรากแขนง ( secondary root )ถาคิดจากการกําเนิดตะมีราก 2 ชนิด คือราก ี แกวและรากพิเศษ ( adventitious root ) โดยรากแกวเกิดจาก embryo และมีสาขาเปนรากแขนงเกิดจาก pericycle ของรากเดิม สวนรากพิเศษทีเ่ กิดจากสวนอืน ๆ ของพืช เชน ลําตน ใบ หรือสวนอื่น ๆ ของ ่ รากที่แก ซึ่งในสวนนี้รากที่เกิดจากพวกแคลลลัส ( callus ) ของกิ่งที่ปกชํานับวามีความสําคัญมาก รากที่ เจริญมาจาก embryo จะมีระบบราก 2 ประเภทคือ 1.ระบบรากแกว ( primary root system ) : มีรากแกวเปนหลักมีขนาดใหญกวารากอื่น ๆ อาจมี รากแขนง แตกออกมาจาก pericycle ของรากแกว พบในพืชใบเลี้ยงคู 2.ระบบรากฝอย ( fibrous root system) : มักประกอบดวยรากทีมีขนาดใกลเคียงกันเปนเสนเล็ก ๆ ่ แผออกโดยรอบพบในพืชใบเลี้ยงเดียว ่ โครงสรางภายในของรากตัดตามขวาง (เรียงจากนอกสุดเขาดานใน) 1. เอพิเดอรมิส (epidermis) อยูดานนอกสุดทําหนาที่ปองกันเนื้อเยื่อที่อยูดานในสวนใหญ  ประกอบดวยเซลลเรียงผิวแถวเดียวเปนเซลลที่มีแวคิวโอลขนาดใหญ ผนังเซลลบางเซลลแตละเซลล เรียงชิดกัน ไมมีชองวางระหวางเซลล เซลลชั้นเอพิเดอรมิสบางเซลลเปลี่ยนไปเปนเซลลผิวราก 2. คอรเทกซ (cortex) เปนบริเวณที่ประกอบดวยเซลลหลายเซลลอยูระหวางเอพิเดอรมิสและเนื้อเยื่อ ลําเลียง สวนใหญเปนเซลลพาเรงคิมาที่ทําหนาที่สะสมน้ํากับอาหาร ดานในสุดของคอรเทกซ มักเห็น เซลลเรียงเปนแถว เรียก เอนโดเดอรมิส (endodermis) มีเซลลคลายพาเรงคิมาแตที่ผนังเซลลมีลักษณะ พิเศษ มีสารซูเบอรินสะสมเปนแถบเล็กๆ เรียกวา แคสพาเรียนสตริน เมื่อเซลลแกขึ้นมีการพอกของ สารลิกนินใหผนังเซลลหนาขึ้นกวาเดิม แตเซลลในชวงนีไมมีแคสพาเรียนสตริพ จึงเปนผนังเซลลที่บาง ้ 3. สตีล (stele) เปนเซลลที่อยูถัดจากชันเอนโดเดอรมิสเขาไปประกอบเนื้อเยื่อสําคัญ ไดแก ้  3.1 เพริไซเคิล (pericycle) ประกอบดวยเซลลพาเรงคิมา วงโดยรอบ อาจมีชั้นเดียวหรือ หลายชั้นแลวแตชนิดพืชเซลลบริเวณนี้อาจเปลี่ยนแปลงเปนเซลลเนื้อเยื่อที่เจริญเพื่อเปนที่เกิดรากแขนง
  • 9. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เชน ขาวโพด บริเวณกลางสุดของรากหรือไสในของราก แทนทีจะเปนเนื้อเยื่อของ ่ ไซเลมอาจจะพบเนื้อเยื่อของพาเรนไคมาอยูเปนบริเวณกวาง เรียกวา บริเวณ พิธ (pith) พืชใบเลี้ยงคู บริเวณเซลลมีการเจริญเติบโตเต็มที่ อาจมีการเจริญเติบโตขั้นที่2 ทําใหพืชมีขนาดใหญ ขึ้นโดยมีการแบงเซลลของเนื้อเยื่อเจริญ คือ วาสคิวลารแคมเบียม หรือแคมเบียมทอลําเลียง แบงตัว เซลลที่เกิดขึ้นไดใหมทางดานในเจริญเปนเนื้อเยื่อขั้นที่ 2 ดังนั้นเซลลหางจากแคมเบียมจะเปนเซลลที่มี  อายุมากกวาเซลลที่อยูใกลกบ แคมเบียม บริเวณตรงกลางรากดานในสุดจึงเปนเนื้อเยือไซเลมที่มีอายุ ั ่ มากที่สุด สําหรับรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว สวนใหญจะไมพบการเจริญเติบโตขั้นที่2 ขอแตกตางของรากพืชใบเลี้ยงเดียวและพืชใบเลี้ยงคู ่ รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ( monocot ) ทั่วไปจะไมมี Secondary growth มีเซลล epidermis ทําหนาที่โดย ตลอด เซลล endodermis และ pericycle ชัดเจน มี xylem arch แบบ poly archไมมี vascular cambiumไม มี medullary ray Pith มีขนาดกวาง รากพืชใบเลี้ยงคู ( dicot) ทั่วไปจะมีSecondarygrowth มีPeriderm แบงเปนชั้น cork, cork cambium,phelloderm ชั้น Cortex เห็นไมชด Vascular tissue เห็นชัน pericycle ไมคอยชัด xylem มี 1 – ั ้ 4 arch มี vascular cambium มี medullary ray เนื่องจากมี secondary growth Pithไมมหรือมีขนาดเล็ก ี ภาพที่ 2 เปรียบเทียบการเรียงตัวของเนื้อเยื่อชันตาง ๆของรากพืชใบเลี้ยงเดียวกับใบเลี้ยงคู ้ ่